The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siriyakorn8287, 2021-04-27 04:00:56

คำนำ2

คำนำ2

(14,630 + 19,500)

วัสดสุ ิน้ เปลืองใชไ้ ป (Supplies Used Expense)

วสั ดุส้นิ เปลือง หมายถึง สินทรัพยท์ ี่ใชแ้ ล้วหมดไป มักมมี ลู คา่ ต่อหน่วย เช่น กระดาษ ปากกา
ดนิ สอ ลวดเยบ็ กระดาษ วัสดสุ ิน้ เปลอื งมีช่ือเรียกตามลักษณะการใชง้ าน เช่น วสั ดสุ าํ นักงาน วัสดใุ น
การตกแตง่ วัสดุในการโฆษณา เป็นตน้ วสั ดุสนิ้ เปลืองจัดเปน็ สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน การจัดหามาเพื่อใช้
งานมักจะซ้ือมาเปน็ จํานวนมาก และบนั ทกึ ใoหมวดของสนิ ทรพั ย์เมื่อนาํ มาใช้ งานจะมกี ารควบคุม
โดยใช้หลักฐานการเบกิ จา่ ย คอื ใบเบกิ และ ณ วันสิ้นงวดจะมีการตรวจนบั วัสดสุ น้ิ เปลอื งคงเหลือ
เน่อื งจากลกั ษณะการใชง้ านแลว้ หมดไป ดังนั้น วสั ดุสนิ้ เปลืองทเ่ี บกิ ใช้ไป คอื คา่ ใช้จา่ ยประจาํ งวด
เรียกว่า วสั ดุส้นิ เปลอื งใชไ้ ป โดยมีวิธีการคํานวณ ดงั น้ี

วัสดุสิน้ เปลืองใชไ้ ป =วัสดสุ น้ิ เปลืองต้นงวด + ซอ้ื ระหว่างงวด
- วัสดสุ น้ิ เปลืองคงเหลือปลายงวด

การบันทกึ บัญชีปรบั ปรุงในวนั สนิ้ งวด ภายหลังจากตรวจนบั วสั ดสุ ้นิ เปลืองคงเหลือไดแ้ ล้ว

ดังนี้

เดบติ วสั ดสุ ิ้นเปลอื งใช้ไป xx
เครดติ วัสดสุ ิ้นเปลอื ง xx

หน้สี งสยั จะสูญ (Doubtful Accounts หรอื Doubtful Debt)
ธุรกจิ ประเภทใหบ้ รกิ ารหรือขายสินคา้ เป็นเงินเชือ่ อาจมีลกู หนี้บางส่วนท่เี รียกเกบ็ เงินไม่ได้
เรยี กว่า หนีส้ ญู (Bad Debt) ในทางบัญชีตอ้ งโอนปดิ บัญชลี ูกหนที้ เี่ รยี กเก็บเงินไมไ่ ด้เป็นคา่ ใช้จ่าย แต่
เนื่องจากระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระหน้ีและการติดตามทวงถามจากลกู หนี้อาจใชเ้ วลาคาบเกยี่ ว
ระหว่างงวดบญั ชี ดังนน้ั การตดั ลกู หนีท้ ่ตี ดิ ตามทวงถามจนถงึ ท่สี ดุ แล้วเปน็ หน้ีสญู ทําใหก้ ิจการ เกดิ
ค่าใช้จ่ายไมต่ รงกบั รอบระยะเวลาของการขายหรอื ให้บริการเปน็ เงินเชือ่ อกี ท้ังทาํ ใหม้ ูลค่าของ ลกู หนี้
ทีป่ รากฏในงบดุลไมต่ รงกับความเป็นจริง จึงควรมีการประมาณลูกหนี้ทีค่ าดว่าจะเกบ็ เงนิ ไม่ได้ ในแต่
ละงวดบญั ชี เรยี กว่าหนี้สงสัยจะสูญ (Doubtful Accounts หรือ Doubtful Debt) โดยมวี ิธี การ
ประมาณ 2 วิธี คือ
ก. คํานวณจากรอ้ ยละของยอดขาย (Percentage of Sales Method)
ข. คํานวณจากรอ้ ยละของยอดลูกหนสี้ ้นิ งวด (Percentage of Receivables Method)การ
บันทึกบญั ชีเก่ียวกบั การประมาณลกู หนี้ทีค่ าดวา่ จะเก็บเงินไมไ่ ด้ คอื

เดบติ หน้ีสงสัยจะสญู xx

เครดติ คา่ เผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ xx

บญั ชหี นส้ี งสัยจะสูญจัดอยใู่ นหมวดค่าใชจ้ ่ายจะโอนปดิ เขา้ บัญชีสรปุ ผลกำไรขาดทนุ ในวนั สน้ิ

งวด ส่วนบญั ชคี ่าเผือ่ หน้ีสงสัยจะสญู เป็นบัญชีปรับมูลคา่ (Valuation Account) แสดงเปน็

รายการหักลูกหนใ้ี นงบดลุ

การแก้ไขข้อผดิ พลาด (Correction of Errors)
ขอ้ ผดิ พลาดในการบันทกึ บัญชแี บง่ ออกเปน็ 2 กรณี คือ
1. บันทึกจํานวนเงินผิดเพียงอย่างเดียว ส่วนชื่อบัญชีและหมวดบัญชีบันทึกถูกต้องแล้ว การ
แก้ไขโดยเขียนจํานวนเงนิ ท่ีถูกต้องแทนที่ แล้วเซ็นช่ือกาํ กับไว้ หรืออาจบันทึกเพิ่มหรือลด จํานวนเงนิ
แลว้ แตก่ รณกี ็ได้
2. บันทึกบัญชีผิดพลาด ส่วนจํานวนเงินอาจจะบันทึกถูกต้องหรือผิดพลาดด้วย การแก้ ไขให้
ดาํ เนินตามขน้ั ตอน ดงั น้ี

2.1. พิจารณาวา่ การบนั ทึกบัญชีทผ่ี ดิ พลาด บันทกึ ไว้อย่างไร ใหบ้ นั ทกึ โอนกลบั ราย
การ โดยบญั ชที เ่ี ดบิตใหแ้ กไ้ ขโดยเครดติ ส่วนบัญชที เ่ี ครดิตให้แก้ไขโดยเดบิต

2.2 บันทกึ บัญชีท่ถี ูกต้อง
ทั้งนี้การแก้ไขข้อผิดพลาดอาจนําขั้นตอนทั้งสองมาพิจารณาร่วมกันแล้วบันทึกแก้ไขรวมเป็นขั้นตอน
เดียวกไ็ ด้

กระดาษทาํ การ (Work Sheets / Working Paper
เนอ่ื งจากยอดคงเหลอื ในบัญชแี ยกประเภททวั่ ไป ณ วันส้นิ รอบระยะเวลาบญั ชีที่จะนาํ ไป
จัดทํางบการเงนิ เป็นขอ้ มูลที่ได้จากข้นั ตอนการบนั ทกึ บญั ชี 3 ขัน้ ตอน คือ
1. การบันทึกรายการเปิดบญั ชี
2. การบนั ทกึ รายการค้าระหวา่ งงวด
3. การบนั ทึกรายการปรับปรุงและการแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาด (ถ้ามี) ในวันส้นิ งวด
เพ่อื ใหก้ ารจดั ทาํ งบการเงินสะดวก รวดเรว็ และถูกต้องตามหลกั การบัญชีค่จู งึ สมควร จัดทํา
กระดาษการ (Work Sheets / Working Paper ) เพ่อื แยกหมวดบัญชตี ่างๆ ทตี่ อ้ งไปปรากฏ ในงบ
การเงนิ แตล่ ะงบ อย่างไรกต็ ามกระดาษทาํ การเปน็ เพียงเครื่องมือทกี่ อ่ ให้เกดิ ความสะดวก และรวดเร็ว
ในการจัดทํางบการเงินเทา่ น้นั มใิ ช่รายงานทางการเงินในระบบบญั ชี
รายการปิดบัญชี (Closing Entries)

การปดิ บัญชี หมายถงึ การโอนปิดหมวดรายได้และค่าใช้จา่ ยเข้าหมวดสว่ นของเจา้ ของ ท้ังนี้
เนอื่ งจากเมอื่ สน้ิ รอบระยะบัญชีหน่ึงงวด งบกาํ ไรขาดทนุ จะแสดงผลการดําเนินงานว่ารอบบญั ชนี ้นั
กิจการมกี ําไรสทุ ธหิ รือขาดทุนสทุ ธเิ ป็นจํานวนเงินเทา่ ใด ซ่ึงกําไรสุทธิหรอื ขาดทุนสทุ ธิจาํ นวนน้ี จะมี
ผลกระทบกับส่วนของเจา้ ของ กลา่ วคือ ผลการดาํ เนินงานกําไรสทุ ธทิ ําให้ทุนเพิ่มขน้ึ และผล การ
ดาํ เนินงานขาดทุนสทุ ธทิ าํ ใหท้ นุ ลดลง ดงั น้ัน หมวดรายได้และค่าใช้จา่ ยซง่ึ เป็นหมวดบัญชชี ัว่ คราว จึง
ตอ้ งถกู ปิดลง รวมทัง้ ปดิ บญั ชเี งนิ ถอน (ถา้ ม)ี ดว้ ย และจะเริม่ เปิดบญั ชีใหมเ่ ม่ือเกดิ รายได้ คา่ ใช้จ่าย
และเงนิ ถอน(ถา้ ม)ี ในงวดบญั ชีต่อไป

การปิดบัญชีเปน็ การทําให้ยอดคงเหลือในบัญชมี ีค่าเทา่ กับศนู ยห์ รอื ไม่มยี อดคงเหลือ ดงั นัน้
บญั ชใี ดมียอดคงเหลือในบัญชีดา้ นเดบติ จะบันทึกปิดดา้ นเครดติ บญั ชใี ดมยี อดคงเหลอื ในบญั ชี ด้าน
เครดิต จะบันทกึ ปิดด้านเดบิต ซึง่ โดยปกตแิ ล้วหมวดรายไดจ้ ะมียอดคงเหลอื ดา้ นเครดติ หมวด
ค่าใชจ้ ่ายและเงินถอนจะมียอดคงเหลอื ในบญั ชดี า้ นเดบิต ข้ันตอนการปิดบญั ชีมดี งั ต่อไปน้ี

1. ปิดบญั ชหี มวดรายได้เขา้ บญั ชสี รปุ ผลกำไรขาดทุน

เดบิต รายได้ xx

เครดิต สรปุ ผลกำไรขาดทนุ xx

2. ปิดบัญชหี มวดคา่ ใชจ้ ่ายเข้าบัญชสี รุปผลกำไรขาดทนุ

เดบิต สรุปผลกำไรขาดทุน xx

เครดิต ค่าใช้จ่าย (แยกแตล่ ะบัญชี) xx

3. ปดิ บัญชสี รปุ ผลกำไรขาดทนุ เขา้ บญั ชที นุ (กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว) เข้าทุนหรือกระแสะ

ทุน (กิจการห้างหนุ้ สว่ น) หรือเข้ากำไรสะสม (กิจการบรษิ ทั จำกัด) การโอนปิดบญั ชสี รปุ ผลกำไร

ขาดทุนขนึ้ อยู่กบั ผลการดำเนินงาน ดงั นี้

ประเภทธุรกจิ ผลการดำเนินงาน

กำไรสทุ ธิ ขาดทนุ สุทธิ

กิจการเจ้าของคนเดยี ว เดบติ สรุปผลกำไรขาดทุน xx เดบิต ทุน-เจ้าของกิจการ xx

เครดติ ทุน-เจา้ ของกิจการ xx เครดติ สรุปผลกำไรขาดทุน xx

กจิ การหา้ งหนุ้ สว่ น เดบิต สรปุ ผลกำไรขาดทนุ xx เดบติ ทนุ -ก หรอื กระแสทุน-ก xx
กจิ การบริษัทจำกดั
เครดิต ทนุ -ก หรือกระแสทนุ -ก xx ทนุ -ข หรือกระแสทุน-ข xx

ทนุ -ข หรือกระแสทนุ -ข xx เครดติ สรปุ ผลกำไรขาดทุน xx

เดบติ สรปุ ผลกำไรขาดทนุ xx เดบิต กำไรสะสม xx

เครดิต กำไรสะสม xx เครดติ สรปุ ผลกำไรขาดทนุ xx

งบทดลองหลงั ปดิ บัญชี (Trial Balance After Closing)
หลงั จากปดิ บัญชหี มวดรายไดแ้ ละคา่ ใช้จา่ ยเสร็จส้นิ ลงแล้ว ในสมดุ บญั ชแี ยกประเภทท่ัวไป จะ

คงเหลือหมวดบญั ชีเพียง 3 หมวด คือ หมวดสินทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจ้าของเทา่ นน้ั การนาํ ยอด
คงเหลือในบญั ชีทัง้ 3 หมวดมาจัดทํารายงานเรยี กว่า งบทดลองหลังปดิ บัญชี

จากตัวอยา่ งของบริษทั เสริมมิตร จํากดั บัญชแี ยกประเภททัว่ ไปภายหลงั จากจัดทาํ รายการ
ปรบั ปรุงและแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดแล้ว แสดงได้ดังน้ี

ยอดคงเหลือยกไป (Balancing the Accounts)
หมวดการบัญชที เ่ี หลอื ภายหลงั การปิดบญั ชี คือ หมวดสนิ ทรพั ย์ หนีส้ ินและส่วนของเจา้ ของ

ซึง่ จะเปน็ หมวดบัญชีที่ยกไปในรอบบญั ชใี หม่ ยอดคงเหลือยกไปของหมวดบัญชีดังกลา่ วน่จี ดั ทำโดยนำ
ยอดคงเหลือในบญั ชใี ส่ดา้ นทมี่ ีผลรวมน้อยกวา่ เขยี นในชอ่ งรายการว่า “ยอดยกไป”

5
งบการเงิน
แนวคดิ
งบการเงินเป็นการนำเสนอขอ้ มลู ทางการเงนิ ของกจิ การอยา่ งมีแบบแผนประโยชนต์ ่อผ้ใู ชง้ บ
การเงิน ในการตดั สนิ ใจ นอกจากนงี้ บการเงินยังแสดงใหเ้ หน็ ถึงประสิทธิภาพในการบริหารงานของ
ฝา่ ยบริหารอีกด้วย
สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของงบการเงิน
2. ส่วนประกอบของงบการเงิน
3. งบกำไรขาดทนุ
4.งบดลุ
5. งบกำไรสะสม
6. งบกระแสเงนิ สด
7. หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
8. ศพั ท์บญั ชี
ผลการเรียนร้ทู ค่ี าดหวัง
1. บอกความหมายของงบการเงนิ ได้
2. บอกรายการที่ปรากฏในงบกำไรขาดทนุ งบดลุ งบกำไรสะสมและงบกระแสเงินสดได้
3. แปลความหมายศัพทบ์ ัญชไี ด้

ความหมายของงบการเงนิ

ความมงุ่ หมายของงบการเงิน

งบการเงินเป็นการเสนอข้อมูลทางการเงนิ ทมี่ แี บบแผน เพ่ือแสดงฐานะการเงินและรายการ
ทางบญั ชขี องกจิ การ งบการเงนิ ทจี่ ัดทำข้นึ เพ่ือวตั ถุประสงค์ทว่ั ไปมีเปา้ หมายในการใช้ข้อมลู เกี่ยวกบั
ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของกจิ การซงึ่ เปน็ ประโยชนต์ ่อผใู้ ช้งบการเงินใน
การตดั สนิ ใจเชิงเศรษฐกจิ งบการเงินยงั แสดงถงึ ผลการบริหารงานของฝ่ายบรหิ ารซึง่ ได้รับความ
ไว้วางใจให้ดแู ลทรัพยากรของกจิ การงบการเงนิ จงึ ควรใหข้ ้อมลู ดังตอ่ ไปนี้

- สนิ ทรัพย์

- หนสี้ ิน

- สว่ นของเจา้ ของ

- รายได้และค่าใช้จ่าย รวมถึงรายการกำไรและรายการขาดทนุ

- กระแสเงนิ สด

สว่ นประกอบของงบการเงิน

ส่วนประกอบของงบการเงินขนึ้ อยู่กับรปู แบบของธุรกจิ ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ในทนี่ ี้จะก็
กลา่ วถงึ องคป์ ระกอบของงบการเงนิ ของเจา้ ของคนเดียว หา้ งหุ้นส่วนและบริษัท จำกัด ดังน้ี

สว่ นประกอบของงบการเงินสำหรับกจิ การ

ห้างหนุ้ สว่ นจดทะเบียน

งบกำไรขาดทนุ

งบกำไรขาดทนุ (Profit and Loss Statement หรือ Income Statement) หมายถงึ
รายงานทางการเงนิ ท่ีแสดงผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีหนง่ึ อนั ประกอบดว้ ยหมวด
รายได้และคา่ ใชจ้ า่ ย ผลการดำเนนิ งานคำนวณได้จากผลต่างของหมวดรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย โดยผล
การดำเนินงานเกิดข้ึนได้ 2 กรณๆี ใดกรณหี นง่ึ คอื ถ้ารายไดม้ ากกว่าค่าใชจ้ ่าย เรียกว่า กำไรสุทธิ
(Net Profit หรือ Net Income) ถ้าคา่ ใช้จ่ายมากกว่ารายได้ เรยี กว่า ขาดทนุ สุทธิ (Net Loss)
นอกจากงบกำไรขาดทุนจะเป็นรายงานท่แี สดงความสำเรจ็ หรอื ความล้มเหลวของการดำเนินงาน

ธรุ กิจท่ีผา่ นมาแลว้ งบกำไรขาดทุนยงั ใช้เป็นขอ้ มูลต่อการตดั สินใจทางเศรษฐกิจและการเงินในอนาคต
อีกดว้ ยรายการในงบกำไรขาดทนุ

รายการท่ปี รากฏในงบกำไรขาดทุน มีความหมายตามคำชแ้ี จงของกรมทะเบยี นการค้าในที่น้ี
ขอเสนอเฉพาะรายการทสี่ ำคญั ดังนี้

