The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siriyakorn8287, 2021-04-27 04:00:56

คำนำ2

คำนำ2

การคำนวณวัตถดุ ิบใชไ้ ปในการผลติ
ในกรณที กี่ ิจการใช้วิธบี ันทึกวัตถุดิบระบบต่อเนอื่ ง เมื่อมีการเบิกวัตถดุ ิบไปใชใ้ นการผลติ
กิจการจะคำนวณตน้ ทนุ และบนั ทกึ บัญชีทนั ที ดงั นัน้ กิจการจะทราบยอดวัตถุดบิ ใชไ้ ปตลอดเวลาแตใ่ น
กรณที ี่กิจการใชว้ ิธีบนั ทึกวัตถุดิบเม่อื วันสิ้นงวด เมื่อมีการเบิกวตั ถดุ ิบไปใช้ในการผลติ กิจการจะไมม่ ี
การคำนวณต้นทุนและบันทึกบัญชที ันที ดังนั้นเม่ือต้องการทราบยอดวตั ถดุ ิบใชไ้ ปในการผลิตกจิ การ
จะตอ้ งทำการตรวจนับและดรี าคาวัตถุดิบคงเหลือ ณ วนั สนิ้ งวดบญั ชีและคำนวณดงั นี้

วตั ถดุ ิบทางตรงใช้ไป = วัตถุดบิ ตน้ งวด + ซอื้ สทุ ธิ – วตั ถุดิบปลายงวด

ซอ้ื สทุ ธิ = ซือ้ + คา่ ขนส่งเขา้ สง่ คนื และส่วนลด - สว่ นลดรบั

คา่ แรงงาน (Labour)
คา่ แรงงาน (Labour) หมายถงึ คา่ ตอบแทนที่กิจการจา่ ยใหก้ บั พนกั งานหรอื คนงาน คา่ แรงแบ่ง

ออกเปน็ 2 ประเภทคือ
1. คา่ แรงทางตรง (Direct Labour) หมายถึง ค่าแรงทกี่ จิ การจา่ ยใหก้ ับคนงานที่ทำการผลติ
สินคา้ โดยตรง เชน่ ค่าแรงที่จา่ ยให้กบั คนงานทที่ ำหน้าท่เี ยบ็ เสือ้ ผา้ ในกจิ การอุตสาหกรรมผลติ
เสอ้ื ผา้ สำเร็จรูปค่าแรงท่ีจา่ ยใหก้ ับคนงานที่ทำหนา้ ที่ประกอบเฟอร์นิเจอรใ์ นกิจการ
อตุ สาหกรรมผลิตเฟอร์นิเจอร์
2. ค่าแรงทางออ้ ม (Indirect Labour) หมายถงึ คา่ แรงทจ่ี ่ายให้กับพนักงานหรอื คนงานทที่ ำ
หนา้ ท่ีอ่นื ๆ ซงึ่ มีส่วนชว่ ยสนบั สนนุ ในการผลติ เชน่ ค่าแรงที่จ่ายให้กบั คนคุมเคร่ืองจกั ร
ผู้จัดการโรงงาน ยามรักษาการณ์ เป็นตน้

การบันทกึ เวลาทำงาน
การรวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกับเวลาในการทำงานของคนงาน กิจการสว่ นใหญ่นยิ มใช้ บัตรลงเวลา

(Clock Card) ซึง่ เป็นบัตรท่ีใช้บันทึกเวลาการทำงานของคนงานหรอื พนักงาน, ปัจจุบนั นี้นิยมใช้
นาฬิกาบันทึกเวลา ซ่ึงจะต้องบนั ทึกเวลาทกุ ครงั้ ท่เี ขา้ ทำงานและออกจากท่ที ำงาน

การทำทะเบยี นคา่ แรง
ทะเบยี นคา่ แรง เป็นสมุดที่ใชบ้ นั ทึกรายละเอยี ดเกี่ยวกบั คา่ แรงและเงนิ เดอื นทตี่ ้องจ่ายให้กบั

คนงานและพนกั งานของกิจการ โดยมรี ายละเอยี ดเกี่ยวกบั เงนิ ไดป้ กติ ค่าทำงานลว่ งเวลา(Over
Time=OT) หกั ด้วยรายการต่างๆ เซน่ ภาษีหกั ณ ที่จ่าย เงนิ ประกันสงั คม เงนิ เบกิ ล่วงหน้าเป็นตน้
ค่าใช้จา่ ยในการผลติ (Manufacturing Expenses)

