The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pickviper, 2021-09-27 10:29:16

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

อณุ หภูมิสูงกว่า 100 องศาเซลเซยี สจึงจะเดอื ด หลักการดังกล่าวจึงทาใหอ้ ุณหภูมิทางานของเครอื่ งยนต์สูงขึน้ เปน็

ผลทาใหก้ ารเผาไหมข้ องเชอื้ ระเบดิ ภายในกระบอกสูบสมบรู ณ์ยงิ่ ข้นึ 82

รูปที่ 9.6 ฝาปดิ หมอ้ น้ํา
5. ปม๊ั น้า ท่ีใช้กับระบบระบายความร้อนดว้ ยน้าแบบใช้แรงดนั จะใชป้ มั๊ เปน็ แบบหอยโขง่ โดยจะตดิ ต้ังอยู่ดา้ นหน้า
ของเคร่อื งยนตร์ ะหวา่ งหมอ้ น้ากบั เสอ้ื สบู ปมั๊ จะประกอบด้วยเสือ้ ปม๊ั ซึงจะมที ่อทางน้าไหลผ่านเข้าออก และอมิ เพอเลอร์
หรอื ใบพัดหมอ้ นา้ เมื่อใบพัดน้าหมนุ น้าท่ีอยู่ระหว่างใบพดั น้าจะถูกพดั ให้นา้ พุง่ ออกดว้ ยแรงเห
ของปั๊มนา้ จะตอ่ ด้วยทอ่ ยางกบั ทอ่ ด้านล่างของหมอ้ นา้ น้าจากหมอ้ น้าจะถูกดันใหไ้ หลผ่านเข้าเสือ้ สูบเพื่อทดแทนนา้
หลอ่ เยน็ ทไี่ หลออกจากปมั๊ น้า

รปู ที่ 9.7 ปัม๊ น้า

6. เทอร์โมสตัด เป็นอปุ กรณ์ท่ีใช้สาหรับควบคมุ อณุ หภูมิของน้าหลอ่ เยน็ ในระบบระบายความรอ้ นดว้ ยนา้ เทอร์โมส
ตดั จะติดตงั้ ปิดก้ันระหว่าทางเดนิ การไหลหมนุ เวียนของนา้ หล่อเยน็ ทจ่ี ะไหลผา่ นไปยังหมอ้ น้าใหม้ ีอุณหภูมคิ วามร้อนสงู
จนถึงอณุ หภมู ิการใชง้ านปกติ
เทอรโ์ มสตัดมีอยู่ดว้ ยกัน 3 แบบคือ

แบบเบลโล
แบบไบมที ัล
แบบไขขีผ้ ึ้ง

รูปที่ 9.8 เทอรโ์ มสตดั แบบตา่ งๆ
7. พดั ลมระบายความรอ้ น พดั ลมในระบบระบายความร้อนดว้ ยน้าแบง่ ออกเปน็ 2 ชนิดด้วยกนั คือ
- พัดลมแบบดูดอากาศเขา้ จะถูกออกแบบใหใ้ ช้กับหมอ้ นา้ รถยนต์ขนาดเลก็ พดั ลมจะหมุนดูดอากาศออกจาก
ภายนอกผา่ นหมอ้ น้าและเครื่องยนตพ์ ัดลมแบบดูดอากาศเขา้ จะทางานไดด้ แี ละมปี ระสทิ ธิภาพกต็ อ่ เมือ่ รถยนตเ์ คลอื่ นที่
- พดั ลมแบบเป่าอากาศออก อากาศจะถูกพดั ลมเปา่ ผ่านระบบระบายความร้อนของเครอ่ื งยนต์และหมอ้ นา้ ใบพดั ลม
จะมีขนาดใหญ่เพ่อื ใหม้ ีปริมาณของอากาศมากจึงเหมาะทจ่ี ะใชก้ บั เครื่องยนต์ท่ีทางานอยกู่ บั ท่ี

83

8. สายพานพดั ลม สายพานพัดลมที่ใช้ขับป๊มั นา้ อลั เทอร์เนเตอรแ์ ละคอมเพรสเซอร์ เปน็ สายพานท่ีถูกขับเคล่อื นจาก
พลู เลย์ของเครอ่ื งยนต์ ผ่านพูลเลย์ของป๊มั น้าอลั เทอรเ์ นเตอร์ และคอมเพรสเซอร์ พลู เลย์ทใ่ี ช้ขบั เคล่อื นสายพาน
จะตอ้ งมีลกั ษณะเปน็ ร่องรูปตัววเี ช่นเดียวกบั สายพาน

รปู ที่ 9.10 การขับพดั ลมดว้ ยสายพาน

9. พดั ลมไฟฟ้า พดั ลมไฟฟ้าท่ใี ชใ้ นปจั จุบันมีประสิทธิภาพในการทางานสงู การระบายความรอ้ นจึงถูกระบายออกไป
อยา่ งรวดเรว็ เคร่ืองยนตจ์ ึงมปี ระสิทธภิ าพในการทางานไดด้ ี ทงั้ ยังช่วยประหยดั เชอ้ื เพลิงและการลดเสยี งดัง

รูปที่9.11 พดั ลมไฟฟา้

ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของระบบระบายความร้อนดว้ ยนา้

ขอ้ ดี 84
1.มปี ระสทิ ธภิ าพในการระบายความรอ้ นสมา่ เสมอ
2.กาลงั งานทใ่ี ช้กบั อุปกรณ์ระบายความร้อนดว้ ยนา้ สว่ นมากมอี ัตราคอ่ นขา้ งต่า

3.เคร่ืองยนต์ทร่ี ะบายความร้อนดว้ ยนา้ จะมเี สียงดงั นอ้ ยกว่าเครอื่ งยนตท์ ่ีระบายความร้อนดว้ ยอากาศข้อเสีย

1. อุปกรณม์ ีนา้ หนกั และตอ้ งใชพ้ ืน้ ท่มี าก

2. การระบายความร้อนด้วยนา้ มีข้อขดั ขอ้ งมากกว่า

3. การบารงุ รกั ษายาก

ต้องเดินเคร่อื งนานจงึ จะมอี ณุ หภมู ิในการทางาน

ระบบระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ Air Cooling

ครีบ Fin
กระบังลม Shroud
ระบบระบายความร้อนดว้ ยน้า Water Cooling
ทางนา้
ป๊มั นา้ Water Jacket
พดั ลม Water Pump
สายพานขับ Cooling Fan
หมอ้ นา้ Drive belt
เทอร์โมสตดั Radiator
พัดลมดูด
พัดลมเปา่ Thermostat
Suction Fan or Puller Fan
Blower Fan or Pusher Fan

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 85
ช่ือหนว่ ย ระบบระบายความรอ้ น หนว่ ยท่ี.......8..........
สอนครง้ั ท่ี.............

ชัว่ โมงรวม.............
ช่วั โมงรวม.............

5.1 การนาํ เขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครสู นทนาซกั ถามนกั เรยี นเกี่ยวกับการเอากระทะหรอื โลหะมาตง้ั ไฟ จะทาใหเ้ กิดอะไรกบั กระทะหรือโลหะ

นัน้

5.2 การเรียนรู
1. ครซู กั ถามนกั เรียนเป็นรายบุคคล เก่ียวกบั หน้าทแี่ ละประโยชน์ของระบบระบายความร้อน เสรจ็ แลว้

อธิบายเน้ือหาใหน้ กั เรียนฟงั
2. ครซู กั ถามนกั เรยี นเกยี่ วกับแบบของระบบระบายความรอ้ นและขอ้ ดขี ้อเสียของระบบระบายความร้อนแบบ

ตา่ งๆ
3. ครูอธบิ ายเนอ้ื หาเก่ยี วกับระบบระบายความร้อนแบบต่างๆ โดยใชแ้ ผน่ ใสประกอบ เสร็จแลว้ เปิดโอกาสให้

นักเรียนซกั ถาม
4. ครใู หน้ ักเรียนดูของจรงิ อุปกรณ์ต่างๆ ในระบบระบายความรอ้ น พรอ้ มให้นกั เรยี นบอกชอ่ื และหน้าท่ขี อง

อุปกรณเ์ หลา่ นน้ั

5.3 การสรุป
1. ครูส่มุ นักเรยี น 4-5 คน อธิบายหน้าที่และการทางานของอุปกรณต์ า่ งๆ ในระบบระบายความรอ้ น
2. ครูสรุปเนอื้ หาทง้ั หมดใหน้ ักเรียนฟังอกี ครงั้

3. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบฝึกหัดส่งท้ายชั่วโมง

5.4 การวัดและประเมนิ ผล
- ความตรงต่อเวลา
- ความรับผิดชอบต่องานท่มี อบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สังเกตความสนใจในห้องเรียน

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 86
ชอื่ หนวย ระบบระบายความร้อน หนวยท่ี........8.........
สอนครั้งท่ี.............