1. รายไดจ้ ากการขายและหรือการให้บริการ (Revenues from the sale of goods and the
rendering of services) หมายถึง รายไดท้ เ่ี กดิ จากการขายสินคา้ สิทธิ หรอื บริการ ซงึ่ เปน็ ธรุ กิจหลัก
ของกิจการ

2. รายได้อื่นๆ (Other incomes) หมายถึง รายได้จากการดำเนนิ งานนอกจากกำหนดไวใ้ นรายไดจ้ าก
การขายและหรอื การใหบ้ ริการ ทัง้ ทใ่ี หร้ วมกำไรอืน่ ที่ไมจ่ ดั เป็นรายการพิเศษ เช่นกำไรจากการขายเงิน
ลงทนุ ทด่ี ิน อาคารและอปุ กรณแ์ ละสินทรัพย์อื่น ในกรณีทมี่ ีค่าใชจ้ า่ ยในการขาย

สนิ ทรพั ย์ดังกลา่ วใหน้ ำมาหกั จากรายการนี้ เพ่ือแสดงยอดสทุ ธิ กรณีที่ยอดสุทธิเป็นขาดทนุ ให้
แสดงเปน็ ค่าใช้จ่ายอน่ื

3. ตน้ ทนุ ขายและหรือตน้ ทุนการให้บร่ ิการ (Cost of the sale of goods and the rendering of
services) หมายถงึ ตน้ ทุนของสนิ คา้ สทิ ธิหรือบริการท่ขี าย รวมถงึ ราคาซอื้ ตันทุนการผลติ และ
คา่ ใช้จา่ ยตา่ งๆ ทจี่ ่ายไปเพ่ือให้สินค้าอยู่ในสภาพพรอ้ มที่จะขาย

4. กำไรขนั้ ตน้ (Gross profit) หมายถงึ ส่วนของรายได้จากการขายสนิ คา้ และหรือบริการสุทธทิ ่ีสงู
กวา่ ด้นทนุ ขายและหรอื ตนั ทนุ ของการใหบ้ ริการ

5. ค่าใชจ้ ่ายในการขายและบริการ (Selling and administrative expenses) หมายถงึ ค่าใช้จ่ายท่ี
เกิดขึ้นอนั เนื่องมาจากการขาย และค่าใชจ้ ่ายท่วั ไปทเ่ี กิดข้ึนในการดำเนนิ งานอันเปน็ สว่ นรวม ทั้งนี้ไม่
รวมคา่ ใชจ้ ่ายอ่นื และดอกเบ้ยี จ่าย ซง่ึ กำหนดใหแ้ สดงไว้ตา่ งหาก

6. คา่ ใชจ้ า่ ยอ่ืน (Other expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการดำเนนิ งานนอกจากท่ีกำหนดใหแ้ สดง
ไว้เป็นตน้ ทุนขาย และค่าใชจ้ ่ายในการขายและบรหิ าร ท้ังนี้ให้รวมขาดทนุ อ่นื ท่ีไมจ่ ดั เป็นรายการพิเศษ
เชน่ ขาดทนุ จากการขายเงินลงทนุ ทดี่ นิ อาคารและอุปกรณ์ และสนิ ทรัพยอ์ นื่

และขาดทนุ จากการหยุดงานของพนกั งาน ในกรณีท่ีมรี ายได้จากการขายสนิ ทรัพยด์ ังกลา่ ว ให้นำมา
หกั จากรายการนเ้ี พอ่ื แสดงยอดสุทธิ

7. กำไร (ขาดทนุ ) ก่อนดอกเบยี้ จา่ ยและภาษีเงนิ ได้ (Profit (loss) before interest and income
tax expenses) หมายถงึ ยอดรวมรายไดห้ กั ดว้ ยยอดรวมคา่ ใช้จา่ ย แตก่ อ่ นหกั ดอกเบย้ี จา่ ยและกอ่ น
ภาษีเงนิ ได้ หากมผี ลขาดทนุ ใหแ้ สดงจำนวนเงินไวใ้ นเครอื่ งหมายวงเล็บ

8. ดอกเบ้ียจ่าย (Interest expenses) หมายถงึ ดอกเบยี้ หรอื ค่าตอบแทนเนือ่ งจากการใช้ประโยชน์
จากเงนิ หรือเงนิ ทุน

9. ภาษเี งินได้ (Income tax Expenses) หมายถงึ ภาษีเงนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลที่คำนวณขึ้นตามวธิ ีการบัญชี
หรือตามบทบัญญัติแหง่ ประมวลรัษฎากร

10. กำไร (ขาดทนุ ) จากกิจกรรมตามปกติ (Profit (loss) from ordinary activities) หมายถึง กำไร
(ขาดทนุ ) จากกิจกรรมซ่ึงเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการประกอบธุรกจิ

11. รายการพิเศษ-สุทธิ (Extraordinary items, net) หมายถงึ รายได้หรือคา่ ใชจ่ า่ ยที่เกดิ ขนึ้ จาก
รายการหรือเหตุการณ์ทางบญั ชีที่มคี วามแตกต่างอย่างชัดเจนจากการดำเนินงานตามปกติของกจิ การ
และไม่คาดว่าจะเกดิ ข้นึ เป็นประจำหรอื เกิดขึ้นไมบ่ ่อย เช่น คา่ เสียหายทเี่ กิดจากไฟไหม้ น้ำทว่ ม หรอื
ภัยธรรมชาตอิ ย่างอ่ืน รายการพเิ ศษนใ้ี ห้แสดงเป็นยอดสทุ ธิจากภาษีเงนิ ได้ท่เี กย่ี วข้องในกรณีท่ี
รายการพิเศษเป็นผลขาดทุนให้แสดงจำนวนเงินไวใ้ นเครือ่ งหมายวงเล็บ

12. ทำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ (Net profit (loss) หมายถงึ กำไรหรือขาดทนุ หลงั จากหักหรือรวมรายการ
พเิ ศษแลว้ หากมีผลขาดทุนสทุ ธใิ ห้แสดงจำนวนเงนิ ไว้ในเคร่อื งหมายวงเล็บ

รปู แบบของงบกำไรขาดทนุ

1. งบกำไรขาดทุนข้ันเดียว (Single Step) เปน็ งบกำไรขาดทุนท่ใี ห้ความสำคญั ของรายการทุก
รายการเทา่ กนั หมด โดยแบง่ เป็น 2 กลุม่ คอื รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่าย เปน็ รปู แบบทีจ่ ัดทำงา่ ยเป็น
ทน่ี ิยมใช้โดยทัว่ ไป

2. งบกำไรขาดทุนหลายชั้น (Multiple Step) เปน็ งบกำไรขาดทุนที่แสดงความสมั พันธข์ องขอ้ มูล
โดยใหค้ วามสำคญั รายการแตล่ ะรายการไมเ่ ท่ากนั รายละเอียดของรายได้และค่าใช้จา่ ยมี
มากกวา่ แบบข้นั เดยี ว

งบดุล (Balance sheet) หมายถึง รายงานทางการเงนิ ท่ีแสดงฐานะทางการเงิน ณ วนั ใดวนั หนึ่ง
ประกอบด้วยหมวดสนิ ทรพั ย์ หนี้สนิ และสว่ นของเจ้าของ ขอ้ มูลจะแสดงรายการท่สี อดคลอ้ งกบั
สมการบัญชี

สนิ ทรัพย์ = หนส้ี นิ + สว่ นของเจ้าของ

1. สินทรัพย์ (Assets)

หมายถึง ทรพั ยากรทางเศรษฐกจิ ท่มี ีมูลคา่ เปน็ ตัวเงิน ซง่ึ กจิ การเป็นเจ้าของ ทั้งท่มี ตี ัวตนและไม่มี
ตัวตน โดยท่ัวไปไม่วา่ จะเป็นธรุ กจิ เจ้าของคนเดียว หา้ งหนุ้ สว่ น หรือบรษิ ัทจำกดั สนิ ทรพั ย์ทีแ่ สดงใน
งบดุลจะประกอบด้วยสนิ ทรพั ย์หมุนเวยี น และสนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียน ดังน้ี

สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น

เงินสด XX

ลูกหน้ี XX

สนิ คา้ คงเหลือ XX

สนิ ทรพั ย์หมุนเวยี นอน่ื XX XX

สินทรพั ย์ไม่หมนุ เวยี น XX

รวมสินทรัพย์ XX

2. หน้ีสนิ (Liabilities)

หมายถึง ภาระอันเนื่องจากการดำเนนิ ธุรกจิ ที่กจิ การจะต้องจ่ายสินทรัพยห์ รือบรกิ ารให้
บคุ คลภายนอกในภายหน้า โดยทวั่ ไปไมว่ า่ จะเปน็ ธรุ กจิ เจา้ ของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน หรอื บริษัทจำกดั
หน้ีสินท่แี สดงในงบดุลจะประกอบด้วย หนส้ี ินหมุนเวยี น เงินกู้ระยะยาว และหนสี้ นิ อืน่ โดยหวั ขอ้
หน้ีสนิ หมนุ เวียนจะประกอบดว้ ยเงินเบกิ เกนิ บญั ชีธนาคาร เจา้ หนีก้ ารคา้ หน้ีสนิ หมุนเวียนอนื่ รายการ
ดงั กล่าวจะแสดงในงบดลุ รปู แบบรายงาน ดังนี้

หน้ีสินหมุนเวยี น

เงินเบกิ เกินบัญชธี นาคาร XX

เจ้าหนกี้ ารคา้ XX
หน้ีสนิ หมนุ เวียนอ่ืน XX XX
หนส้ี นิ ไมห่ มุนเวยี น
รวมหนส้ี นิ XX
XX

3. สว่ นของเจา้ ของ (Owners’ Equity)

หมายถงึ สทิ ธหิ รอื ส่วนไดเ้ สยี ท่กี ิจการเปน็ เจ้าของสินทรัพย์ หรอื เรียกอกี อย่างหน่งึ วา่
“สินทรพั ยส์ ุทธ”ิ (สนิ ทรัพย์ - หนสี้ ิน) ส่วนของเจ้าของมีชอ่ื เรียกตามรูปแบบของธรุ กิจดังน้ี

ธุรกิจเจ้าของคนเดยี ว เรียกวา่ ทนุ (Capital)

ธุรกิจห้างหนุ้ ส่วน เรียกว่า สว่ นของผู้เป็นห้นุ ส่วน (Partners’ Equity)

ธุรกิจบริษทั จำกดั เรียกวา่ ส่วนของผ้ถู อื หนุ้ (Shareholders’ Equity)

รายการสว่ นของเจ้าของจะแสดงในงบดุลรปู แบบรายงาน ในธรุ กิจแตล่ ะประเภท ดังนี้

ธรุ กจิ เจ้าของคนเดยี ว

ทนุ -เจา้ ของกิจการ XX

บวก ทำไรสุทธิ XX

XX

หัก เงนิ ถอน-เจา้ ของกิจการ XX

ส่วนของเจา้ ของ XX

ธรุ กจิ ห้างหุ้นสว่ น

ทนุ -นาย ก XX

บวก ส่วนแบ่งกำไรสทุ ธิ XX

XX

หัก เงินถอน XX XX
ทุน-นาย ข XX
บวก ส่วนแบง่ กำไรสทุ ธิ
XX
หัก เงนิ ถอน XX
สว่ นของผู้เป็นหุ้นส่วน XX XX

ธุรกิจบรษิ ทั จำกดั XX
ทนุ จดทะเบียน
ทนุ ท่ีออกและเรยี กชำระแล้ว XX XX
ส่วนเกินมูลค่าหุน้ XX
กำไรสะสม XX
XX XX
กำไรสะสมทจ่ี ดั สรร XX
กำไรสะสมที่ไม่ได้จัดสรร
ส่วนของผูถ้ ือหนุ้

งบกำไรสะสม

งบกำไรสะสม (Retained Earnings Statement) หมายถึง รายงานทางการเงินที่แสดงการ
เปลีย่ นแปลงของกำไรสะสมระหว่างงวดบญั ชี โดยมสี ่วนประกอบ 2 สว่ น ดงั นี้

1. กำไรสะสมท่จี ัดสรรแล้ว (Appropriated Retained Earnings) หมายถงึ กำไรสะสมที่
จดั สรรเป็นส่วนสำรองต่างๆ คือ

1.1 สำรองตามขอ้ บังคับของกฎหมาย คือ สำรองตามกฎหมาย (Legal Capital
Reserve)โดยประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 1202 กำหนดให้บริษัทตอ้ งจัดสรร
กำไรสทุ ธิอย่างน้อยหนง่ึ ในย่ีสิบหรือรอ้ ยละ 5 เป็นทุนสำรอง จนกวา่ ทุนสำรองน้ันจะมจี ำนวน
หนึง่ ในสิบของจำนวนทนุ ต่อจากนัน้ บริษทั จะตงั้ สำรองจำนวนนีต้ ่อไปหรอื ไม่กไ็ ด้

1.2 สำรองตามนโยบาย ข้อตกลงหรือภาระผกู พนั ของบริษทั เช่น สำรองเพ่อื ขยาย
กจิ การ สำรองเพื่อไถ่ถอนห้นุ กู้ สำรองเพ่ือรบั ผลขาดทนุ ในภายหนา้ สำรองท่วั ไปเป็นต้น

2 ทำไรสะสมที่ยังไม่ได้จดั สรร (Unappropriated Retained Earnings) หมายถงึ กำไรสะสม
ส่วนท่ปี ราศจากภาระผูกพัน อันไดแ้ ก่ส่วนทเ่ี หลือจากกำไรสะสมทจ่ี ดั สรรแลว้ กำไรสะสมส่วนน้ี
สามารถจา่ ยเป็นเงนิ ปันผลใหแ้ กผ่ ูถ้ ือหนุ้ ได้

องค์ประกอบของรายงานกำไรสะสม

ข้อมูลทีแ่ สดงในรายงานกำไรสะสมควรระบใุ หช้ ดั เจน ในเรื่องดงั ตอ่ ไปนี้

1. กำไรสะสมตันงวด หมายถึง กำไรสะสมทย่ี ังไม่จัดสรรยกมาจากงวดบัญชีกอ่ น

2. รายการปรบั ปรงุ แก้ไขขอ้ ผิดพลาดอันเกย่ี วเน่อื ง และมผี ลกระทบกับกำไรขาดทุนของงวดบญั ชี
กอ่ น

3. กำไรสุทธปิ ระจำงวดปจั จบุ นั

4. ภาระผูกพนั ตามขอ้ บงั คับของกฎหมาย สัญญา ขอ้ ตกลง ซง่ึ อยใู่ นรูปของสำรองต่างๆโดยภาระ
เหลา่ น้ีจะมีผลทำใหก้ ำไรสะสมทย่ี งั ไม่ไดจ้ ัดสรรลดลง

5. เงินปันผลในงวดปจั จบุ ัน

6. กำไรสะสมปลายงวด ซ่ึงก็คือกำไรสะสมในส่วนทีไ่ ม่ได้จดั สรรยกไปงวดบญั ชีต่อไป

ในทางการบญั ชีรายการทง้ั 6 รายการจะปรากฏในบัญชแี ยกประเภทกำไรสะสม ดงั นี้

การแสดงรายงานงบกำไรสะสม

งบกระแสเงนิ สด

งบกระแสเงินสด(Cash Flow Statement) หมายถึง รายงานทางการเงินที่แสดงการไดม้ า
และใชไ้ ปของเงินสด และรายการเทยี บเท่าเงินสด (Cash and Cash Equivalents) โดยเงินสด
หมายถงึ เงินสดในมอื และเงินฝากธนาคารทกุ ประเภท ยกเวน้ เงนิ ผากประเภทที่ต้องจา่ ยคนื เมื่อสนิ้
ระยะเวลาท่ีกำหนดไว้ และรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงนิ ลงทุนระยะสั้นท่มี สี ภาพคลอ่ ง ซึง่
สามารถเปลยี่ นเปน็ เงินสดได้ทันที และมคี วามเส่ยี งภยั ตลอดจนการเปล่ียนแปลงในมลู คา่ นอ้ ย เช่น
พนั ธบตั รรัฐบาล เป็นตน้

รายการในงบกระแสเงนิ สด

รายการในงบกระแสเงินสด 3รายการ หรือเรียกว่า 3 กิจกรรม ดงั นี้

1. กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมการดำเนนิ งาน (Cash Flow from Operating Activities)
หมายถึง กระแสเงินสดเขา้ และออกท่ีเกยี่ วข้องกับการดำเนนิ งานปกตขิ องกจิ การ

2. กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมการลงทุน (Cash Flow from Investing Activities) หมายถึง
กระแสเงนิ สดเขา้ และออกท่เี กยี่ วข้องกบั เงนิ ลงทนุ (ไมใ่ ช่เงนิ ลงทนุ ระยะสนั้ ทีเ่ ป็นรายการเทียบเท่าเงนิ
สด)

3. กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมจดั หาเงินสด (Cash Flow from Financing Activities) หมายถึง
กระแสเงนิ สดเข้าและออกทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการจดั หาเงิน เชน่ เงนิ กรู้ ะยะยาว การออกหุ้นสามัญ เป็นต้น

รูปแบบของงบกระแสเงนิ สด

งบกระแสเงินสดมี 2 รปู แบบ คือ

1. แบบวธิ ที างตรง (Direct Method)

2. แบบวธิ ีทางอ้อม (Indirect Method)

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ (Footnote to financial statement) เปน็ ขอ้ มูลตอ่ ทา้ ยงบ
การเงินเพ่ือขยายความรายการในงบการเงิน ให้ผ้อู ่านงบเขา้ ใจชดั เจนข้นึ ขอ้ มูลทีแ่ สดงเป็นหมายเหตุ
ประกอบงบการเงิน คือ นโยบายการบัญชที ่สี ำคัญ หนี้สนิ ท่ีอาจเกิดขน้ึ หรอื ภาระผกู พันตา่ งๆ

