The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pickviper, 2021-09-27 10:29:16

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

แผนการงานเครื่องยนต์ดีเซล

แผนการจัดการเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะ

ชื่อวิชา....งานเคร่อื งยนตด์ ีเซล...รหสั วชิ า....20101-2002.. หนว่ ยกิต..3..ปฏิบัต.ิ ...6....ทฤษฎ.ี ..1.....

หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสงู

ประเภทวิชา..........อุตสาหกรรม...........สาขาวิชา.........เครื่องกล...............
สาขางาน...................................ช่างยนต์...................

จัดทาํ โดย
นายหริ ัญ อดิศักด์เิ ดชา

วิทยาลยั สารพัดช่างระยอง
สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ

รายการตรวจสอบและอนญุ าตใหใ้ ช้

 ควรอนญุ าตใหใ้ ช้ในการสอนได้
 ควรปรบั ปรงุ เกีย่ วกบั
........................................................................................................................................................................

……………………………………….
(นายชมุ พร มะธปิ ไิ ข)
หวั หนา้ แผนกวชิ าช่างยนต์
............/............./.............

 เห็นสมควรอนญุ าตใหใ้ ช้ในการสอนได้
 ควรปรับปรงุ เก่ยี วกับ
........................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………….
(นางสาวศุภพิชญ์ พืชพนั ธุ์)
หัวหน้างานพฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอน
............/............./.............
 เหน็ สมควรอนญุ าตใหใ้ ช้ในการสอนได้
 ควรปรับปรุงดังเสนอ
 อน่ื ๆ
.......................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
……………………………………….

(นายเอกรฐั สว่างยงิ่ )
รองผูอ้ านวยการฝ่ายวชิ าการ
............/............./.............
 อนญุ าตใหใ้ ช้ในการสอนได้
 อื่นๆ
........................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………….
(นายกิตติพงศ์ อุตตมะเวทนิ )
ผูอ้ านวยการวทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งระยอง
............/............./............

ก.

คานา

แผนการสอนวิชา งานซ่อมเครือ่ งยนต์ รหัสวชิ า 20101 - 2002 น้เี ป็นการสอนตามหลกั สูตร
ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ กรมอาชีวศกึ ษา พุทธศักราช 2562 เป็นแผนการสอนท่มี งุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะ
ในการสอน โดยมงุ่ เน้นให้ผเู้ รยี นรจู้ ักการวางแผนการสอน นาวิธกี ารสอนต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการสอน
ท้งั ภาคทฤษฎี และ ปฏบิ ัตวิ ิชาชา่ ง รวมทั้งใหผ้ ้เู รียนได้ฝกึ ทกั ษะการสอนกอ่ นออกสอน แผนการสอน
ประกอบดว้ ย หัวเรื่อง แนวคิดหรอื มโนมติ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ส่ือการสอน และการประเมินผล

แผนการสอนนคี้ งจะเปน็ ประโยชนต์ ่อผูเ้ รียน ครอู าจารย์ และผู้ท่ีสอนได้เป็นอยา่ งดี ผเู้ ขยี น
ขอขอบคุณท่านผูอ้ านวยการ คณะอาจารย์ และเจ้าหน้าที่วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคามทกุ ท่านท่ีให้การ
สนบั สนนุ และสง่ เสริมในการจัดทาแผนการสอนนใ้ี หส้ าเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี

ผู้จัดทา
นายหิรญั อดิศักดิเ์ ดชา

สารบญั ข.

คาอธิบายรายวิชา หนา้
หนว่ ยการเรยี นรู้ 1
สมรรถนะประจาหนว่ ย 2
แผนการจัดการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 1 3-8
6
สาระสาคัญ 6
เน้ือหาสาระ 7-10
การนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น 11
สื่อการเรยี นรู้ 12
การวัดประเมนิ ผล 13
บันทกึ หลงั การสอน 13-14
แผนการจัดการเรยี นรู้หน่วยที่ 2 15
สาระสาคัญ 15
เนอื้ หาสาระ 16-19
การนาเขา้ สูบ่ ทเรียน 20
สือ่ การเรยี นรู้ 21
การวัดประเมินผล 22
บันทกึ หลังการสอน 22-23
แผนการจดั การเรียนรู้หน่วยที่ 3 24
สาระสาคญั 24
เน้ือหาสาระ 25-31
การนาเข้าส่บู ทเรียน 32
สอ่ื การเรยี นรู้ 33
การวัดประเมนิ ผล 34
บนั ทึกหลังการสอน 34-35
แผนการจัดการเรยี นรูห้ น่วยที่ 4 36
สาระสาคัญ 36
เนอ้ื หาสาระ 37-43
การนาเขา้ สู่บทเรียน 44
สื่อการเรยี นรู้ 45
การวัดประเมนิ ผล 46

บันทึกหลังการสอน 46-47
แผนการจัดการเรยี นรู้หนว่ ยท่ี 5 48
48
สาระสาคัญ 49-52
เนอ้ื หาสาระ 53
การนาเขา้ สู่บทเรยี น 54
สอ่ื การเรียนรู้ 55
การวัดประเมินผล 55-56
บันทึกหลงั การสอน 57
แผนการจัดการเรยี นรหู้ นว่ ยท่ี 6 57
สาระสาคญั 58-62
เนื้อหาสาระ 63
การนาเข้าสู่บทเรยี น 64
สื่อการเรียนรู้ 65
การวัดประเมนิ ผล 65-66
บันทึกหลงั การสอน 67
แผนการจัดการเรยี นรู้หน่วยที่ 7 67
สาระสาคัญ 68-73
เนือ้ หาสาระ 74
การนาเขา้ ส่บู ทเรยี น 75
สอ่ื การเรยี นรู้ 76
การวัดประเมนิ ผล 76-77
บนั ทกึ หลงั การสอน 78
แผนการจดั การเรยี นรู้หน่วยที่ 8 78
สาระสาคญั 79-84
เนอื้ หาสาระ 85
การนาเข้าสู่บทเรียน 86
สือ่ การเรียนรู้ 87
การวดั ประเมินผล 87-88
บนั ทึกหลังการสอน 89
แผนการจดั การเรยี นรหู้ น่วยที่ 9 89
สาระสาคญั 90-93
เนอื้ หาสาระ 94
การนาเข้าส่บู ทเรียน

สอ่ื การเรียนรู้ 95
การวัดประเมนิ ผล 96
บนั ทกึ หลงั การสอน 96-97
แผนการจดั การเรยี นรู้หน่วยที่ 10 98
สาระสาคญั 98
เนอื้ หาสาระ 99-104
การนาเขา้ สู่บทเรยี น 105
สื่อการเรียนรู้ 106
การวดั ประเมนิ ผล 107
บันทึกหลังการสอo 107-108

1

หลักสตู รรายวชิ า

ชือ่ วชิ า....งานเครื่องยนต์ดเี ซล...รหัสวิชา....20101-2002.. หนว่ ยกิต..3..ปฏบิ ัติ....6....ทฤษฎ.ี ..1.....

หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู

สาขาวชิ า.........เคร่ืองกล...............สาขางาน...................ชา่ งยนต์...................

จุดประสงค์รายวชิ า
1. เพอ่ื ให้มคี วามเขา้ ใจหลกั การทางานหน้าทีร่ ะบบตา่ ง ๆ ของเครื่องยนตด์ เี ซล
2. เพ่ือใหส้ ามารถถอดประกอบ ตรวจสภาพชิน้ ส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองยนตด์ เี ซล และ บารงุ รักษา
เคร่ืองยนต์ดเี ซล
3. เพ่อื ใหม้ กี ิจนิสยั ทีด่ ใี นการทางานด้วยความเป็นระเบียบสะอาดประณตี ปลอดภัย และ รักษา
สภาพแวดลอ้ ม

สมรรถนะรายวิชา
1. เข้าใจหลกั การตรวจสอบหลักการทางานหน้าทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของเครอ่ื งยนต์ดเี ซล
2. บารุงรกั ษาเครื่องยนต์ดเี ซล
3. ตรวจสภาพช้ินส่วนของระบบต่าง ๆ เครื่องยนต์ดีเซล
4. ถอดประกอบชิ้นส่วนของระบบตา่ ง ๆ เครื่องยนตด์ ีเซล
5. ปรับแตง่ เคร่ืองยนต์ดเี ซล

คาํ อธิบายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับหลกั การทางาน ถอดประกอบ ตรวจสภาพชน้ิ ส่วน ระบบฉีดเชื้อเพลิง

ระบบหล่อลนื่ ระบบระบายความรอ้ น ระบบไอดี ระบบไอเสีย การตดิ เคร่อื งยนต์ การปรับแต่ง การบารงุ รักษา
เคร่อื งยนต์ดเี ซล

หนวยการเรียนรู 2

หนวยท่ี ชอื่ หนวยการเรียนรู จาํ นวน ชั่วโมง สปั ดาหท่ี

1 รายละเอยี ดเบอ้ื งต้นเกีย่ วกบั เครอื่ งยนต์ดีเซล 71
2 หลักการและทฤษฎีเกีย่ วกับเครอื่ งยนตด์ เี ซล 72
3 กระบวนการเผาไหมแ้ ละห้องเผาไหม้ 73
4 โครงสร้างและสว่ นประกอบของเครอื่ งยนตด์ ีเซล 74
5 ป๊ัมนา้ มันเชอ้ื เพลิง 75
6 หวั ฉดี 76
7 ระบบหล่อลื่น 77
8 ระบบระบายความร้อน 78
9 การใช้ การบารุงรกั ษา และการซอ่ งเครื่องยนตด์ เี ซล 79
10 การถอดประกอบชน้ิ ส่วนเคร่อื งยนตด์ เี ซล 7 10

หนวยการเรยี นรูและ

ชือ่ หนวย ความรู้ สมรร

หนว่ ยที่ 1 รายละเอยี ด 1.นักเรยี นมีความรู้เกย่ี วกับประวตั ิและวิวัฒนาการของ แสดงความร
เบ้ืองต้นเกี่ยวกบั เครือ่ งยนต์ดเี ซล เคร่อื งยนตด์
เครือ่ งยนตด์ เี ซล 2.นกั เรียนรกู้ ารเปรยี บเทยี บระหว่างเครอ่ื งยนต์ดีเซล ดเี ซลกับเคร
กับเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี
ระหว่างเคร
3.นกั เรียนรู้การเปรยี บเทยี บระหวา่ งเคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ
จังหวะ กับเครอื่ งยนต์ 4 จังหวะ

หน่วยท่ี 2 หลกั การและ 1.นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจหลักการทางาน แสดงความ
ทฤษฎีเกยี่ วกบั เครอื่ งยนต์ ของเคร่อื งยนตด์ เี ซล ดเี ซล เวลา
ดีเซล 2.นกั เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเวลาการปิดเปิด เหน็ คณุ ค่า
ลนิ้ ของเคร่อื งยนตด์ เี ซล
3.นกั เรยี นเห็นคุณค่าของหลักการทางาน
เคร่อื งยนต์ดีเซล

หนว่ ยท่ี 3 กระบวนการ 1.นักเรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจกระบวนการเผา แสดงความ
เผาไหมแ้ ละห้องเผาไหม้ ไหมข้ องเครอ่ื งยนตด์ เี ซล เครอื่ งยนต
2.นกั เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั การเผา ดีเซล หลัก
ไหม้น็อคในเครอื่ งยนต์ดีเซล ในเคร่ืองยน
3.นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจหลกั การทางาน หอ้ งเผาไห
ของหอ้ องเผาไหม้แบต่างๆ ในเครื่องยนต์ดีเซล คณุ ค่าของ
4.นกั เรยี นรู้คาศพั ท์กระบวนการเผาไหม้และ

3

ะสมรรถนะประจาํ หนวย

ถนะ

ทกั ษะ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์

รเู้ ก่ยี วกบั ประวตั ิและวิวัฒนาการของ 1.นกั เรยี นมีความสนใจฝักใฝ่ในการเรยี นรู้
ดเี ซล การเปรยี บเทยี บระหว่างเครือ่ งยนต์ 2.นกั เรียนเข้าเรยี นตรงตามเวลา
รือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน การเปรียบเทยี บ 3.นักเรียนทางานเสร็จสมบูรณแ์ ละส่งตามเวลา
4.นกั เรียนกล้าแสดงออกในการเรยี นรนู้ าเสนองาน
รอื่ งยนต์ 2 จังหวะ กบั เครื่องยนต์ 4

5.นกั เรยี นใช้เครื่องมือ การใช้รถฝึกหดั ขับด้วยความ

ปลอดภัย ประหยัด รอบคอบ คุม้ ค่า

มเข้าใจหลกั การทางานของเครือ่ งยนต์ 1.นักเรียนมีความสนใจฝักใฝ่ในการเรยี นรู้

าการปดิ เปิดล้ินของเคร่ืองยนต์ดีเซล 2.นกั เรยี นเขา้ เรียนตรงตามเวลา

าของหลักการทางานเครือ่ งยนตด์ ีเซล 3.นกั เรียนทางานเสร็จสมบรู ณแ์ ละส่งตามเวลา

4.นกั เรยี นกล้าแสดงออกในการเรยี นรู้นาเสนองาน

5.นักเรียนใช้เครอื่ งมอื การใช้รถฝกึ หดั ขับดว้ ยความ

ปลอดภัย ประหยัด รอบคอบ คุ้มค่า

มเข้าใจกระบวนการเผาไหม้ของ 1.นักเรียนมคี วามสนใจฝกั ใฝ่ในการเรียนรู้
ตด์ เี ซล การเผาไหมน้ ็อคในเครือ่ งยนต์ 2.นกั เรียนเขา้ เรียนตรงตามเวลา
กการทางานของห้อองเผาไหมแ้ บต่างๆ 3.นักเรียนทางานเสร็จสมบูรณ์และส่งตามเวลา
นตด์ ีเซล กระบวนการเผาไหม้และ 4.นกั เรยี นกลา้ แสดงออกในการเรียนรู้นาเสนองาน
หม้ ตระหนักถงึ ความสาคัญและเหน็ 5.นักเรียนใชเ้ ครอื่ งมอื การใช้รถฝึกหดั ขับด้วยความ
งกระบวนการเผาไหม้และห้องเผาไหม้ ปลอดภัย ประหยัด รอบคอบ คุม้ ค่า

หอ้ งเผาไหม้
5.นักเรียนตระหนกั ถงึ ความสาคญั และเห็น
คณุ ค่าของกระบวนการเผาไหมแ้ ละห้องเผาไหม้

หน่วยท่ี 4 โครงสร้างและ 1นักเรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับชือ่ ของ แสดงความ
สว่ นประกอบของ ชน้ิ สว่ นที่มีการเคลอ่ื นท่ี ตลอดจนหนา้ ที่การ ทม่ี กี ารเคล
เครอ่ื งยนต์ดีเซล ทางานและโครงสร้างของชนิ้ ส่วนเหลา่ นน้ั โครงสร้างข
2.นกั เรยี นมีความรูค้ วามเข้าใจคาศพั ทท์ ี่ เก่ยี วขอ้ งก
หน่วยที่ 5 ปั๊มนา้ มัน เกยี่ วขอ้ งกบั โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของ เคร่อื งยนต
เชอ้ื เพลงิ เคร่ืองยนตด์ เี ซล เคลือ่ นทใ่ี น
3.นกั เรยี นเหน็ คุณค่าของชน้ิ สว่ นทเ่ี คลอ่ื นท่ีใน
เคร่อื งยนตด์ ีเซล แสดงความ
1.นักเรยี นให้มีความรู้ ความเขา้ ใจขั้นตอนการ ประกอบป
ถอดประกอบปมั๊ ดดู นา้ มัน น้ามนั
2.นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจการตรวจสอบ ตระหนักถ
ป๊ัมดูดน้ามัน นา้ มัน
3.นักเรียนตระหนกั ถงึ คณุ ค่าและความสาคญั
ของป๊ัมดูดนา้ มัน