คา่ ใชจ้ ่ายการผลิต หมายถึง ค่าใชจ้ ่ายอืน่ ๆ ที่ถือเป็นตน้ ทุนของสินคา้ ท่ีผลติ นอกเหนอื จากวัตถุ
ทางตรง และค่าแรงทางตรง เชน่ คา่ ไฟฟ้าโรงงาน ค่าเช้อื เพลิง คา่ เชา่ โรงงาน ค่าเบ้ยี ประกันอัคคภี ยั
โรงงาน คา่ ซอ่ มแซมและบำรุงรักษาเคร่ืองมือและเคร่ืองจักร ค่าเส่ือมราคา-เคร่ืองจักร เปน็ ต้น
การบันทกึ บญั ชีเกยี่ วกบั คา่ ใช้จ่ายการผลิต

การบนั ทกึ บญั ชีเกย่ี วกับค่าใช้จา่ ยในการผลติ จะบนั ทึกเหมือนกับการจา่ ยค่าใชจ้ ่ายอ่นื ๆเชน่
ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร
การคำนวณตน้ ทนุ ผลิต

ตน้ ทุนผลิต = วัตถุดิบทางตรงใช้ไป + คา่ แรงทางตรง + คา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ

วตั ถุดิบทางตรงใชไ้ ป = วตั ถุดบิ ตน้ งวด + ซือ้ สทุ ธิ - วตั ถุดบิ ปลายงวด

สนิ ค้าระหว่างผลิต (Work/Goods in Process)
สินคา้ ระหวา่ งผลิตหมายถึงสินคา้ ทอี่ ยใู่ นระหวา่ งกระบวนการผลติ ณ วันส้ินงวดบญั ชเี รียกวา่

สินค้าระหวา่ งผลิตปลายงวด สนิ ค้าระหวา่ งผลิตดงั กล่าวจะยกไปผลิตในงวดบัญชีถดั ไปดงั น้นั ในการ
คำนวณตน้ ทุนสินคา้ สำเร็จรูปจะต้องมีสนิ คา้ อย่างไรก็ตามอาจมกี ิจการอตุ สาหกรรมบางแหง่ ทีไ่ ม่มี
สนิ ค้าระหว่างผลติ ในกรณีนต้ี ้นทุนสนิ ค้าสำเร็จรปู กค็ อื ตน้ ทุนผลติ นนั่ เอง ถา้ กจิ การไม่มสี ินค้าระหว่าง
ผลติ ตน้ งวดและปลายงวด ตน้ ทนุ สินคา้ สำเรจ็ รูปกค็ ือตน้ ทนุ ผลติ คอื 38,900 บาทเรยี กวา่ สนิ ค้า

ระหว่างผลิตตน้ งวดระหวา่ งผลติ เขา้ ไปเก่ียวข้องดว้ ยนั่นเอง แต่ถา้ มสี ินคา้ ระหว่างผลติ การคำนวณ
ตน้ ทุนสินค้าสำเร็จรูปจะเปน็ ดงั นี้

ตน้ ทนุ สินค้าสำเร็จรปู = สนิ ค้าระหวา่ งผลิตต้นงวด + ตน้ ทุนผลติ – สนิ คา้ ระหว่างผลิตปลายงวด

งบทดลอง (Trial Balance)
งบทดลอง คอื งบทท่ี ำขึน้ เพอ่ื พิสจู น์ความถกู ตอ้ งของการบนั ทกึ บญั ชี รายการที่ปรากฏในงบ

ทดลองประกอบด้วยบัญชีทุกหมวดคอื หมวด1-หมวด5 และยอดรวมของบัญชที ่ีมียอดคงเหลอื ดา้ นเด
บติ ตอ้ งเท่ากบั ยอดรวมของบัญชที ่ีมยี อดคงเหลือด้านเครดติ
รายการปรับปรงุ (Adjustment)

การปันส่วนค่าใช้จา่ ยโรงงานและสำนกั งานการจ่ายคา่ ใช้จา่ ยในกจิ การอตุ สาหกรรม กิจการ
ควรจะแยกรายการทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การผลติ หรือในโรงงานและในสำนักงานออกจากกัน เพอื่ ความ
สะดวกในการคำนวณต้นทุนผลิต แตใ่ นทางปฏิบตั ิกิจการไมส่ ามารถจะแยกรายการไดท้ กุ รายการ
เพราะมคี า่ ใชจ้ ่ายบางอย่างที่เกิดขึน้ รว่ มกันเชน่ คา่ สาธารณูปโภค ค่าเบ้ียประกันอคั คีภยั นอกจากนยี้ ัง
มีคา่ ใชจ้ ่ายท่ีมไิ ดม้ กี ารจ่ายเงนิ แต่กิจการจะตัดเป็นค่าใชจ้ า่ ยและเป็นค่าใชจ้ า่ ยรว่ มกันเชน่ ค่าเส่อื ม
ราคา-อาคาร ค่าใช้จ่ายที่เกดิ ขนึ้ รว่ มกนั นกี้ จิ การจะตอ้ งทำการจดั สรรตามสัดส่วนท่เี หมาะสมในวนั สิ้น
งวดบัญชี เพื่อให้งบการเงินทีก่ จิ การจัดทำขน้ึ ถกู ต้องตรงกับความเปน็ จรงิ