6
เงนิ สดและระบบใบสำคญั
แนวคดิ
เงนิ สดตามความหมายทางการบญั ชี หมายถงึ (Cash on Hand)และเงินฝากธนาคาร (Cash
at Bank) แตไ่ ม่รวมเงนิ ผากธนาคารประเภททตี่ อ้ งจา่ ยคืนเมอ่ื สิ้นระยะเวลาทก่ี ำหนดไว้
ระบบใบสำคญั เป็นระบบควบคุมภายในทก่ี จิ การขนาดใหญน่ ิยมใช้ เพื่อควบคมุ การจ่ายเงิน
ของกิจการใหร้ ตั กุมและปอ้ งกนั การทจุ ริต
สาระการเรยี นรู้
1. เงินสดในมอื
2. เงินฝากธนาคาร
3. สมุดเงินสด
4. เงินสดย่อย
5. การพิสจู น์ยอดเงินฝากธนาคาร
6. ระบบใบสำคญั
7. ศพั ทบ์ ญั ชี
ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั
1. บอกความหมายของเงินสดในมือได้
2. บนั ทกึ บญั ชีเก่ียวกับเงินสดได้
3. บนั ทกึ บัญชเี กี่ยวกับเงนิ ฝากธนาคารได้
4. บนั ทึกรายการในสมุดเงินสดได้
5. บนั ทึกรายการในระบบใบสำคญั ได้
6. บันทึกรายการเกี่ยวกบั เงนิ สดย่อยได้

7. จดั ทำงบเปรยี บเทียบยอดเงนิ ฝากธนาคารได้
8. แปลความหมายศัพทบ์ ัญชไี ด้

เงินสดในมือ

เงนิ สดในมอื (Cash on Hand) หมายถงึ เหรยี ญกษาปณ์ ธนบัตร เช็คทีไ่ ด้รับแตย่ ังไม่ไดน้ ำ
ฝาก เช็คเดนิ ทาง ดราฟท์ และธนาณัติ ในทางบญั ชีจะบนั ทึกเงินสดในมอื ในบัญชเี งนิ สด (Cash
Account) รายการค้าท่ีเกี่ยวขอ้ งกับเงนิ สด แบ่งไดเ้ ป็นรายการรับเงินและรายการจ่ายเงินโดยจะ
บันทึกบัญชีเงินสดด้านเดบิต สำหรบั รายการรบั เงนิ สดและเครดิตบัญชีท่ีเกย่ี วขอ้ ง ส่วนรายการ
จ่ายเงินสดจะบนั ทึกบญั ชีเดบิตบัญชที ี่เกย่ี วขอ้ งและเครดติ บัญชเี งินสด

เช็ครบั ลงวนั ท่ีลว่ งหน้า (Post-Dated Cheque)

โดยปกติแล้วเช็คท่กี จิ การไดร้ บั จากลกู ค้าไม่วา่ จะได้รบั จากการขายสนิ ค้าหรือการรับชำระหนี้
ผ้สู ั่งจ่ายคอื ผูซ้ อื้ สนิ ค้าหรือลกู หน้ีจะลงวันที่สง่ั จ่ายในเช็ควนั เดยี วกันกบั วันท่ีซ้ือสินคา้ หรือจา่ ยชำระหน้ี
ในกรณเี ช่นนีก้ ิจการสามารถนำเช็คฉบับนไ้ี ปขน้ึ เงินได้ทันที แตใ่ นวงการธุรกจิ ปัจจบุ นั นีผ้ ูซ้ ้อื หรือลูกหนี้
อาจสงั่ จ่ายเช็คลงวนั ทล่ี ว่ งหนา้ ใหก้ จิ การก็ได้ วิธีปฏิบัตทิ างบัญชีสามารถเลอื กปฏิบตั ไิ ด้

เชค็ คืน (Returned Cheque)

เชค็ คืน หมายถงึ เชค็ ทก่ี ิจการไดร้ ับจากการขายสินค้าหรือจากการรับชำระหน้ีแลว้ นำฝาก
ธนาคาร ต่อมาธนาคารไดค้ นื เช็คฉบบั น้ีใหแ้ กก่ ิจการเนอื่ งจากเช็คขาดความเชื่อถือสาเหตุมาจากบญั ชี
เงินฝากของผู้สงั่ จ่ายมเี งนิ ฝากไม่เพยี งพอท่ีจะจา่ ยตามจำนวนเงนิ ในเช็คได้หรือลายเซ็นผสู้ ัง่ จ่ายไม่
ถูกตอ้ ง หรือมรี อยขดี ฆ่าในเช็ค วธิ ีปฏิบตั ิในทางการบญั ชเี กยี่ วกับเช็คคนื

เงินฝากธนาคาร

เงนิ ฝากธนาคาร (Cash at Bank) หมายถงึ เงนิ สดทก่ี จิ การนำไปฝากธนาคารประเภทจา่ ยคนื
เม่อื ทวงถาม อนั หมายถึงจะฝากเพ่มิ หรือเบิกคนื เมอื่ ใดกไ็ ด้ โดยท่ัวไปเงนิ ฝากธนาคารกิจการจะไม่ได้
รบั ดอกเบี้ยเงินฝากจากธนาคาร วงการธรุ กจิ เรียกเงินฝากธนาคารประเภทนี้ว่า เงนิ ฝากธนาคาร
ประเภททกุ ระแสรายวัน (Current Account) ในทางบญั ชีจะบนทึกเงนิ ฝากกระแสรายวัน ในบญั ชี
ธนาคาร เอกสารทเี่ กยี่ วข้องกับการนำฝากและการเบิกคืนเงินฝากธนาคารกระแสรายวนั มดี งั นี้

1. ใบนำเงนิ ฝาก (Pay-in Slip หรือ Deposit Slip) เป็นเอกสารทีบ่ นั ทึกรายละเอียดจำนวนเงิน
สดและ/หรอื เชค็ ทนี่ ำฝากเขา้ บัญชเี งนิ ฝากธนาคารของกจิ การโดยใบนำเงนิ ฝากจะตอ้ งจดั ทำ
สำเนาอย่างน้อย1 ฉบับ เมื่อเจา้ พนักงานธนาคารลงนามรับเงินสดและ/หรือเชค็ ทก่ี ิจการนำ

ฝากเรยี บร้อยแล้ว ธนาคารจะเก็บใบนำเงินฝากตวั จริงไว้ ส่วนสำเนากจิ การจะเก็บไวเ้ ปน็
หลักฐานในการตรวจสอบภายหลังและเป็นหลกั ฐานอ้างองิ ในการบนั ทึกบญั ชี
2. เช็ค (Cheque หรือ Check) เปน็ เอกสารทกี่ ิจการใช้ในการสงั่ จ่ายเงนิ จากเงินฝากธนาคาร
โดยมีรายละเอียดของวนั ทส่ี ั่งจา่ ย ผูร้ ับเงิน จำนวนเงินทสี่ ่ังจา่ ยและลายเซ็นผู้สั่งจ่ายโดยเช็ค
ทกุ ฉบบั จะมีต้นขว้ั ท่กี จิ การเกบ็ ไวเ้ ป็นหลกั ฐานในการตรวจสอบภายหลงั สำหรับหลกั ฐาน
อา้ งองิ ในการบนั ทึกบัญชมี กั นยิ มถา่ ยเอกสารเชค็ ที่สง่ั จา่ ยมากกว่าจะใช้ตน้ ข้ัวเช็คในการอ้างอิง
3. ใบแจง้ ยอดเงินฝากธนาคาร (Bank Statement) เปน็ เอกสารทธี่ นาคารสง่ ให้กิจการโดยแสดง
รายละเอยี ดรายการเงินฝาก เชค็ ทส่ี งั่ จ่าย ค่าบริการทห่ี ักบญั ชี และรายการอืน่ ทีเ่ กี่ยวข้อง
เช่น ค่าใช้จ่ายทีก่ ิจการจ่ายผ่านธนาคาร เป็นตน้ นอกจากนใี้ บแจ้งยอดเงินฝากธนาคารจะ
แสดงยอดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลือ ธนาคารมักจะสง่ ใบแจ้งยอดเงนิ ฝากธนาคารใหก้ ิจการเปน็
รายเดอื นหรือตามระยะเวลาทก่ี ิจการตกลงกับทางธนาคาร

เงินเบิกเกนิ ธนาคาร (Bank Overdraft)

เงินเบิกเกินบญั ชีธนาคาร หมายถึง จำนวนเงินที่กิจการเป็นหนี้ธนาคารอันเกิดจากการสงั่
จ่ายเงนิ เกินกว่าจำนวนเงินท่ีฝากไว้ ทง้ั นกี้ ิจการจะตอ้ งทำการตกลงกบั ทางธนาคารใหเ้ รียบร้อยก่อน
การส่ังจา่ ยเงินโดยไมม่ เี งนิ ผากธนาคารคงเหลือในบัญชี พรอ้ มท้ังต้องทำการตกลงกันในเรือ่ งใน
ทางการบัญชเี งนิ เบกิ เกินบัญชจี ดั เป็นหนี้สนิ ประเภทหน่ึง มยี อดคงเหลอื อยู่ทางดา้ นเครดิตของสมุด
บญั ชแี ยกประเภท ธนาคารจะคิดคา่ ใชจ้ า่ ยในการเบิกเงินเกนิ บญั ชี เรยี กว่า ดอกเบยี้ จ่ายตามอัตราที่
กำหนด โดยจะเพ่ิมในยอดเงนิ เบกิ เกินบัญชีด้วยดอกเบีย้ จา่ ย ซงึ่ จัดเป็นค่าใช้จ่ายประเภทหน่งึ ของ
กิจการ การเบกิ เงนิ เกนิ บัญชีจะใช้เอกสารแต่การนำเงนิ ฝากธนาคารจะทำให้ยอดเงนิ เบกิ เกินบัญชี
ลดลงวงเงินขั้นสงู ที่กิจการสามารถเบิกเกินบญั ชไี ดเ้ ช่นเดยี วกันกบั การฝากธนาคารและการสัง่ จา่ ยเชค็
จะทำให้เงนิ เบิกเกนิ บญั ชเี พม่ิ ขึ้น

สมดุ เงินสด

รายการค้าเกี่ยวกบั การรับ-จา่ ยเงนิ สดรวมทง้ั เงินฝากธนาคารนับวา่ เป็นรายการคา้ ท่ีเกดิ ขึน้
เป็นประจำและตอ่ เนอ่ื งของวงการธุรกิจ และเปน็ รายการทมี่ ีความถ่มี ากกว่ารายการค้าประเภทอืน่
โดยท่วั ไปกจิ การมักนิยมแยกรายการค้าเกี่ยวกับเงินสดและเงนิ ฝากธนาคารมาบันทกึ ในสมดุ บญั ชีแยก
ต่างหากจากรายการค้าอ่นื คือบนั ทกึ ในสมุดเงนิ สด อันเปน็ สมดุ ขั้นดนั เล่มหนึ่งท่ใี ชบ้ นั ทกึ เฉพาะการ
รับ-จา่ ยเงินสดและเงินฝากธนาคารเทา่ นั้นและบนั ทกึ รายการรบั -จ่ายในเล่มเดียวกัน

โดยแบ่งเป็นสองด้านคือด้านซ้ายหรอื ด้านเดบติ ใช้บันทกึ รายการทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการรบั เงินสด
และการนำเงนิ ฝากธนาคาร และด้านขวาหรือดา้ นเครดิตใช้บนั ทกึ รายการทีเ่ ก่ยี วขอ้ งการจา่ ยเงินสด
และการส่งั จา่ ยเชค็ สมุดเงินสดมรี ูปแบบคลา้ ยกับสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป จะทำหน้าท่เี ป็นสมดุ
รายวันขน้ั ต้นและสมดุ บัญชีแยกประเภททวั่ ไปดว้ ย ดังน้นั กจิ การท่ใี ช้สมดุ เงินสดจึงไมต่ อ้ งเปดิ บญั ชี
แยกประเภทเงินสดและเงนิ ฝากธนาคารอีก ส่วนบัญชที ี่เก่ยี วข้องดามการบนั ทึกระบบ

บัญชีคูย่ ังคงผ่านรายการดามปกติ การอ้างอิงถึงสมุดเงินสดในบัญชีแยกประเภทให้ใชอ้ ักษร
“ง.ส.” และอ้างองิ ถงึ เลขทบี่ ัญชที ่ีเกยี่ วข้องในสมดุ เงินสด ณ วันสนิ้ งวดยอดคงเหลือในสมดุ เงินสด
จะต้องถูกนำไปแสดงในงบทดลองดว้ ย ธรุ กิจท่ีใชส้ มุดเงินสดมกั จะเปน็ ธรุ กิจขนาดเล็ก ซึ่งมีรายการ
รับ-จ่ายเงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคารไมม่ ากนัก สมดุ เงินสดมี 3 รูปแบบ ซง่ึ กจิ การจะเลอื กใชแ้ บบใดนั้น
ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ความจำเป็น ขนาด และประเภทของการดำเนนิ ธุรกิจ ดังน้ี

เงินสดยอ่ ย (Bank Cash)

เงนิ สดย่อย หมายถึง จำนวนเงนิ สดทก่ี ิจการมอบให้พนักงานรกั ษาเงนิ สดย่อย (Petty
Cashier)เก็บไว้ เพอื่ ใช้จ่ายค่าใชจ้ า่ ยประจำของกจิ การที่มจี ำนวนเงนิ เล็กน้อย เชน่ ค่าพาหนะ ค่า
ไปรษณยี โ์ ทรเลข ค่ารับรอง คา่ อาหาร เป็นตน้ ส่วนค่าใช้จ่ายท่มี ีจำนวนเงนิ มากเช่น ซื้อสินค้า
เงินเดอื นพนกั งานจะจ่ายจากเชค็ วงเงนิ สดย่อยทีน่ ิยมใช้กัน คอื วิธี Imprest Systemเงินสดย่อยท่ี
ไดร้ ับมอบหมายให้รักษาและจา่ ยค่าใชจ้ ่ายจากเงินสดยอ่ ย รวบรวมหลกั ฐานใบสำคัญจา่ ยเงินสดย่อย
และหลักฐานอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องขอเบิกชดเชยเงินสดย่อยทไ่ี ดจ้ า่ ยไป เม่ือนำไปรวมกบั เงนิ สดในมือที่
เหลืออยู่ จะเทา่ กบั จำนวนเงินตามวงเงินยอ่ ยท่ีกจิ การต้งั ไว้ การจดั ให้มรี ะบบเงินสดยอ่ ยในกจิ การจะ
ชว่ ยลดรายการบญั ชีเกี่ยวกับการจ่ายเงินให้น้อยลง และเป็นการแบง่ เบาภาระหน้าที่

เก่ยี วกับระบบการจ่ายเงนิ ของกจิ การอกี ด้วย

ขน้ั ตอนเกีย่ วกบั ระบบเงนิ สดยอ่ ยและวิธกี ารบนั ทึกบัญชี มีดงั นี้

1. การเริ่มตัง้ วงเงินสดยอ่ ย วงเงนิ ทก่ี จิ การกำหนดสำหรับเงินสดยอ่ ยของแห่งจะมีจำนวนมาก
นอ้ ยแตกตา่ งกนั ออกไป ขนึ้ อยู่กบั ขนาดของกจิ การ ประเภทของค่าใช้จา่ ยประจำที่เกดิ ข้นึ และ
ระยะเวลาทีก่ ำหนดใหพ้ นักงานรกั ษาเงนิ สดย่อย เช่น 1 สปั ดาห์ 2 สัปดาห์ หรือ 1 เดอื น เปน็
ตน้ การบนั ทกึ บญั ชเี กย่ี วกับการตั้งวงเงินสดย่อย คอื

เดบิต เงินสดยอ่ ย XX
เครดิต ธนาคาร XX

บัญชเี งนิ สดยอ่ ยจะแสดงจำนวนเงนิ เท่ากบั วงเงนิ สดยอ่ ยทีต่ ้ังไวแ้ ละจะไม่มกี ารบนั ทึกบัญชรี ายการ
ใดๆ เกยี่ วกบั บญั ชนี ้ีเลย จนกวา่ จะมีการเพิม่ หรอื ลดวงเงนิ สดย่อย

2. การจา่ ยเงินสดย่อย ผ้ทู ่ีมหี นา้ ทจ่ี ่ายเงินสดย่อย คอื พนกั งานรกั ษาเงินสดยอ่ ยโดยการจ่าย
ค่าใช้จา่ ยจากวงเงินสดย่อยทุกครัง้ จะตอ้ งจัดทำใบสำคัญจา่ ยเงินสดย่อย โดยได้รบั การอนุมัติ
การจา่ ยจากผรู้ บั มอบอำนาจสั่งจา่ ย และพนกั งานรักษาเงินสดยอ่ ยจะบันทึกการจ่ายเงนิ สด
ย่อยในสมุดเงนิ สดย่อย (Petty Cash Book) ซ่ึงเปน็ สมุดบันทกึ ความจำและไมใ่ ชส่ มดุ บญั ชี
ตามระบบบญั ชีคู่ของกิจการ จำนวนเงินค่าใชจ้ ่ายรวมตามใบสำคญั จ่ายเงนิ สดย่อยรวมกบั
จำนวนเงินสดคงเหลอื ในมือของพนักงานรักษาเงนิ สดยอ่ ยจะต้องเทา่ กับวงเงนิ สดยอ่ ยทต่ี ั้งไว้
เสมอ

3. การเบิกชดเชยเงนิ สดย่อย เมือ่ ครบระยะเวลาท่กี จิ การกำหนด เช่น 1 สัปดาห์ 2 สปั ดาหห์ รือ
1 เดือน พนักงานรักษาเงินสดยอ่ ยจะรวบรวมใบสำคญั จ่ายเงนิ สดยอ่ ย หลกั ฐานอื่นที่เกยี่ วข้อง
มาขอเบกิ ชดเชยเงินสดย่อยทจี่ ่ายค่าใช้จ่ายไป เมื่อผู้ท่ีรับมอบหมายตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
ของเอกสารหลักฐานต่างๆ แลว้ ผมู้ อี ำนาจจะส่ังจา่ ยเชค็ เท่ากับจำนวนท่ขี อเบกิ ชดุ เชยตาม
รายงานจา่ ยค่าใชจ้ า่ ยที่พนักงานรกั ษาเงินสดยอ่ ยจดั ทำเสนอขน้ึ มา