ชวั่ โมงรวม.............
ชั่วโมงรวม.............

6.สอ่ื การเรียนรู/แหลงการเรียนรู
6.1 ส่ือสง่ิ พิมพ

1.เอกสารประกอบการเรยี นหน่วยท่ี 8 ระบบระบายความร้อน
2.แบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบทดสอบ 8

6.2 สอื่ โสตทัศน (ถาม)ี
1.เคร่ืองฉาย projector
2.PowerPoint เรอ่ื ง ระบบระบายความร้อน

6.3 หนุ จาํ ลองหรือของจรงิ (ถาม)ี
1. เครอ่ื งยนต์ดีเซล
2. รถโตโยต้า วีโก้

6.4 อน่ื ๆ (ถามี)
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1.ใบความรู
2.ใบงาน
8. การบรู ณาการ/ความสัมพันธกับวิชาอ่นื
1. ภาษาองั กฤษและการสอื่ สาร
2. ไฟฟ้าและอิเล็คโทรนคิ เบื้องต้น

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 87
ชือ่ หนวย ระบบระบายความร้อน หนวยท.่ี .......8.........
สอนครงั้ ท่ี.............

ชั่วโมงรวม.............
ช่วั โมงรวม.............

9. การวัดและประเมินผล
9.1 กอนเรยี น

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรียน
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลังเรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................
.................................................................................................... ...........................................................................

10. บันทึกหลังสอน
10.1 ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้

............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..................................................

88

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยที่.......8..........
ชอื่ หนวย ระบบระบายความร้อน สอนคร้ังที่.............
ช่วั โมงรวม.............

ชว่ั โมงรวม.............

10.2 ผลการเรยี นรูของนกั เรียน นักศกึ ษา
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
10.3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู
.......................................................................................................................................... .......................................

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

............................................................................................................................ ........................................................

............................................................................................................................. ....................................................
....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................

89

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยที่..........9.......

ช่อื หน่วย การใช้ การบารงุ รักษา และ การซ่อมเครอ่ื งยนตด์ เี ซล สอนคร้งั ที่.............
ชั่วโมงรวม.............

จํานวนชวั่ โมง..........

1. สาระสําคัญ
เคร่ืองยนต์ดีเซลเปน็ เคร่อื งยนต์ท่มี ีชน้ สว่ นยุ่งยากสลบั ซับซ้อนและผ่านการสร้างทป่ี ระณีต ราคาสงู

ฉะนนั้ จงึ จาเป็นทจ่ี ะตอ้ งระวงั รักษาให้อย่ใู นสภาพดีสามารถใชง้ านไดเ้ ป็นระยะยาวนานให้คุ้มค่ากบั ราคา สิง่ น้ันขึน้ อยู่
กบั การใชง้ าน และการบารุงรกั ษาเปน็ สาคัญ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การใช้เคร่ืองยนต์ใหม่ในระยะ 1000 กม. แรกน้ันกอ่ น
ใชต้ ้องอนุ่ เครือ่ งยนต์ให้ถึงอุณหภมู ทิ างานก่อน
และไม่ใชโ้ หลดเคร่อื งยนตเ์ กิน80%ของกาลังสูงสดุ ของเคร่อื งยนตซ์ ึงจะเป็นการยดื อายขุ องเครอ่ื งยนตใ์ หย้ าวนานขึน้
สว่ นการบารงุ รักษาเครือ่ งยนต์อาจกระทาได้ 2 กรณคี อื การตรวจสอบบารุงรกั ษาเป็นระยะๆและการบารุงรักษาแบบ
ป้องกัน แตถ่ ึงอยา่ งไรการใชง้ านของเครอ่ื งยนตย์ อ่ มกอ่ ให้เกิดการชารุดเสียหายได้ ดงั น้ักย็ อ่ มต้องมกี ารวซ่อมแซมให้
อยู่ในสภาพทส่ี ามารถใช้งานได้ดดี ้วย
2.สมรรถนะประจําหนว่ ย

แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การขับขรี่ ถยนตบ์ นทางลาดชัน ทางโคง้ การขบั รถบนถนนทีเ่ ป็นเนินเขาการเบรกขณะลงเนิน
การจอดรถบนเนนิ เขา การขบั รถในทางโค้ง การควบคุมพวงมาลัยในทางโคง้ ทางโคง้ กลับไปกลบั มาได้อย่างถกู ตอ้ ง
3.จุดประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ดานความรู
1. เพื่อใหม้ คี วามรูค้ วามเข้าใจการตรวจสอบเครื่องยนต์ และการใช้เครือ่ งยนตใ์ หม่ครง้ั แรก
2. เพอ่ื ให้มคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับการตรวจสอบ และการบารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล
3. เพอ่ื ให้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจการซอ่ มแซมเครอื่ งยนตด์ ีเซล
4. เพื่อใหร้ ูค้ าศพั ทก์ ารใช้ การบารงุ รักษา และการซอ่ มเคร่อื งยนต์ดีเซล
3.2 ดานทกั ษะ

3.2.1.บอกการการขบั ข่รี ถยนตบ์ นทางลาดชนั ทางโคง้ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
3.2.2 บอกการขับรถบนถนนทเ่ี ปน็ เนนิ เขาการเบรกขณะลงเนินได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
3.2.3 บอกการขบั รถในทางโคง้ การควบคมุ พวงมาลัยในทางโคง้ ทางโคง้ กลับไปกลบั มาได้อยา่ งถกู ต้อง
3.3 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค
1.นักเรยี นมีความสนใจฝักใฝใ่ นการเรยี นรู้
2.นกั เรียนเข้าเรยี นตรงตามเวลา
3.นกั เรียนทางานเสร็จสมบูรณแ์ ละส่งตามเวลา
4.นักเรยี นกล้าแสดงออกในการเรยี นร้นู าเสนองาน

5.นกั เรยี นใช้เคร่อื งมอื การใช้รถฝึกหัดขบั ด้วยความปลอดภัย ประหยดั รอบคอบ คุม้ ค่า

90

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยที่........9........

สอนคร้งั ที่.............
ชือ่ หนว่ ย การใช้ การบารงุ รักษา และ การซ่อมเครอ่ื งยนต์ดีเซล

ชัว่ โมงรวม.............

ช่วั โมงรวม.............

4.เนื้อหาสาระการเรยี นรู้

การใช้ การบ้ารุงรักษา และการซ่อมเคร่ืองยนต์ดีเซล
เครื่องยนตด์ ีเซลก็เชน่ เดียวกบั อุปกรณ์ต่างๆที่นาไปใช้งานตามความต้องการแลว้ จาเปน็ จะตอ้ งมกี ารปฏบิ ตั ติ า่ งๆ

ตอ่ เคร่ืองยนตด์ ีเซลเหล่าน้นั อยา่ งถูกต้องทั้งนเี้ พ่อื ยืดอายุการใชง้ าน ลดการชารดุ ที่จะเกิดข้นึ และเปน็ การลดค่าใช้จ่าย
ทง้ั หมดลง การปฏบิ ัติท่สี าคญั ของเครื่องยนตด์ เี ซลสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประการ คอื

1. การใชง้ าน หมายถึง การปฏิบตั ติ อ่ เครอ่ื งยนต์ภายนอก ซึ่งไดแ้ กก่ ารสตารท์ หรอื ติดตง้ั เครอ่ื งยนต์ การ
ควบคุมหลงั จากการติดเครื่องยนตแ์ ล้ว การควบคุมให้เครือ่ งยนต์ทางานตามความต้องการ และการหยดุ
เคร่ืองยนต์