หนว่ ยท่ี 6 หวั ฉีด 1.นกั เรยี นมีความร้คู วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ชนดิ และ แสดงความ

โครงสรา้ งของหัวฉีดแบบต่างๆ หัวฉีดแบบ

2.นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจหลักการทางาน ตา่ งๆ คาศ

ของหัวฉีดชนดิ ต่างๆ คณุ ค่าและ

3.นักเรยี นรคู้ าศพั ทท์ เี่ ก่ียวขอ้ งกับหัวฉดี

4.นักเรียนตระหนกั ถึงคณุ คา่ และความสาคัญ

ของหัวฉีด

มรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ชอื่ ของชนิ้ สว่ น 1.นกั เรยี นมีความสนใจฝักใฝใ่ นการเรยี นรู้

ล่ือนท่ี ตลอดจนหน้าท่กี ารทางานและ 2.นกั เรียนเขา้ เรยี นตรงตามเวลา

ของช้นิ สว่ นเหลา่ นัน้ เข้าใจคาศพั ทท์ ่ี 3.นักเรียนทางานเสร็จสมบรู ณ์และส่งตามเวลา

กับโครงสรา้ งและสว่ นประกอบของ 4.นักเรยี นกลา้ แสดงออกในการเรยี นรู้นาเสนองาน

ตด์ เี ซล เหน็ คุณค่าของชนิ้ ส่วนท่ี 5.นกั เรียนใช้เครือ่ งมือ การใชร้ ถฝกึ หดั ขับดว้ ยความ

นเครอ่ื งยนตด์ ีเซล ปลอดภยั ประหยัด รอบคอบ คุ้มค่า

มรู้ความเขา้ ใจข้ันตอนการถอด 1.นกั เรียนมคี วามสนใจฝักใฝ่ในการเรยี นรู้
ปม๊ั ดูดนา้ มนั การตรวจสอบปั๊มดดู 2.นกั เรยี นเข้าเรยี นตรงตามเวลา
3.นักเรียนทางานเสรจ็ สมบรู ณแ์ ละส่งตามเวลา
ถึงคณุ คา่ และความสาคัญของป๊ัมดูด 4.นกั เรียนกลา้ แสดงออกในการเรียนรนู้ าเสนองาน
5.นักเรยี นใช้เครอ่ื งมอื การใช้รถฝกึ หดั ขบั ด้วยความ
ปลอดภยั ประหยัด รอบคอบ คมุ้ ค่า

มร้เู ก่ียวกบั ชนดิ และโครงสรา้ งของ 1.นักเรยี นมีความสนใจฝักใฝใ่ นการเรียนรู้
บต่างๆ หลกั การทางานของหวั ฉีดชนดิ 2.นักเรียนเขา้ เรียนตรงตามเวลา
ศัพทท์ เี่ ก่ยี วข้องกบั หัวฉดี ตระหนกั ถึง 3.นักเรียนทางานเสร็จสมบูรณแ์ ละสง่ ตามเวลา
ะความสาคญั ของหวั ฉดี 4.นกั เรยี นกล้าแสดงออกในการเรยี นรนู้ าเสนองาน
5.นักเรียนใชเ้ ครอ่ื งมือ การใช้รถฝกึ หดั ขบั ดว้ ยความ
ปลอดภยั ประหยดั รอบคอบ ค้มุ ค่า

หน่วยท่ี 7 ระบบหล่อล่นื 1.นกั เรียนมคี วามรูค้ วามเข้าใจหน้าที่ และชนดิ แสดงความ
ของระบบหล่อลืน่ ในเครอื่ งยนต์ ระบบหล่อ
2.นกั เรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจในอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ระบบหล่อ
ของระบบหลอ่ ลน่ื สาหรบั เคร
3.นักเรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจการแบง่ ประเภท ระบบนา้ ม
น้ามนั หลอ่ ล่นื สาหรบั เคร่ืองยนต์
4.นกั เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจคาศัพทท์ ่ี
เก่ียวขอ้ งกับระบบนา้ มันหล่อลืน่

หน่วยท่ี 8 ระบบระบาย 1.นักเรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจหน้าท่ขี องระบบ แสดงความ
ความรอ้ น ระบายความรอ้ น ระบายควา
2.นักเรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจประโยชนข์ อง ความร้อน
การระบายความรอ้ น ข้อเสียของ
3.นกั เรียนมมี คี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ระบบ เขา้ ใจคาศพั
ระบายความรอ้ นและข้อดีข้อเสียของระบบ ของระบบร
ระบายความรอ้ นแบบตา่ งๆ
4.นกั เรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจคาศัพท์ระบบ
ระบายความร้อน
เพื่อใหเ้ ห็นคณุ คา่ ของระบบระบายความร้อน

หน่วยท่ี 9 การใช้ การ ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจการตรวจสอบ แสดงความ
บารุงรกั ษา และการซอ่ ง
เครือ่ งยนต์ดเี ซล เคร่ืองยนต์ และการใชเ้ คร่อื งยนตใ์ หมค่ รง้ั แรก และการใช

เพอ่ื ใหม้ คี วามร้คู วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั กาตรวจสอบ ตรวจสอบ

และการบารงุ รกั ษาเครอื่ งยนต์ดเี ซลให้มีความรู้ เพ่อื ให้มคี ว

ความเข้าใจการซอ่ มแซมเครือ่ งยนตด์ เี ซลใหร้ ู้ เคร่ืองยนต

มรู้ความเขา้ ใจหน้าที่ และชนดิ ของ 1.นักเรยี นมคี วามสนใจฝักใฝ่ในการเรยี นรู้
อลน่ื ในเครื่องยนต์ อปุ กรณต์ ่าง ๆ ของ 2.นกั เรียนเข้าเรยี นตรงตามเวลา
อล่ืน การแบง่ ประเภทน้ามันหลอ่ ลน่ื 3.นกั เรยี นทางานเสร็จสมบรู ณแ์ ละส่งตามเวลา
รื่องยนต์ เข้าใจคาศพั ทท์ เ่ี กีย่ วขอ้ งกับ 4.นักเรียนกล้าแสดงออกในการเรียนร้นู าเสนองาน
มนั หล่อล่นื 5.นกั เรยี นใช้เครื่องมือ การใชร้ ถฝกึ หัดขบั ดว้ ยความ
ปลอดภัย ประหยดั รอบคอบ คมุ้ ค่า

มรเู้ กยี่ วกับเข้าใจหน้าท่ขี องระบบ 1.นกั เรยี นมคี วามสนใจฝักใฝใ่ นการเรียนรู้

ามร้อน ประโยชน์ของการระบาย 2.นกั เรียนเข้าเรยี นตรงตามเวลา

ระบบระบายความร้อนและข้อดี 3.นักเรียนทางานเสร็จสมบูรณ์และสง่ ตามเวลา

งระบบระบายความร้อนแบบตา่ งๆ 4.นักเรยี นกลา้ แสดงออกในการเรียนรู้นาเสนองาน

พทร์ ะบบระบายความร้อน เห็นคุณคา่ 5.นกั เรียนใช้เคร่อื งมอื การใช้รถฝึกหัดขับด้วยความ

ระบายความรอ้ น ปลอดภยั ประหยดั รอบคอบ คุ้มค่า

มรูเ้ ก่ียวกบั การตรวจสอบเครือ่ งยนต์ 1.นักเรียนมคี วามสนใจฝักใฝ่ในการเรยี นรู้
ชเ้ ครื่องยนต์ใหม่คร้ังแรก การ 2.นกั เรียนเขา้ เรียนตรงตามเวลา
3.นกั เรยี นทางานเสรจ็ สมบูรณ์และส่งตามเวลา
และการบารงุ รกั ษาเครื่องยนตด์ ีเซล 4.นักเรียนกลา้ แสดงออกในการเรยี นร้นู าเสนองาน
วามรคู้ วามเขา้ ใจการซ่อมแซม 5.นักเรียนใช้เครอ่ื งมือ การใชร้ ถฝกึ หัดขบั ดว้ ยความ
ตด์ ีเซล รู้คาศัพทก์ ารใช้ การ

คาศพั ท์การใช้ การบารุงรักษา และการซ่อม บารุงรกั ษา
เครอ่ื งยนต์ดเี ซล

หนว่ ยที่ 10 การถอด 1.ผู้เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจในข้ันตอนการถอด แสดงคามร
ประกอบ การตรวจสอบ
การบรกิ ารฝาสูบ ประกอบ การตรวจสอบ รวมท้งั การใช้ การตรวจส

เคร่อื งมือในการใบรกิ ารฝาสูบแบบ OHV ได้ ริการฝาสูบ

อยา่ งถกู ตอ้ งเพ่อื ใหเ้ หน็ คุณค่าและความสาคัญ เหน็ คณุ ค่า

ของฝาสบู

า และการซ่อมเคร่ืองยนตด์ เี ซล ปลอดภยั ประหยัด รอบคอบ คุ้มค่า

รู้เกย่ี วกบั ขน้ั ตอนการถอดประกอบ 1.นกั เรียนมีความสนใจฝกั ใฝใ่ นการเรียนรู้

สอบ รวมทงั้ การใช้เคร่อื งมอื ในการใบ 2.นักเรียนเข้าเรยี นตรงตามเวลา

บแบบ OHV ได้อยา่ งถกู ตอ้ งเพอื่ ให้ 3.นกั เรยี นทางานเสร็จสมบูรณ์และส่งตามเวลา

าและความสาคัญของฝาสูบ 4.นกั เรียนกล้าแสดงออกในการเรียนรู้นาเสนองาน

5.นกั เรยี นใช้เครือ่ งมือ การใช้รถฝกึ หดั ขบั ดว้ ยความ

ปลอดภยั ประหยัด รอบคอบ คุ้มค่า



6

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยท่ี.....1........

ช่อื หนว่ ย อุปกรณค์ วบคมุ และแผงหน้าปัด สอนครัง้ ท่ี.............
ช่ัวโมงรวม.............

จาํ นวนชัว่ โมง..........

1. สาระสาํ คญั
เครื่องยนตด์ เี ซลใชน้ า้ มนั หนักเป็นเชื้อเพลงิ การทางานโดยการอัดอากาศให้ความดันสงู และอณุ หภูมb

เพมิ่ ข้ึนจนถึงจุดทส่ี ามารถจุระเบดิ นา้ มันเชอ้ื เพลงิ ท่ฉี ีดเข้าไปในกระบอกสูบได้ด้วยตนเอง

ขณะทีเ่ คร่อื งยนตเ์ บนซินใชป้ ระกายไฟฟ้า จดุ ระเบดิ สว่ นผสมของอากาศ-น้ามันเช้ือเพลิงแต่ในเคร่อื งยนต์
ดีเซลใชก้ ารจุดระเบิดด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม เพือ่ ให้มกี ารจุดระเบดิ ด้วยตนเองได้ จาเป็นตอ้ งเพม่ิ อุณหภมู ิภายใน
ห้องเผาไหม้ขึ้นถึงประมาณ 500 องศาเซลเซยี ส หรือมากกวา่ โดยการเพิม่ อัตราส่วนกาลงั อัดให้อยู่ในย่าน 15-22
ต่อ 1 จะทาใหอ้ ุณหภูมแิ ละความดันสงู ดว้ ยเหตนุ เ้ี คร่ืองยนต์ดเี ซลจงึ ต้องการความคงทนมากกว่าเครื่องยนต์เบนซิน

3.จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดานความรู
1.นกั เรยี นมคี วามรูเ้ ก่ียวกบั ประวัตแิ ละวิวัฒนาการของเคร่อื งยนตด์ ีเซล

2.นักเรียนรู้การเปรียบเทยี บระหว่างเคร่อื งยนตด์ ีเซลกับเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีน

3.นกั เรียนรกู้ ารเปรยี บเทยี บระหวา่ งเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ กบั เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ
3.2 ดานทักษะ

3.2.1.อธิบายประวัติและวิวัฒนาการของเครือ่ งยนตด์ เี ซลได้อย่างถกู ต้อง
3.2.2 บอกการเปรยี บเทยี บระหว่างเครื่องยนต์ดเี ซลกับเครื่องยนต์แกส๊ โซลีนได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
3.2.3 บอกการเปรียบเทยี บระหว่างเครอ่ื งยนต์ 2 จงั หวะ กับเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ ไดอ้ ย่างถูกต้อง
3.3 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค
3.3.1 นักเรียนมีความสนใจฝกั ใฝใ่ นการเรยี นรู้
3.3.2 นกั เรียนเขา้ เรยี นตรงตามเวลา
3.3.3 นกั เรียนทางานเสรจ็ สมบรู ณ์และส่งตามเวลา
3.3.4 นกั เรียนกล้าแสดงออกในการเรยี นรู้นาเสนองาน
3.3.5 นักเรียนใชเ้ ครอื่ งมือ การใช้รถฝึกหัดขบั ด้วยความปลอดภัย ประหยัด รอบคอบ คุ้มคา่

7

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยท่ี.........1........

ช่ือหนว่ ย อุปกรณค์ วบคมุ และแผงหน้าปดั สอนครั้งที่.............
ชัว่ โมงรวม.............

ชั่วโมงรวม.............