เงนิ ขาดและเงินเกนิ

ในกจิ การท่ขี ายสินค้าเปน็ เงนิ สดรายย่อยมีจำนวนมากรายตอ่ วัน เชน่ ร้านสรรพสินคา้
(Convenience Store) จำนวนเงินสดที่ไดร้ ับจากการขายในแตล่ ะวนั กบั รายงานการรับเงินสด
ประจำวนั อาจจะไม่ตรงกัน ผลต่างท่เี กิดขนึ้ คอื เงนิ ขาดหรอื เงนิ เกิน เพ่อื ประโยชน์ในการควบคมุ
ทางการบัญชคี วรบันทกึ เงินขาดหรือเงินเกนิ ไวใ้ นบญั ชีเงนิ ขาดและเกนิ บัญชีรายได้เบด็ เตล็ดหรอื
ค่าใชจ้ ่ายเบด็ เตล็ดแลว้ แต่กรณี กล่าวคือ ถา้ บัญชเี งนิ ขาดและเกนิ มยี อดคงเหลือในบัญชีอยดู่ ้านเดบิต
ให้โอนปดิ เข้าบัญชีค่าใช้จ่ายเบด็ เตลด็ และถ้าบญั ชเี งินขาดและเกินมียอดคงเหลอื ในบัญชอี ยูด่ ้าน
เครดิตใหโ้ อนปิดเข้าบัญชีรายไดเ้ บด็ เตลด็

การพสิ จู น์ยอดเงินฝากธนาคาร (Bank Reconciliation)

ถึงแม้วา่ เงนิ ฝากธนาคารประเภทกระแสรายวนั (Current Account) ธนาคารจะไมม่ ีการคิด
ดอกเบีย้ เงินฝากให้ แต่กเ็ ป็นระบบเงินฝากทีว่ งการธุรกิจนยิ มใช้บรกิ ารจากธนาคารเนอื่ งจากมีความ

สะดวกในการนำฝากและการเบกิ ถอนหรือการสงั่ จ่าย เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวนั น้จี ะไมม่ ี
สมุดค่ฝู าก (Pass Book) และมเี อกสารท่เี กย่ี วขอ้ งประกอบดว้ ยใบนำเงินฝาก (Pay-in Slip หรอื
Deposit Slip) เช็ค (Cheque หรอื Check) และใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร (Bank Statement)ดัง
ได้กลา่ วมาแล้วในหัวขอ้ เงินฝากธนาคาร ดังนั้น เมือ่ กจิ การไดร้ ับใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคารตาม
ระยะเวลาท่กี ำหนดแลว้ กิจการควรตรวจสอบรายละเอยี ดกับสำเนาใบนำเงนิ ฝาก ต้นขว้ั เช็คและสมุด
บันทกึ เงินฝากธนาคารเงินฝากธนาคาร และยอดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลือตามสมดุ บัญชจี ะไมเ่ ท่ากัน
จงึ จำเป็นทกี่ จิ การจะตอ้ งตรวจสอบหาสาเหตุดงั กลา่ ว เพอ่ื แก้ไขและปรับปรงุ โดยจดั ทำรายงานท่ี
เรยี กว่า งบเปรียบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร (Bank Reconciliation Statement)

ระบบใบสำคญั (Voucher System)

การควบคมุ การจ่ายเงนิ ของกจิ การมีหลายวิธี ถ้าเป็นกจิ การเจา้ ของคนเดยี ว เจ้าของกิจการ
สว่ นใหญ่จะทำหนา้ ทรี่ ับ-จ่ายเงินดว้ ยตนเอง ดงั นนั้ จงึ เป็นการควบคุมภายในไปในตวั แตถ่ ้าเปน็ กิจการ
ขนาดใหญ่ เจ้าของกจิ การ อาจจะไม่สะดวกในการทำหนา้ ที่ดังกลา่ วได้ ดังน้นั กิจการจะต้องวางระบบ
การควบคุมภายในเก่ียวกบั การรบั -จา่ ยเงนิ เป็นอย่างดี เพ่ือป้องกนั การทุจรติ ดังนัน้ กิจการอาจนำ
ระบบใบสำคญั มาใช้ในกิจการ ลกั ษณะของระบบใบสำคัญน้ัน เป็นวิธีควบคุมภายในเกี่ยวกับการ
จา่ ยเงิน เพราะการจ่ายเงินทกุ รายการจะตอ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากผู้ท่ีมอี ำนาจก่อนและจะจา่ ยด้วยเช็คตาม
ใบสำคัญที่จดั ทำข้ึนแต่ละฉบับ สำหรบั ค่าใช้จ่ายเลก็ ๆ น้อยๆ จะจ่ายจากเงนิ สดย่อย

ระบบใบสำคัญจะมีการจดั ทำทะเบียนดงั นี้

1. ทะเบยี นใบสำคัญ (Voucher Register) ใช้บนั ทกึ รายการขั้นตน้ มลี กั ษณะคลา้ ยกับสมุดรายวัน
ซ้ือ เมอ่ื มกี ารซ้อื วตั ถดุ ิบสนิ คา้ ซ้อื สนิ ทรพั ย์และจา่ ยค่าใชจ้ ่ายทกุ ประเภท กิจการจะจัดทำ
ใบสำคัญขึน้ สำหรับรายจ่ายแต่ละรายการ เมอ่ื ผา่ นการอนุมตั แิ ลว้ จงึ บันทึกในทะเบยี น
ใบสำคัญและเกบ็ ใบสำคัญไวใ้ นแฟม้ ใบสำคัญค้างจ่าย โดยเรยี งตามวันท่ที คี่ รบกำหนดชำระ
เงนิ

2. ทะเบียนจา่ ยเช็ค (Check Register) ใชบ้ ันทกึ รายการชำระหนีต้ ามใบสำคัญ ใช้แทนสมุด
รายวันจ่ายเงิน เมอื่ ถึงกำหนดชำระเงิน ผู้ท่ีเกย่ี วขอ้ งจะเตรยี มเชค็ และกรอกรายละเอียดแนบ
ไปพร้อมใบสำคัญ เพือ่ เสนอให้ผู้มีอำนาจลงนามสงั จ่ายเชค็ และมอบให้กบั เจา้ หน้ี ตอ่ จากนนั้
จึงบนั ทกึ รายการในทะเบยี นจ่ายเช็ค และนำใบสำคญั ท่จี ่ายเงนิ แลว้ เก็บในแฟ้มใบสำคญั ท่ี
จา่ ยเงนิ แล้ว

ประโยชน์ของระบบใบสำคัญ

ประโยชน์ของระบบใบสำคัญมีดงั นี้

1. ทำให้ทราบหน้ีสินทเ่ี กดิ ข้ึนทุกรายการ

2. สามารถชำระหนี้ได้รวดเรว็ ตรงตามกำหนดเวลาและภายในเวลาทีก่ จิ การจะไดร้ บั
ผลประโยชน์ เช่น ได้รับส่วนลด ทำให้กจิ การมคี วามนา่ เชือ่ ถอื

3.ประหยดั เวลาเพราะจะผ่านรายการไปบญั ชีแยกประเภททเี่ กย่ี วขอ้ งในวนั ส้ินเดือน (ยกเว้น
รายการในชอ่ งบญั ชีอ่นื ๆ) และจะไม่มีสมุดแยกประเภทเจา้ หนรี้ ายตวั เนอื่ งจากรายการในทะเบยี น
ใบสำคัญน้ันเป็นรายละเอียดเจา้ หน้รี ายตวั และบญั ชีใบสำคญั จา่ ย จะแทนบญั ชเี จ้าหน้ี

4. ผูม้ ีอำนาจส่ังจ่ายเงนิ ทราบรายละเอียดเกี่ยวกบั การจ่ายเงนิ ทุกครัง้

5. ชว่ ยในการตรวจสอบและควบคมุ ภายใน (Internal Control)

6. หาขอ้ ผดิ พลาดไดง้ ่าย โดยการตรวจสอบยันกันระหว่างใบสำคญั ทะเบยี นใบสำคญั และ
ทะเบยี นจา่ ยเชค็

ข้นั ตอนในการบันทึกรายการ

1. เมือ่ มีรายจา่ ยหรือหนีส้ ินเกิดขึน้ กิจการจะจัดทำใบสำคัญข้นึ พร้อมแนบเอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ งเชน่
ใบกำกบั ภาษีไวด้ ว้ ยกนั ปกตกิ ิจการจะจัดทำแบบฟอรม์ ไว้ลว่ งหนา้ โดยกำหนดเลขท่เี รยี ง
ตามลำดบั ใบสำคญั ดังกล่าวกจิ การสามารถออกแบบเองเพื่อให้เขา้ กบั ลักษณะของรายการค้าท่ี
เกดิ ขึน้ และตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกจิ การ แตจ่ ะตอ้ งมีรายการตามทกี่ ฎหมายกำหนด

2. บันทกึ รายการในทะเบียนใบสำคัญและเกบ็ ใบสำคญั ไวใ้ นแฟ้มใบสำคัญคา้ งจา่ ย

3. เม่ือถงึ ส้นิ เดอื น ให้ผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทท่วั ไปดว้ ยยอดรวม สำหรับรายการทบ่ี นั ทกึ
ในชอ่ งบญั ชีอนื่ ๆ จะผ่านรายการไปบญั ชีแยกประเภทท่ีเกีย่ วข้องในวนั ทีเ่ กดิ รายการนั้น

4. เม่ือถงึ วันที่กำหนดชำระเงนิ กจิ การจะนำใบสำคัญดงั กลา่ วออกจากแฟ้มใบสำคัญคา้ งจ่าย
เตรียมเช็คและกรอกรายการลงในเชค็ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและเสนอให้ผูม้ อี ำนาจอนุมตั ิและลง
นามในเชค็

5. มอบเช็คใหก้ ับผู้รบั เงนิ เจ้าหน้ี

6. บนั ทกึ รายการในทะเบียนใบสำคญั ในชอ่ งการจ่ายเงินและในทะเบยี นจ่ายเช็ค ประทับตรา
“จา่ ยเงินแลว้ ” และนำเก็บเขา้ แฟ้มใบสำคัญท่จี ่ายเงินแลว้

7. เมื่อถึงสิ้นเดือน ให้ผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภททว่ั ไปดว้ ยยอดรวม สำหรบั รายการท่ีบันทึก
ในช่องบญั ชอี ่ืนๆ จะผ่านรายการไปบญั ชีแยกประเภทท่ีเก่ยี วขอ้ งในวันทเี่ กดิ รายการนั้น

8. ทำรายละเอยี ดใบสำคัญคา้ งจา่ ย โดยดจู ากทะเบียนใบสำคัญชอ่ งการจ่ายเงินหรอื ดจู ากแฟม้
ใบสำคญั ค้างจ่าย ยอดคงเหลอื จะตรงกับยอดคงเหลือในบญั ชแี ยกประเภทใบสำคญั จา่ ย

7
ลกู หน้ีและตั๋วเงินรับ

แนวคิด
กจิ การท่ีขายสินค้าเป็นเงนิ เชือ่ จะมีลูกหน้ีเกดิ ขึน้ หากมีจำนวนมาก กจิ การควรบันทึกรายการ

ในสมุดรายวันเฉพาะ สำหรบั การรับชำระหนี้จากลูกหนีอ้ าจรบั ชำระเป็นเงนิ สดหรืออาจเปน็ ตั๋วเงนิ รับ
และในบางกรณีกิจการอาจเรยี กเก็บเงนิ จากลูกหน้ไี ม่ได้ ก็จำเป็นต้องตัดลูกหน้เี ป็นหน้สี ูญ

สำหรบั ตว๋ั เงินรับทกี่ ิจการไดร้ ับมานั้น หากกิจการต้องการใช้เงนิ ก่อนท่ีตัวจะถงึ กำหนดชำระ
กจิ การสามารถนำตว๋ั ไปขายลดใหก้ ับธนาคารได้ และสลกั หลงั โอนให้ผ้อู ่นื เช่น เจา้ หนี้ ได้
สาระการเรียนรู้

1.ลูกหนี้
2. ตั๋วเงนิ รบั
3. ศัพท์บญั ชี
ผลการเรียนรู้ท่ีตาดหวงั
1. บนั ทกึ บัญชีในสมดุ รายวันขายและผา่ นรายการไปสมดุ แยกประเภทลกู หนร้ี ายตวั และบัญชี
แยกประเภทท่ัวไปได้
2. บันทกึ บัญชีในสมุดรายวันรับเงินและผา่ นรายการไปสมดุ แยกประเภทลกู หนรี้ ายตวั และ
บัญชแี ยกประเภททั่วไปได้
3. บนั ทึกบญั ชเี ก่ียวกับหนี้สูญและหน้สี งสยั จะสญู ได้
4. บอกความหมายของตวั๋ สัญญาใช้เงินและต๋ัวแลกเงนิ ได้
5. บันทึกบญั ชเี กี่ยวกับตัว๋ เงินรับได้
6. แปลความหมายคำศพั ท์ได้

ลูกหน้ี (Account Receivable)

ในธุรกิจทม่ี กี ารขายสนิ ค้าเป็นเงินเช่อื จะบนั ทกึ บัญชลี ูกหนไ้ี วเ้ ป็นสินทรัพยป์ ระเภทหนงึ่ และ
ถ้าการขายสนิ ค้าเป็นเงนิ เชอื่ มีเปน็ จำนวนมาก มลี กู หน้มี ากราย การบนั ทึกบัญชีอาจแยกบนั ทึกไวใ้ น
สมุดบญั ชีต่างหากจากรายการคา้ รายการอืน่ โดยบันทึกไวใ้ นสมดุ เฉพาะคือสมุดรายวนั ขาย (Sales
Journal) และมีสมดุ แยกประเภทลกู หนีร้ ายตวั ไว้สำหรับบนั ทกึ รายละเอียดของลูกหนแ้ี ต่ละรายส่วน
บัญชแี ยกประเภททว่ั ไปลกู หนจ้ี ะทำหนา้ ที่เป็นบัญชคี มุ ยอดลกู หนที้ ้ังหมด กล่าวคอื เมอื่ นำยอด
คงเหลอื ในบญั ชแี ยกประเภทลูกหน้ีรายตวั ทุกบญั ชีรวมกนั จะมีจำนวนเงินรวมเทา่ กบั ยอดคงเหลือใน
บัญชีแยกประเภททวั่ ไปลกู หนี้

สมดุ รายวนั ขาย (Sales Journal)

สมุดรายวนั ขายเป็นสมุดรายวันเฉพาะเลม่ หนึ่ง มไี ว้สำหรับบนั ทกึ รายการเกยี่ วกับการขาย
สินค้าเปน็ เงนิ เชอ่ื การบนั ทึกในสมุดรายวนั ขายแทนการบันทกึ ในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป ทำให้งา่ ยตอ่ การ
ควบคุมลูกหนี้ ประหยดั เวลาในการบันทกึ บญั ชีอย่างมาก ทงั นี้เพราะการบนั ทึกบญั ชใี นสมุดรายวนั
ท่ัวไปจะต้องผา่ นรายการไปสมุดบัญชแี ยกประเภททว่ั ไปทุกครง้ั ทเี่ กิดรายการ แต่การบนั ทกึ รายการใน
สมดุ รายวนั ขายจะผ่านรายการไปสมดุ บญั ชแี ยกประเภททั่วไปเพียงเดือนละหนึง่ คร้ัง โดยเดบติ ลูกหนี้
และเครดิต ขายสนิ คา้ ด้วยยอดรวมของการขายหนึ่งเดือน และภาษีขาย (ถ้ามี)

สมุดรายวันรับเงนิ (Cash Receipts Journal)

กจิ การทมี่ รี ายการรับ-จ่ายเงินเป็นจำนวนมาก อาจแยกรายการรบั เงินและรายการจ่ายเงนิ
ออกจากกัน โดยรายการรับเงินบันทกึ ในสมุดรายวันรบั เงนิ ส่วนรายการจา่ ยเงินบนั ทกึ ในสมดุ รายวนั
จา่ ยเงนิ (Cash Disbursements Jourmal) ซ่ึงจะไดศ้ ึกษาในหน่วยต่อไปโดยปกติรายการหลัก
เกยี่ วกับการรบั เงนิ คอื การขายสนิ ค้า การรับชำระหน้ีจากลกู หนโ้ี ดยอาจจะมีสว่ นลดจ่ายกไ็ ด้ แต่ใน
บางคร้ังกิจการอาจจะได้รบั เงินสดนอกเหนือจากการขาย สนิ ค้าและการรบั ชำระหนี้ เชน่ การรับเงิน
สดจากเจ้าของกิจการ หรือจากรายไดเ้ บ็ดเตลด็ ดงั นั้นในสมดุ รายวนั รับเงินจึงมีรายละเอียดบัญชีตา่ ง
ๆ ทเี่ กยี่ วข้องกับเงนิ สด

หนี้สงสยั จะสูญ หนีส้ ญู และหน้สี ญู ไดร้ บั คืน

การดำเนินธุรกจิ ขายเช่ือ ลูกหนี้บางรายทก่ี จิ การขายสินคา้ ให้อาจไม่ชำระหนี้ตามกำหนด
เง่ือนไขทไ่ี ดต้ กลงกนั ไว้ อันเป็นปกติของการดำเนนิ ธุรกจิ ในทางปฏบิ ตั กิ ิจการจะทราบแนช่ ดั วา่ ลูกหน้ี
รายใดเกบ็ เงินไมไ่ ดต้ ่อเมื่อครบกำหนดชำระหนีแ้ ละไดต้ ิดตามทวงถามจนถงึ ที่สุดแล้ว

การบัญชีเก่ียวกบั ลกู หน้เี ก็บเงินไมไ่ ดม้ ี 2 วิธี คือ

1. วิธีตดั จำหน่ายโดยตรง (Direct Write-off Method) จะบนั ทกึ ตัดลกู หนี้เป็นคา่ ใช้จ่ายในงวด
บญั ชีทเี่ กิดหนีส้ ูญ โดย