2. การบารงุ รักษาหรอื การบรกิ ารตามกาหนดเวลา ซ่งึ เป็นการปฏบิ ตั ติ อ่ เครือ่ งยนต์ดเี ซลเพอ่ื ปอ้ งกันการชารุดท่ี
จะเกดิ ข้ึน ( Preventive Maintenance ) และใหเ้ คร่ืองยนต์อยใู่ นสภาพที่ใช้งานไดด้ ีตลอดเวลา การ
บารุงรกั ษานี้ได้แก่ การตรวจสอบ การปรบั แตง่ และการเปลี่ยนชิ้นส่วนหรอื วัสดุที่ใชก้ ับเครอื่ งยนต์ เปน็ ตน้
การบารงุ รกั ษาน้จี ะเปน็ การปฏบิ ัตติ ่อเครื่องยนตใ์ นขณะทีเ่ คร่อื งยนตย์ ังใช้งานไดอ้ ยู่

3. การซอ่ มแซม คอื การปฏบิ ัติตอ่ เคร่อื งยนต์ดีเซลเม่ือเครื่องยนต์นัน้ เกดิ ชารุดไม่สามารถใชง้ านได้ หรือใชง้ านได้
ไม่ดีเท่าท่ีควร การซอ่ มโดยท่ัวไปจะประกอบด้วย การปฏบิ ัติตอ่ เครอ่ื งยนต์ดเี ซลหลายๆ อยา่ งไดแ้ ก่ การถอด
การปรบั แตง่ การประกอบ และการทดสอบ เป็นต้น

4. การตรวจสอบเครื่องยนต์ และการใชเ้ ครอื่ งยนตใ์ หมค่ ร้งั แรก
1.1 ข้อปฏิบตั ิในการใชเ้ ครื่องยนต์ใหม่ครัง้ แรก การใช้เคร่ืองยนตใ์ หม่คร้งั แรก คือ การใช้เครือ่ งยนต์ในระยะการทางาน
50 ชัว่ โมงแรกนั้นจะมสี ว่ นสาคัญในการกาหนดอายกุ ารใชง้ านของเคร่อื งยนต์ ถ้าเครอื่ งยนตใ์ หม่มกี ารใชง้ านครั้งแรก
อยา่ งถกู ตอ้ งจะเป็นการยืดอายุการใชง้ านใหย้ าวนาน ซง่ึ มีขอ้ ปฏิบตั ิทพ่ี อสรปุ ได้ดงั นี้

นาไปใช้งานอกี ในแต่ละครั้งกจ็ าเปน็ จะตอ้ งมกี ารตรวจสอบความพรอ้ มของเครือ่ งยนต์กอ่ นเสมอ ซึง่ พอสรุปได้ดงั น้ี
1 ) ตรวจสอบระดบั นา้ มันหล่อล่ืน ถา้ ต่ากว่าระดับที่กาหนดก็ต้องเติมใหถ้ ึงระดับทีก่ าหนด
2 ) ตรวจสอบน้ามนั เชือ้ เพลิงในถงั น้ามนั เชอื้ เพลิงว่ามีจานวนเพียงพอทจ่ี ะใช้งานหรอื ไม่ ถา้ มไี มพ่ อกจ็ ะตอ้ งเตมิ ให้
พอ
3) ตรวจสอบระดบั น้าในหมอ้ น้า สาหรับเครอ่ื งยนต์ดีเซลท่ีระบายความรอ้ นดว้ ยน้า ถ้าต่ากวา่ ระดับทก่ี าหนดก็
ตอ้ งเตมิ ให้ถึงระดับท่กี าหนด
4) ตรวจสอบที่รอยต่อ ขอ้ ต่อ ทอ่ ตา่ งๆของน้ามนั หล่อลืน่ นา้ มนั เชื้อเพลงิ และน้า (สาหรบั เครอื่ งยนตด์ ีเซลท่ี
ระบายความร้อนด้วยน้า) วา่ มกี ารร่วั ซมึ หรือไม่ ถา้ มกี ารร่ัวซมึ กจ็ ะต้องมีกรแกไ้ ขเสียก่อน
5. ตรวจสอบให้แนใ่ จว่าเครื่องยนตป์ ล่อยออกจากโหลดถา้ ทาไดห้ รือถา้ ทาไม่ได้กจ็ ะต้องลดโหลดให้น้อยท่สี ุด

1.3 การติดเคร่อื งหรอื สตาร์ทเครอ่ื งยนต์ เครือ่ งยนตด์ เี ซลจะตดิ หรือสตารท์ ได้จะตอ้ งใหเ้ กอดการเผาไหมร้ ะหวา่ ง
อากาศและนา้ มันที่ถกู ฉีดเข้าไปในหอ้ งเผาไหม้ การที่จะเกิดการเผาไหมร้ ะหว่างอากาศและนา้ มันหรือไม่นน้ั จะข้นึ อยู่
กับปรมิ าณและอุณหภูมขิ องอากาศทถี่ กู อดั ซง่ึ อากาศจะตอ้ งมปี ริมาณที่เพยี งพอ และอณุ หภมู ิก็ต้องสงู พอดว้ ย ส่วน
อีกปัจจัยหน่ึงก็คือ น้ามนั เชือ้ เพลิงจะต้องมปี ริมาณทเี่ พียงพอและลกั ษณะของน้ามันเช้อื เพลงิ ทฉี่ ดี ออกไปกจ็ ะต้องเป็น
ละอองฝอย และต้องกระจายออกไปทวั่ หอ้ งเผาไหมด้ ว้ ย ซึ่งทัว่ ไปแลว้ เคร่ืองยนต์ดเี ซลจะให้หัวเผาในการชว่ ยอุน่
อากาศใหร้ ้อน เพอื่ ชว่ ยใหเ้ ครื่องยนตต์ ิดงา่ ย โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ เครอื่ งยนต์ดเี ซลท่หี ้องเผาไหมแ้ บบหอ้ งเผาไหม้

91

ลว่ งหนา้ ดังน้นั การติดหรือสตาร์ทเครอ่ื งยนต์จะต้องดาเนินการคอื
6. เผาหัวเสยี ก่อน (ถา้ มี) โดยท่ัวไปจะใช้เวลาเผาหัวประมาณ 40-50 วนิ าที ซ่ึงถ้าใชเ้ วลามากกวา่ นี้อุณหภมู ขิ อง
อากาศจะไม่สงู ขนึ้ และหวั เผาจะชารุดได้งา่ ย
7. เลื่อนตาแหน่งคันเร่งโดยเปดิ ใหอ้ ยู่ตาแหนง่ ประมาณ ¼ ถงึ ½ ของตาแห่นงที่เปดิ เตม็ ท่ี
8. เปดิ สวิซต์สตาร์ทเพอ่ื ให้มอเตอร์สตารท์ ทางาน (สาหรบั เคร่อื งยนต์ทีใ่ ชม้ อเตอร์ไฟฟ้า) การสตาร์ทเครอื่ งยนต์
โดยใช้มอเตอร์ไฟฟา้ นี้ ไม่ควรใหม้ อเตอรท์ างานตอ่ เน่อื งเป็นเวลานานกว่า 30 วนิ าที ถา้ เครอื่ งยนตไ์ ม่ตดิ ควร
หยุดรอประมาณ 10 วินาที และคอ่ ยเผาหวั เผา

9. ความสะอาดตังเคร่อื งยนต์ใหท้ ว่ั พร้อมกบั ตรวจสอบดูวา่ แปน้ เกลยี ว สลักเกลยี ว และข้อต่อ ฯลฯ อันใด
หลดุ หลวมบ้าง