4.เนือ้ หาสาระการเรยี นรู้
เครื่องยนต์ดีเซลเป็นเครื่องยนตป์ ระเภทสนั ดาปภายใน (Internal Combustion Engine) ทไี่ ด้พลงั านจากความ
รอ้ นซง่ึ เกดิ จากการสันดาปของเชื้อเพลงิ ภายในกระบอกสูบ จงึ เรยี กว่าเปน็ เครอื่ งจักรกลความรอ้ น (Heat Engine)
เครื่องยนต์ดีเซลมคี ณุ ลักษณะท่ีสาคัญแตกต่างจากเคร่ืองยนตป์ ระเภทอน่ื คอื วธิ ีการจดุ ระเบดิ เชือ้ เพลงิ ซง่ึ เครอ่ื งยนต์
ดเี ซลใช้วธิ ฉี ีดเช้อื เพลิงเข้าไปในกระบอกสบู ทมี่ อี ากาศอดั ด้วยความดนั สงู อากาศท่ีอัดอยใุ่ นกระบอกสบู ของเคร่อื งยนต์
ด้วยความอัดสูงน้ีจะทาใหอ้ ุณหภูมขิ องอากาศเพ่ิมสูงขึ้น ดงั นั้นเมื่อเชอ้ื เพลิงฉดี เป็นฝอยละอองเข้าไปกระทบกับความ
ร้อนก็จะเกดิ การจุดระเบิดข้นึ โดยเหตนุ จ้ี งึ อาจเรียกเครอ่ื งยนต์ดีเซลว่าเป็นเครอื่ งจุดระเบดิ ด้วยเครื่องอัด
(Compressioon Ignirion Engines หรือ C . I . Engines ) ก็ได้

1. ประวตั แิ ละววิ ัฒนาการของเครอื่ งยนต์ดีเซล
ในระยะเร่ิมต้นของการพัฒนาอตุ สาหกรรมน้นั เคร่อื งต้นกาลงั ทสี่ าคัญท่ีสดุ คอื เครอื่ งจกั รไอนา้ เป็น
เครอื่ งยนตเ์ ผาไหมน้ อกกระบอกสบู ต่อมาในปี ค.ศ. 1892 ดร.รดู อล์ฟ ดีเซล (Dr. Rudolf Disel ) ไดเ้ สนอ
หลกั การของเครอ่ื งยนต์เผาไหม้ภายในแบบหนึง่ หลกั การน้เี ครอื่ งยนตจ์ ะดดู อากาศเขา้ ไปภายในกระบอกสบู เพียง
อย่างเดียว แล้งอดั ใหร้ อ้ นโดยลูกสูบเม่ือลกู สบู เคลื่อนท่ีเข้าใกลศ้ นู ย์ตายบน (Top Dead Center or TDC ) ก็ฉีด
เช้อื เพลิงเขา้ ไปให้ความร้อนจากอากาศที่ถูกอัดตวั จนรอ้ นจัดเผาไหมเ้ ช้ือเพลิง เกิดเปน็ แกส๊ ขยายตวั อย่างรวดเร็ว
ผลักดันให้ลูกสูบเคลื่อนท่ีลง นากาลังทไี่ ดไ้ ปใชง้ าน
ครง้ั แรกเขาสร้างเครือ่ งยนตต์ ามหลกั การน้ี โดยใชผ้ งถา่ นหินเป็นเชอื้ เพลงิ แตต่ ่อมาเขาล้มเลกิ ความคดิ นี้
เครอ่ื งยนต์เคร่ืองท่ี 2 ทีเ่ ขาสร้างข้นึ ใช้นา้ มนั เชอ้ื เพลงิ แตก่ ป็ ระสบความล้มเหลว เพราะเขาสรา้ งเครื่องยนตท์ ่ีมีกาลงั
อัดสงู เกนิ ไป และไมม่ ีระบบระบายความร้อน
ในปี ค.ศ. 1895 เขาสร้างเครอื่ งยนต์เครื่องที่ 3 ไดเ้ ป็นผลสาเรจ็ โดยใชห้ ลักการทางานของเครอื่ งยนต์ 4
จังหวะ มีกาลังอัดในกระบอกสูบ 31.5 กิโลกรมั / ตารางเซนติเมตร ใชน้ า้ เป็นตวั ระบายความร้อน ระบบฉดี เชื้อเพลิง
ใช้อากาศทม่ี คี วามดนั สูง ดนั นา้ มันเชอื้ เพลิงเข้าไปในกระบอกสูบ ซงึ่ เรียกว่า ระบบฉีดด้วยความอัด ( Air
Injection) เครือ่ งยนต์เคร่อื งนี้มปี ระสิทธภิ าพทางความร้อนสูงถึง 24 % ซึง่ นบั ว่าสูงมากในยคุ น้ัน
เนอื่ งจากเครอื่ งยนตท์ ่เี ขาสรา้ งขน้ึ ใช้ความรอ้ นจากการอัดอากาศเปน็ ตวั จุดเชอ้ื เพลงิ ให้เผาไหม้ จึงเรยี กวา่
เคร่ืองยนตจ์ ดุ ระเบิดด้วยอากาศอัด (Compression ignition Engine , CI engine) เพื่อเปน็ เกยี รติแก่ผูส้ ร้าง
เครอื่ งยนตน์ ีจ้ งึ เรยี กวา่ เครื่องยนตด์ ีเซล ( Disel Engine )
2. การแบง่ ประเภทของเครอ่ื งยนต์ดีเซล
เคร่อื งยนต์ดเี ซลแบง่ ตามลักษณะต่าง ๆ ได้หลายพวกหรอื หลายกลุ่มดงั นี้
1) แบ่งตามลกั ษณะการจัดวางกระบอกสบู โดยแบง่ เปน็ แบบกระบอกสบู นอน กระบอกสบู เรียง กระบอกสูบตัว

วี กระบอกสบู ตรงกนั ขา้ ม กระบอกสบู รปู ตวั วาย กระบอกสูบเป็นรัสมีโดยรอบ ลกู สบู ตรงกนั ขา้ ม
2) แบ่งตามวัฎจกั รการทํางาน ซ่งึ สามารถแบ่งไดเ้ ป็นเคร่อื งยนต์ 2 จงั หวะ และเครือ่ งยนต์ 4 จังหวะ
3) แบ่งตามวิธีการฉดี เชอ้ื เพลิง โดยแบ่งเปน็ ประเภทใช้ลมฉดี นา้ มัน และเคร่อื งยนประเภทใช้แรงดนั ฉีดนา้ มัน 8
4) แบง่ ตามการใช้เชื้อเพลิง โดยแบ่งเปน็ เครือ่ งยนต์ฉีดนา้ มนั หนัก ( เรอื่ งยนต์ดเี ซล) และเครอ่ื งยนต์น้ามันเบา
(เครื่องยนต์เบนซนิ เครอื่ งยนตก์ ๊าซ)
5) แบง่ ตามวฎั จักรทางเทอร์โมไดนามิกส์ โดยแบง่ เปน็ วัฎจักรปรมิ าตรคงที่ และวัฎจักรแรงดนั คงที่
6) แบ่งตามความเร็วรอบของเคร่อื งยนต์ โดยมีเครอ่ื งยนตร์ อบช้า เครอื่ งยนต์รอบปานกลาง และเครือ่ งยนต์รอบสงู
7) แบ่งตามวิธกี ารระบายความร้อน โดยแบง่ เป้นเครอื่ งยนต์ระบายความร้อนดว้ ยอากาศ และเคร่อื งยนต์ระบาย
ความร้อนด้วยนา้
8) แบ่งตามวธิ ีการจดุ ระเบิด โดยแบ่งเป็นเครือ่ งยนต์ทจี่ ดุ ระเบิดด้วยประกายไฟ (เคร่ืองยนต์เบนซิน เครอ่ื งยนต์ก๊าซ)
และเครอ่ื งยนต์ท่มี กี ารจุดระเบิดดว้ ยแรงอดั ( เครื่องยนตด์ ีเซล)

3. ขอ้ เปรียบเทียบระหว่างเครอ่ื งยนตด์ ีเซลกับเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี
ความแตกต่างในหลกั การทางาน เนื่องจากเครอ่ื งยนตท์ ั้ง 2 ชนดิ มกี ารทางานที่ไม่เหมอื นกนั กลา่ วคอื

เครอ่ื งยนต์ดเี ซลจะใช้การจุดระเบิดดว้ ยการฉีดเช้ือเพลงิ เขา้ สันดาปกบั อากาศท่ถี กู อัดอยภู่ ายในหอ้ งสนั ดาปท่ีมอี ุณหภมู ิ
อัดตวั สงู ความเรว็ รอบและภาระของเคร่อื งสามารถควบคมุ ไดโ้ ดยการปรับแตง่ ปริมาณน้ามนั ที่แดเขา้ สบู สว่ น
เครื่องยนต์แกส๊ โซลีนจดุ ระเบดิ สว่ นผสมนา้ มันเชอื้ งเพลิงกับอากาศด้วยประกายไฟจากหัวเทียน คาร์บเู รเตอร์จะชว่ ยทา
หนา้ ที่ผสมน้ามันเช้ือเพลงิ กับอากาศมใหม้ อี ตั ราส่วนทถ่ี ูกต้องและใหป้ ริมาณสว่ นผสมเข้าหอ้ งสนั ดาปได้ตามความ
เหมาะสมของความเร็วรอบและภาระของเคร่ืองใชก้ ารควบคมุ การปรบั แต่งด้วยการปดิ เปิดของลิ้นเร่ง ( Throttle
valve )

จากหลกั การที่ต่างกนั จงึ มีข้อเปรยี บเทียบเกยี่ วกบั การทางานของเคร่ืองยนต์ทัง้ 2 ชนดิ ดงั นี้
1) อตั ราส่วนการอัด เครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีนจะมีอัตราสว่ นการอัดต่า อยู่ท่ปี ระมาณ 5- 10.5 ตอ่ 1 เพราะใช้
อัตราสว่ นการอัดสงู เกนิ นไปจะทาให้เกดิ ระเบดิ ซา้ ซ้อนหรอื ทเ่ี รยี กว่า ดีโทเนชั่น
(Detonation ) ซ่ึงเป้นเพราะขอ้ จากดั เกยี่ วกับคุณภาพการตา้ นทานการนอ็ คของเชือ้ เพลงิ สว่ นเครือ่ งยนตด์ เี ซลจะใช้
อตั ราส่วนการอดั สูงได้ประมาณ 12- 20 ตอ่ 1 หรือมากกวา่ จากอตั ราส่วนการอัดทสี่ ูงน้ีทาให้เครือ่ งยนต์ได้
ประสิทธิภาพทางความร้อนสงู ช่วยลดการเกิด ดโี ทเนช่ัน ทาใหไ้ ม่เกดิ การชงิ จุดระเบิด ( Preignition ) และกาลังท่ีได้
ออกมาสงู
2) กําลังดนั การทาํ งาน เครือ่ งยนต์ดีเซลมีกาลังดันสูง ทาให้อากาศในกระบอกสบุ มคี วามรอ้ นมากจนเกินอุณหภมู จิ ุด
ระเบดิ ของเชื้อเพลิง แรงอดั เคร่ืองยนต์ดเี ซลมีประมาณ 7- 15 กิโลกรัมต่อตารางเซนตเิ มตร
3) ความเร็วรอบของการทาํ งาน โดยปกติเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีนจะมีความเรว็ รอบสูงกวา่ เคร่อื งยนต์ดีเซล ซง่ึ
ความเร็วน้ีเก่ียวขอ้ งกบั กาลงั มา้ ของเคร่ืองยนต์ด้วย
4) การจา่ ยเชอื้ เพลงิ เข้าสบู การจ่ายเช้ือเพลงิ เข้าสูบของเครื่องยนต์แก๊สโซลนี จะมคี วามยุ่งยากมากกวา่ เพราะ
ส่วนผสมต้องผา่ นทอ่ ร่วมไอดี ซงึ่ ผนังท่ออาจมสี ว่ นขัดขวางการไหลของไอดี ในขณะท่ีเครือ่ งยนตด์ ีเซลใชว้ ธิ ฉี ีด
เชือ้ เพลงิ ออกจากหวั ฉีดเข้าภายในแต่ละสูบโดยตรง
5) การซเู ปอร์ชารจ์ เปน็ การอดั อากาศเขา้ ไปในสูบเพ่ือใหม้ ีกาลงั ดันสงู กว่ากาลังดันของอากาศท่เี ครือ่ งจะดูดได้เอง
ตามปกติ ปรมิ าณการซเู ปอร์ชารจ์ ที่จะให้กบั เคร่ืองยนต์แกส๊ โวลนี นน้ั ถกู จากดั เพราะการเกิดดีโทเนชัน่ ในขณะท่ี

เครอ่ื งยนตด์ ีเซลเปน็ การป้องกนั การเกิดดโี ทเนชน่ั
6) อุณหภมู ิของไอเสีย เครอื่ งยนต์ดเี ซลจะมอี ุณหภมู ขิ องไอเสียท่ปี ล่อยออกจากเครือ่ งยนต์ ต่ากว่าเครอื่ งยนต์แกส๊ โซ
ลีน เพราะอตั ราสว่ นการอัดสงู กวา่
7) การเรม่ิ เดนิ เคร่อื ง เคร่ืองยนต์ดเี ซลจะเร่ิมเดินเคร่ืองได้ยากกว่าเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีนเพราะต้องใช้แรงขบั เคลื่อน
เพลาข้อเหวี่ยงมากเนือ่ งจากอัตรส่วนการอัดสูงของเครื่องยนต์

ความแตกต่างในด้านคุณลักษณข์ องสมรรถนะ อาจพิจารณาไดด้ งั นี้
1) กําลังทไี่ ดต้ ่อหน่วยน้าํ หนัก เนอื่ งจากเครือ่ งยนต์ดเี ซลมีกาลงั อดั มากกวา่ เครื่องยนต์แก๊สโซลีน ขนาดชนิ้ ส่วนจงึ
ตอ้ งมีความม่ันคง แข็งแรง จึงทาให้น้าหนกั มาก โดยปกติประมาณ 2- 10 กโิ ลกรมั (หรือมากกวา่ ) ต่อ 1 9
แรงม้า แตเ่ คร่ืองยนต์แก๊สโซลีนหนักเพียง 0.5-3 กโิ ลกรัม ต่อ 1 แรงม้า
2) กําลังท่ีไดต้ อ่ หน่วยปริมาตรดดู ลูกสูบ ส่วนมากเคร่อื งยนตด์ ีเซลให้กาลงั ไดป้ ระมาณ 0.02 แรงม้า ตอ่ 1 CC
ในขณะทเี่ คร่อื งยนต์แก๊สโซลนี ไดป้ ระมาณ 0.03 แรงม้า ต่อ 1 CC แสดงว่าถา้ ใหไ้ ด้เคร่อื งยนต์ออกมาเทา่ กัน
เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี ตอ้ งใช้ความเรว็ รอบน้อยกว่า

3) อัตราการเร่งเครอื่ ง เนือ่ งจากเครื่องยนตด์ ีเซลใชร้ ะบบฉีดเชอ้ื เพลิงที่สามารถควบคุมปรมิ าณการฉีดไดโ้ ดยตรงสว่ น
เคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี ใชก้ ารเปลยี่ นแปลงปรมิ าณของส่วนผสม และอัตราความเรว็ ที่ผ่านคอคอด (venturi) ใน
คาร์บูเรเตอร์
4) ความเช่อื ถือได้ เนอื่ งจากเครื่องยนตืดีเซลมีความแข้งแรงมากท่ีจะใชง้ านไดท้ ั่วไปมีระบบฉดี เชอ้ื เพลงิ และเครื่อง
ควบคุมความเร็ว (governor )ที่ดี การทางานของเครอื่ งยนต์จงึ นา่ เชอ่ื ถือได้ สว่ นเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี ระบบคารบ์ ูเร
ตอรก์ รอื ระบบจดุ ระเบดิ ด้วยประกายไฟมกั จะสรา้ งปัญหาย่งุ ยากให้บอ่ ย ๆ
5) ความประหยดั เช้ือเพลิง เพราะเครอื่ งยนต์ดีเซลใชอ้ ตั ราส่วนการอดั อัตราสว่ นการขยายตวั และประสิทธิภาพ
ทางความร้อนสูง ทาให้ได้แรงม้าตอ่ กโิ ลกรัมของเชือ้ เพลิงต่อชั่งโมงสงู หรือกล่าวได้ว่าเครื่องยนตด์ ีเซลมีความสิ้นเปลอื ง
เช้ือเพลิงจาเพาะต่าและราคาเชื้อเพลิงยังถูกด้วย