เดบิต หนีส้ ญู ลกู หน้ี XX
เครดิต XX

บญั ชีหนีส้ ูญจัดอยู่ในหมวดคา่ ใชจ้ า่ ยจะโอนปิดเขา้ บญั ชีสรุปผลกำไรขาดทุนในวันสนิ้ งวด
ถงึ แมว้ า่ วิธนี ี้จะเป็นวธิ ีทง่ี า่ ยและสะดวก แตไ่ มเ่ ป็นทน่ี ิยมปฏิบตั ิ

2. วธิ ตี ง้ั ค่าเผือ่ (Allowance Method) โดยจะมกี ารประมาณลกู หน้ีทค่ี าดว่าจะเก็บเงินไม่ไดไ้ ว้
ในบัญชีค่าเผ่อื หน้ีสงสัยจะสูญ (Allowance for Doubtful Accounts) อันเป็นบัญชปี รบั
มลู ค่า (Valuation Account) ลกู หนที้ ีป่ รากฏในงบการเงินจะแสดงยอดที่มคี า่ ใกล้เคยี งกับ
ความเป็นจริงโดยนำยอดลูกหนที้ ้ังหมด หักด้วยยอดค่าเผ่ือหนส้ี งสัยจะสูญ วิธีน้ีเปน็ ทย่ี อมรับ
และถอื ปฏบิ ตั ิกนั โดยท่วั ไป การประมาณลกู หน้ที ่ีคาดวา่ จะเก็บเงนิ ไมไ่ ด้มี 2 วิธี คือ

1) คำนวณจากร้อยละของยอดขาย (Percentage of Sales Method)

2) คำนวณจากรอ้ ยละของยอดลูกหนสี้ นิ งวด (Percentage of Receivables Method)

การบนั ทึกบัญชเี กีย่ วกบั การประมาณลกู หนี้ทคี่ าดวา่ จะเก็บเงินไม่ได้ คือ

เดบิต หน้ีสงสยั จะสูญ XX
เครดิต คา่ เผื่อหน้สี งสัยจะสูญ XX

บัญชีหน้สี งสยั จะสญู จัดอยูใ่ นหมวดคา่ ใช้จา่ ยจะโอนปิดเขา้ บัญชีสรปุ ผลกำไรขาดทนุ ในวนั สนิ้
งวด ส่วนบัญชคี า่ เผื่อหนี้สงสยั จะสญู เป็นบญั ชปี รบั มลู คา่ แสดงเป็นรายการหักลกู หนีใ้ นงบดุล

กฎหมายภาษีอากรทใี่ ช้ในปจั จุบัน เก่ียวกับการจำหนา่ ยหนสี้ ญู จากบญั ชีลกู หนี้ คอื กฎกระทรวง ฉบับ
ท่ี 186 (พ.ศ. 2534) กำหนดหลกั เกณฑ์ วิธีการและเงอ่ื นไขเกย่ี วกับการจำหน่ายหน้สี ูญจาก
บัญชีลกู หนข้ี องบรษิ ัทหรือหา้ งหุ้นสว่ นนติ ิบุคคลไวด้ ังนี้

1. หนี้สญู ทจี่ ะจำหน่ายจากบัญชีลูกหนี้ต้องเป็นหน้ที มี่ ลี กั ษณะดังตอ่ ไปน้ี

1.1 ตอ้ งเป็นหนจี้ ากการประกอบกจิ การหรือเน่ืองจากการประกอบกจิ การ หรือหนที้ ีไ่ ด้รวม
เป็นเงินไดใ้ นการคำนวณกำไรสทุ ธิ ท้งั นี้ ไม่รวมถึงหน้ที ่ผี ูเ้ ป็น หรือ เคยเป็นกรรมการหรอื หุ้นส่วน
ผู้จัดการเป็นลกู หน้ี ไมว่ า่ หนีน้ ้ันจะเกิดขึ้นกอ่ นหรอื ในขณะท่ีผู้นั้นเปน็ กรรมการหรือหุ้นส่วนผ้จู ดั การ

1.2 ต้องเปน็ หนที้ ีย่ งั ไมข่ าดอายุความและมหี ลักฐานโดยชัดแจ้งทสี่ ามารถฟอ้ งลูกหนไี ด้

2. การจำหน่ายหนสี้ ูญจากบญั ชีลกู หน้ีในกรณหี นีข้ องลูกหน้ีแต่ละรายมีจำนวนเกิน 500,000 บาท
ขึ้นไป ต้องดำเนนิ การดังต่อไปน้ี

2.1 ได้ตดิ ตามทวงถามให้ชำระหน้ีตามสมควรแกก่ รณโี ดยมีหลกั ฐานการติดตามทวงถามอย่าง
ชัดแจ้งและไมไ่ ดช้ ำระหนี้ โดยปรากฏวา่

- ลูกหนีถ้ ึงแก่ความตาย เปน็ คนสาบสูญ หรือมีหลักฐานว่าหายสาบสูญไปและไมม่ ี
ทรพั ย์สนิ ใดๆ จะชำระหนไ้ี ด้

- ลูกหนี้เลิกกจิ การ และมีหนข้ี องเจ้าหน้รี ายอนื่ มบี ุริมสิทธเิ หนอื ทรัพย์สนิ ทั้งหมดของ
ลกู หนอ้ี ยู่ในลำดบั ก่อนเปน็ จำนวนมากกว่าทรพั ย์สนิ ของลกู หนี้

2.2 ได้ดำเนินการฟอ้ งลกู หน้ใี นคดีแพง่ หรือไดย้ ื่นคำขอเฉลยี่ หนใี้ นคดีท่ลี ูกหนี้ถกู เจ้าหนรี้ ายอื่น
ฟ้องในคดีแพง่ และในกรณนี น้ั ๆ ไดม้ คี ำบงั คบั หรือคำสัง่ ของศาลแล้ว แตล่ กู หนไี้ ม่มที รพั ย์สินใดๆ จะ
ชำระหนีไ้ ด้ หรอื

2.3 ได้ดำเนนิ การฟ้องลกู หน้ีในคดีลม้ ละลายหรือไดย้ ่ืนคำขอรบั ชำระหน้ีในคดีทลี่ กู หนีถ้ กู
เจ้าหน้ีรายอืน่ ฟอ้ งในคดลี ้มละลาย และในกรณีนนั้ ๆ ไดม้ ีการประนอมหนีก้ บั ลูกหนี้โดยศาลมคี ำสง่ั
เห็นชอบดว้ ยกับการประนอมหนนี้ ัน้ หรอื ลกู หน้ถี กู ศาลพิพากษาให้เปน็ บคุ คลล้มละลายและไดม้ ีการ
แบ่งทรัพยส์ ินของลกู หนีค้ รง้ั แรกแลว้

3. การจำหน่ายหนส้ี ญู จากบัญชีลกู หนี้ ในกรณหี นี้ของลูกหนีแ้ ต่ละรายมจี ำนวนไมเ่ กิน 500,000
บาท ต้องดำเนนิ การดังต่อไปนี้

3.1 ได้ดำเนินการตามข้อ 2.1 แลว้

3.2 ไดด้ ำเนนิ การฟ้องลูกหน้ใี นคดแี พง่ และศาลได้มคี ำส่งั รับคำฟ้องน้ันแลว้ หรือได้ยน่ื คำขอ
เฉลยี่ หนี้ในคดีทีล่ กู หนีถ้ ูกเจา้ หนรี้ ายอน่ื ฟอ้ งในคดีแพ่งและศาลได้มคี ำส่ังรบั คำขอนน้ั แล้ว หรอื

3.3 ได้ดำเนินการฟ้องลกู หนีในคดลี ม้ ละลายและศาลไดม้ ีคำสงั่ รับคำฟ้องนน้ั แลว้ หรอื ได้ย่นื คำ
ขอรบั ชำระหนใี้ นคดที ี่ถกู เจ้าหนีร้ ายอน่ื ฟ้องในคดลี ม้ ละลาย และศาลได้มคี ำสง่ั รับคำขอรับชำระหนี้นน้ั
แล้ว

ในกรณีตาม 3.2 และ 3.3 กรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการของบริษัทหรือหา้ งหนุ้ สว่ นนิติบคุ คล
ผู้เปน็ เจ้าหนตี้ อ้ งมคี ำสง่ั อนมุ ตั ใิ หจ้ ำหนา่ ยหน้ีนนั้ เป็นหน้สี ูญจากบัญชลี กู หนภี้ ายใน 30 วนั นับแตว่ นั ส้ิน
รอบระยะเวลาบัญชนี นั้

4. การจำหน่ายหนสี้ ูญจากบัญชีลกู หนขี้ องธนาคาร หรือบริษัทเงินทุนตามกฎหมายวา่ ด้วยการ
ประกอบธรุ กิจเงนิ ทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดติ ฟองซเิ อร์ ในกรณีหนี้ของลูกหน้แี ต่ละ
รายมจี ำนวนไมเ่ กนิ 200,000 บาท ให้กระทำได้โดยไม่ต้องดำเนนิ การตามหลักเกณฑใ์ นขอ้ 2
หรือ ขอ้ 3 ถ้าปรากฏวา่ ได้มหี ลกั ฐานการตดิ ตามทวงถามให้ชำระหนี้ตามสมควรแก่กรณี
แลว้ แตไ่ มไ่ ด้รับชำระหน้ี และหากจะฟอ้ งลกู หนจ้ี ะตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยไมค่ ุ้มกบั หน้ที จี่ ะไดร้ ับ
ชำระความในวรรคหนง่ึ ให้ใช้บังคบั สำหรบั การจำหน่ายหน้ีสญู จากบัญชีลกู หนี้ของบรษิ ัทหรือ
ห้างหนุ้ สว่ นนติ ิบคุ คลอื่นที่มใิ ชธ่ นาคารหรือบรษิ ทั เงนิ ทุนดังกล่าว ในกรณีหนีข้ องลูกหนแ้ี ตล่ ะ
รายมจี ำนวนไม่เกิน 100,000 บาท ดว้ ย

5. หน้ีของลกู หน้ีรายใดท่เี ข้าลักษณะตามข้อ 1 และไดด้ ำเนนิ การตามข้อ 2 ข้อ 3 หรือข้อ 4
ครบถ้วนแล้วในรอบระยะเวลาบญั ชีใด ให้จำหน่ายเป็นหน้ีสญู จากบัญชีลกู หนี้และถอื เปน็
รายจา่ ยในรอบระยะเวลาบัญชีน้นั เว้นแตก่ รณีตามข้อ 3.2 และ 3.3 ให้ถือเป็นรายจ่ายในรอบ
ระยะเวลาบัญชที ศ่ี าลไดม้ ีคำสัง่ รับคำฟ้อง คำขอเฉลีย่ หนี้หรอื คำขอรบั ชำระหนี้ แล้วแตก่ รณี

เมื่อเกดิ หน้ีสญู ข้ึน และตอ่ มาลูกหนท้ี ี่เปน็ หน้สี ูญนำเงินมาชำระหนี้ สมาคมนักบัญชีและผู้สอบ
บัญชีรบั อนญุ าตแห่งประเทศไทย ได้กำหนดวิธีปฏิบัติทางการบัญชีเก่ยี วกบั หนี้สงสยั จะสญู และหน้ีสญู
รบั คนื มา ไวใ้ นมาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 11

ตั๋วรบั เงิน (Note Receivable)

ต๋ัวเงินรบั เป็นหนงั สือตราสารทก่ี จิ การไดร้ บั จากการขายสนิ ค้าหรอื รับชำระหน้ี จดั เป็น
สินทรพั ยป์ ระเภทหนึง่ ของกจิ การ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คอื ต๋ัวสัญญาใชเ้ งนิ (Promissory Note)
และตวั แลกเงิน (Bill of Exchange)

ต๋ัวสัญญาใชเ้ งิน (Promissory Note)

ตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นหนังสือตราสารทีล่ ูกหนเ้ี ปน็ ผูอ้ อกให้กับเจ้าหน้ี โดยสัญญาวา่ จะจ่ายเงนิ
ตามตว๋ั เมื่อตั๋วครบกำหนดระยะเวลาตามท่รี ะบไุ วใ้ นต๋วั พร้อมดอกเบี้ย (ถ้าม)ี กฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 982 และ 983 กำหนดเกีย่ วกับต๋วั สัญญาใช้เงนิ ไว้ดงั น้ี

มาตรา 982 อันว่าตว๋ั สัญญาใช้เงินน้ัน คอื หนงั สือตราสารซ่งึ บคุ คลคนหนง่ึ เรียกว่า ผอู้ อกตัว๋
ให้คำมนั่ สญั ญาว่าจะใชเ้ งินจำนวนหน่งึ ให้แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ หรอื ใชใ้ หต้ ามคำสั่งของบคุ คลอีกคน
หนงึ่ เรียกว่า ผู้รับเงนิ

มาตรา 983 ต๋ัวสญั ญาใชเ้ งนิ นน้ั ต้องมรี ายการดังจะกล่าวตอ่ ไปนี้ คือ

1. คำบอกชอื่ ว่าเปน็ ตว๋ั สญั ญาใช้เงนิ

2. คำมั่นสัญญาอันปราศจากเง่ือนไขว่าจะใชเ้ งินเป็นจำนวนแนน่ อน

3. วนั ถึงกำหนดใช้เงนิ

4. สถานทใี่ ช้เงนิ

5. ชือ่ หรือยี่หอ้ ของผู้รับเงิน

6. วันและสถานท่ีออกตั๋วสญั ญาใชเ้ งิน

7. ลายมอื ช่อื ผู้ออกต๋ัว

ตัว๋ แลกเงิน (Bill of Exchange)

ตัว๋ แลกเงินเป็นหนังสอื ตราสารทเ่ี จ้าหนี้เปน็ ผูส้ ง่ั จ่ายไหล้ กู หน้รี ับรองว่าจะจา่ ยเงินเมอ่ื ต๋ัวครบ
กำหนดระยะเวลาที่ระบุไวใ้ นต๋ัวแก่ผูร้ บั เงิน ซึ่งอาจจะเปน็ ตวั เจ้าหนี้เอง หรือบุคคลอืน่ ท่ีเจ้าหนรี้ ะบไุ วก้ ็
ได้ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 908 และ 909 กำหนดเกี่ยวกบั ต๋ัวแลกเงิน ไว้ดังนี้

มาตรา 908 อันวา่ ตัว๋ แลกเงินนั้น คอื หนงั สือตราสารซึง่ บคุ คลคนหน่งึ เรียกวา่ ผู้ส่งั จ่ายสัง่
บุคคลอกี คนหน่ึง เรียกว่าผู้จ่ายให้ใช้เงินจำนวนหนง่ึ แก่บคุ คลคนหน่ึง หรอื ให้ใชต้ ามคำสั่งของบุคคล
คนหน่งึ ซึง่ เรยี กวา่ ผู้รับเงิน

มาตรา 909 อันตั๋วแลกเงินนั้น ต้องมีรายการดงั กล่าวต่อไปน้ี คอื

1. คำบอกชอ่ื ว่าเป็นตวั๋ แลกเงิน

2. คำสั่งอนั ปราศจากเง่ือนไขให้จา่ ยเงินเป็นจำนวนแนน่ อน

3. ชอ่ื หรือย่ีห้อผู้จ่าย

4. วันถึงกำหนดใช้เงนิ

5. สถานที่ใช้เงิน

6. ชือ่ หรือยีห่ ้อผู้รบั เงนิ หรือคำจดแจ้งวา่ ให้ใช้เงินแกผ่ ู้ถือ

7. วนั และสถานท่อี อกตัวเงิน

8.รายมอื ชื่อผ้สู ่ังจ่าย

การคำนวณวันครบกำหนดตั๋วเงิน

1. ตั๋วอายุเป็นวนั ให้เร่มิ นบั วนั ถัดวันทใี่ นตว๋ั หรอื วันและเดือนท่ีรับรองตั๋ว (ไมน่ บั วันที่ใน
ตว๋ั หรือวนั รับรองต๋วั )
2. ตว๋ั อายเุ ปน็ เดือน วนั ครบกำหนด คือวนั ท่เี ดยี วกันกบั วันทใี่ นตั๋ว หรือวนั ท่รี ับรองตวั๋ เวน้ แต่
วนั ท่ใี นเดือนทค่ี รบกำหนดไม่มีวนั ทน่ี ัน้ ให้ใช้วันสดุ ท้ายของเดือนน้นั เปน็ วันครบกำหนดแล้ว
นบั จำนวนเดอื นตามท่ีระบุไว้ในต๋ัว
3. ต๋ัวมอี ายุเปน็ ปี วันและเดือนครบกำหนด คือวันทแี่ ละเดือนเดยี วกันกบั ท่รี ะบุในตั๋ว หรอื วนั
ละเดือนทร่ี ับรองตัว๋ แลว้ นับจำนวนปตี ามที่ระบุไวใ้ นตว๋ั

การบันทึกบญั ชเี ก่ียวกบั ตวั๋ เงนิ รับ

เมอื่ กิจการได้รบั ต๋ัวจากการขายสินค้าหรือการรบั ชำระหนจ้ี ากลกู หน้ี กจิ การอาจจะถอื ตั๋วไว้
จนตัวครบกำหนด จึงนำต๋ัวไปรับเงินจากลูกหนี้ หรอื หากกิจการต้องการใชเ้ งนิ ก่อนวนั ทีต่ วั๋ ครบ
กำหนด กจิ การสามารถนำตวั๋ ไปขายลดท่ธี นาคาร หรือ กิจการอาจสลักหลังโอนตัว๋ ชำระหนี้ใหเ้ จา้ หนี้