10. ตรวจหวั ตอ่ ทางไฟฟา้ ทัง้ หมด จะต้องอยู่ในสภาพแน่นและสะอาด
11. หยดนา้ มันเคร่ืองตามข้อตอ่ ควบคมุ ป๊ัมฉีดเชอื้ เพลิง และขอ้ ตอ่ เครอ่ื งควบคุมความเรว็
2.2 ขอ้ ควรปฏิบตั ทิ ุกๆระยะ 50 ช่ัวโมง หรือ 1,500 กโิ ลเมตร
12. ทาความสะอาดหมอ้ กรองอากาศและตวั กรองทีป่ ิดรรู ะบายอากาศของหอ้ งขอ้ เหวี่ยง
13. ตรวจความตงึ ของสายพาน ถ้าหย่อนกป็ รับตัง้ ใหม่
14. ตรวจวัดความถว่ งจาเพาะของนา้ ยาในหม้อแบตเตอรี่
15. ตรวจระดับน้ามนั ในสว่ นท่เี ปน็ หนา้ แปลนของไหล ( Fluid coupling )
16. ตรวจเชอ้ื เพลงิ ในถงั บริการ ถ่ายขี้ตะกอน ผง และนา้ ออก
17. ตรวจดรู อยเสียดสีท่อี าจจะมีได้ทุกแหง่ ท่อนา้ มนั ทอ่ น้า สายแบตเตอรี่ สายไฟ
18. ตรวจดูน้ามนั หล่อล่นื ข้นึ ถงึ กระเด่ืองกดล้ินหรือไม่ รวมถึงพวกเฟอื งขบั ด้วย (ถ้ามี )
19. ตรวจสอบแป้นเกลียว สลักเกลียวยึดหน้าแปลนโบลเออร์ ถ้าหลวมตอ้ งขนั ใหแ้ น่น
2.3 ข้อควรปฏิบตั ทิ ุกๆระยะ 100 ชวั่ โมง หรือ 3,000 กโิ ลเมตร
20. เปลี่ยนนา้ มันเครอ่ื ง ควรถา่ ยออกในขณะที่เครือ่ งรอ้ น และควรตรวจดมู นี า้ ปนหรอื ไม่ เม่ือเตมิ น้ามนั ใหม่

จะตอ้ งเตมิ ใหไ้ ดร้ ะดบั โดยวดั ดว้ ยเหลก็ วัด (Dipstick) สาหรบั เครื่องยนตด์ เี ซลท่ีใช้กับเรอื อาจถา่ ยเปล่ียนได้
ในระยะ 250 ชวั่ โมง
21. ถา่ ยนา้ มนั เครื่องในตวั เรือนปัม๊ ฉีดเช้อื เพลงิ และเตมิ ให้ไดร้ ะดับถูกตอ้ งโดยใช้เหล็กวัดท่เี สียบอยวู่ ัดดู
22. ทาความสะอาดไส้กรองเชอื้ เพลิง
2.4 ข้อควรปฏิบัตทิ กุ ๆระยะ 250 ชว่ั โมง หรือ 8,000 กิโลเมตร
23. ตรวจสอบระยะเปยี กของลนิ้ ไอดแี ละไอเสยี ปรบั ต้งั ใหม่ถา้ ไม่ถกู ตอ้ ง
24. ตรวจดรู อยแตกร้าวของสปริงลิ้น
25. ถอดและทาความสะอาดหมอ้ กรองนา้ มนั หลอ่ ล่ืน ทาความสะอาดหรือเปลี่ยนไสก้ รองใหม่
26. ตรวจและทาความสะอาดหม้อกรองนา้ มันเชอื้ เพลิง ทาความสะอาดหรอื เปล่ียนหมอ้ กรองใหม่
27. ตรวจคอมมวิ เตเตอรแ์ ละแปปรงถา่ นของไดชาร์ทและมอเตอรส์ ตาร์ททาความสะอาดชุดกลไก

2.5 ขอ้ ควรปฏิบตั ิทกุ ๆระยะ 500 ชั่วโมง หรอื 16,000 ถึง 20,000 กโิ ลเมตร
28. ตรวจสอบและทาความสะอาดหวั ฉดี ถอดเปลย่ี นซอ่ มชิน้ ส่วนบางชิน้ ของหัวฉดี เสยี ใหม่ เปลยี่ นข้อต่อทาง

นา้ มนั ของหัวฉีดเสยี ใหม่

29. ทาความสะอาดตวั กรองของหวั ฉีด

30. ทาความสะอาดไสใ้ นเครอื่ งแลกเปลยี่ นความร้อน 92
31. ตรวจสอบสภาพของหัวเผาอนุ่ ไอดี

32. ถอดฝาปิดหอ้ งขอ้ เหวยี่ ง(ถา้ มี) และตรวจดูความแน่นหนาของชิ้นสว่ นภายใน

33. ทาความสะอาดภายนอกหมอ้ น้าโดยใช้ลมเป่า

34. บางเครอื่ งอาจจะตอ้ งซอ่ มเบา เปดิ ฝาสบู ขดู เขม่า บดลิน้ เปลีย่ นแหวนเมือ่ ถงึ ระยะน้ี

2.6 ข้อควรปฏิบัติทกุ ๆระยะ 1,000 ถึง 2,000 ช่ัวโมง หรือ 30,000 ถงึ 65,000 กิโลเมตร

35. ทาการซอ่ มเบา เปดิ ฝาสบู บดลิน้ เปลยี่ นแหวน ขดู เขมา่ ฯลฯ

36. ถอดและทาความสะอาดลกู สูบ ตรวจสอบเมนแบร่งิ แบรง่ิ กานสบู บูช๊ สลักสูบ แหวนล็อคหรือสกรูยึดสลกั

ลูกสบู ตรวจสภาพของข้อเหวยี่ ง ตรวจดูความเบี้ยวแลว้ บันทึกไว้ ดวู ่ารทู างเดินน้ามนั หล่อล่นื อดุ ตันหรอื ไม่

ตรวจรอยสกึ ของกระบอกสูบ

37. ทาความสะอาดภายนอกถงั นา้ มันเชื้อเพลิง

38. ตรวจดูพวกหน้าแปลนต่างๆให้ได้ศูนย์

39. ตรวจความสกึ ของกา้ นต่อตา่ งๆของตัวควบคุมความเรว็

40. ตรวจดูว่าบชู๊ ของไดชาร์ทหลวมและมีเสียงดงั หรือไม่

41. ตรวจดสู ภาพของตวั เก็บอากาศส่นั

2.7 ข้อควรปฏบิ ัติทกุ ๆระยะ 5,000ชั่วโมง หรอื 130,000 ถงึ 160,000 กิโลเมตร

42. ยกเคร่อื งใหม่ ซ่อมหนกั

43. ทาความสะอาดถงั เชอื้ เพลงิ และทอ่ ทางน้ามันท้ังหมดโดยตลอด

3. การบาํ รุงรกั ษาแบบป้องกัน

44. เครื่องยนต์ดเี ซลนอกจากจะตอ้ งมีการตรวจสอบบารงุ รักษาตามกาหนดระยะเวลาแลวั ยงั จะตอ้ งมโี ครงการให้

บารงุ รักษาตามหัวขอ้ กาหนดท่ตี อ้ งให้ตรวจรกั ษาอาจจะกาหนดไวเ้ ป็นระบบๆหรอื เป็นพวกๆโดยกาหนดไวใ้ น

แตร่ ะบบเป็นรายการยอ่ ยๆ ลงไปอกี ว่าจะตอ้ งตรวจทาอะไรบา้ งการกาหนด

เหตผุ ลที่จัดให้มีโครงการบารงุ รักษาแบบปอ้ งกนั ก็เพื่อให้เครอ่ื งยนตม์ ีอายุการใชง้ านได้ยาวนาน ชิ้นสว่ น

ตา่ งๆของเครอื่ งยนตท์ ไ่ี มต่ ้องถอดประกอบบ่อยๆๆยอ่ จะทางานไดด้ แี ละยาวนาน ซ่งึ ตรงขา้ มกับทีต่ อ้ งถอดประกอบอยู่

บ่อยๆ ในกรณแี รกนน้ั ขนึ้ อยกู่ ับโครงการบารุงรกั ษาแบบปอ้ งกัน เพราะโครงการนกี้ าหนดรายการตรวจซ่อม

บารุงรักษาเครื่องยนตไ์ วต้ ามระยะเวลา กาหนดรายละเอยี ดเกย่ี วกบั สภาวะการทางานของเครือ่ ง โดยปกตจิ ะจัดใหม้ ี

แผน่ บนั ทกึ การทางานหรอื แผ่นกระดานบันทกึ ติดไวก้ บั ผนงั ในโรงต้นกาลงั นอกจากนีอ้ าจจะมีแผน่ กราฟบนั ทึกสภาวะ