ความแตกตา่ งเกยี่ วกบั คา่ ใชจ้ า่ ยในการทํางาน ค่าใชจ้ ่ายทสี่ าคญั มี 2 ประเภทคือ
1)ราคาของเครือ่ ง เน่อื งจากค่าใช้จา่ ย เกี่ยวกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ของระบบจ่ายเช้ือเพลงิ ของเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลีนต่า
และไม่จาเป็นตอ้ งสรา้ งให้มนั แข็งแรงม่ันคงเทา่ กนั กับเคร่อื งยนต์ดเี ซล กังนั้นราคาต้นทุนทั้งหมดของเคร่อื งยนต์แกส๊
โซลนี จงึ ถูกกว่า
2)คา่ บาํ รุงรักษา เคร่ืองยนตด์ เี ซลอาจสูงกวา่ เล็กน้อย เน่อื งจากราคาชิ้นสว่ นอะไหล่ของระบบฉีดเช้อื เพลิงคอ่ นขา้ งสูง
เพราะมีความละเอยี ดมาก และการซอ่ มแซมตอ้ งอาศัยทักษะและเทคนิคสูงกว่า

3. ขอ้ เปรยี บเทยี บระหวา่ งเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ กับเครอ่ื งยนต์ 4 จังหวะ
จงั หวะ (Stoke) คอื การเคลือ่ นทีข่ นึ้ หรือลงของลูกสบู เคร่อื งยนต์ 2 จังหวะ เป็นเครอ่ื งยนตท์ ่ีมกี ารทางานครบวฎั จักร
ดว้ ยการเคลื่อนท่ขี ้ึนของลกู สบู 1 คร้ัง และการเคลอื่ นที่ลงของลูกสูบ 1 คร้ังเทา่ กับ 1 รอบหมุนของเครอ่ื งยนต์
ส่วนเครื่องยนต์ 4 จงั หวะ จะมีการเคล่ือนท่ีขนึ้ ของลูกสบู 2 ครั้ง และลง 2 คร้งั เท่ากบั 2 รอบหมุนของ
เครือ่ งยนต์ ซงึ่ เครอ่ื งยนตท์ ั้ง 2 แบบมขี อ้ ดแี ละข้อเสยี แตกต่างกนั ดงั นี้

1) โครงสร้าง ในขนาดแรงมา้ เท่ากนั ชิน้ ส่วนเครอื่ งยนต์ 2 จงั หวะ จะมกี ารเคล่ือนไหวนอ้ ยกว่า จงึ มขี ้อขดั ขอ้ ง

นอ้ ยกว่า ขนาดเล็กกว่า และราคาตา่ กวา่ เครื่องยนต์ 4 จงั หวะ

2) ประสทิ ธภิ าพในการประจไุ อดี เครือ่ งยนต์ 4 จงั หวะ จะมปี ระสิทธิภาพการบรรจุไอดที ่ดี กี ว่า เพราะเคร่อื งยนต์

2 จงั หวะ ไม่สามารถไล่ไอเสียได้ดี เช่น เครอ่ื งยนต์ 4 จงั หวะ

3) การเผาไหมข้ องเชอ้ื เพลงิ เครอื่ งยนต์ 4 จังหวะมกี ารเผาไหม้ได้ดกี ว่า ทง้ั นเี้ ปน็ เพราะเครือ่ งยนต์ 2 จังหวะ

ยังคงมีประสทิ ธิภาพไอเสียคา้ งอยูใ่ นกระบอกสบู เป็นจานวนมาก เนอ่ื งจากการไล่ไอเสยี ได้ไมด่ ีเท่าเคร่อื งยนต์ 4

จังหวะ

4)การระบายความร้อน เครื่องยนต์ 4 จงั หวะ มีการระบายความร้อนได้ดกี ว่าเครือ่ งยนต์ 2 จงั หวะ เพราะเวลาท่ี

ใชใ้ นการระบายความรอ้ นมมี ากกว่า

4. ข้อดีและขอ้ เสยี ของเครอ่ื งยนตด์ ีเซล

ข้อดี 10
1) อตั ราสิ้นเปลืองน้ามนั เช้ือเพลิง
2) ราคานามนั เชอื้ เพลงิ ตา่ และไม่ไวไฟ
3) ทอร์กเครอื่ งยนต์สงู

4) อายกุ ารใช้งานยาวนาน

ขอ้ เสยี

1) เสียงดงั มาก
2) ขนาดและนา้ หนกั มาก

3) ราคาแพง

4) ไอเสียมีควันดา

5) อัตราเรง่ ไมด่ ี

6) สตาร์ทติดเคร่ืองยาก

6. คาํ ศพั ทร์ ายละเอยี ดเบ้อื งต้นเกย่ี วกบั เครอ่ื งยนตด์ ีเซล

ประวัตแิ ละวิวฒั นาการ Hisrory and Development
เคร่ืองยนต์ดีเซล Disel Engine
ดร. รูดอล์ฟ ดีเซล Dr. Rudolf Diesel
ศนู ตายบน Top Dead Center
ศูนยต์ ายลา่ ง Bottom Dead Center
ระบบฉดี ดว้ ยอากาศอดั Air Injection
เคร่ืองยนต์จดุ ระเบิดดว้ ยอากาศอัด Compression ignition Engine
ลน้ิ เร่ง Throttle valve
การจดุ ระเบิดซา้ ซอ้ น
การชิงจุดระเบิด Detonation
คอคอด Preignition
Venturi

เคร่อื งควบคุมความเรว็ Governor
นา้ มนั ดีเซล Diesel Fuel
อุณหภมู ิแก๊สไอเสยี Exhaust Gas Temperature
จงั หวะ Stoke

11

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยท่ี.......1..........
ช่ือหนว่ ย อปุ กรณ์ควบคุมและแผงหน้าปัด สอนครัง้ ที่.............

ชวั่ โมงรวม.............
ชวั่ โมงรวม.............

5.1 การนําเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครุชีแ้ นะเก่ียวกบั การปฏิบตั ิตัวในห้องเรยี น
2. ครูชแ้ี จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี น
3. ครูแจง้ การวัดผลประจาหนว่ ยการเรยี นรู้

5.2 การเรยี นรู
1. ผ้เู รยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

2. ผสู้ อนใชเ้ ครือ่ ง projector อธบิ าย ความสาคัญของแผงหน้าปัด บอกความหมายของสัญญาณไฟเตอื นต่างๆ

บอกวิธีการใช้และดูแลอุปกรณต์ า่ งๆเบ้อื งตน้ ได้ นาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้อย่างมเี หตุผลและมคี วามรู้

3. ผู้เรียนเขียนสรุปเร่ือง ความสาคัญของแผงหนา้ ปัด บอกความหมายของสัญญาณไฟเตือนตา่ งๆ

บอกวธิ กี ารใช้และดูแลอุปกรณ์ต่างๆเบอ้ื งตน้ ได้ นาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้อย่างมีเหตุผลและมีความรู้
4. ผู้เรียนทาแบบฝกึ หดั 1.1 และเปิดโอกาสให้นักศึกษาถาม
5. ผู้สอนเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนและแบบฝกึ หัด 1.1

5.3 การสรปุ
ครูและผู้เรียนชว่ ยกนั สรุป เรือ่ งความสาคัญของแผงหน้าปัด บอกความหมายของสญั ญาณไฟเตือนต่างๆ

บอกวิธกี ารใชแ้ ละดูแลอุปกรณต์ า่ งๆเบ้ืองต้นได้ นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้อยา่ งมีเหตุผลและมคี วามรู้

5.4 การวัดและประเมินผล
- ความตรงตอ่ เวลา
- ความรบั ผดิ ชอบต่องานที่มอบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สงั เกตความสนใจในหอ้ งเรยี น

12

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนวยที.่ .......1.........
ชอ่ื หนวย อุปกรณ์ควบคมุ และแผงหน้าปัด สอนครัง้ ท่ี.............

ช่ัวโมงรวม.............
ช่วั โมงรวม.............

6.สือ่ การเรยี นรู/แหลงการเรยี นรู
6.1 ส่อื สง่ิ พิมพ

1. เอกสารประกอบการเรียนหนว่ ยท่ี 1 อุปกรณ์ควบคุมและแผงหน้าปดั
2. แบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบทดสอบ 1.1

6.2 ส่ือโสตทศั น (ถาม)ี
1. เครอ่ื งฉาย projector
2. PowerPoint เรือ่ ง อปุ กรณ์ควบคมุ และแผงหน้าปัด

6.3 หนุ จาํ ลองหรอื ของจริง (ถามี)
1. เครื่องยนตด์ เี ซล
2. รถโตโยต้า วีโก้

6.4 อ่นื ๆ (ถามี)
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1. ใบความรู
2. ใบงาน
8. การบูรณาการ/ความสมั พันธกับวิชาอื่น
1. ภาษาอังกฤษและการสื่อสาร
2. ไฟฟ้าและอเิ ล็คโทรนคิ เบือ้ งตน้

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 13
ชอ่ื หนวย อปุ กรณค์ วบคุมและแผงหนา้ ปัด หนวยที.่ ......1..........
สอนครัง้ ที่.............

ชว่ั โมงรวม.............
ชั่วโมงรวม.............

9. การวัดและประเมินผล
9.1 ก่อนเรยี น

............................................................................................................................................. ..................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................

9.2 ขณะเรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................

9.3 หลังเรียน
.................................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................

10. บันทึกหลังสอน
10.1 ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

...............................................................................................................................................................................

1164

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยท่ี.....1............
ชือ่ หนวย อุปกรณค์ วบคุมและแผงหนา้ ปัด สอนคร้งั ท่ี.............
ช่ัวโมงรวม.............

ช่วั โมงรวม.............

10.2 ผลการเรยี นรูของนักเรียน นักศึกษา
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
10.3 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรู
............................................................................................................................. ....................................................

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

............................................................................................................................ ........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................

............................................................................................................................. ....................................................

....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................ .....................................................................

........................................................................................................................... .........................................................

15

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยที่..........2.......

ช่อื หน่วย หลกั การและทฤษฎเี กยี่ วกับเคร่อื งยนต์ดีเซล สอนครั้ง ท่ี.............
... ช่วั โมงรวม.............

จํานวนชว่ั โมง..........

1. สาระสําคญั
เคร่ืองยนต์ดีเซลจะเร่มิ การทางานด้วยการดูดอากาศเข้าสู่หอ้ งเผาไหม้ แลว้ อัดใหม้ อี ุณหภมู ิสงู ขน้ึ จากนน้ั จะ

ฉดี เช้อื เพลิงเขา้ ไปเกิดการจุดระเบิดและคายไอเสียออก ซึ่งเครื่องยนต์ดเี ซลน้ันก็จะมีทัง้ แบบ 2 จังหวะและ 4
จงั หวะเช่นเดียวกับเครือ่ งยนต์แกส๊ โซลีน เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจการทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซลแบบต่างๆ เราจงึ จาเป็นต้อง
ศึกษาหลักการทางานและเวลาการปิดเปดิ ล้ินของเคร่อื งยนต์ดีเซล
2.สมรรถนะประจาํ หน่วย

นักเรียนสามารถแสดงความร้คู วามสามารถในการเตรยี มตวั ก่อนการขบั รถยนตว์ ธิ ีการทางานของอปุ กรณ์
ควบคุมต่างๆวธิ ีการตรวจสอบรถยนต์ก่อนการใช้งานไดอ้ ย่างถกู ต้อง.
3.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ดานความรู
1.เพื่อให้มีความรคู้ วามเข้าใจหลักการทางานของเครื่องยนต์ดีเซล
2.เพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเวลาการปดิ เปดิ ลน้ิ ของเครอ่ื งยนตด์ เี ซล
3.เพอื่ ให้เห็นคุณค่าของหลกั การทางานเครือ่ งยนตด์ ีเซล

3.2 ดานทกั ษะ
1. สามารถอธิบายหลกั การทางานของเคร่อื งยนต์ดีเซล 2 จงั หวะและ 4 จงั หวะได้
2. สามารถเขียนไดอะแกรมการทางานของล้ินพร้อมทัง้ อธบิ ายเวลาการปิดเปิดลิน้ ของเครื่องยนต์ดเี ซล 2

จงั หวะและ 4 จังหวะได้
3. สามารถเขียนและอ่านคาศัพท์หลกั การและทฤษฎเี กี่ยวกับเครื่องยนตด์ ีเซลได้อย่างถูกต้อง

3.3 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค
1.นักเรียนมีความสนใจฝกั ใฝใ่ นการเรียนรู้
2.นักเรียนเข้าเรียนตรงตามเวลา
3.นักเรียนทางานเสร็จสมบูรณ์และส่งตามเวลา
4.นกั เรยี นกล้าแสดงออกในการเรียนรู้นาเสนองาน
5.นกั เรียนใช้เครื่องมือ การใช้รถฝึกหัดขับดว้ ยความปลอดภัย ประหยัด รอบคอบ ค้มุ ค่า

16

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยท่ี........2........

ชอื่ หนว่ ย หลักการและทฤษฎีเก่ียวกับเครื่องยนตด์ เี ซล สอนครง้ั ที่.............
ชว่ั โมงรวม.............

ช่ัวโมงรวม.............