ต่อก็ได้ นอกจากนใี้ นวนั ท่ีตัว๋ ครบกำหนดผ้มู ีหนา้ ทจี่ ่ายเงนิ ตามตั๋ว ไมส่ ามารถจ่ายเงนิ ตามตั๋วได้เรียกวา่
ตว๋ั เงินรบั ขาดความเช่อื ถอื ผ้รู บั เงิน หรอื ผู้ส่ังจา่ ยมีสิทธเิ รยี กรอ้ งให้ผ้จู า่ ยเงนิ ชำระเงินตาม ต๋วั พรอ้ ม
ดอกเบีย้ (ถ้ามี) ค่าใชจ้ ่ายอนั เกิดข้ึนเนือ่ งจากตวั๋ ขาดความเชือ่ ถอื และดอกเบีย้ ตวั๋ พ้นกำหนด ในกรณี
ท่ีตว๋ั เงนิ รบั ขายลดขาดความเช่อื ถอื ธนาคารจะหกั บัญชเี งินฝากของกิจการ ถือเสมอื นหนึ่งกจิ การ
ชำระหนธ้ี นาคารแทนลูกหน้ี เชน่ เดียวกันกับการสลกั หลงั โอนใหเ้ จา้ หนี้ หากต๋ัวขาดความเชื่อถือ
กจิ การจะต้องจา่ ยชำระหนีใ้ หเ้ จา้ หนี้แทนลกู หนี้

การบนั ทึกบญั ชเี กี่ยวกับต๋ัวเงนิ รับ แบ่งกรณีศกึ ษาได้ 6 กรณี ดังน้ี

1. ตว๋ั เงินรบั ท่กี จิ การถือจนครบกำหนด แล้วเก็บเงนิ ได้

2. ตั๋วเงนิ รบั ทก่ี จิ การถอื จนครบกำหนด แลว้ ขาดความเชือ่ ถือ

3. ต๋วั เงนิ รับทกี่ จิ การนำไปขายลด แลว้ ในวันครบกำหนดธนาคารเก็บเงินได้

4.ตวั๋ เงนิ รับทก่ี จิ การนำไปขายลด แลว้ ในวนั ครบกำหนดตว๋ั ขาดความเชอ่ื ถอื

5. ต๋วั เงินรับทกี่ จิ การสลกั หลงั โอนใหเ้ จา้ หนี้ แลว้ วันครบกำหนดเจา้ หน้ีเก็บเงินได้

6. ตั๋วเงินรับทก่ี ิจการสลกั หลังโอนให้เจ้าหน้ี แล้ววนั ครบกำหนดตว๋ั ขาดความเช่ือถือ

8
ท่ีดนิ อาคาร และอุปกรณ์
แนวคดิ
ทด่ี ิน อาคารและอปุ กรณ์เปน็ สนิ ทรัพยส์ ่วนใหญท่ ่กี ิจการมอี ยู่ ดังนน้ั ทดี่ ินอาคารและอุปกรณ์
จึงมคี วามสำคญั ในการแสดงฐานะการเงินของกจิ การ นอกจากน้กี ารกำหนดรายจ่ายฝ่ายทุนและ
คา่ ใช้จ่ายจะมผี ลกระทบอย่างเปน็ สาระสำคัญต่อผลการดำเนนิ งานของกิจการ
สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์
2. ส่วนประกอบของราคาทนุ
3. รายจา่ ยลงทนุ และรายจา่ ยประจำ
4. คา่ เสอื่ มราคา
5. การจำหน่ายสินทรัพย์
6. การแลกเปลีย่ นสินทรพั ย์
7. การตรี าคาใหม่ของสินทรัพย์
8. กฎหมายภาษีอากรว่าดว้ ยการหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่อื มราคาของทรัพย์สนิ
9. ศัพทบ์ ญั ชี
ผลการเรียนรทู้ ี่ตาดหวัง
1. อธิบายความหมายของท่ีดิน อาคารและอุปกรณไ์ ด้
2. อธิบายส่วนประกอบของราคาทนุ ได้
3. อธิบายความหมายของรายจ่ายลงทุนและรายจ่ายประจำได้
4. คำนวณค่าเส่อื มราคาและบันทกึ รายการได้
5. บันทึกบญั ชเี กย่ี วกับท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ได้

6. อธิบายกฎหมายภาษีอากรว่าด้วยการหกั ค่าสึกหรอและคา่ เสื่อมราคาของทรัพย์สนิ
7. แปลความหมายศัพทบ์ ัญชไี ด้

ความหมายของทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์

ความหมายของท่ดี ิน อาคารและอุปกรณ์ (Property Plant and Equipment) ตาม
มาตรฐานการบัญชีฉบบั ที่ 32 เรือ่ ง ท่ดี ิน อาคารและอุปกรณ์ หมายถึง สินทรัพย์ที่มีตัวตนซึ่งเข้า
เงอ่ื นไขทกุ ข้อตอ่ ไปน้ี

1. กจิ การมีไว้เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นการผลิตเพ่ือให้เช่าหรือเพ่ือใชใ้ นการบรหิ ารงาน
2. กิจการคาดวา่ จะใช้ประโยชน์มากกวา่ หนึ่งรอบปบี ญั ชี

จากความหมายข้างตนั อาจอธบิ ายเพม่ิ เติมได้ ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์เป็นสินทรัพย์ท่มี ไี ว้ใช้
ในการดำเนินงานของกจิ การ มลี ักษณะทนทาน อายุการใช้งานเกินกวา่ หน่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีและ
มิไดม้ ไี ว้เพ่อื จำหน่าย

ทด่ี ิน อาคารและอุปกรณอ์ าจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี

1. สินทรพั ยท์ ่มี ีตวั ตนท่ีไมต่ ้องหักค่าเสอื่ มราคา เชน่ ที่ดิน

2. สนิ ทรพั ย์ทม่ี ีตัวตนทีต่ ้องหักค่าเสื่อมราคา เชน่ อาคาร ยานพาหนะ อปุ กรณ์สำนกั งาน
เครื่องจักร

มลู คา่ ของท่ดี นิ อาคารและอปุ กรณ์ ขึน้ อยูก่ บั วิธีการไดม้ า ซึง่ มี 3 วิธี คือ ได้มาจากการซ้ือท้งั
เงนิ สดและเงนิ เชอ่ื ได้มาจากการแลกเปลี่ยน และไดม้ าจากการสรา้ งข้ึนเอง

อยา่ งไรกต็ าม ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับดงั กลา่ ว ได้กำหนดส่วนประกอบของราคาทุนของ
ทด่ี นิ อาคารและอปุ กรณ์ ไวเ้ พ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ

สว่ นประกอบของราคาทนุ

ราคาทุนของที่ดนิ อาคารและอปุ กรณป์ ระกอบดว้ ยราคาซอ้ื รวมภาษีนำเข้า ภาษีซื้อทเ่ี รียกคืน
ไม่ได้ และต้นทุนทางตรงอ่ืนๆ ที่เกีย่ วกบั การจดั หาสินทรพั ย์เพือ่ ใหส้ ินทรัพย์อยู่ในสภาพพร้อมทีจ่ ะ
ใชไ้ ดต้ ามประสงค์ สว่ นลดการค้าต่างๆ และคา่ ภาษที ่จี ะได้รับคนื ตอ้ งนำมาหักจากราคาซื้อ ตัวอยา่ ง
ของต้นทนุ ทางตรงอืน่ ๆ ทีเ่ ก่ียวกบั การจดั หาสนิ ทรัพย์ไดแ้ ก่

ตน้ ทนุ การเตรยี มสถานท่ี

- ตน้ ทุนการขนสง่ เรมิ่ แรกและการเก็บรกั ษา
- ตน้ ทนุ การตดิ ตั้ง
- คา่ ธรรมเนียมวิชาชีพ เชน่ ค่าจา้ งสถาปนกิ และค่าจ้างวิศวกร
- ประมาณการรายจา่ ยในการร้อื หรอื ขนไปท้ิง และการบูรณะสถานท่ีภายหลังการเลกิ ใช้

สนิ ทรพั ย์

รายจ่ายลงทุนและรายจ่ายประจำ (Capital and Revenue Expenditures)

รายจา่ ยทีก่ จิ การจา่ ยในระหว่างงวดแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ

1. รายจ่ายลงทนุ (Capital Expenditure) หมายถึง รายจา่ ยที่ทำให้กิจการได้สินทรพั ย์มารวมทงั้
รายจา่ ยอนั ส่งผลให้สนิ ทรัพย์มปี ระสทิ ธภิ าพใช้งานได้ดขี ้นึ อายกุ ารใชง้ านนานขนึ้ คณุ ภาพของ
ผลผลิตดีข้นึ เปน็ รายจา่ ยทก่ี ่อประโยชน์ให้แก่กิจการเกนิ กว่าหน่งึ รอบระยะเวลาบญั ชี ไดแ้ ก่
1.1 ค่าซ่อมแซมพเิ ศษ (Extraordinary Repairs) รายจา่ ยประเภทนี้มกั จะมจี ำนวนเงนิ สงู และ
ทำใหส้ นิ ทรพั ยม์ อี ายุการใชง้ านนานขนึ้ การบันทกึ บญั ชีจะต้องโอนราคาทนุ และค่าเสอ่ื ม
ราคาสะสมของสนิ ทรพั ย์เกา่ ออกจากบญั ชี บนั ทกึ สินทรัพยใ์ หม่ด้วยคา่ ซอ่ มแซมพิเศษ
และผลต่างทีเ่ กิดขนึ้ คือขาดทุนจากการแลกเปล่ยี น
1.2 การต่อเติม (Addition) เป็นรายจ่ายทที่ ำให้กิจการได้สินทรพั ย์เพิม่ ขน้ึ จากทม่ี ีอยู่เดิมหรอื
การขายสินทรพั ย์ เช่น การต่อเตมิ อาคาร
1.3 การปรับปรงุ ให้ดขี ึ้น (Improvement) เป็นรายจา่ ยท่ที ำใหค้ ณุ ภาพสินทรพั ย์ดีขน้ึ แตไ่ มไ่ ด้
ทำให้สนิ ทรพั ย์มีอายุการใชง้ านนานขนึ้
1.4 การเปลย่ี นแทน (Replacement) เปน็ รายจ่ายที่ไม่ได้ทำกจิ การไดส้ ินทรพั ย์ทด่ี ีกว่าเดมิ
การเปล่ียนแทนอาจจะเปลยี่ นเพียงบางส่วนหรือเปลี่ยนท้งั หมดก็ได้ ในกรณที ีม่ ีการเปล่ียน
บางส่วนท่มี ีจำนวนเงินเพียงเล็กน้อย ก็ควรจะจัดเป็นค่าซอ่ มแซมปกติ (Ordinary
Repairs) อันเป็นคา่ ใชจ้ ่ายในการดำเนินงานของกจิ การ

2. รายจ่ายประจำ (Revenue Expenditure) หมายถึง รายจ่ายทกี่ อ่ ใหเ้ กิดประโยชนแ์ กก่ ิจการ
ภายในหนงึ่ รอบระยะเวลาบัญชี หรือเป็นรายจ่ายจำนวนเล็กน้อย เชน่ ค่าซอ่ มแซมปกติ คา่
บำรงุ รกั ษาสนิ ทรัพย์

คา่ เสือ่ มราคา

คา่ เสอื่ มราคา (Depreciation) หมายถึง มูลคา่ สินทรัพยท์ ม่ี ตี วั ตนท่ีตดั เปน็ ค่าใช้จา่ ยในงวด
บญั ชีตา่ งๆ ตลอดอายุการใชง้ าน การกำหนดหรอื การประมาณอายุการใชง้ านของสินทรพั ย์ข้ึนอยู่กับ
ประเภทของสินทรพั ย์ เชน่ อาคาร อายกุ ารใช้งาน 20 ปี หรอื คิดคา่ เส่ือมราคา 5 % ตอ่ ปียานพาหนะ
อายกุ ารใช้งาน 5 ปี หรือ คดิ คา่ เสอ่ื มราคา 20% ต่อปี ในกรณีทส่ี นิ ทรัพย์นั้นมีราคาซาก (ราคาของ
สินทรัพย์ทีค่ าดว่าจะขายได้เมอื่ หมดอายุการใช้งาน) ต้องนำราคาซากไปหักจากมลู ค่าสินทรพั ย์
เสยี กอ่ นแล้วจงึ นำมาคำนวณค่าเสื่อมราคา ในทางบัญชจี ะบนั ทึกค่าเสอ่ื มราคาเป็นค่าใช้จ่ายประจำ
งวด และค่าเสื่อมราคาสะสมเปน็ บัญชปี รับมลู ค่า (Valuation Account) และจะแสดงเป็นรายการหกั
สนิ ทรัพย์ในงบดลุ

ส่ิงทต่ี อ้ งพิจารณาเกี่ยวกับคา่ เสื่อมราคาตามมาตรฐานการบญั ชมี ีดังน้ี

1. มลู ค่าเสือ่ มสภาพของอาคารและอปุ กรณต์ ้องปันส่วนเป็นค่าเสอื่ มราคาอย่างมีระบบตลอดอายุ
การใชง้ านของสินทรพั ย์ วิธีการคิดค่าเสอื่ มราคาตอ้ งสะท้อนถงึ ประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ ท่ี
กจิ การไดร้ บั จากการใชส้ นิ ทรัพย์ คา่ เสื่อมราคาท่ีเกดิ ขึ้นแตล่ ะงวดต้องรบั รเู้ ปน็ ค่าใช้จ่าย
ยกเวน้ ค่าเสื่อมราคาทีต่ ้องนำไปรวมเปน็ ราคาตามบัญชขี องสินทรพั ย์ชนดิ อื่น

2. เนือ่ งจากกิจการใชป้ ระโยชน์เชิงเศรษฐกจิ ของสินทรัพยอ์ ย่เู สมอ กิจการตอ้ งลดราคาตามบัญชี
ของสินทรพั ย์ลงเพอื่ สะท้อนใหเ้ ห็นถึงประโยชนท์ ก่ี จิ การได้รบั จากสินทรัพย์น้ันโดยการตดั คา่
เสอ่ื มราคา กจิ การตอ้ งดัดค่าเส่อื มราคาแม้วา่ มลู ค่ายุตธิ รรมของสนิ ทรัพย์จะสูงกวา่ ราคาบญั ชี

3. ในกรณีที่กจิ การตรี าคาสนิ ทรัพยใ์ หม่กจิ การตอ้ งคำนวณค่าเสือ่ มราคาจากราคาที่ดีใหม่

4. ตามปกติ กิจการจะได้รับประโยชน์เชงิ เศรษฐกิจจากการใชอ้ าคารและอุปกรณ์ อย่างไรกต็ าม
การที่กิจการไมไ่ ดน้ ำอาคารและอปุ กรณน์ ัน้ มาใช้งานอาจเป็นเหตุให้สินทรัพยล์ ้าสมยั หรอื ชำรดุ
เสียหายจนกระท่ังประโยชนเ์ ชิงเศรษฐกจิ ของสนิ ทรพั ย์นั้นลดลง ดงั นนั้ ในการพิจารณากำหนดอายุ
การใช้งานของสนิ ทรพั ย์จึงต้องคำนึงปัจจยั ดังต่อไปน้ี

-ประโยชนท์ ีก่ จิ การคาดว่าจะไดร้ บั จากการใช้งานของสนิ ทรัพย์โดยประเมินจากกำลังการผลติ
หรือผลผลิตท่ีคาดวา่ จะได้จากสินทรัพย์นน้ั

-การชำรุดเสยี หายทคี่ าดว่าจะเกิดจากการใช้งานของสินทรัพยซ์ ่ึงเปน็ ผลมาจากปัจจัยตา่ งๆ
เช่น จำนวนผลัดในการผลิต แผนการซอ่ มและบำรุงรักษา การดูแลและบำรุงรกั ษาสนิ ทรพั ย์ใน
ขณะท่ีไมม่ ีการใชง้ าน

- ความล้าสมัยทางด้านเทคนิคซึ่งเกิดจากการเปล่ียนแปลงหรือการปรบั ปรุงการผลติ หรือเกิด
จากความต้องการสนิ คา้ หรือบรกิ ารเปล่ียนแปลงไป

- ข้อจำกดั หรือขอ้ กำหนดทางกฎหมายในการใชส้ ินทรัพย์ เช่น การส้นิ สุดอายขุ องสญั ญาเช่า

การจำหนา่ ยสินทรัพย์

โดยปกตสิ ินทรพั ยท์ ่ีกจิ การเป็นเจ้าของจะมไี วเ้ พ่ือใช้งานตลอดอายุการใช้งานของสนิ ทรัพย์
กิจการมกี ารจำหนา่ ยสินทรัพย์ออกไป ผลตา่ งของจำนวนเงินท่ีไดร้ บั จากถ้าระหวา่ งการใชง้ านการ
จำหนา่ ยและราคาสุทธิของสนิ ทรพั ย์ คือ กำไรขาดทนุ จากการจำหน่ายสนิ ทรัพย์ ในทางบญั ชีจะโอน
ปิดสินทรัพยท์ ่จี ำหนา่ ยพร้อมค่าเส่อื มราคาสะสม และบันทึกจำนวนเงนิ ทีไ่ ดร้ ับจากการจำหน่ายและ
กำไรขาดทนุ จากการจำหนา่ ย ในกรณีท่ีการจำหนา่ ยเกิดข้นึ ระหว่างงวดบญั ชี จะตอ้ งบนั ทกึ คา่ เสือ่ ม
ราคาสนิ ทรัพย์ ตัง้ แต่วนั ตน้ งวดบัญชจี นถงึ วันจำหน่ายเสียกอ่ น

การแลกเปลยี่ นสินทรพั ย์

การแลกเปล่ยี นสนิ ทรพั ย์มีหลายลักษณะคอื

1. การแลกเปลี่ยนสินทรพั ย์อนื่ ท่ีไมค่ ลา้ ยคลงึ กัน

กจิ การอาจได้รายการทเ่ี ป็นทีด่ นิ อาคารและอปุ กรณ์มาจากการแลกเปลี่ยนกบั รายการ
ท่เี ป็นท่ดี ิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพยอ์ ่นื ทีไ่ ม่คลา้ ยคลงึ กนั กิจการตอ้ งบันทกึ ราคาทุน
ของรายการดงั กล่าวด้วยมูลคา่ ยตุ ิธรรมของสนิ ทรัพย์ทีไ่ ดม้ า ซงึ่ มีมลู คา่ เทียบเท่ากบั มูลค่า
ยุติธรรมของสินทรพั ย์ทีน่ ำไปแลกปรับปรงุ ด้วยจำนวนเงนิ สดหรือรายการเทียบเท่าเงนิ สดที่
กจิ การต้องโอนหรอื รบั โอนอันเนอ่ื งมาจากการแลกเปล่ียน