ตา่ งๆ ของเครอื่ งประกอบด้วย เช่นบันทึกกาลงั อัด อตั ราความส้ินเปลอื งนา้ มันเครอื่ ง อัตราความสน้ิ เปลืองเชือ้ เพลิง

ความเรว็ รอบ ฯลฯ บันทกึ เหล่านจ้ี ะใชเ้ ปน็ ขอ้ สังเกตท่ีเราจะทราบสภาพของเครอ่ื งได้เปน็ อย่างดี เพราะจะต้องจด

บนั ทกึ ไว้เปน็ ระยะๆ บนั ทกึ เหลา่ น้ยี ังเป็นขอ้ มลู อยา่ งดที จี่ ะทราบถงึ เหตขุ ้อขดั ข้อง

4. การซ่อมแซม
เครื่องยนต์ดเี ซลหรอื วา่ อุปกรณอ์ ่นื ใดกต็ าม แม้วา่ จะมกี ารใชง้ านและกาสรบริการตามกาหนดเวลาถูกต้องและ

ดีเพียงใด ก็ยงั คงมีการชารดุ ที่จาเป็นจะตอ้ งมีการซ่อมแซม เพื่อแก้ไขการชารุดดังกลา่ ว การซอ่ มแซมบางทนี ิยม

เรียกวา่ การบารุงรกั ษาแกไ้ ข (Corrective Maintenance) กค็ ือการปฏิบัติตอ่ เคร่อื งยนต์ เมอื่ เครอ่ื งยนต์นน้ั เก78ดิ การ

ชารุดจนใช้งานไม่ได้ หรือใชง้ านไดไ้ มด่ ีเทา่ ทค่ี วร ซ่งึ จะแตกต่างกบั การบารุงรักษาตรงที่วา่ การบารุงรักษานน้ั จะ

กระทาต่อเครอื่ งยนต์ในช่วงที่เครือ่ งยนตย์ งั ใชง้ านไดด้ ีอยู่ การซอ่ มแซมสว่ นหนงึ่ ส่วนใดของเครือ่ งยนตด์ ีเซล

ประกอบดว้ ยข้ันตอนต่างๆ คอื

45. การปรับแต่งและทดสอบ กรณไี ม่จาเปน็ ต้องถอดชิ้นสว่ นออกมา

46. การถอดชนิ้ ส่วนออกมา ในกรณที ่ีไม่สามารถปรับแตง่ ใหใ้ ช้งานได้ดีเช่น เดมิ โดยไม่ตอ้ งถอดชน้ิ สว่ นออกมา

47. การตรวจสอบสภาพของช้นิ สว่ นทถี่ อดออกมา ซงึ่ รวมถงึ การวดั ขนาดตา่ ง ๆ เพือ่ เปรียบเทยี บกับขนาดทยี่ งั สาม

รถใช้งานได้ ถา้ หากยงั อยใู่ นขอบเขตของการที่ยงั ใชง้ านได้กน็ ากลบั ไปใชต้ อ่ ได้ แต่หากเกินขอบเขตก็จาเป็น 93

จะต้องเปล่ียนช้นิ ส่วนใหม่

48. การประกอบช้นิ ส่วนเขา้ ที่เดมิ ซึง่ รวมถงึ การปรบั แตง่ ใหช้ นิ้ ทางานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งด้วย

. คําศัพท์การใชก้ ารบาํ รงุ รักษาและการซอ่ มเคร่ืองยนต์ดีเซล

การบารงุ รักษาเครือ่ งยนต์ดีเซล Diesel Engine Maintenance
กาหนดการบารงุ รกั ษา Maintenance Reguirements
กาหนดการบรกิ าร Service Reguirements
การบารุงรักษาตามกาหนดเวลา Specified Scheduled Procedures
การตรวจประจาวัน General Everyday Checks
การบารุงรักษาตามกาหนด Scheduled Maintenance
เปล่ยี น R = Replace
ตรวจสอบ I = Inspection
ทาความสะอาด Clean
ปรับตงั้ Adjust
เปล่ยี นนา้ มันเคร่ือง Engine Oil Replace
เปลีย่ นไส้กรองนา้ มนั เคร่ือง Oil Filter Replace
ตรวจสายพานปม๊ั น้า Drive Belt Inspect
ตรวจตั้งล้ิน Valve Clearance Inspace
ตรวจความเร็วรอบเดนิ เบา Idle Speed Check
เปล่ียนสายพานไทม่งิ Timing Belt Replace
ตรวจระบบระบายความรอ้ น Cooling System Check
การบารงุ รกั ษาเพอ่ื ปอ้ งกัน Preventive Maintenance
การบารงุ รักษาแก้ไข Corrective Maintenance

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 94
หน่วยที่.......9..........

ชื่อหนว่ ย การใช้ การบารุงรักษา และ การซอ่ มเครือ่ งยนตด์ เี ซล สอนครงั้ ที่.............
ช่วั โมงรวม.............

ช่ัวโมงรวม.............

5.1 การนําเขา้ ส่บู ทเรียน
. ครซู ักถามนักเรยี นเปน็ รายบุคคลวา่ ถา้ สมมุติเราซ้อื รถยนต์มาใหม่ การใช้งานในระยะ 1000 ก.ม แรกเราควร
ปฏบิ ัตใิ นการใช้และการบารงุ รักษาอย่างไรบา้ ง

5.2 การเรยี นรู
1. ครูอธบิ ายการตรวจสอบเครอื่ งยนตแ์ ละการใช้เคร่อื งยนตใ์ หมค่ ร้ังแรกให้นกั เรียนฟัง
2. ครสู ่มุ นักเรยี น 4-5 คน ซกั ถามความเข้าใจเกย่ี วกับการสตารทเ์ ครอ่ื งงยนตด์ เี ซลและเปิดโอกาสใหน้ ักเรียน

ซกั ถามปญั หาขอ้ สงสัยต่างๆจากหัวขอ้ ท่ีครูอธบิ ายมา
3. ครอู ธิบายการบารุงรักษาเครอื่ งยนตด์ เี ซลเป็นระยะใหน้ ักเรยี นฟงั อธิบายเสร็จเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถาม

และซักถามความเข้าใจนักเรยี น
4. ครอู ธบิ ายการบารุงรกั ษาแบบป้องกันและการซอ่ มแซมเครอ่ื งยนต์ดีเซล

5.3 การสรุป
1. ครูสรุปเน้ือหาทัง้ หมดใหน้ กั เรยี นฟังและเปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามอีกครงั้ กอ่ นที่จะใหท้ าแบบฝึกหัดและใบ

งานตอ่ ไป

2. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หัดและใบงานให้เสรจ็ ในคาบ

5.4 การวัดและประเมินผล
- ความตรงต่อเวลา
- ความรับผดิ ชอบตอ่ งานท่มี อบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สงั เกตความสนใจในห้องเรยี น

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 95
หนวยท.่ี .......9.........

สอนคร้ังที่.............
ช่ือหนวย การใช้ การบารุงรกั ษา และ การซอ่ มเคร่อื งยนตด์ เี ซล

ชว่ั โมงรวม.............

ชว่ั โมงรวม.............

6.สอื่ การเรยี นรู/แหลงการเรียนรู
6.1 ส่อื สิง่ พิมพ

1. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยท่ี 9 การใช้ การบารงุ รกั ษา และ การซอ่ มเครอ่ื งยนตด์ เี ซล
2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบ 9

6.2 สือ่ โสตทศั น (ถาม)ี
1. เครื่องฉาย projector
2. PowerPoint เรอ่ื ง การใช้ การบารงุ รักษา และ การซอ่ มเคร่อื งยนต์ดีเซล

6.3 หนุ จาํ ลองหรอื ของจริง (ถามี)
1. เครอ่ื งยนตด์ เี ซล
2. รถโตโยต้า วโี ก้

6.4 อนื่ ๆ (ถามี)
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1. ใบความรู
2. ใบงาน
8. การบูรณาการ/ความสมั พันธกับวชิ าอนื่
1. ภาษาอังกฤษและการสื่อสาร
2. ไฟฟา้ และอิเล็คโทรนิคเบอื้ งต้น

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หนวยท่ี........9.........