4.เน้อื หาสาระการเรียนรู้

หลักการและทฤษฎีเก่ียวกบั เครอื่ งยนต์ดเี ซล

เคร่อื งยนตท์ กุ ชนดิ น้ันผู้สรา้ งมคี วามต้องการท่จี ะให้เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกัน จะแตกตา่ งกันบา้ งกต็ รง

ลกั ษณะของการใชง้ านและวิธีการจดุ ระเบดิ น้ามนั เชื้อเพลงิ ภายในกระบอกสูบ ระบบระบายความร้อนของเคร่อื งยนต์

และจังหวะการทางานของเครื่องยนตแ์ ต่ละชนิด ส่วนประกอบท่ีสาคัญจะคล้ายกนั หรือเหมือนกนั เป็นสว่ นใหญ่ เพือ่ ให้

เข้าใจหลกั การทางานของเครอื่ งยนตด์ ีเซล จึงจาเป็นท่ีจะตอ้ งศกึ ษาและพิจารณาถึงลกั ษณะต่างๆ ทางทฤษฎีให้

สอดคล้องกับการทางาน การทางานของเครอ่ื งยนตด์ ีเซลซึ่งจะเรมิ่ การทางานด้วยการดูดอากาศ แล้วอัดอากาศให้มี

ความดันและอณุ หภมู ิสงู จากนน้ั กจ็ ะฉดี เชื้อเพลงิ เข้าไปใหเ้ กิดการสันดาปไดก้ าลังออกมา

เครือ่ งยนตเ์ ผาไหม้ภายในจะทางานให้สามารถพลังงานกลนาไปใช้งานได้ จะตอ้ งประกอบด้วยปัจจยั ทสี่ าคญั
4 ประการดังตอ่ ไปนี้

1. อากาศ น้ามันเชอ้ื เพลิง และการเผาไหม้
2. การเคลื่อนทีข่ น้ึ ลงและการหมนุ ของชน้ิ สว่ นท่สี าคัญของเครือ่ งยนต์
3. อัตราส่วนผสมของน้ามนั เชอ้ื เพลงิ กบั อากาศ
4. การทางานเปน็ กลวตั ร (Cycle)

1. หลักการทํางานของเคร่อื งยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ
เคร่อื งยนต์ชนดิ 4 จงั หวะ หมายถงึ เครื่องยนต์ประเภทท่ตี ้องทางานสมบูรณ์ดว้ ยการเคล่ือนทข่ี ้นึ ของลกู สูบ 2
ครั้ง และลง 2 ครงั้ เพลาข้อเหวย่ี งหมุน 2 รอบหรอื เปน็ มมุ รวม 720 องศา และให้กาลงั งาน 1 คร้งั

ลาดบั ขน้ั การทางานทีเ่ กดิ ขึ้นใน 1 กลวตั ร ประกอบดว้ ยจังหวะตา่ งๆ ดังตอ่ ไปนี้

4) จงั หวะคาย ลิ้นไอเสยี เปดิ กอ่ นลูกสูบเลอ่ื นลงถงึ ศนู ย์ตายลา่ งเล็กน้อย ก๊าซไอเสียจะดันอกจากกระบอกสบู

เพลาข้อเหว่ยี งยงั คงหมุนต่อไป และดนั ให้ลกู สูบเลื่อนข้นึ สู่ศนู ย์ตายบน ผลกั ดนั ไอเสียออกจากกระบอกสบู เมื่อลกู สูบ

เล่อื นขึน้ ถึงศูนย์ตายบนลน้ิ ไอดแี ละลิ้นไอเสียจะเปิดพรอ้ มกนั เรยี กว่า Overlap โดยไอดีมแี รงดันสงู กว่ากจ็ ะช่วยขับไล่

ไอเสยี ออกไปจากกระบอกสบู และล้นิ ไอเสยี จะปิดเมอื่ ลกู สูบเลอ่ื นลงจากศนู ยบ์ นเล็กน้อย และลูกสูบยงั คงเลือ่ นลง17
เร่ือยๆ เพอ่ื ดูดอากาศเข้ากระบอกสบู แลว้ เรม่ิ ทางานต่อไป (ดงั รูป 2.4)

2. เวลาการปดิ เปิดลน้ิ ของเคร่ืองยนต์ดเี ซล 4 จังหวะ
จากแผนภาพเวลาการปิดเปิดล้ินของเครื่องยนต์ (Valve Timing Diagram) จะเห็นวา่ ลน้ิ ไอดีจะเริม่ เปิดเมือ่ ขอ้

เหวย่ี งหมนุ อยใู่ นตาแหนง่ กอ่ นถึงศนู ยบ์ น 20 องศา ลูกสบู เล่ือนลงดดู อากาศเข้า และจะไปสิ้นสดุ เมอื่ ข้อเหวี่ยงผา่ น
ศนู ยต์ ายลา่ งไปแลว้ 35 องศา ล้ินไอดจี งึ ปิด อากาศซ่ึงเคลอ่ื นที่ด้วยความเร็วสูงจะชว่ ยดงึ ตัวมนั เองผ่านลิน้ ไอดีเขา้ สูบ
แมว้ ่าลกู สูบจะลงถงึ ศูนยต์ ายล่างและผา่ นไปเรมิ่ จังหวะอดั แล้วก็ตาม การที่จัดให้ล้นิ ไอดีปดิ เมอ่ื ผ่านศูนย์ตายล่างไปแลว้
เชน่ น้ี เปน็ การปอ้ งกนั อากาศบางส่วนย้อนกลับออกมาทางท่อไอ

หลงั จากท่ีลิ้นไอดปี ดิ แล้ว ขบวนการตอ่ ไปลกู สูบจะอดั อากาศทีด่ ูดเข้ามาทัง้ หมด จงั หวะนีค้ ือจงั หวะอดั เมื่อ
สน้ิ สดุ จงั หวะนี้กอ่ นท่ลี ูกสูบจะถงึ ศนู ยต์ ายบนเล็กนอ้ ย หวั ฉีดจะเริ่มฉดี เชือ้ เพลิง มุมลว่ งหนา้ กอ่ นถึงศูนย์ตายบนซ่ึง
หัวฉดี เรม่ิ ต้นฉดี เชือ้ เพลงิ นี้เรยี กวา่ อินเจก็ ชันแอดวานซ์ (Injection Advance) ซึ่งถอื ว่าเปน็ สงิ่ จาเปน็ อยา่ งยิง่ ทั้งนี้
เนอื่ งจากเช้ือเพลงิ มีความล่าช้าในการจุดระเบดิ โดยวิธนี จ้ี ะชว่ ยให้ลกู สูบไดพ้ ลงั งานจากเชือ้ เพลิงมาก

ก่อนที่เพลาขอ้ เหวี่ยงจะหมุนถงึ ศนู ย์ตายล่าง 35 องศา ลิน้ ไอเสียจะเร่มิ เปิดชว่ ยให้ไอเสยี คายออกโดยการลด
แรงดนั ของมนั เอง แรงดนั ภายในกระบอกสบู จะลดลงเทา่ กบั ความกดดันของบรรยากาศปกติ ต่อไปเม่อื ลกู สูบเล่ือนข้ึน
เพื่อขบั ไลไ่ อเสีย จังหวะน้เี ปน็ จังหวะคาย ลิน้ ไอเสียยังคงเปดิ ให้ไอเสียออก จนกระทัง่ ผ่านศนู ย์ตายลา่ งไปแล้ว 20
องศา จะสงั เกตเหน็ วา่ ลิ้นไอดเี ริ่มเปิดเมือ่ ใกล้จะสุดจังหวะคายไอเสยี ดังนั้นท่ศี ูนยต์ ายบน ล้ินไอดแี ละลิ้นไอเสียจะเปิด
ร่วมกัน ( Overlap) การทลี่ นิ้ ไอดีและลิ้นไอเสยี เปดิ ร่วมกนั เปน็ การชว่ ยใหไ้ อดบี รรจเุ ข้ากระบอกสูบไดม้ ากเน่ืองจาก
การดึงของไอเสยี โอกาสที่ไอดีและไอเสยี จะผสมกนั มีน้อยมาก

3. หลักการทํางานของเครอ่ื งยนต์ดีเซล 2 จังหวะ
เคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ ให้กาลังงานเม่ือมีการจดุ ระเบิดทุกครั้งท่ีลูกสูบเลือ่ นขึน้ ถงึ ศนู ยต์ ายบน และเครื่องยนต์

ทางานครบกลวตั ร เมื่อเพลาขอ้ เหวย่ี งหมุนครบ 1 รอบ หรือ 360 องศา น่ันคอื จะให้กาลงั งานครบทุกรอบ

แทนท่จี ะหมนุ 2 รอบ และใหก้ าลงั งาน 1 ครั้งเช่นเดยี วกบั เคร่อื งยนต์ดเี ซล 4 จังหวะ

18

เครือ่ งยนต์ 2 จงั หวะดังรปู ท่ี 2.6 นี้ ใชเ้ คร่อื งบรรจุอากาศแบบรทู (Roots) มลี ้ินไอเสยี 2 ลน้ิ อยู่บนฝาสบู ไอดี
ถูกบรรจุทางช่องท่ถี ูกออกแบบอยู่รอบๆกระบอกสบู ทางตอนล่างการบรรจุไอดีเขา้ กระบอกสบู ถูกควบคุมด้วยลกู สูบการ
กวาดลา้ งไอเสียเป็นแบบยูนโิ ฟล์ (Uniflow Scevenging) ใช้หอ้ งเผาไหม้เป็นแบบเปิด (Open Combustion
Chamber) หรือห้องไหม้แบบฉีดเชือ้ เพลงิ โดยตรง (Direct Injection) หวั ฉดี ท่ีใช้เป็นแบบหลายรู และมหี ลกั การ
ทางานดังตอ่ ไปนี้

รูปที่ 2.7 ลกู สูบท่อี ย่ศู นู ย์ตายล่างช่องไอดีเปิดอากาศจากเคร่อื งบรรจอุ ากาศถกู ปอ้ นเข้ากระบอกสูบลิ้นไอเสียท้งั
สองลน้ิ เปดิ เชน่ กนั ไอดีจะขับไล่ไอเสยี ที่ตกค้างอย่ใู นกระบอกสบู ออกไป ลกู สูบเลอื่ นข้นึ จากศนู ยล์ ่างปดิ ช่องไอดี เมือ่
เพลาขอ้ เหวี่ยงหมุนเลยศนู ยต์ ายล่างประมาณ 54 องศาซ่ึงเปน็ การสิน้ สดุ การบรรจไุ อดี

รปู ที่ 2.8 ลกู สูบเลือ่ นข้ึนต่อจากรปู ก จนเพลาข้อเหว่ยี งหมุนเลยศูนยต์ ายล่างประมาณ 60 องศา ลน้ิ ไอเสียท้งั
2 จึงปิด และเปน็ การเร่ิมตันจงั หวะอดั

2.8 จงั หวะอัด
รูปที่ 2.9 ลกู สบู ยงั คงเลือ่ นข้ึนในจังหวะอดั และอัดอากาศใหม้ แี รงดนั เมอ่ื อัดสุดประมาณ 400-700 ปอนด์/
ตารางนิว้ และมอี ณุ หภมู ิประมาณ 1022 องศา F (550 องศา C) เพลาข้อเหวยี่ งหมนุ ดันลูกสบู กอ่ นถงึ ศูนย์ตายบน
ประมาณ 22 องศา หัวฉีดชนิดหลายรู จะฉดี นา้ มนั เช้ือเพลิงเขา้ ห้องเผาไหม้ และเมอื่ ฝอยนา้ มนั กระทบอากาศที่ถกู อัด
ตวั จนร้อน จะเกิดการเผาไหมอ้ ยา่ งรวดเรว็ ผกั ดนั ลูกสบู เลอ่ื นลง เปน็ จงั หวะกาลัง
รูปท่ี 2.10 ลกู สบู ยงั คงเลอื่ นลงในจงั หวะกาลัง ก่อนเพลาขอ้ เหว่ียงหมนุ ถงึ ศูนย์ตายล่างประมาณ 90 องศา ลิ้น
ไอเสยี ทง้ั 2 จะเปิด ไอเสียทีม่ แี รงดันจะออกสู่ภายนอกและเมอ่ื ลกู สูบเล่ือนลงตอ่ ไปเพลาขอ้ เหวีย่ งถงึ ศนู ย์ตายลา่ ง
54 องศา ลกู สูบจะเปิดช่งิ ไอดีใหไ้ อดีเข้ากระบอกสบู และขับดนั ไอเสยี ออกจากกระบอกสูบ จึงมีไอเสยี บางส่วนที่
สูญเสยี ไปกบั การกวาดล้างไอเสยี รูปนท้ี างานคล้ายกบั จงั หวะของเครอ่ื ง 4 จงั หวะ

19

รปู ที่ 2.9 จงั หวะระเบดิ

รูปที่ 2.10 จงั หวะคาย
4. เวลาการเปดิ ปิดช่องและล้นิ ของเคร่อื งยนต์ดีเซล 2 จงั หวะ

รปู ท่ี 2.11 แผนภาพการปิดเปดิ ลนิ้ เครอ่ื งยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ
จากรูปแสดงการทางานของช่องไอดี-ลน้ิ ไอเสีย และองศาการหมนุ ของเพลาข้อเหวี่ยง ในจงั หวะบรรจุอากาศ(ไอด)ี
เข้ากระบอกสูบเร่ิมตนั เมือ่ ลูกสบู เล่อื นลง เพลาข้อเหว่ยี งหมุนก่อนถงึ BDC48 องศาหัวลูกสูบเริม่ เปิดชอ่ งไอดีที่อย่รู อบๆ
ทางตอนลา่ งของกระบอกสบู เปน็ การบรรจุไอดี และช่องไอดีจะถูกปดิ เมอ่ื ลูกสูบเลอ่ื นข้ึนและเพลาข้อเหวี่ยงหมนุ เลย
BDC ประมาณ 48 องศา ชอ่ งไอดถี กู ปิดโดยหัวลูกสบู รวมลกู สูบเปดิ ช่องบรรจุไอดี คิดเปน็ มุมเพลาขอ้ เหวยี งหมุนได้
96 องศา
ลกู สูบยงั คงเล่อื นต่อไป โดยที่ล้นิ ไอเสียบนฝาสูบยังคงเปดิ อยู่ ชว่ งนีจ้ ึงเปน็ ชว่ งกวาดล้างไอเสีย(ไอดแี ทนทไี่ อเสีย)
จงั หวะอดั จะเริ่มเม่ือลูกสบู เล่ือนข้ึนเพลาข้อเหว่ยี งหมนุ ทามมุ 55 องศาเลยBDC ลน้ิ ไอเสียปิด จังหวะอัดจะสน้ิ สดุ

เมื่อหวั ฉีดฉีดเชอื้ เพลิงท่ี 12 องศากอ่ น TDC

ในจงั หวะกาลงั เร่มิ ต้นเม่ือหัวฉดี ๆเชือ้ เพลิง และส้ินสุดเมอ่ื ล้ินไอเสยี บนฝาสูบเปิดขณะที่ลูกสูบเลอื่ นลง เพลาขอ้

เหวย่ี งหมนุ เปน็ มุม 85.5 องศาก่อนBDC

การทางานในจังหวะคาย เริม่ ตน้ ตงั้ แต่ลิน้ ไอเปิดและสิ้นสดุ เทอ่ื ลูกสูบ นั้นเลอื่ นข้ึนหลงั BDC 55องศา เพลาขอ้

เหวย่ี งหมนุ เปน็ มมุ 85.5 + 55 เทา่ กบั 140.5 องศา

ช่วงล้นิ ไอเสียเปดิ และชว่ งล้ินไอดเี ปดิ ชอ่ งซึ่งทางานพร้อมกัน และลิ้นไอเสียปิดทหี ลงั น้ัน เป็นช่วงการกวาดล้างไอ

เสยี 17

5. คําศัพท์หลกั การและทฤษฎเี กีย่ วกบั เคร่อื งยนต์ดเี ซล

เครื่องยนต์ดเี ซล4จงั หวะ Four Stroke Diesel Engine

กลวตั รเคร่ืองยนต์ดเี ซล4จงั หวะ Four Cycle Diesel Engine

กลไกควบคมุ ลน้ิ Valve Control

ลิน้ ไอดีและลิ้นไอเสีย Inlet and Outlet Valve

แผนภาพแสดงการปดิ เปดิ ลนิ้ Valve Timing Diagram

ล้ินเปิดร่วมกัน Valve Overlap

เครอ่ื งยนตด์ ีเซล2จงั หวะ Tow Stroke Diesel Engine

มมุ ล่วงหน้าก่อนถึงศนู ย์ตายบนซึ่งหวั ฉดี เริม่ ฉดี เช้ือเพลิง Injection Advance

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยท่ี.......2..........
ช่ือหนว่ ย หลกั การและทฤษฎีเกย่ี วกบั เครอื่ งยนต์ดเี ซล 20

สอนครงั้ ท่ี.............

ชว่ั โมงรวม.............
ชว่ั โมงรวม.............