2.การแลกเปลีย่ นสนิ ทรพั ยท์ คี่ ล้ายคลงึ กัน
ในบางกรณกี นิ การอาจไดร้ ายการทเ่ี ปน็ ทดี่ นิ อาคารและอปุ กรณ์มาจาการแลกเปล่ียน

กับสนิ ทรพั ยท์ ี่คล้ายคลึงกัน สินทรพั ยจ์ ะถือวา่ คล้ายคลึงกันก็ตอ่ เมอื่ มีมูลคา่ ยตุ ิธรรมใกล้เคยี ง
กนั และมีประโยชน์ใช้สอยแบบเดียวกันในธรุ กจิ ชนดิ เดยี วกัน

การตรี าคาใหมข่ องสินทรพั ย์

สินทรัพย์ท่ีมีไวใ้ ช้ในกิจการ กิจการจะตอ้ งพึงระมดั ระวังในการดรี าคาสินทรพั ย์ใหม่เพ่อื ให้
มูลค่าสินทรพั ย์ถกู ตอ้ งหรือใกล้เคียงกบั มูลค่ายุตธิ รรม เพ่ือให้การจัดทำงบการเงินของกจิ การแสดงผล
การดำเนนิ งานและฐานะการเงนิ ถกู ตอ้ งหรือใกล้เคียงกบั ความเป็นจริงมากที่สุดเปล่ียนแปลงไปกจิ การ

จะต้องบันทกึ รายการปรับปรงุ โดยบนั ทกึ ผลตา่ งไว้ในบัญชีสว่ นเกนิ ทนุ จากการตีราคาสินทรัพย์หรอื
บญั ชรี ายการขาดทุนจากการตรี าคาสนิ ทรัพย์

กฎหมายภาษีอากรว่าดว้ ยการหกั ค่าสึกหรอและคา่ เสอื่ มราคาของทรพั ยส์ ิน

พระราชกฤษฎกี าออกตามความในประมวลรษั ฎากรว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเส่ือม
ราคาของทรัพย์สนิ (ฉบบั ที่ 145) พ.ศ. 2527 กำหนดให้บริษัทและห้างห้นุ ส่วนนติ บิ คุ คลซ่ึงรอบ
ระยะเวลาบัญชเี รม่ิ ในหรือหลงั วันที่ 1 มกราคม 2527 เปน็ ตน้ ไป ใชห้ ลกั เกณฑ์ วธิ กี าร เงื่อนไขและ
อัตราการหักคา่ สกึ หรอและคา่ เสอ่ื มราคาของทรพั ย์สินในการคำนวณภาษเี งินไดน้ ิติบุคคล ดงั น้ี

มาตรา 3 ในการหักคา่ สกึ หรอและค่าเส่อื มราคาของทรพั ย์สนิ เพ่อื ประโยชน์ในการคำนวณ
กำไรสุทธิ หรอื ขาดทุนสทุ ธิ เมื่อบรษิ ัทหรอื ห้างหุน้ ส่วนนติ บิ ุคคลได้เลือกใชว้ ิธีการทางบญั ชีทรี่ บั รอง
ท่ัวไป และอัตราที่จะหักอยา่ งใดแล้วให้ใช้วธิ กี ารทางบัญชีและอตั ราน้นั ตลอดไปจะเปล่ียนแปลงได้
ตอ่ เมือ่ ไดร้ บั อนมุ ตั ิจากอธบิ ดีกรมสรรพากร หรือผู้ท่ีอธิบดกี รมสรรพากรมอบหมาย ในกรณีทไ่ี ด้รับ
อนุมตั ใิ หเ้ ปลย่ี นแปลงได้ และใหถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ัง้ แต่รอบระยะเวลาบัญชที ไี่ ดร้ ับอนุมตั นิ ั้น

มาตรา 4 การหกั คา่ สึกหรอและค่าเส่อื มราคาของทรัพยส์ ินให้คำนวณหกั ดามระยะเวลาทีไ่ ด้
ทรัพย์สินนนั้ มาในแต่ละรอบระยะเวลาบญั ชี ในกรณีท่ีรอบระยะเวลาบญั ชใี ดไม่เต็มสบิ สองเดือนให้
เฉลี่ยหกั ตามสว่ นสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีน้นั ทั้งน้ี ไมเ่ กนิ อัตราร้อยละของมูลค่าตนั ทนุ ตาม
ประเภทของทรัพย์สนิ ดังตอ่ ไปนี้

(1) อาคาร

อาคารถาวร รอ้ ยละ 5

อาคารชัว่ คราว รอ้ ยละ 100

(2) ต้นทุนเพอ่ื การไดม้ าซ่ึงแหล่งทรพั ยากรธรรมชาติท่ีสญู ส้นิ ไปได้

รอ้ ยละ 5

(3) ตน้ ทุนเพือ่ การได้มาซ่ึงสิทธกิ ารเชา่

กรณีไมม่ หี นังสอื สัญญาเช่า หรอื มหี นังสอื สัญญาเช่าทีม่ ีขอ้ กำหนดให้ตอ่ อายกุ ารเชา่ ได้โดย
เง่อื นไขในการต่ออายุนน้ั เปดิ โอกาสให้ตอ่ อายกุ ารเช่ากนั ไดต้ อ่ ๆ ไป

ร้อยละ 10

กรณมี ีหนงั สือสญั ญาเช่าที่ไมม่ ขี อ้ กำหนดให้ต่ออายุการเช่าไดห้ รอื มขี ้อกำหนดให้ต่ออายุการ
เช่าได้เพยี งระยะเวลาอนั จำกดั แน่นอน

รอ้ ยละ 100

จำนวนปอี ายุการเช่าและอายทุ ่ีตอ่ ได้รวมกัน

(4) ตน้ ทุนเพอื่ การได้มาซง่ึ สทิ ธิในกรรมวิธี สตู ร กดู้ วิลล์ เครือ่ งหมายการคา้ สิทธิ

ประกอบกิจการตามใบอนุญาต สิทธบิ ัตร ลขิ สิทธิห์ รือสทิ ธอิ ย่างอื่น

กรณไี มจ่ ำกดั อายุการใช้

รอ้ ยละ 10

กรณีจำกดั อายกุ ารใช้

รอ้ ยละ 100

จำนวนปีอายุการใช้

(5) ทรัพย์สินอยา่ งอืน่ ซ่งึ โดยสภาพของทรพั ย์สินนัน้ สกึ หรอ หรือเส่อื มราคาไดน้ อกจากทดี่ นิ และสินคา้

รอ้ ยละ 20

กรณบี รษิ ัทหรอื หา้ งหุ้นส่วนนติ บิ คุ คลหักค่าสึกหรอและค่าเสอื่ มราคา โดยใชว้ ธิ ีการทางบญั ชีท่ี
รับรองท่ัวไปซ่งึ มอี ตั ราการหกั ค่าสึกหรอและค่าเสือ่ มราคาไม่เทา่ กนั ในแต่ละปรี ะหว่างอายุการใช้
ทรัพย์สนิ บรษิ ทั หรอื หา้ งหุ้นส่วนนิตบิ คุ คลนน้ั จะหกั คา่ สึกหรอ และค่าเสื่อมราคาตามวธิ นี น้ั ในบางปี
เกนิ อัตราทกี่ ำหนดข้างตน้ ก็ได้ แต่จำนวนปีอายกุ ารใชข้ องทรัพยส์ ินเพือ่ การหักคา่ สึกหรอและคา่ เสื่อม
ราคาต้องไม่น้อยกวา่ 100 หารด้วยจำนวนร้อยละท่ีกำหนดข้างต้น

มาตรา 4 ทวิ การหักคา่ สึกหรอและคา่ เส่ือมราคาของทรพั ยส์ นิ ประเภทเครอ่ื งจักรและอปุ กรณ์
ของเครือ่ งจักรที่ใชส้ ำหรับการวจิ ัยและพัฒนา ให้หกั คา่ สึกหรอและค่าเส่ือมราคาเบอ้ื งต้นในวันทีไ่ ด้
ทรพั ยส์ ินนนั้ มาในอตั รารอ้ ยละ 40 ของมูลค่าตันทนุ สำหรับมลู ค่าต้นทุนส่วนท่เี หลอื ใหห้ กั ตามเงื่อนไข
และอดั ราทก่ี ำหนดไว้ในมาตรา 4ทรพั ย์สนิ ตามวรรคหน่ึง จะต้องมลี กั ษณะและเป็นไปตามหลกั เกณฑ์
ดังต่อไปนี้

(1) ต้องไม่เป็นเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ของเครื่องจกั รท่ีใช้ผลติ สินค้าหรือใหบ้ ริการ เวน้ แต่
เครอ่ื งจักรและอปุ กรณข์ องเครอื่ งจกั รดังกล่าวได้ใช้เพือ่ การดงั ตอ่ ไปน้ี

ก) การวจิ ัยและพัฒนาผลิตภัณฑห์ รอื วัตถดุ บิ ท่นี ำมาใชใ้ นการผลิต

ข) การทดสอบคุณภาพของผลติ ภัณฑ์ หรอื

ค) การปรบั ปรงุ กรรมวิธีการผลติ เพ่ือลดต้นทุนการผลิตหรอื เพิ่มผลผลิตทง้ั นี้ ไม่ว่าจะใชเ้ พือ่
กิจการของตนเองหรอื กจิ การของผ้อู ่ืน

(2) ตอ้ งเปน็ เครอื่ งจกั รและอุปกรณข์ องเครอื่ งจักรทีไ่ ม่เคยผา่ นการใชง้ านมากอ่ น โดยมอี ายกุ ารใช้
งานไดต้ ั้งแต่ 2 ปขี ึ้นไป และมมี ูลคา่ ตน้ ทนุ ไมต่ ำ่ กวา่ 100,000 บาท

(3) ตอ้ งแจง้ การใช้เครอื่ งจกั รและอุปกรณ์ของเครอ่ื งจกั รเพอ่ื การวจิ ัยและพฒั นาตามตอ่ อธิบดี
กรมสรรพากร ตามแบบท่ีอธบิ ดีกรมสรรพากรกำหนด ภายในเวลา 30 วนั นับแตว่ ันท่ใี ช้
เครื่องจกั รและอปุ กรณ์ของเครื่องจกั รนัน้ “

(เพ่มิ เติมโดยพระราชกฤษฎกี า (ฉบับที่ 226) พ.ศ. 2534 ใช้บังคับ 28 กนั ยายน 2534เปน็ ต้นไป ไมใ่ ช้
บงั คับสำหรับเครื่องจักร และอปุ กรณข์ องเคร่ืองจักรที่ไดม้ าก่อนวนั ที่พระราชกฤษฎกี าน้มี ีผลใช้บังคบั )

มาตรา 4 ตรี การหกั ค่าสกึ หรอและค่าเส่อื มราคาของทรัพยส์ นิ ประเภทเครือ่ งบันทกึ การเก็บ
เงนิ ให้หกั ไดด้ ังตอ่ ไปนี้

(1) รอ้ ยละ 100 ของมลู ค่าตน้ ทุนตามเงื่อนไขที่กำหนดไวใ้ นมาตรา 4

(2) หักคา่ สกึ หรอหรือค่าเสื่อมราคาเบือ้ งตน้ ในวันทไี่ ดท้ รัพย์สินนน้ั มาในอัตราร้อยละ 40ของ
มลู ค่าตนั ทุนสำหรับมลู ค่าตน้ ทุนสว่ นท่เี หลือใหห้ ักตามเงื่อนไข และอัตราที่กำหนดไวใ้ นมาตรา 4

ทรพั ยส์ นิ ตามวรรคหนึง่ จะต้องมลี ักษณะและเป็นไปตามหลกั เกณฑด์ ังต่อไปน้ี

(1) ต้องเป็นทรัพยส์ ินของผูป้ ระกอบการจดทะเบยี นท่ีเสยี ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ โดยคำนวณตามมาตรา
82/3 แหง่ ประมวลรษั ฎากร ซง่ึ ประกอบกิจการค้าปลีกหรอื ประกอบกิจการอย่างอ่นื ซึง่ มใิ ช่
การค้าปลีกทอ่ี ธบิ ดกี รมสรรพากรอนมุ ัตใิ ห้ใช้เคร่ืองบันทึกการเก็บเงนิ ในการออกใบกำกับภาษี
อย่างยอ่ ทัง้ นี้ ตามมาตรา 86/6 หรือมาตรา 86/7 แหง่ ประมวลรัษฎากร แล้วแตก่ รณี

(2) ตอ้ งเป็นเคร่อื งบันทกึ การเกบ็ เงินทมี่ ลี ักษณะตามที่อธิบดกี รมสรรพากรประกาศกำหนดแต่ไม่
รวมถึงส่วนระบบควบคุมกลางของเครอื่ งคอมพิวเตอร์

(3) ต้องแจ้งการใช้เครอื่ งบนั ทึกการเกบ็ เงนิ ในการออกใบกำกับภาษอี ย่างย่อตอ่ อธิบดี
กรมสรรพากรตามแบบที่อธิบดกี รมสรรพากรกำหนดไดร้ ับอนุมัตใิ ห้ใช้เคร่ืองบันทกึ การเกบ็ เงนิ


(แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชกฤษฎกี า (ฉบับที่ 264) พ.ศ. 2536 ใชบ้ ังคับต้ังแต่ 28 สิงหาคม2536
เปน็ ตน้ ไป สำหรับผูป้ ระกอบการจดทะเบียนทไี่ ดห้ ักคา่ สึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามความเดมิ ยงั คง
ไดร้ บั สิทธหิ ักค่าสึกหรอและค่าเสอ่ื มราคา หรอื มีสทิ ธินำมูลคา่ ตน้ ทนุ ของทรัพยส์ นิ ที่คงเหลอื มาหักค่า
สกึ หรอและค่าเส่อื มราคาได้ตามเดิม)

ภายในเวลาสามสิบวนั นับแตว่ ันท(ี่ ดปู ระกาศอธบิ ดกี รมสรรพากรเก่ยี วกับภาษเี งนิ ได้ (ฉบบั ท่ี 51))

มาตรา 5 ทรพั ย์สนิ ประเภทรถยนตโ์ ดยสารที่มีท่ีน่ังไมเ่ กนิ สบิ คน หรอื รถยนตน์ งั่ ใหห้ กั ค่าสกึ
หรอและคา่ เสือ่ มราคาจากมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วนทีไ่ ม่เกินหนึง่ ลา้ นบาท

(แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎกี า (ฉบับที่ 200) 2531))

(ดพู ระราชกฤษฎีกา ฉบบั ที่ 200)

มาตรา 6 กรณีดีราคาทรพั ย์สินเพิ่มขนึ้ ตามมาตรา 65 ทวิ (3) แหง่ ประมวลรัษฎากรและราคา
ทด่ี ีเพิม่ ข้ึนนนั้ ด้องนำมารวมคำนวณกำไรสุทธโิ ดยบริษทั หรอื หา้ งหุ้นสว่ นนิติบคุ คลน้ันไมไ่ ดร้ ับยกเวน้
ภาษีเงนิ ไดต้ ามกฎหมายใดๆ ให้หกั ค่าสกึ หรอและค่าเสื่อมราคาไดจ้ ากราคาสว่ นทด่ี เี พ่ิมขึ้นของ
ทรพั ยส์ ินนั้นนบั แตร่ อบระยะเวลาบญั ชีทีด่ รี าคาเพมิ่ ข้นึ

(ยกเลกิ โดยพระราชกฤษฎกี า (ฉบับท่ี 248) พ.ศ. 2534 ใช้บังคับสำหรบั เงินได้ของบริษทั หรือ
ห้างหุ้นส่วนนติ บิ คุ คลซึง่ รอบระยะเวลาบัญชีเริม่ ในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม 2535 เป็นต้นไปแต่ให้
ยงั คงใชไ้ ดต้ ่อไปสำหรบั การหักคา่ สึกหรอตามความในมาตรา 65 ทวิ (3) แห่งประมวลรัษฎากร ซง่ึ ถกู
ยกเลกิ โดยพระราชกำหนดแก้ไขเพ่ิมเตมิ ประมวลรษั ฎากร (ฉบับท่ี 16) พ.ศ. 2534)

มาตรา 7 ทรพั ย์สินทไ่ี ดม้ าโดยการเชา่ ซือ้ หรือโดยการซ้อื ขายเงินผอ่ น มูลคา่ ต้นทุนของ
ทรพั ย์สนิ นั้นใหถ้ ือตามราคาที่พงึ ตอ้ งชำระท้ังหมด แตค่ ่าสกึ หรอและคา่ เส่ือมราคาท่ีจะนำมาหกั ใน
รอบระยะเวลาบญั ชี จะตอ้ งไม่เกนิ ค่าเช่าซือ้ หรอื ราคาทีจ่ ะตอ้ งผอ่ นชำระในรอบระยะเวลาบญั ชนี นั้
และคา่ เส่อื มราคาของทรพั ย์สินท่ตี รี าคาเพิ่มขน้ึ

มาตรา 8 การหกั คา่ สกึ หรอและคา่ เสื่อมราคาสำหรับทรพั ย์สนิ ไม่วา่ ในกรณใี ด จะหักจนหมด
มูลคา่ ตน้ ทุนของทรพั ยส์ ินน้นั ไมไ่ ด้

มาตรา 9 พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการหกั ค่าสึกหรอและค่า
เสอื่ มราคาของทรพั ยส์ นิ (ฉบบั ท่ี 22) พ.ศ. 2509 ให้ยังคงใชไ้ ด้ตอ่ ไป สำหรบั การหกั คา่ สกึ หรอและค่า
เสอ่ื มราคาของทรัพย์สินที่มอี ยแู่ ลว้ ในรอบระยะเวลาบญั ชีท่ีส้ินสุดลงกอ่ นวันที่ 31ธนั วาคม พ.ศ.
2527