ชอ่ื หนวย การใช้ การบารุงรกั ษา และ การซ่อมเครื่องยนตด์ เี ซล สอนคร้ังที่.............
ช่ัวโมงรวม.............

ชั่วโมงรวม.............

9. การวดั และประเมนิ ผล
9.1 กอนเรียน

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรียน
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลังเรียน
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................
............................................................................................................................. ..................................................
10. บนั ทึกหลังสอน

10.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
......................................................................................................................................................... ......................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

97

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยที่.......9..........

สอนคร้งั ท่.ี ............
ชือ่ หนวย การใช้ การบารุงรักษา และ การซอ่ มเครอ่ื งยนต์ดีเซล

ชวั่ โมงรวม.............

ชั่วโมงรวม.............

10.2 ผลการเรียนรูของนกั เรียน นักศกึ ษา
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................................. ..................................
...............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
10.3 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู
......................................................................................................................................................... ........................

.................................................................................................. ..............................................................................

............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................ ........................................................

............................................................................................................................. ....................................................

....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................... .........................................................

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 98
ชื่อหนว่ ย การถอดประกอบชดุ ฝาสบู แบบ OHV
หน่วยที่..........10.......
สอนครงั้ ที่.............
ชั่วโมงรวม.............
จาํ นวนช่ัวโมง..........

1. สาระสําคญั
ฝาสบู เปน็ ชนิ้ ส่วนท่ีสาคัญอีกอย่างหนง่ึ ของเคร่ืองยนต์ เนอ่ื งจากฝาสบู เป็นสว่ นหนงึ่ ของหอ้ งเผาไหม้ จงึ ตอ้ ง

รบั อุณหภมู ิสูง และภายในชอ่ งน้าระบายความร้อนอาจจะมตี ะกรันจับอยู่ จงึ มผี ลต่อการถา่ ยเทความรอ้ นของฝาสูบ มี
โอกาสทาให้ฝาสบู ร้อนจัดจนเกิดรอยร้าวได้ ดังน้นั เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั ความเสียหายจึงควรจะไดร้ บั การดูแลเอาใจใส่
ทาความสะอาดขดู เขม่า และตะกรันภายในชอ่ งน้าระบายความรอ้ น จงึ จาเป็นต้องมกี ารฝึกปฏิบัติถอดประกอบฝาสูบ
เพอ่ื ใหส้ ามารถบรกิ ารฝาสูบได้อยา่ งถกู ต้อง
2.สมรรถนะประจาํ หน่วย

แสดงความรเู้ กี่ยวกับการการขับรถบนทางดว่ น การขับรถขึน้ ทางดว่ น การขบั รถเข้าชอ่ งทางด่วนอย่าง
ปลอดภัย วธิ กี ารขบั รถบนทางดว่ น การขบั รถลงจากทางด่วน ได้อยา่ งถูกต้องเข้าใจ
3.จดุ ประสงค์การเรียนรู้

3.1 ดานความรู
1. เพ่อื ให้ผูเ้ รยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจในขนั้ ตอนการถอดประกอบ การตรวจสอบ รวมทัง้ การใช้
เครื่องมอื ในการใบริการฝาสูบแบบ OHV ได้อย่างถูกตอ้ ง
2. เพอ่ื ใหเ้ หน็ คณุ ค่าและความสาคัญของฝาสูบ

3.2 ดานทักษะ
1. สามารถถอดและประกอบชดุ ฝาสูบแบบ OHV ตามข้นั ตอนได้อย่างถกู ตอ้ ง
2. สามารถตรวจสอบชุดฝาสูบแบบ OHV ได้

3.3 คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค
1.นักเรยี นมคี วามสนใจฝกั ใฝใ่ นการเรยี นรู้
2.นกั เรียนเข้าเรยี นตรงตามเวลา
3.นกั เรยี นทางานเสรจ็ สมบรู ณ์และส่งตามเวลา
4.นกั เรียนกล้าแสดงออกในการเรียนรนู้ าเสนองาน
5.นักเรียนใช้เครอ่ื งมือ การใชร้ ถฝึกหดั ขับด้วยความปลอดภยั ประหยัด รอบคอบ คมุ้ คา่

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 99
ช่ือหน่วย การถอดประกอบชดุ ฝาสูบแบบ OHV หน่วยที่........10........
สอนครงั้ ที่.............
ชัว่ โมงรวม.............
ช่วั โมงรวม.............

4.เนอื้ หาสาระการเรยี นรู้

การถอดประกอบชุดฝาสูบแบบ OHV

อปุ กรณก์ ารฝกึ 7. ปนื เปา่ ลม
1. เครื่องยนตด์ เี ซลแบบ OHV ตงั้ แทน่

2. ประแจปอนด์ 8. แปรงทาสี

3. ประแจกระบอก 9. ถาดใส่ช้ินสว่ น

4. เคร่อื งมอื ประจาตวั 10. นา้ มนั เบนซนิ
5. ประแจถอดประกอบวาล์ว 11. น้ามนั ดีเซล

6. คอ้ นพลาสตกิ 12. ผ้าเชด็ มอื

งานท่ปี ฏิบัติ 6. การประกอบฝาสูบเขา้ กับเครื่องยนต์
1. การถอดฝาครอบลิ้น

2. การถอดชุดกระเดื่องกดล้ิน 7. การประกอบชุดกระเด่ืองกดลน้ิ

3. การถอดฝาสูบออกจากเครอื่ งยนต์ 8. การตง้ั ลน้ิ เครอื่ งยนต์

4. การถอดลิ้นออกจากฝาสบู 9. การประกอบฝาครอบลน้ิ

5. การประกอบลน้ิ เขา้ กับฝาสูบ

ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงาน
ลาํ ดับขัน้ การถอด

1. เตรียมเครอื่ งมอื วัสดแุ ละอุปกรณ์

2. ถา่ ยนา้ ออกจากหม้อนา้ และเส้ือสูบ

3. ถอดทอ่ น้าระหว่างเครือ่ งยนต์ และหม้อนา้ ออก

4. ถอดสายหัวฉีดระหวา่ งหัวฉีดกบั แม่ปัม๊ ออก 100

5. ถอดท่อและอปุ กรณก์ รองน้ามนั ดเี ซลออก

6. ถอดท่อรว่ มไอดแี ละท่อร่วมไอเสยี ออก

7. ถอดฝาครอบลนิ้ ออกจากเคร่ืองยนต์
8. ถอดนตั ยดึ กระเดือ่ งกดลน้ิ โดยถอดจากนตั ตวั นอกสุดเขา้ หานัตตวั ในสุดเสมอ
9. ยกชุดกระเดือ่ งกดลน้ิ ออกจากฝาสูบ

10. ถอดชดุ กา้ นกระท้งุ ล้ินออกจากเครื่องยนต์

11. ใช้ประแจคลายนตั ฝาสบู ตามลาดับ จากตวั นอกสุดเข้าหาตวั ในสดุ ตามลาดับ ดงั รูป

รูปที่ 13.1.2

12. ยกฝาสูบออกจากเสอื้ สบู
13. ทาความสะอาดห้องเผาไหม้และหัวล้นิ
14. ทาเครื่องหมายท่ีหัวลนิ้ แสดงตาแหนง่ ของล้นิ ประจาสูบ
15. ใชป้ ระแจถอดล้ิน ถอดลิ้นออกทกุ ตวั แล้ววางอปุ กรณ์ไวใ้ ห้เป็นระเบียบ
16. ใช้แปรงล้างและทาความสะอาดชน้ิ สว่ น

ขอ้ ควรระวัง
- ตอ้ งเรยี งก้านกระทุ้งลน้ิ ตามลาดับลกู สูบเสมอ
- ห้ามใชข้ องแข็งงัดระหวา่ งฝาสบู กบั เสอ้ื สูบ
- หา้ มวางฝาสูบลงบนพนื้ หรอื บนโลหะ ใหว้ างบนแท่นไม้หรือแผน่ อะลมู เิ นยี ม