5.1 การนําเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครซู ักถามนักเรยี นเป็นรายบคุ คลเกี่ยวกบั การทางานของเครอ่ื งยนตแ์ บบ 2 จงั หวะและ 4 จงั หวะ

5.2 การเรยี นรู
1.ครูให้นักเรยี นดู vdo และรปู ภาพเกย่ี วกับหลักการทางานของเครอื่ งยตด์ เี ซล 4 จังหวะพรอ้ มทงั้ อธิบายให้

นกั เรยี นฟงั
2.ครอู ธบิ าย vdo รปู ภาพจังหวะดดู อัด ระเบิด และคายของเคร่ืองยนต์ดีเซล 4 จงั หวะใหน้ กั เรียนฟงั เสรจ็

แล้วครซู กั ถามความเขา้ ใจเกยี่ วกับการทางานในจังหวะตา่ งๆของเครื่องยนตด์ เี ซล 4 จงั หวะ
3.ครูอธิบาย vdo และรูปภาพประกอบเก่ียวกับเวลาการปดิ เปิดลน้ิ ของเคร่อื งยนต์ดเี ซล 4 จังหวะและเปิด

โอกาสให้นกั เรียนซกั ถามขอ้ สงสัยต่างๆ
4.ครูสุม่ นักเรยี น4 – 5 คน ซักถามเกีย่ วกบั หลกั การทางานของเครื่องยนตด์ เี ซล 2 จังหวะ
5.ครอู ธบิ าย vdo และรูปภาพประกอบหลักการทางานจังหวะดูด อัด ระเบิด และคายของเคร่อื งยนต์ดเี ซล

2 จังหวะเสร็จแล้วเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามปัญหาข้อสงสัยต่างๆ
6.ครอู ธบิ าย vdo และรปู ภาพประกอบเกีย่ วกับเวลาการปดิ เปดิ ล้นิ ของเครื่องยนต์ดีเซล 2 จังหวะอธบิ าย

เสรจ็ ซักถามความเข้าใจ

5.3 การสรปุ

ครูและผู้เรยี นช่วยกันสรุป เรือ่ ง หลักการทางานของเคร่ืองยนต์ดีเซล 2 จังหวะ หลกั การทางานของ

เครือ่ งยตด์ เี ซล 4 จังหวะ

5.4 การวัดและประเมินผล
- ความตรงตอ่ เวลา
- ความรับผดิ ชอบตอ่ งานทม่ี อบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สงั เกตความสนใจในห้องเรียน

21

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนวยท.่ี .......2.........

ช่ือหนวย หลกั การและทฤษฎเี กีย่ วกับเคร่ืองยนต์ดเี ซล สอนครัง้ ที่.............

ชว่ั โมงรวม.............
ชัว่ โมงรวม.............

6.สือ่ การเรยี นรู/แหลงการเรียนรู
6.1 สื่อส่งิ พมิ พ

1.เอกสารประกอบการเรยี นหน่วยที่ 2 หลกั การและทฤษฎีเกีย่ วกับเครื่องยนต์ดเี ซล
2.แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบ 2

6.2 สอ่ื โสตทัศน (ถามี)
1. เครอ่ื งฉาย projector
2. PowerPoint หลักการและทฤษฎีเกยี่ วกับเครื่องยนต์ดเี ซล

6.3 หนุ จาํ ลองหรอื ของจรงิ (ถาม)ี
1. เครอื่ งยนต์ดีเซล
2. รถโตโยต้า วีโก้

6.4 อื่นๆ (ถามี)
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1. ใบความรู
2. ใบงาน
8. การบูรณาการ/ความสมั พนั ธกับวิชาอื่น
1. ภาษาองั กฤษและการสอื่ สาร
2. ไฟฟ้าและอเิ ล็คทรอนิกส์คเบอ้ื งต้น

22

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หนวยท่ี........2.........
ชอื่ หนวย หลกั การและทฤษฎเี กีย่ วกับเครอ่ื งยนตด์ เี ซล สอนคร้ังที่.............

ชัว่ โมงรวม.............
ชั่วโมงรวม.............

9. การวดั และประเมินผล
9.1 กอนเรียน

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลังเรียน
............................................................................................................................. ..................................................
.............................................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. ..................................................

10. บันทกึ หลังสอน
10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

............................................................................................................................. ..................................................

23

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยท่ี.......2..........
ช่ือหนวย หลักการและทฤษฎเี กย่ี วกับเครอื่ งยนตด์ เี ซล สอนครง้ั ท่.ี ............
ชว่ั โมงรวม.............

ชัว่ โมงรวม.............

10.2 ผลการเรียนรูของนักเรยี น นักศึกษา
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
10.3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรู
.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................. .......................................................................... ....

............................................................................................................................. ....................................................

....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................

24

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยท่ี..........3.......

ช่ือหนว่ ย กระบวนการเผาไหมแ้ ละหอ้ งเผาไหม้ สอนครง้ั ที่.............
ช่วั โมงรวม.............

จํานวนช่วั โมง..........

1. สาระสาํ คัญ
กระบวนการเผาไหมถ้ ือไดว้ ่าเป็นสิ่งสาคัญทีจ่ ะทาใหเ้ กิดกระบวนการทางานของเครือ่ งยนต์ กลา่ วคอื

เครื่องยนต์จะให้กาลังงานออกมาได้นัน้ ตอ้ งเร่ิมตน้ จากการเผาไหมข้ องเชื้อเพลิง หากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์
ประสิทธภิ าพการทางานของเครอ่ื งยนต์ก็จะมนี อ้ ย และที่สาคัญกระบวนการเผาไหมท้ ส่ี มบูรณ์ ก็ต้องเกดิ จากห้องเผา
ไหมท้ ด่ี ีดว้ ย ซง่ึ ห้องเผาไหม้เช้อื เพลิงนั้นมหี ลายแบบเช่น หอ้ งเผาไหม้แบบเปิด ห้องเผาไหม้แบบโพรงหัวลูกสบู ห้อง
เผาไหม้แบบ 2 ชนั้ หอ้ งเผาไหม้แบบพาวน ห้องเผาไหมแ้ บบโพรงอากาศ ห้องเผาไหม้เอนเนอยีเซล เป็นตน้ เราจึง
จาเป็นตอ้ งศกึ ษาให้เขา้ ใจถงึ กระบวนการเผาไหม้และหลกั การทางานของหอ้ งเผาไหมแ้ บบตา่ งๆ
2.สมรรถนะประจําหนว่ ย

นกั เรียนแสดงความรคู้ วามสามารถในการสตาร์ทเครือ่ งยนตแ์ บบตา่ งๆวิธีการไลล่ มระบบนา้ มนั เช้อื เพลงิ วธิ กี าร
พว่ งแบตเตอร์รีร่ ถยนตไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง
3.จุดประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ดานความรู
1. เพอ่ื ให้มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจกระบวนการเผาไหมข้ องเครือ่ งยนต์ดีเซล
2. เพื่อใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การเผาไหมน้ ็อคในเคร่อื งยนตด์ ีเซล
3. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจหลกั การทางานของห้อองเผาไหมแ้ บต่างๆ ในเคร่ืองยนตด์ ีเซล
4. เพือ่ ใหร้ คู้ าศพั ท์กระบวนการเผาไหม้และห้องเผาไหม้
5. เพอื่ ใหต้ ระหนกั ถงึ ความสาคัญและเหน็ คุณค่าของกระบวนการเผาไหมแ้ ละหอ้ งเผาไหม้

3.2 ดานทกั ษะ
1. สามารถอธิบายข้ันตอนการเผาไหมแ้ ละการเผาไหม้นอ็ คในเครอ่ื งยนตด์ เี ซลได้
2. สามารถอธบิ ายหลกั การทางานของห้องเผาไหม้แบบต่างๆในเครือ่ งยนต์ดีเซลรวมทงั้ บอกขอ้ ดี
ข้อเสยี ได้
3.2.3. บอกวิธกี ารพว่ งแบตเตอรร์ ีร่ ถยนตไ์ ดอ้ ย่างถูกต้อง
3.2.4. เรียนรู้ในการใช้เครอ่ื งมือวสั ดอุ ุปกรณ์ต่างๆไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง คุ้มค่า และ ปลอดภยั

3.3 คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค
3.3.1.นกั เรียนมีความสนใจฝักใฝ่ในการเรยี นรู้
3.3.2.นกั เรียนเข้าเรยี นตรงตามเวลา
3.3.3.นกั เรยี นทางานเสรจ็ สมบูรณแ์ ละส่งตามเวลา
3.3.4.นกั เรียนกล้าแสดงออกในการเรยี นรู้นาเสนองาน
3.3.5.นักเรียนใชเ้ ครอ่ื งมือ การใช้รถฝกึ หดั ขับดว้ ยความปลอดภยั ประหยดั รอบคอบ ค้มุ ค่า

25

แผนการจดั การเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนว่ ยที่........3........

ช่อื หนว่ ย กระบวนการเผาไหม้และหอ้ งเผาไหม้ สอนครงั้ ท่ี.............
ชั่วโมงรวม.............

ชวั่ โมงรวม.............

4.เนอื้ หาสาระการเรยี นรู้

กระบวนการเผาและห้องเผาไหม้
เครื่องยนตด์ เี ซลเปน็ เคร่อื งยนต์ประเภทเผาไหมภ้ ายใน ดงั นัน้ กระบวนการเผาไหม้ในเคร่ืองยนตด์ เี ซลจงึ มี
ความสาคญั มาก ในการท่ีจะทาให้เครือ่ งยนตเ์ กิดประสทิ ธิภาพในการทางาน ปัจจบุ ันจงึ ไดม้ กี ารออกแบบและพฒั นา
ห้องเผาไหม้สาหรบั เครือ่ งยนตด์ ีเซลไปหลายๆ แบบ ทัง้ นก้ี เ็ พื่อใหป้ ระสิทธิภาพในการเผาไหมเ้ ป็นไปอย่างสมบรู ณ์ ลด
การสนิ้ เปลอื งของเชือ้ เพลิง รวมทง้ั เปน็ การป้องกนั ไม่ใหก้ าลังของเครือ่ งยนตล์ ดลงด้วยเม่อื ใช้ความเร็วรอบสูง
1. กระบวนการเผาไหม้ (Combustion Process)
1.1 การเผาไหม้ (Combustion)
การเผาไหมเ้ ป็นปฏกิ ิริยาทางเคมีทเ่ี กดิ ขึน้ คือ น้ามนั เชอ้ื เพลงิ ภายหลงั จากการเผาไหม้แล้วจะรวมตัวกับออกซเิ จน
ทาใหเ้ กิดความรอ้ นขึ้น ทาให้อณุ หภมู ิและแรงดนั สงู ขึน้ ธาตสุ าคัญทต่ี ดิ ไฟคอื คารบ์ อนและไฮโดรเจน อกี อยา่ งคอื
กามะถนั ซ่งึ มีอยู่เป็นจานวนนอ้ ยและเป็นสิ่งที่ไมป่ รารถนา ออกซิเจนท่ใี ช้ในการเผาไหมไ้ ด้มาจากอากาศ ซง่ึ อากาศ
เปน็ สารผสมระหวา่ งออกซเิ จนกบั ไนโตรเจน ในระหวา่ งทเ่ี กิดการเผาไหม้ นา้ มนั เช้อื เพลิงจะแตกตัวออกเป็นไฮโดรเจน
และคารบ์ อน ธาตุทัง้ สองน้กี จ็ ะแยกกันผสมกับออกซเิ จน ไฮโดรเจนผสมกบั ออกซเิ จนกลายเป็นนา้ ส่วนคารบ์ อนผสม
กับออกซิเจนกลายเปน็ คาร์บอนไดออกไซด์ ถา้ ภายในหอ้ งเผาไหมม้ ีออกซเิ จนนอ้ ยไมเ่ พยี งพอ คารบ์ อนสว่ นหนงึ่ ท่เี ข้า
ผสมกบั ออกซเิ จนจะกลายเป็นคารบ์ อนมอนอกไซด์
1.2 ข้นั ตอนการเผาไหม้

การเผาไหมข้ องเชือ้ เพลิงในห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดเี ซลจะเกดิ ข้นึ เปน็ 3 ขัน้ ตอนดังน้ี
ขั้นท่ี 1 ชว่ งความล่าช้า เมอื่ นา้ มนั เช้อื เพลิงเร่ิมฉีดออกจากหวั ฉีด จะกอ่ นหรอื ท่ีปลายสุดของจังหวะอดั กต็ าม
จะยงั ไม่เกิดการจุดระเบิด และหลงั จากนัน้ เมอ่ื อุณหภูมขิ น้ึ ถงึ จุดของการจุดระเบดิ เอง จงึ เกิดการเผาไหม้ ระยะเวลา
จากจดุ เร่มิ ต้นที่น้ามันเรมิ่ ฉีดจนถงึ จดุ ท่ีละอองน้ามันเริ่มเผาไหม้เรียกว่าเป็นระยะความลา่ ช้าของการจดุ ระเบิด (Ignition
Lag หรอื Delay Period)
ขน้ั ท่ี 2 ระยะการเผาไหม้รวดเรว็ หลังจากเกิดการจดุ ระเบิดในขัน้ ที่ 1 เปลวไฟจากการเผาไหมจ้ ะแผก่ ระจาย
ไปทว่ั ห้องเผาไหม้ การแผ่กระจายนี้จะขน้ึ อยกู่ ับการหมุนเวยี นวกวนของอากาศ ทาใหเ้ กิดการรวมตัวกบั ออกซเิ จน
อย่างทัว่ ถงึ ความร้อนทส่ี ะสมไวเ้ นื่องจากการจุดระเบดิ อนุภาคแรกๆ ของเชอื้ เพลงิ จะทาให้เกดิ การเผาไหมข้ ้ึนอยา่ ง
รวดเร็วในระยะน้ี
ข้ันที่ 3 การเผาไหมข้ องเช้ือเพลิงสว่ นที่ยังเหลือ เปลวของการเผาไหม้ทแ่ี ผก่ ระจายไปท่วั หอ้ งเผาไหมเ้ น่ืองจาก

การเผาไหม้รวดเร็วในขนั้ ท่ี 2 จะทาให้ทง้ั แรงดนั และอุณหภูมิเพิ่มขึ้นละออง 26

ของนา้ มนั จากหัวฉดี ซ่ึงยงั ไมส่ ้ินสดุ การฉดี จึงเกดิ การเผาไหมเ้ ป็นระยะสดุ ทา้ ย การเผาไหม้ขน้ั สุดท้ายนี้อาจจะควบคุม
ไดท้ างกลไก เชน่ เปลีย่ นแปลงอัตราการฉดี ของเช้อื เพลงิ

รปู ที่ 3.1 อากาศผสมกบั นา้ มันและบางสว่ นเรมิ่ ติดไฟดีเซล
1.3 เวลาถ่วงจดุ ระเบิด (Ignition Lag หรอื Delay Period)

การเผาไหม้ภายในหอ้ งเผาไหม้ของเครือ่ งยนต์ดเี ซล มไิ ดเ้ กดิ ขึ้นทนั ทตี ามตาแหน่งตั้งปม๊ั หรอื ตาแหนง่ เรม่ิ ฉีด
น้ามัน แต่จะเกิดขึน้ หลงั จากน้ามันเข้าห้องเผาไหม้ไดป้ ระมาณ 1 ใน 1,000 วนิ าที เพอื่ ให้ละอองนา้ มันระเหยผสมกับ
อากาศในเส้ียววนิ าทนี น้ั ก่อน เปน็ ชว่ งเตรียมการเผาไหม้ แล้วจงึ ใหเ้ ผาไหม้ การเผาไหมจ้ ะไดส้ มบูรณ์ ช่วงเวลาจุด
ระเบิดนขี้ ้นึ อยกู่ บั คุณสมบัติของน้ามนั อณุ หภูมิ และความดันอากาศอัดในห้องเผาไหม้ ถ้าอุณหภูมิและความดนั
อากาศอดั ในห้องเผาไหมส้ ูง เวลาถ่วงจุดระเบดิ จะลดลง
2. การเผาไหมน้ ็อคของเครอ่ื งยนต์ดีเซล