9.
เจ้าหนแ้ี ละต๋ัวเงินจ่าย
แนวคิด
ในกรณที ก่ี จิ การมกี ารซ้ือสินคา้ เป็นเงนิ เช่อื เปน็ จำนวนมากและมีเจ้าหนห้ี ลายราย กจิ การควร
บันทกึ รายการในสมุดรายวันเฉพาะเพอื่ ประหยดั เวลาในการผ่านรายการไปบัญชแี ยกประเภท และใน
การชำระหนใ้ี ห้เจา้ หน้ี กิจการอาจชำระหนีด้ ว้ ยตัว๋ เงินได้

สาระการเรยี นรู้
1. เจา้ หน้ี
2. ตว๋ั เงินจา่ ย
3. ศพั ท์บญั ชี

ผลการเรยี นรูท้ ค่ี าดหวัง
1. บนั ทึกบญั ชีในสมดุ รายวันซ้อื ผ่านรายการไปสมุดแยกประเภทเจา้ หนร้ี ายตัวและบญั ชแี ยก
ประเภทท่วั ไปได้
2. บันทึกบญั ชใี นสมุดรายวันจา่ ยเงนิ ผ่านรายการไปสมุดแยกประเภทเจา้ หน้รี ายตวั และบัญชี
แยกประเภททั่วไปได้
3. บนั ทึกบญั ชีเกยี่ วกับตัว๋ เงนิ จา่ ยได้
4. แปลความหมายศัพทบ์ ัญชีได้

เจ้าหนี้ (Account Payable)

ในธรุ กจิ ทีม่ กี ารซอื้ สินค้าเป็นเงินเชอื่ จะบันทกึ บญั ชีเจา้ หนไี้ วเ้ ปน็ หนีส้ นิ หมุนเวียนประเภทหน่ึง
และถา้ การซื้อสนิ คา้ เป็นเงินเช่อื มีเปน็ จำนวนมาก มีเจ้าหน้ีมากราย การบันทึกบัญชีอาจแยกบันทึกไว้
ในสมดุ บญั ชตี า่ งหากจากรายการค้ารายการอืน่ โดยบนั ทึกไวใ้ นสมุดรายวันเฉพาะคือสมดุ รายวนั ซ้ือ
และมสี มดุ แยกประเภทเจา้ หนร้ี ายตัวไว้สำหรับบนั ทกึ รายละเอียดของเจ้าหน้ีแต่ละราย ส่วนบญั ชีแยก
ประเภทเจ้าหน้ีจะทำหนา้ ทเี่ ปน็ บัญชีคมุ ยอดเจ้าหน้ีทั้งหมด กลา่ วคอื เม่ือนำยอดคงเหลือในบญั ชแี ยก
ประเภทเจา้ หนีร้ ายตวั ทุกบญั ชีรวมกันจะมีจำนวนเงินรวมเท่ากับยอดคงเหลอื ในบญั ชีแยกประเภท
เจา้ หนี้

สมุดรายวันซื้อ (Purchases Journal)

สมุดรายวนั ซ้อื เป็นสมุดรายวนั เฉพาะเลม่ หน่งึ มไี วส้ ำหรบั บันทึกรายการเกีย่ วกับการซ้ือสินค้า
เป็นเงนิ เชื่อ การบันทึกในสมดุ รายวันซ้ือแทนการบันทกึ ในสมดุ รายวนั ท่วั ไป ทำใหง้ า่ ยต่อการควบคมุ
เจ้าหน้ี ประหยดั เวลาในการบันทกึ บัญชอี ย่างมาก ทัง้ น้เี พราะการบนั ทึกบัญชใี นสมดุ รายวันทัว่ ไป
จะต้องผา่ นรายการไปสมุดบญั ชแี ยกประเภททัว่ ไปทกุ คร้ังท่ีเกดิ รายการ แต่การบนั ทึกรายการในสมุด
รายวนั ซอื้ จะผา่ นรายการไปสมดุ บญั ชีแยกประเภททวั่ ไปเพียงเดอื นละหน่งึ ครง้ั โดยเดบดิ ซ้ือสินคา้
ภาษซี อ้ื (ถา้ มี) และเครดิต เจ้าหนีด้ ว้ ยยอดรวมของการซอ้ื หน่งึ เดือนและภาษซี อื้ (ถา้ มี)

สมุดรายวนั จ่ายเงิน(Cash Disbursements Journal)

กจิ การที่มีรายการรับ-จ่ายเงนิ เป็นจำนวนมาก อาจแยกรายการรบั เงินและรายการจ่ายเงนิ
ออกจากกัน โดยรายการรับเงินบันทึกในสมดุ รายวันรบั เงนิ (หนว่ ยที่ 7) ส่วนรายการจ่ายเงินบันทึกใน
สมุดรายวนั จ่ายเงิน (Cash Disbursements Journal)

โดยปกติรายการหลกั เกี่ยวกับการจา่ ยเงิน คอื การซอื้ สินคา้ การจา่ ยชำระหนี้ให้เจ้าหน้ีโดย
อาจจะมีสว่ นลดรบั หรอื ไม่กไ็ ดส้ นิ ค้าและการจา่ ยชำระหน้ี เช่น การซือ้ เครื่องใช้สำนกั งาน เจ้าของ
กจิ การถอนเงนิ ไปใชส้ ว่ นตัวดงั น้นั ในสมุดรายวันจ่ายเงนิ จึงมีรายละเอียดบัญชีตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั เงนิ
สด

ตว๋ั เงนิ จ่าย

ต๋วั เงินจา่ ย (Note Payable) เปน็ หนงั สอื ตราสารท่กี ิจการให้คำม่นั สญั ญาจะจา่ ยเงนิ ตามตวั๋
พร้อมคอกเบีย้ (ถา้ มี) ให้แกบ่ คุ คลคนหน่ึงในเวลาทก่ี ำหนด จัดเปน็ หนีส้ นิ ประเภทหนึง่ ของกิจการแบ่ง
ออกได้ 2 ประเภทคอื ต๋วั สัญญาใช้เงนิ (Promissory Note) และตัว๋ แลกเงิน (Bill of Exchange)

การบนั ทึกบญั ชเี กี่ยวกบั ตวั๋ เงินจ่าย

ตว๋ั สัญญาใช้เงนิ ท่ีกิจการออก หรือ ตวั๋ แลกเงนิ ที่กิจการรับรอง โดยจะจ่ายเงินเมือ่ ตัว๋ ครบ
กำหนด จะบนั ทึกในบัญชี ตั๋วเงินจา่ ย ซึ่งอาจเนือ่ งจากการซือ้ สนิ คา้ การจา่ ยชำระหนห้ี รือ การกู้เงิน
จากธนาคาร ดังนัน้ การศกึ ษาเก่ียวกบั ต๋ัวเงนิ จ่ายจะแบง่ กรณีศึกษาเป็น 3 กรณี คือ

กรณที ี่ 1 ต๋ัวเงินจา่ ยเพอ่ื การซ้ือสนิ ค้าหรอื การชำระหน้ี

กรณีท่ี 2 การออกต๋ัวสญั ญาใชเ้ งินเพอื่ กู้เงนิ จากธนาคาร

กจิ การอาจกูเ้ งนิ จากธนาคารโดยออกตวั๋ สญั ญาใชเ้ งิน ได้ 2 ชนิดคอื ตั๋วสญั ญาใช้เงนิ
ชนดิ มีดอกเบ้ยี และต๋วั สญั ญาใชเ้ งนิ ชนิดไม่มดี อกเบี้ย โดยการกเู้ งินจากตว๋ั สญั ญาใชเ้ งนิ 2 ชนิด
นแี้ ตกตา่ งกนั ตรงวนั ท่จี ่ายดอกเบ้ยี กลา่ วคือ ถ้าเป็นตว๋ั สัญญาใช้เงินชนิดมดี อกเบีย้ จะจา่ ย
ดอกเบย้ี ในวนั ทต่ี ัว๋ ครบกำหนด ส่วนต๋ัวสัญญาใช้เงินชนิดไมม่ ดี อกเบย้ี นนั้ ธนาคารจะหักสว่ นลด
ไวใ้ นวนั ท่กี เู้ งนิ ซึ่งทางการบัญชีจะบนั ทกึ ส่วนลดนใี้ นบญั ชดี อกเบี้ยจ่าย เช่นเดยี วกบั ดอกเบย้ี
จ่ายจากตวั๋ สัญญาใช้เงนิ ชนดิ มดี อกเบี้ย กลา่ วไดอ้ กี อย่างหนึ่งว่า สว่ นลดทีธ่ นาคารคิดก็คือ
ดอกเบย้ี ทก่ี จิ การจ่ายล่วงหน้าน่นั เอง

กรณที ่ี 3 การรบั รองตั๋วแลกเงนิ เพือ่ ซ้ือสินคา้ จากต่างประเทศ

เน่อื งด้วยการส่ังซ้ือสนิ คา้ จากตา่ งประเทศโดยกจิ การรับรองตั๋วแลกเงนิ ให้ผา่ นธนาคาร
จะมีเร่อื งของสกุลเงินของตา่ งประเทศเข้ามาเก่ียวขอ้ ง และอตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราในแตล่ ะ
วนั จะไม่เทา่ กนั ดังนนั้ วันท่ีรบั รองต๋ัวและวันทก่ี ิจการจ่ายเงินตามตั๋ว อาจจะมผี ลตา่ งในอัตรา
แลกเปลย่ี นเกดิ ขน้ึ ผลตา่ งดังกล่าวอาจจะปรากฏทางด้านเดบิตหรือเครดติ ก็ได้

10
ส่วนของเจ้าของ
แนวคดิ
ส่วนของเจ้าของสำหรบั ธุรกิจแตล่ ะประเภทมีชอ่ื เรยี กแตกตา่ งกันไป และที่มาของสว่ นของ
เจา้ ของกแ็ ตกตา่ งกันไป กล่าวคือ ส่วนของเจา้ ของของกิจการเจ้าของคนเดยี วเรียกวา่ ทุน สว่ นของ
เจา้ ของกจิ การห้างหุ้นสว่ นเรียกว่า ส่วนของผู้เปน็ หุ้นสว่ น และสว่ นของเจ้าของกจิ การบรษิ ัทจำกัด
เรียกว่าสว่ นของผู้ถือห้นุ

สาระการเรยี นรู้
1. ส่วนของเจ้าของในกิจการเจ้าของคนเดียว
2. ส่วนของเจ้าของในกจิ การหา้ งหุ้นส่วน
3. สว่ นของเจา้ ของในกิจการบรษิ ทั จำกดั

ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง
1. บันทกึ บญั ชีเกยี่ วกบั ส่วนของเจ้าของในกจิ การเจ้าของคนเดยี ว ห้างหุน้ ส่วน และบรษิ ัทจำกัด
ได้
2 แสดงส่วนของเจา้ ของในงบดุลของกจิ การเจา้ ของคนเดียว ห้างหนุ้ สว่ นและบริษัทจำกดั ได้

ส่วนของเจา้ ของเป็นแหล่งเงินทนุ ทส่ี ำคญั ท่สี ุดของกิจการ แบง่ ตามประเภทของกิจการได้3
ประเภท คอื ส่วนของเจ้าของในกิจการเจ้าของคนเดียว ส่วนของเจ้าของในกิจการห้างห้นุ ส่วนและ
สว่ นของเจ้าของในกจิ การบรษิ ัทจำกัด

สว่ นของเจ้าของในกิจการเจ้าของคนเดียว

เนอื่ งจากมีเจ้าของกจิ การเพยี งคนเดียว สว่ นของเจ้าของจะประกอบด้วย ทนุ ของเจา้ ของเงนิ
ถอนและสว่ นแบ่งกำไรขาดทุนประจำงวด

ส่วนของเจา้ ของในกิจการหา้ งหนุ้ สว่ น

กจิ การห้างห้นุ ส่วนมีเจ้าของตง้ั แต่ 2 คนข้ึนไป รว่ มกนั จดั ตงั้ ห้างหุ้นส่วนซ่งึ หุ้นส่วนแตล่ ะคน
อาจนำสินทรัพยอ์ ื่นทีไ่ มใ่ ช่เงนิ สดมาลงทุนก็ได้ โดยสินทรพั ย์อ่ืนเหลา่ นี้ให้ตีราคาตามราคาตลาด (Fair
Market Value) บัญชีทีเ่ กยี่ วข้องกบั ส่วนของเจ้าของจะมชี อื่ ของหุน้ สว่ นแตล่ ะคนกำกบั นอกจากนก้ี าร
บันทกึ บัญชีเกีย่ วกับสว่ นของเจา้ ของยงั แบ่งออกได้เป็น 2 กรณี คือวิธีทุนเปลี่ยนแปลงและวิธที ุนคงท่ี
โดยจะมบี ัญชกี ระแสทุนไวเ้ พอื่ บนั ทกึ การเปล่ียนแปลงของทนุ และส่วนแบง่ กำไรขาดทนุ

สว่ นของเจ้าของในกจิ การบริษทั จำกัด

กจิ การบรษิ ัทจำกดั เป็นนติ ิบคุ คลตามกฎหมาย เจา้ ของกิจการ คอื บรรดาผถู้ ือหุ้น โดยปกตกิ าร
นำหุ้นออกจำหน่าย อาจเกดิ ส่วนเกินหรอื สว่ นต่ำกว่ามลู ค่าหุ้นกไ็ ด้ แตต่ ามกฎหมายไทยกำหนดให้
จำหนา่ ยสงู กว่าหรอื เท่ากับมลู ค่าหุ้นเทา่ นน้ั จะจำหนา่ ยต่ำกวา่ มูลค่าหุ้นไมไ่ ด้ ผลการดำเนนิ งานกำไร
สุทธิ จะต้องนำมาจัดสรรเปน็ สำรองตามกฎหมาย เงินปันผลให้ผูถ้ ือหุ้น สำรองอืน่ ๆ ตามมติทปี่ ระชุมผู้
ถอื หุน้ เชน่ สำรองเพือ่ ไถ่ถอนห้นุ กู้ สำรองเพ่ือขยายกจิ การ เป็นต้น

11
การบัญชีของกจิ การอตุ สาหกรรม
แนวคดิ
กจิ การอตุ สาหกรรม เปน็ กิจการท่มี คี วามแตกตา่ งจากกจิ การซอ้ื ขายสินค้าและกิจการ
ใหบ้ รกิ าร ทั้งน้เี พราะกิจการอตุ สาหกรรมจะทำการผลิตสินคา้ ขึ้นเองโดยเริ่มต้นขบวนการผลิตจากการ
ซื้อวัตถดุ บิ มาทำการผลติ มีคา่ แรงงานและค่าใช้จ่ายในการผลติ เกิดข้ึน ส่วนทแ่ี ตกต่างจากกิจการซือ้
ขายสนิ ค้าท่ีเห็นอย่างชดั เจนคือตน้ ทุนสินคา้ สำเร็จรูป

สาระการเรียนรู้
1. ตน้ ทุนผลติ
2. งบทดลอง
3. รายการปรบั ปรุง
4. กระดาษทำการ
5. รายการปดิ บัญชี
6. งบการเงนิ
7. คำศพั ทบ์ ัญชี

ผลการเรยี นรู้ทตี่ าดหวงั
1. อธิบายส่วนประกอบของตน้ ทนุ ผลิตได้
2. ทำงบทดลองได้
3. บนั ทึกรายการปรับปรุงและปดิ บัญชไี ด้
4. ทำกระดาษทำการได้

5. ทำงบตน้ ทนุ ผลติ ได้
6. ทำงบกำไรขาดทนุ ได้
7. ทำงบกำไรสะสมได้
8. ทำงบดลุ ได้
9. แปลความหมายศพั ทบ์ ัญชไี ด้

ตน้ ทนุ ผลิต (Manufacturing Cost)

ต้นทุนผลิต หมายถึงต้นทนุ ในการผลิตสินค้าของกจิ การอุตสาหกรรม ประกอบด้วย วัตถดุ ิบ
ทางตรง ค่าแรงทางตรงและคา่ ใชจ้ ่ายในการผลิต

วัตถดุ ิบ(Raw Material)

วตั ถดุ บิ (Raw Material) หมายถึง วตั ถหุ รือสว่ นประกอบทีใ่ ช้ในผลติ สินค้าของกิจการ
อตุ สาหกรรม วตั ถุดิบแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื

1. วัตถดุ ิบทางตรง (Direct Material) หมายถึง วตั ถดุ บิ ทีเ่ ป็นส่วนประกอบทส่ี ำคญั ของสินคา้ ท่ี
ผลติ ขึ้น เชน่

ปลา เปน็ วตั ถดุ บิ ทางตรงในการผลติ ปลากระปอ๋ ง

ผ้า เป็นวัตถดุ บิ ทางตรงในการผลติ เสอื้ ผา้ สำเร็จรูป

หนงั เปน็ วัตถดุ บิ ทางตรงในการผลติ รองเท้า

ไม้ เปน็ วัตถดุ ิบทางตรงในการผลติ เฟอรน์ เิ จอร์

2. วัตถุดบิ ทางออ้ ม (Indirect Material) หมายถงึ วตั ถดุ ิบทใ่ี ชเ้ ป็นสว่ นประกอบหรอื ส่วนผสมใน
การผลติ สินค้า เชน่

ซอสมะเขอื เทศเป็นวตั ถุดบิ ทางออ้ มในการผลติ ปลากระป๋อง

ด้าย เป็นวตั ถดุ บิ ทางออ้ มในการผลติ เส้ือผา้ สำเร็จรปู

กาว เปน็ วัตถดุ ิบทางอ้อมในการผลิตรองเทา้

ตะปู เป็นวตั ถุดบิ ทางออ้ มในการผลติ เฟอรน์ ิเจอร์

การบนั ทกึ บญั ชเี กี่ยวกบั วตั ถุดิบทางตรง

การบันทกึ บัญชีเก่ยี วกบั วัตถุดบิ ทางตรงนน้ั มี 2 ระบบ เชน่ เดยี วกับการบนั ทกึ บญั ชเี ก่ยี วกบั
สินค้าของกิจการซอื้ มาขายไป คอื

1. การบันทึกวตั ถุดบิ ระบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory Method)

2. การบันทึกวตั ถดุ ิบเม่ือวันสน้ิ งวด (Periodic Inventory Method)


Click to View FlipBook Version