ลาดับขัน้ การประกอบ
1. ใช้น้ามนั หล่อล่นื หยอดในปลอกนาลนิ้ และบริเวณก้านลน้ิ ใหท้ ัว่ ประกอบลนิ้ เข้ากับฝาสูบในตาแหนง่ เดมิ
ตามเครอื่ งหมายที่ทาไว้
2. ใชค้ อ้ นพลาสติกเคาะตีนล้ินเบาๆ เพอื่ กระต้นุ ใหล้ ิ้นปิดสนิท
3. ใสป่ ระเก็นฝาสูบให้ถกู ด้าน

4. ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ย และความถูกตอ้ งของประเกน็ ฝาสูบ
5. ยกฝาสบู มาประกอบเข้าท่ีเดมิ
6. ขันนตั ฝาสูบจากตัวในสุดไปนอกสดุ ตามลาดับ โดยใช้ประแจปอนด์
7. ประกอบชุดกา้ นกระทงุ้ ลิน้ ตามตาแหนง่ เดมิ
8. ประกอบชุดกระเดอ่ื งกดล้นิ ขนั ความตึงตามค่าท่ีกาหนด โดยขันนัตจากตวั ในสดุ ออกไปหาตัวนอกสุด
9. ตั้งระยะห่างของล้นิ ตามค่าทีก่ าหนดโดยใช้ฟิลเลอรเ์ กจ
10. ประกอบฝาครอบลิ้น
11. ตอ่ สายหัวฉดี กับแมป่ มั๊
12. ประกอบชุดกรองน้ามนั ดเี ซลและอุปกรณ์
13. ประกอบชุดทอ่ นา้ และหมอ้ นา้
14. เตมิ น้าในหม้อนา้ ใหไ้ ด้ระดบั

101

15. ตรวจสอบความเรยี บร้อยของงานท่ปี ฏิบตั มิ า ตามข้นั ตอนข้างต้นอยา่ งละเอียด

16. ทาความสะอาดเครอื่ งยนต์ พ้นื ท่ฝี ึกงาน เครื่องมอื และอปุ กรณใ์ หเ้ รียบร้อย

การถอดประกอบชดุ เพลาข้อเหวย่ี ง

อปุ กรณ์การฝกึ 8. กาหยอดนา้ มันเคร่ือง
1. เครอ่ื งยนตด์ เี ซลตง้ั แทน่

2. ประแจปอนด์ 9. ถาดใส่ชนิ้ ส่วน

3. ประแจกระบอก 10. นา้ มันเครื่อง
4. ประแจผสม 11. น้ามนั เบนซิน

5. เครอ่ื งมือประจาตัว 12. นา้ มนั ดีเซล

6. ปนื เป่าลม 13. ผา้ เช็ดมือ

7. แปรงทาสี

งานที่ปฏิบัติ 6. การประกอบเพลาขอ้ เหวี่ยง
1. การถอดฝาสูบ

2. การถอดอา่ งนา้ มันเคร่ือง 7. การประกอบล้อชว่ ยแรง

3. การถอดลกู สบู ออกจากเครอ่ื งยนต์ 8. การประกอบชดุ ลกู สบู เข้ากบั เครอื่ งยนต์

4. การถอดล้อชว่ ยแรง 9. การประกอบอ่างนา้ มันเคร่ือง

5. การถอดเพลาข้อเหวี่ยง 10. การประกอบฝาสบู

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน
ล้าดบั ขนั้ การถอด

1. เตรียมเคร่ืองมือ วัสดุและอุปกรณใ์ ห้พร้อม
2. ถ่ายนา้ จากหม้อน้าและจากเคร่อื งยนต์
3. ถา่ ยน้ามนั เครื่องออก
4. ถอดฝาสูบออก
5. ยกเครื่องยึดกับแท่นบรกิ ารหรือวางบนโต๊ะฝึกงาน
6. ถอดอา่ งนา้ มนั เคร่อื ง
7. ถอดชุดลกู สูบออก
8. ถอดนตั พลู เลย์หน้าเครือ่ งยนต์

102

9. ถอดฝาครอบเฟืองไทมงิ่
10. ถอดชดุ เฟืองหรอื สายพานไทม่งิ
11. ถอดล้อช่วยแรงออก และถอดชดุ ซีลเพลาหลงั ออก
12. ทาเครื่องหมายบนฝาครอบเมนแบร่ิง เพ่ือปอ้ งกนั สลับตาแหนง่ และทิศทาง

13. ถอดฝาประกับแบร่งิ และเมนแบร่ิงออกจนครบทุกชุด (อยา่ ให้แบร่งิ หลุดออกจากประกบั )
14. ยกเพลาขอ้ เหวี่ยงออก
15. ทาความสะอาดช้นิ สว่ น จัดวางให้เปน็ ระเบยี บ
16. เกบ็ อปุ กรณท์ ั้งหมดให้เปน็ ชุดและเป็นระเบียบ

ตรวจสอบการแตกร้าว การสึกหรอ การผุกรอ่ นของเพลาขอ้ เหวย่ี ง

การตรวจเพลาขอ้ เหวี่ยง
ตรวจสอบเพลาข้อเหวยี่ ง
1. วดั ความคดงอของเพลาขอ้ เหวี่ยง
(ก) วางเพลาข้อเหว่ียงบนวีบลอ็ ก
(ข) ใชไ้ ดอลั เกจวัดความคดงอทก่ี ึง่ กลางของเจอนลั ขอ้ เหวี่ยง
ค่าความคดงอสงู สุด : 0.03 มม. (0.0012 น้ิว)
ถา้ ความคดงอมากกวา่ คา่ ที่จากดั ใหเ้ ปลย่ี นเพลาข้อเหวี่ยงใหม่
2. ตรวจสอบเจอนัลข้อเหวี่ยงและเจอนัลกา้ นสบู
(ก) ใชไ้ มโครมเิ ตอรว์ ดั เสน้ ผา่ ศนู ย์กลางของเจอนัลข้อเหวี่ยงและ
กา้ นสบู
(ข)

เสน้ ผา่ ศูนย์กลางเจอนัลขอ้ เหว่ยี ง : 46.985 – 47.000 มม. (1.8498 – 1.8504 น้ิว)
เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางเจอนลั ก้านสบู : 39.985 – 40.000 มม. (1.5742 – 1.5748 นิ้ว)
(ข) วัดความเบ้ียวและเทเปอร์คา่ ความบดิ เบ้ียวและเทเปอร์สงู สุด : 0.02 มม. (0.0008 นิ้ว) ถา้ เป็นเทเปอร์และเบย้ี ว
มากกวา่ คา่ สูงสุดเปลี่นยเพลาขอ้ เหวี่ยงใหม่
3. เจียระไนและขดั เจอนัลข้อเหวย่ี งและเจอนลั ก้านสบู เปน็ ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางอัลเดอร์ไซด์ เสน้ ผ่าศูนย์กลาง
เจอนัลข้อเหวีย่ ง U/S 0.25 46.735 – 46.750 มม. (1.8400 – 1.8405 น้วิ ) เสน้ ผ่าศูนย์กลางเจอนัลกา้ นสูบ : U/S
0.25 39.735 – 39.750 มม. (1.5644 – 1.5650 นว้ิ )

การตรวจสอบระยะรุนเพลาขอ้ เหวี่ยง
1. วดั ระยะรนุ เพลาขอ้ เหวีย่ ง

103

งดั เพลาข้อเหวย่ี งใหเ้ ลอ่ื นไปขา้ งหน้าและหลงั แล้ววดั ระยะรนุ ถา้ ระยะรนุ มากกว่าคา่ ท่ีกาหนด ใหเ้ ปล่ยี นแผน่ กนั รุน
ใหม่

รูปท่ี 5 การวัดระระยะรุนมาตรฐาน 0.02 – 0.22 มม. (0.0008 – 0.0087 น้ิว)ใช้ไอแอลเกจวัดดงั รปู หรอื ใช้ฟิลเลริ ์
เกจวดั ที่แผ่นกันรุนตรงเมนแบรง่ิ ตัวกลางกไ็ ด้

รูปท่ี 6 การใช้ฟิลเลอร์เกจวัด
การตรวจช่องว่างระหว่างเมนแบรง่ิ กับเพลาขอ้ เหวย่ี ง