การเผาไหมน้ อ็ คหรอื เคร่ืองเดินนอ็ คเกิดจากกการเผาไหม้ผิดปกตทิ ่ที าให้ความดันในห้องเผาไหมส้ ูงข้นึ ผิดปกติ ซ่งึ
แสดงใหร้ ้ไู ดจ้ ากเสยี งดังคลา้ ยคอ้ นเคาะโลหะ การน็อคในเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลีนเกดิ ข้ึนปลายการเผาไหม้ แตก่ ารน็อคใน
เคร่อื งยนตด์ ีเซลเกดิ ขน้ึ ระยะแรกของการเผาไหม้ คอื เกิดได้จากกาลังอดั ต่า เคร่ืองเดินเบาช้า ปมั๊ น้ามนั ฉีดช้าหรือเร็ว
เกินไป หวั ฉดี ฉดี น้ามนั เป็นหยดหรอื ความกดดัน

1. ชว่ งอนุ่ นา้ มัน
2. ชว่ งระเหย
3. ชว่ งผสม
4. ช่วงติดไฟ

รูปที่ 3.3 การเผาไหมน้ ็อคในหอ้ งเผาไหม้เครื่องยนตด์ ีเซล

ถ้าเครื่องนอ็ คทเี่ กิดขนึ้ ไม่มาจากระบบกลไกของเคร่อื งยนต์แล้ว ย่อมแสดงว่ามาจากน้ามนั ดเี ซล โดยปกติ
นา้ มนั ดเี ซลมีเวลาถว่ งจุดระเบดิ ประมาณ 0.001 วินาที การแตกตวั ของโมเลกุลนา้ มนั ดีเซลและประสทิ ธิภาพของนม
หนหู วั ฉีดท่ฉี ดี น้ามนั ใหเ้ ป็นละอองฝอยคือประมาณ 4 – 5 ไม คอนมิลลิเมตร

ถ้าเปน็ ละอองฝอยอยใู่ นบรเิ วณกวา้ งจะสร้างส่วนผสมให้สมบรู ณ์ได้ดีแตห่ ้องเผาไหม้แคบ ย่อมลาบากต่อการคลกุ เคล้า
ส่วนผสมกับอากาศ และยงั มีความกดดันสงู ดว้ ย เมื่อเครือ่ งยนตร์ อบสงู ขนึ้ ต้องการเวลาถ่วงจดุ ระเบดิ ส้ันลง เพราะมี
เวลาเผาไหมส้ นั้ เนอื่ งจากเพลาขอ้ เหวีย่ งหมนุ เรว็ ความร้อนสญู เสยี นอ้ ย กาลังอัดก็สญู เสยี นอ้ ยลงดว้ ย เวลาถว่ งจุด
ระเบดิ จะตอ้ งไมน่ านเกนิ กว่า 0.002 วินาที จึงจะได้การเผาไหมน้ ้ามันดเี ซล

27

1.1 การเผาไหม้นอ็ คในสภาพเยน็
โดยเฉพาะหลงั สตาร์ทเครือ่ งยนต์ติดใหม่ๆ ลกู สบู จะตอ้ งถา่ ยความร้อนให้กบั อากาศท่ีถูกอัด และในห้องเผาไหม้
หรอื ทหี่ ัวลูกสูบมีคราบนา้ มนั ดเี ซลสะสมอยูม่ าก การเผาไหมจ้ ะช้าและเกิดการเผาไหม้พรอ้ มกนั รนุ แรง เชน่ เดียวกบั
เวลาถ่วงจดุ ระเบิดยาวนานเกิดความกดดันสูงถึง 100 บาร์ เมอ่ื เกิดการเผาไหม้รนุ แรงและรวดเรว็ น้ามนั บางส่วนไม่
ทนั ทาปฏิกิรยิ ากบั ออกซิเจน ไอเสียมีควนั สีดา เพ่ือลดความดันของไอเสยี นี้ควรเพ่มิ โหลดเครือ่ งยนต์และเพมิ่ อากาศอีก
ประมาณ 15 % จะไดล้ ดการน็อคหลงั สตาร์ทเครอื่ งติดสภาพเยน็ ไม่ควรปลอ่ ยเคร่อื งยนตเ์ ดนิ เบานาน ควรเร่ง
เคร่ืองยนตไ์ วจ้ นกวา่ จะถงึ อุณหภมู ิงานปกติ
2.2 สาเหตทุ ท่ี าํ ใหเ้ วลาถ่วงจดุ ระเบิดยาวนาน
1) ความหนาแน่นและอุณหภมู ิของอากาศ ความหนาแน่นน้อย ความกดดันอากาศในหอ้ งเผา
ไหมน้ ้อย อณุ หภมู ทิ ่ีเกดิ ขึ้นต่า เวลาถ่วงจดุ ระเบิดจะยดื นานออกไป เหมือนเครอ่ื งยนตส์ ภาพเย็น
2) ละอองนา้ มันดเี ซลทหี่ ัวฉีดเข้าหอ้ งเผาไหม้ ถ้าเป็นหยดหรอื เป็นละอองหยาบ นา้ มนั จะระเหย เป็นไอยาก ตอ้ งมี
เวลาเพ่มิ ขึน้
3) การหมนุ เวียนอากาศภายในห้องเผาไหม้ ต้องหมุนเวียนใหเ้ กิดอุณหภมู ิถา่ ยเทกนั ทว่ั และรวมตวั กับระอองนา้ มันใน
อัตราสว่ นที่พอเหมาะ
4) การต้ังปม๊ั ตง้ั ปมั๊ ออ่ นหรือแกเ่ กนิ ไป ฉดี น้ามันเขา้ ไปในหอ้ งเผาไหมไ้ มต่ รงกาหนด
5) ทเี่ ร่งฉีดน้ามัน คอื เรง่ ให้ปมั๊ ฉีดนา้ มันเร็วขน้ึ เมือ่ เรง่ เครือ่ งยนตใ์ หม้ คี วามเรว็ รอบสงู ข้ึน แตถ่ า้ ประสิทธภิ าพทเ่ี ร่ง
ฉดี ไมด่ ี จะฉีดนา้ มันเร็วหรือชา้ กวา่ กาหนด
6) คุณสมบัตทิ างเคมขี องนา้ มันคอื ดัชนซี ีเทน นา้ มันที่มดี ชั นีซเี ทนต่าจะใช้เวลาถว่ งจุดระเบดิ นานกวา่ นา้ มันท่ีมีดชั นซี ี
เทนสงู ปกตมิ ี 45 – 50
7) คณุ สมบัตทิ างฟสิ กิ ส์ คอื ความหนืดและระเหยตัวเอง
8) เครอื่ งยนตเ์ ดินเบาช้ามาก ความร้อนทเี่ กดิ จากการอัดอากาศและอัตราอัดจะน้อยกว่าทคี่ วามความเรว็ รอบสงู
1.3 การเผาไหมท้ ไ่ี มส่ มบรู ณ์ (Incomplete Combustion)
การเผาไหมท้ ่ีไมส่ มบรู ณไ์ อเสียจะมคี วนั สีเทาแก่หรอื เกือบดา แม้ว่าขณะนน้ั จะมีอากาศในหอ้ งเผาไหม้อย่าง
มากมายก็ตาม แตฝ่ อยละอองของน้ามันบางส่วนไม่มโี อกาสผสมกับออกซเิ จน และโมเลกุลของคารบ์ อนเน่อื งจาก
ความร้อนสงู ในระหวา่ งเกิดการเผาไหม้ โมเลกุลไฮโดรเจนจะรวมตวั กบั ออกซิเจนไดง้ า่ ยกวา่ ทโ่ี มเลกลุ ของคารบ์ อนจะ
รวมตัวกับออกซิเจน ดงั นน้ั โมเลกุลของคาร์บอนจะถูกทิง้ ไวใ้ ห้เหลืออยู่โดยไม่ถูกเผาไหม้ซงึ่ จะปรากฏเปน็ ควนั ดาปนกับ
ไอเสยี หรอื เกดิ เป็นเขม่าจับอยู่ในหอ้ งเผาไหม้
3. หอ้ งเผาไหมเ้ ครื่องยนตด์ ีเซล
วิธกี ารผสมไอดีภายในหอ้ งเผาไหมข้ องเครือ่ งยนต์ ตอ้ งดูดอากาศบริสุทธเ์ิ ข้าไปแล้วอดั ให้มีความกดดันสูง
ความตา้ นทานของอากาศในการผสมกบั นา้ มนั เชื้อเพลิงมมี าก เมื่อฉดี เข้าไปผสมกับอากาศจะตอ้ งมีเวลาสัน้ มาก

ประมาณ 1 ใน 100 ถึง 1 ใน 1,000 วินาที แลว้ แต่ความเรว็ รอบของเครื่องยนต์ น้ามนั เชอื้ เพลงิ ทีฉ่ ดี เข้าไปใน

หอ้ งเผาไหมจ้ ะเปน็ ละอองผสมกบั อากาศท่ีถกู อัดและถูกบงั คบั ให้เกิดการหมนุ วน ละอองทล่ี ะเอยี ดนี้จะระเหยเปน็ ไอ

แตกตวั ทาปฏิกริ ยิ ากบั ออกซเิ จนในหอ้ งเผาไหมต้ ามเวลาถว่ งจดุ ระเบดิ ถา้ คิดตามเวลาข้ันตอนแลว้ กรรมวิธีการเผา

ไหม้ในหอ้ งเผาไหมข้ องเครื่องยนตด์ ีเซลมมี าก จึงมปี ญั หาการขบั ไล่ไอเสยี และการผสมไอดี โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เม่อื

เครอื่ งยนตม์ คี วามเรว็ รอบสูง การผสมไอดดี ้วยเวลาอันรวดเร็วจะกระทาไม่ไดด้ นี กั การเผาไหม้และกาลงั ของ

เครอื่ งยนตจ์ ะลดลง การสน้ิ เปลอื งเชื้อเพลิงสงู ขึ้นดว้ ย เพ่อื แกป้ ญั หาเช่นนี้จึงตอ้ งสรา้ งห้องผาไหม้ เพอื่ ชว่ ยในการผสม

อากาศกับนา้ มันให้มีประสิทธภิ าพ

โดยการเพม่ิ ปริมาณของอากาศเขา้ หอ้ งเผาไหมใ้ หเ้ กนิ ความต้องการไว้ เชน่ ใช้เครื่องซูปเปอรช์ ารจ์ เจอร์ เป็นตน้

หอ้ งเผาไหมเ้ คร่อื งยนต์ดเี ซล มหี นา้ ทใี่ ห้

1. อากาศไอดีเข้าขับไล่ไอเสีย และบรรจไุ ดเ้ ต็มท่ี 28
2. อากาศไอดีหมนุ เวียนผสมกับละอองน้ามันได้ดี

3. เกิดการเผาไหมส้ มบรู ณ์ไม่มีควัน

4. เกิดการเผาไหมต้ อ่ เนื่อง

การเผาไหมเ้ ช้ือเพลงิ ในห้องเผาไหมข้ องเคร่ืองยนต์ดเี ซล การเผาไหม้จะสมบรู ณแ์ ละทาให้เครอ่ื งยนต์เดินเรยี บมีกาลัง

สูงเพียงใดนั้น ขนึ้ อยกู่ ับรปู ร่างของห้องเผาไหม้

3.1หอ้ งเผาไหม้แบบเปดิ หรอื แบบโดยตรง (Direct Combustion Chamber ) เป็นห้องเผาไหมแ้ บบงา่ ย

ๆ เหมอื นของเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลีน มีพนื้ ทผี่ วิ หอ้ งเผาไหม้นอ้ ย พนื้ ท่ีถ่ายเทความรอ้ นออกจากอากาศไอดที ่ีถูกอดั มี

นอ้ ย ความร้อนทเี่ กิดขน้ึ ในจงั หวะอัดจึงสงู พอที่จะเผาไหม้ละอองนา้ มันไดเ้ องโดยไม่ต้องใชห้ วั เผาใชน้ มหนแู บบรู แรง

ฉีดนา้ มนั 175 - 200 บาร์ ฉดี น้ามันกระจายออกหลายรทู ่ัวหอ้ งเผาไหม้ จงึ เผาไหมไ้ ดร้ วดเรว็

ขอ้ ดขี องห้องเผาไหม้แบบเปดิ
1. โครงสร้างไม่ซับซอ้ น งา่ ยต่อการบารุงรักษา
2. มีสมรรถภาพสงู ขณะท่ีความสิ้นเปลอื งเชอื้ เพลงิ ต่า
3. สูญเสียความร้อนจากการเผาไหมน้ อ้ ยเพราะ เกดิ การเผาไหม้ในหอ้ งเผาไหมเ้ ดยี ว
4. สตาร์ทเคร่ืองไดง้ ่ายขณะอากาศเยน็ ไมต่ ้องใชห้ ัวเผาช่วย
5. กาลงั และทอร์กดี

รปู ที่ 3.4 เครอ่ื งยนต์ดีเซลหอ้ งเผาไหม้แบบเปิดกลางหัวลกู สูบเปน็ แอ่ง
ขอ้ เสียห้องเผาไหม้แบบเปิด

1. ต้องใช้น้ามนั ทมี่ ีคุณภาพสูง

2. ตอ้ งการแรงฉดี น้ามนั สูงมาก

3. มักมีปญั หาอดุ ตนั ทร่ี ูเลก็ ๆ ของหัวฉีดบอ่ ย

4. การหมนุ วนของอากาศน้อย ทาใหก้ ารผสมคลกุ เคล้าของอากาศกบั นา้ มนั เช้ือเพลงิ ทาไดม้ ดี ีการเผ

ไหมไ้ ม่หมดจดในขณะท่รี อบสงู ๆ

5. เคร่อื งยนตเ์ ดนิ ไมเ่ รยี บ เพราะแรงงานกระทาที่หวั ลูกสูบโดยตรง เผาไหมร้ ุนแรง จึงมเี สียงดงั

3.2 ห้องเผาไหมแ้ บบโพรงหัวลกู สบู เพ่อื ขจดั ปญั หาข้อเสียของหอ้ งเผาไหม้แบบเปิดบางประการบริษัท

MAN ของเยอรมัน จงึ ดัดแปลงหอ้ งเผาไหม้ต่อเน่อื ง ใชร้ ะบบฉดี น้ามนั แบบเดมิ โดยดัดแปลง

1. ออกแบบหวั ลูกสูบให้เป็นโพรงทรงกลม เปิดปากไว้เป็นหอ้ งเผาไหม้

2 . หวั ล้ินมีปกี กาบังลม ให้อากาศไอดหี มนุ ม้วนตัวเข้าบรรจุในโพลงหัวลกู สบู ได้

3. ใช้หัวฉีดแบบรู มรี ูเดยี วแต่คอ่ นข้างโต แรงน้ามนั 175 บาร์ ฉดี เข้าไปในเกาะผวิ โพรงห้องเผาไหมเ้ ปน็