1. ประกอบเพลาข้อเหวี่ยงบนเสื้อสูบ

2. วางพลาสตกิ เกจในแนวขวางของแตล่ ะเจอนัล

3. ประกอบฝาประกับพรอ้ มกับแบริง่ ดา้ นลา่ งและแผ่นกันรนุ

รปู ที่ 7 การขันฝาประกบั โดยใช้ประแจปอนด์ แรงขัน : 580 กก. – ซม. (42 ฟุต – ปอนด)์

หมายเหตุ หา้ มหมนุ เพลาข้อเหวีย่ ง

4. ถอดประกบั แบร่ิงพรอ้ มกับแบริง่ ดา้ นลา่ งและแผ่นกันรนุ

ด้านล่าง

5. วดั สว่ นทก่ี วา้ งทีส่ ดุ ของพลาสตกิ เกจ

ค่าชอ่ งวา่ งมาตรฐาน : 0.016 – 0.049 มม. (0.0006 – 0.0019

นวิ้ )

ลาดบั ขน้ั การประกอบ

1. ทาความสะอาดและเช็ดด้านหลงั ของเมนแบรงิ่ ให้แหง้ สนิท

2. ประกอบเมนแบรง่ิ เข้ากบั เสอื้ สบู

3. หล่อลน่ื ดว้ ยนา้ มันหลอ่ ลน่ื ทบ่ี รเิ วณดา้ นหน้าเมนแบริ่งทุกตวั โดยการชโลมนา้ มนั เคร่อื ง

4. ประกอบเพลาข้อเหวย่ี ง

5. หลอ่ ลนื่ ดว้ ยน้ามันหลอ่ ลื่นที่เพลาขอ้ เหวีย่ ง

6. ประกอบฝาประกบั เมนแบรงิ่ ตามตาแหนง่ เดมิ ให้ถกู ชุดและถกู ทศิ ทาง

7. ประกอบลอ้ ช่วยแรง กวดค่าแรงบดิ ตามกาหนด

8. กวดนัตยดึ ฝาประกบั เมนแบริ่งตามคา่ แรงบิดที่กาหนด

9. ขันนัตยึดฝาประกับแบรง่ิ 3 ครั้ง จนได้คา่ แรงขันทก่ี าหนด ลาขอ้ เ1ห0ว4่ียง
10. ในขณะขันนตั ยึดฝาประกบั แบรง่ิ แต่ละคร้งั ให้หมนุ ล้อช่วยแรงเพือ่ ตรวจสอบความคล่องตวั ของเพ

เสมอ

11. ประกอบชุดลูกสูบ

12. ประกอบชุดซลี เพลาข้อเหวย่ี งหลัง

13. ประกอบอ่างนา้ มนั เคร่อื ง

14. ประกอบฝาสูบ

15. ประกอบชุดเฟืองไทมิง่ ฝาครอบหน้า และอปุ กรณ์

16. ประกอบชดุ วาล์วและอุปกรณ์ ปรับตั้งระยะหา่ งตนี วาลว์

17. ประกอบทอ่ ต่อสายหัวฉีด และอปุ กรณ์ระบบเช้ือเพลิง

18. ประกอบชุดฝาครอบวาลว์

19. ประกอบท่อนา้ และหมอ้ นา้ แลว้ เตมิ นา้ ให้เรียบรอ้ ย

20. เตมิ น้ามนั เคร่อื ง

21. ตรวจสอบความเรยี บร้อย ทาความสะอาดเคร่ืองยนต์ วัสดอุ ุปกรณ์ และบรเิ วณฝึกงานให้เรียบร้อย

ขอ้ ควรระวัง

- อยา่ ใสเ่ มนแบริง่ สลับลูกสูบ

- อยา่ ใส่ประกบั เมนแบร่ิงผดิ ตาแหน่งและผดิ ทิศทาง

- ขณะขันนตั ฝาประกบั เมนแบร่งิ แต่ละครัง้ ตอ้ งหมนุ ดูความคลอ่ งตวั ของเพลาข้อเหวีย่ งเสมอ

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 105
ชื่อหนว่ ย การถอดประกอบชดุ ฝาสบู แบบ OHV หน่วยที่.......10..........

สอนครง้ั ที่.............

ชัว่ โมงรวม.............

ช่วั โมงรวม.............

5.1 การนําเข้าสูบ่ ทเรยี น
1.ครูพูดคุยทักทายกับนกั เรียน และซักถามถงึ ปญั หาต่างๆ ในการเรียนท่ผี า่ นมา แล้วอธบิ ายเก่ยี วกับเพลาขอ้

เหว่ียง
5.2 การเรียนรู

1.ครูแบง่ นกั เรยี นออกเป็นกลุม่ ๆ ละประมาณ 5-6 คน แล้วให้แต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมารบั ใบงาน ใบ
รายงานการปฏบิ ตั ิงาน เครื่องมอื และอปุ กรณ์ต่างๆ

2.ครูให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษาใบงานใหเ้ ข้าใจ แลว้ ลงมอื ถอดชุดเพลาข้อเหวย่ี ง โดยครูคอยให้
คาแนะนาอยู่ใกลแ้ ละสังเกตการปฏิบัตงิ านของแตล่ ะกลุ่ม เพ่อื บนั ทกึ ในใบประเมินผลการปฏบิ ัติงาน

3.หลังจากแต่ละกลมุ่ ถอดเสรจ็ ครใู หน้ กั เรยี นตรวจสอบชุดเพลาขอ้ เหว่ยี งตามวธิ ีการในใบงาน
5.3 การสรปุ

1.ครตู รวจสอบความเรียบร้อยของแต่ละกลมุ่ อีกครงั้ หนึ่ง และบนั ทึกในใบประเมินผลการปฏบิ ัติงาน
2.ครใู ห้นกั เรยี นชว่ ยกันเกบ็ เครอ่ื งมืออปุ กรณต์ ่างๆให้เรียบร้อย และช่วยกันทาความสะอาดพ้นื ท่ปี ฏิบัตงิ าน
5.4 การวัดและประเมนิ ผล

- ความตรงต่อเวลา
- ความรบั ผดิ ชอบต่องานทีม่ อบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สังเกตความสนใจในห้องเรยี น

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 106
หนวยที่......10.........

ช่ือหนวย การถอดประกอบชุดฝาสบู แบบ OHV สอนครัง้ ที่.............
ชวั่ โมงรวม.............

ชัว่ โมงรวม.............

6.ส่อื การเรยี นรู/แหลงการเรยี นรู
6.1 สอื่ สงิ่ พิมพ

1.เอกสารประกอบการเรยี นหน่วยท่ี 10 การถอดประกอบชดุ ฝาสบู แบบ OHV
2.แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบ 10

6.2 ส่อื โสตทศั น (ถาม)ี
3.เคร่ืองฉาย projector
4.PowerPoint เรอ่ื ง การถอดประกอบชดุ ฝาสบู แบบ OHV

6.3 หนุ จําลองหรอื ของจรงิ (ถาม)ี
1. เครือ่ งยนตด์ เี ซล
2. รถโตโยต้า วโี ก้

6.4 อ่นื ๆ (ถามี)
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1.ใบความรู
2.ใบงาน
8. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธกับวชิ าอนื่
1. ภาษาอังกฤษและการสือ่ สาร
2. ไฟฟา้ และอิเลค็ โทรนิคเบอื้ งต้น

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ 107
หนวยท.่ี .......10.........

ช่ือหนวย การถอดประกอบชุดฝาสบู แบบ OHV สอนครงั้ ท่ี.............
ชัว่ โมงรวม.............

ชว่ั โมงรวม.............

9. การวดั และประเมนิ ผล
9.1 กอนเรยี น

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรียน
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลงั เรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................
.................................................................................................... ...........................................................................

10. บนั ทกึ หลังสอน
10.1 ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

............................................................................................................................. ..................................................

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 108
หนว่ ยท่ี.......10........

ช่อื หนวย การถอดประกอบชุดฝาสบู แบบ OHV สอนคร้ังที.่ ............
ช่วั โมงรวม.............

ชัว่ โมงรวม.............

10.2 ผลการเรียนรูของนักเรียน นักศกึ ษา
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
10.3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรู
......................................................................................................................................................... ........................

.................................................................................................. ..............................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

............................................................................................................................ ........................................................

............................................................................................................................. ....................................................
....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................


Click to View FlipBook Version