ฟิล์มนา้ มัน การหมนุ เวยี นของอากาศรอ้ นทาใหฟ้ ลิ ม์ น้ามนั ระเหยกลายเปน็ ไอ ผสมกับอากาศร้อนตดิ ไฟดว้ ยตนเอง2ก9าร
เผาไหมใ้ นระบบนี้จงึ เป็นไปอย่างตอ่ เนือ่ งไมร่ ุนแรง

รูปที่ 3.5 หอ้ งเผาไหมแ้ บบโพรงหัวลกู สูบ

คุณสมบตั หิ อ้ งเผาไหม้แบบโพรงหัวลูกสบู การเผาไหมไ้ ม่รุนแรงและตอ่ เน่อื ง

การใชน้ า้ มันเชื้อเพลงิ ไดห้ ลายชนิด
1. การเผาไหม้สมบูรณ์
2. อัตราการสิน้ เปลอื งนา้ มนั ดีเซลต่า
3. ลกู สบู รอ้ นจัด

รปู ที่ 3.6 อากาศม้วนตวั เขา้ ห้องเผาไหม้

3.3 ห้องเผาไหมแ้ บบ 2 ช้ัน ( Precombustion chanber ) ที่ฝาสบู เหนือลูกสบู เปน็ หอ้ งเผาไหมเ้ ลก็ มีรูเล็ก ๆ
ทะลถุ งึ ห้องเผาไหมใ้ หญ่ มีปริมาตรประมาณ 25 – 40 % ของปริมาตรอัดเหนือหัวลกู สูบเมือ่ พิจารณาผิวห้องเผาไหม้
แล้ว พนื้ ท่ีนาความรอ้ นออกจากอากาศมไี อดที ถ่ี กู อดั มมี าก ทาให้สตาร์ทติดเคร่อื งยากตอ้ งใชห้ วั เผา ใช้นมหนูหัวฉดี
แบบเดอื ยแรงฉดี น้ามนั ประมาณ 100 – 120 บาร์ ฉดี เข้าห้องเผาไหมเ้ ล็ก ละอองน้ามันบางสว่ นเร่ิมตดิ ไฟเองมีความ
กดดนั สงู พน่ ออกจากรเู ลก็ ๆ ระหวา่ งหอ้ งเผาไหม้เลก็ ส่หู อ้ งเผาไหม้ใหญ่ พรอ้ มกับน้ามนั บางส่วนทย่ี งั ไมเ่ ผาไหม้ การ
เผาไหม้จึงเกดิ ขนึ้ ต่อเนือ่ งไมร่ นุ แรง เคร่อื งยนต์เดนิ เรยี บ

รูปที่ 3.7 ห้องเผาไหมแ้ บบ 2 ชนั้ แสดงใหเ้ ห็นหวั เผาด้วย 30

คุณสมบตั หิ อ้ งเผาไหมแ้ บบ 2 ชั้น

1. แรงฉดี น้ามันตา่ และรฉู ดี นา้ มนั ไม่ตนั
2. การเผาไหมต้ อ่ เน่อื ง ลดเสียงดังไดแ้ ละเครอื่ งยนต์เดินเรียบ
3. มีไนโตรเจนออกไซด์ในไอเสยี นอ้ ย

ข้อเสยี หอ้ งเผาไหมแ้ บบ 2 ชนั้
1. ราคาแพง เพราะกรออกแบบฝาลูกสบู ยุ่งยากขน้ึ
2. ต้องการกําลงั ในการสตาร์ทเครอื่ งมากจึงต้องมีหัวเผา ชว่ ยในการสตารท์
3. ส้ินเปลืองน้ํามันอตั ราสูง

3.4 หอ้ งเผาไหม้แบบพาวน ( Swirl Chamber ) ทฝ่ี าสบู มีโพลงเปิดปากกวา้ งตอ่ กับห้องเผาไหม้ใหญ่
(รปู บนหรอื รปู ลา่ ง ) มีปริมาตรประมาณ 520 – 90 % ของปรมิ าตรอดั เหนือหวั ลูกสบู เรียกวา่ หอ้ งพาวน จะเห็นวา่
พ้นื ทผี่ วิ ห้องเผาไหมท้ ัง้ หมดกว้างมาก จาเป็นต้องใช้หวั เผาอุ่นไอดีชว่ ยให้สตาร์ทเครื่องยนต์ตดิ ง่ายขึน้ ใชห้ ัวฉดี แบบ
เดือยฉีดเข้าหอ้ งพาวนด้วยแรงฉีด 100 – 120 บาร์ อากาศไอดีทถ่ี กู อัดจะหมุนเวียนในหอ้ งพาวนอยา่ งรุนแรง ทาให้
เกดิ การตคลุกเคล้าระหวา่ างอากาศกบั ละอองนา้ มนั ดีเซลทฉี่ ีดเข้าไปเปน็ ไปอย่างทั่วถึงเผาไหม้ตอ่ งเน่ืองกนั ไดส้ มบรู ณ์ดี
มีลกั ษณะการเผาไหมค้ ล้ายคลงึ กับหอ้ งเผาไหมแ้ บบ 2 ช้นั ดงั กล่าวมาแล้ว

ขอ้ ดหี ้องเผาไหมแ้ บบพาวน

1. ความเร็วรอบทําไดส้ ูง เพราะการเผาไหมไ้ ด้ดี ไอเสยี มีควนั ดาํ นอ้ ย
2. ไมค่ ่อยมปี ัญหาทีห่ ัวฉดี เพราะใช้หัวฉดี แบบเดือย มีอายกุ ารใชง้ านนานแรงฉดี ตาํ่
3. สามารถควบคุมระยะเวลาการจดุ ระเบดิ ได้ ทอร์กทีใ่ ชง้ านสามารถยืดหย่นุ ได้

เพราะเผาไหมต้ ่อเนอ่ื ง
4. เหมาะทีจ่ ะใชง้ านกบั เคร่อื งยนต์ขนาดเล็กท่ีมีช่วง ( Rate ) ความเรว็ กว้าง เครื่องยนตเ์ ดนิ เรียบ

เพราะการจุดระเบิดมิได้ส่งผลโดยตรงตอ่ หัวลูกสบู ลดเสียงดังได้
5. อาการนอ๊ คของเคร่อื งยนต์น้อยลงท่ีรอบเครอื่ งสงู ๆ

รูปที่ 3.8 ห้องเผาไหม้แบบพาวน ตาแหน่งปลายจังหวะอดั

ข้อเสยี ห้องเผาไหม้แบบพาวน
1. มีความยุง่ ยากในการออกแบบโครงสร้างของฝาสูบหรอื เสื้อสบู
2. ประสทิ ธิภาพทางความร้อนและอัตราการเปลอื งน้าํ มันไมด่ ี
3. มีหวั เผาช่วยในการสตาร์ท
3.5 หอ้ งเผาไหมแ้ บบโพรงอากาศ ( Air Cell ) หรือเรียก ห้องเผาไหม้แบบเอนเนอยเี ซล (

Energy Cell ) ห้องเผาไหม้ทัง้ หอ้ งเลก็ และหอ้ งใหญ่ทอี่ ยูฝ่ าสูบ หอ้ งเผาไหมใ้ หญเ่ ป็นแอง่ ใต้ลน้ิ ไอเสียดว้ ยแนวนอน
ขวามือ (รปู บน) หอ้ งเอนเนอยเี ซลมปี รมิ าตรประมาณ 5 – 10 % ของปริมาตรอดั เหนอื หัวลูกสูบ มปี ากรูเลก็ ๆ
ทตอ้ะงลใหุ ชอ้้หงัวเเผผาาไอห่นุ มไ้ใอหดญีช่ ว่ ตยรสงตขาา้รมท์ หเพ้อางรเอะนอเานกอายศเีบซาลงใสน่วเสนน้ทศถ่ี ูนูกยอเ์ดั ดเยีขว้าไกปบั ใหน้อหง้อเองเนอเนนเอนยอีเยซเีลซลเเปก็นดิ หอุณวั ฉภีดมู นิสมูงหเนมแูือ่ บหบัวฉเดีดอื3ฉย1ีด ไม่
น้ามันออกไป ละอองนา้ มนั ส่วนหนึ่งเข้าไปในหอ้ งเอนเนอยเี ซล กระทบความรอ้ นติดไฟเอง
และเริม่ เผาไหมใ้ นห้องเอนเนอยีเซล และพุ่งออกมาทยอยเผาไหม้ในห้องเผาไหมใ้ หญ่ตอ่ ไปตามลาลบั จากรูปบนลงสู่
รปู ลา่ ง

ข้อดหี ้องเผาไหมแ้ บบเอนเนอยีเซล
1. เครอ่ื งยนตท์ างานได้ราบเรยี บกว่าขณะท่ีพน้ื ทีท่ ่ีการเผาไหม้เพิ่มข้ึน
2. น้ามันเชือ้ เพลิงฉดี โดยตรงไปยงั หอ้ งเผาไหม้สตาร์ทได้งา่ ย หวั เผาจงึ ไม่จาเป็น
3. ไม่คอ่ ยมปี ัญหาเกีย่ วกบั หัวฉกี มากนัก เพราะใชห้ ัวฉดี แบบเขม็

รูปที่ 3.9 ห้องเผาไหมแ้ บบเอนเนอยีเซลตาแหน่งต่าง ๆ

ขอ้ เสยี ห้องเผาไหม้แบบเอนเนอยเี ซล

1. ระยะเวลาการฉีดของเชอื้ เพลิงเปน็ ผลอย่างมากต่อสมรรถนะของเคร่ืองยนต์

2. ไอเสยี มอี ุณหภูมิสงู เปน็ ผลอย่างมากตอ่ การจุกระเบิดภายหลงั

3. ระบบย่งุ ยาก ต้นทนุ การผลิตสูง

4. คาศัพทก์ ระบวนการเผาไหมแ้ ละห้องเผาไหม้

กระบวนการเผาไหม้ Combustion Process

ห้องเผาไหม้ Combustion Chamber

เวลาถ่วงจดุ ระเบิด Ignition Lag or Delay Period

การเผาไหม้ปกติ Nocking or Spiking

การเผาไหม้ที่ไมส่ มบูรณ์ Incomplete Combustion

หอ้ งเผาไหม้แบบเปิด Direct Combustion Chamber

หอ้ งเผาไหมแ้ บบโพลงหัวลูกสูบ Centre Sphere ( Piston Chamber )

ห้องเผาไหม้แบบ 2 ชัน้ Precombustion Chamber

หอ้ งเผาไหม้แบบพาวน Swirl Combustion Chamber

ห้องเผาไหไมแ้ บบโพลงอากาศ Air Cell or Energy Cell

32

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หน่วยที่.......3..........
ชื่อหนว่ ย กระบวนการเผาไหม้และห้องเผาไหม้ สอนครัง้ ท่ี.............

ชัว่ โมงรวม.............
ชว่ั โมงรวม.............

5.1 การนาํ เขา้ ส่บู ทเรียน
1. ครซู ักถามนักเรยี นเปน็ รายบคุ คลเก่ียวกับองค์ประกอบทที่ าให้เกดิ การเผาไหม้

5.2 การเรยี นรู
1. ครอู ธบิ ายกระบวนการเผาไหม้ใหน้ กั เรียนฟงั อธิบายเสรจ็ สุ่มนักเรียน 4 – 5 คนซักถามความเขา้ ใจเก่ียวกับ

ขน้ั ตอนการเผาไหม้
2. ครอู ธิบายการเผาไหมน้ ็อคของเครอื่ งยนต์ดีเซลโดยใช้ Power Point ประกอบ
3. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามปัญหาขอ้ สงสยั ตา่ งๆ
4. ครอู ธบิ ายหลักการทางานของห้องเผาไหม้แบบต่างๆให้นกั เรียนฟงั โดยใช้ Power Point รูปภาพห้องเผาไหม้

แบบต่างๆประกอบ อธิบายเสรจ็ ซกั ถามความเขา้ ใจ
5. ครบู อกคาศพั ทก์ ระบวนการเผาไหม้และหอ้ งเผาไหม้

5.3 การสรุป

1. ครใู ห้นักเรยี นชว่ ยกันสรปุ เน้อื หา
2. ครูสรุปเนือ้ หาเพม่ิ เตมิ ให้นักเรยี นฟงั อีกครั้ง
3. ครซู ักถามความเข้าใจนกั เรยี นจากเนอื้ หาทงั้ หมดท่คี รอู ธิบายมา และเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นซกั ถามอีกครัง้

4. ครูใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัดส่งท้ายชั่วโมง

5.4 การวัดและประเมนิ ผล
- ความตรงตอ่ เวลา
- ความรบั ผดิ ชอบต่องานท่ีมอบหมาย
- การทดสอบความรู้
- สังเกตความสนใจในห้องเรียน
- สังเกตความสนใจในห้องเรยี น

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ หนวยท่.ี .......3.........
ชอ่ื หนวย กระบวนการเผาไหม้และหอ้ งเผาไหม้ สอนครั้งที่.............

ชัว่ โมงรวม.............
ชัว่ โมงรวม.............

6.สือ่ การเรียนรู/แหลงการเรียนรู
6.1 สอื่ ส่งิ พิมพ

1. เอกสารประกอบการเรยี นหนว่ ยที่ 3 กระบวนการเผาไหมแ้ ละห้องเผาไหม้
2. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและแบบทดสอบ 3

6.2 สื่อโสตทัศน (ถาม)ี
1. เคร่อื งฉาย projector
2. PowerPoint เรอื่ ง กระบวนการเผาไหมแ้ ละหอ้ งเผาไหม้

6.3 หนุ จําลองหรือของจริง (ถาม)ี
1. เครอ่ื งยนต์ดเี ซล
2. รถโตโยต้า วโี ก้

6.4 อื่นๆ (ถาม)ี
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )

1. ใบความรู
2. ใบงาน
8. การบูรณาการ/ความสมั พนั ธกับวชิ าอ่ืน
1. ภาษาองั กฤษและการส่ือสาร
2. ไฟฟ้าและอิเลค็ โทรนิคเบอ้ื งต้น

34

แผนการจัดการเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ หนวยท.ี่ .......3.........
ชือ่ หนวย กระบวนการเผาไหม้และห้องเผาไหม้ สอนครง้ั ที่.............

ช่ัวโมงรวม.............
ช่ัวโมงรวม.............

9. การวัดและประเมินผล
9.1 กอนเรียน

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.2 ขณะเรยี น
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

9.3 หลังเรียน
............................................................................................................................. ..................................................
................................................................................................................................................. ..............................
.................................................................................................... ...........................................................................

10. บันทกึ หลังสอน
10.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................

............................................................................................................................. ..................................................

แผนการจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 35
ช่อื หนวย กระบวนการเผาไหม้และหอ้ งเผาไหม้ หนว่ ยท่ี.......3..........
สอนคร้งั ท่ี.............
ช่วั โมงรวม.............

ช่วั โมงรวม.............

10.2 ผลการเรยี นรูของนกั เรยี น นักศกึ ษา
............................................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................... ....................................................
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................
........................................................................................................................... ....................................................
10.3 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรู
.......................................................................................................................................... .......................................

................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

............................................................................................................................ ........................................................

............................................................................................................................. ....................................................
....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................

........................................................................................................................... .........................................................

.................................................................................................................................................................................

........................................................................................................................... .........................................................


Click to View FlipBook Version