วสั ดุโรงงานใชไ้ ป (Supplies Expense)
วัสดุโรงงานใชไ้ ป คอื วัสดุส้ินเปลอื งทีใ่ ช้ในการผลติ สินคา้ หรอื ใชใ้ นโรงงาน เม่อื ซอ้ื วัสดุโรงงาน

กจิ การสว่ นใหญ่จะบนั ทึกรายการไวใ้ นบัญชวี ัสดุโรงงาน ดังน้ันเมอื่ ถึงวันส้ินงวดบญั ชีกจิ การจะต้องทำ
การตรวจนับยอดคงเหลือเพ่ือคำนวณวัสดโุ รงงานใช้ไปและบนั ทึกรายการดังนี้

วสั ดโุ รงงานใชไ้ ป = วัสดุโรงงานด้นงวด + ซ้ือระหวา่ งปี - วสั ดโุ รงงานปลายงวด

เดบิด วสั ดุโรงงานใชไ้ ป XX
เครดิต วัสดโุ รงงาน XX

กระดาษทำการ (Work Sheet /Working Paper)

กระดาษทำการของกจิ การอุตสาหกรรม จะคล้ายๆ กับกิจการซอ้ื มาขายไป แต่จะมีจำนวน
ชอ่ งมากกวา่ และจำนวนบัญชมี ากกว่าเพราะส่วนให้กจิ การอตุ สาหกรรมมักจะมีขนาดใหญ่ จดุ ประสงค์
ของการจัดทำกระดาษข้ึนก็เหมอื นกับธรุ กิจอ่ืนๆ คอื จะช่วยใหก้ ารจัดทำงบการเงนิ ของกจิ การงา่ ยและ
สะดวกขน้ึ

รปู แบบของกระดาษทำการของกจิ การอุตสาหกรรมมหี ลายรูปแบบขึ้นอย่กู ับรูปแบบของธรุ กิจ
เชน่ กจิ การเจา้ ของคนเดียว ห้างห้นุ ส่วนหรอื บริษัทจำกดั และวัตถุประสงคใ์ นการจัดทำ เชน่

1. กระดาษทำการ 10 ช่อง ประกอบดว้ ย งบทดลอง รายการปรับปรุง งบตน้ ทนุ ผลติ งบกำไร
ขาดทุน และงบดุล

2. กระดาษทำการ 12 ช่อง ประกอบด้วย งบทดลอง รายการปรบั ปรุง งบทดลองหลงั
รายการปรับปรุง งบต้นทุนผลิต งบกำไรขาดทุน และงบดลุ หรอื ประกอบด้วย งบทดลอง
รายการปรบั ปรุง งบต้นทนุ ผลิต งบกำไรขาดทุน งบกำไรสะสม และงบดุล

3. กระดาษทำการ 14 ช่อง ประกอบด้วย งบทดลอง รายการปรบั ปรุง งบทดสองหลัง
รายการปรับปรงุ งบต้นทุนผลติ งบกำไรขาดทนุ งบกำไรสะสม และงบดุล

งบการเงนิ (Financial Statement)

งบการเงินของกจิ การอุตสาหกรรม จะมีลกั ษณะคลา้ ยกับกจิ การซอ้ื มาขายไป เพยี งแต่กิจการ
อุตสาหกรรมจะมงี บตน้ ทุนผลิตเพ่ิมอกี 1 งบเทา่ นนั้ ดังนัน้ งบการเงนิ ทก่ี ิจการอุตสาหกรรมจะต้อง
จัดทำขนึ้ ประกอบดว้ ย

1. งบตน้ ทนุ ผลิต

2. งบกำไรขาดทนุ

3. งบกำไรสะสม (เฉพาะกิจการในรูปของบริษทั จำกดั )

4. งบดุล
ตน้ ทุนผลิต (Cost of Goods Manufactured Statement)

งบตน้ ทนุ ผลิต เป็นงบทแ่ี สดงรายละเอียดเกีย่ วกับต้นทนุ ในการผลิตสนิ คา้ งบต้นทนุ ผลิตเป็น
งบแรกทีก่ ิจการจะต้องจัดทำขึ้นถือเป็นงบย่อยประกอบงบกำไรขาดทุน

งบกำไรขาดทนุ (Profit and Loss Statement)
งบกำไรขาดทนุ เปน็ งบที่แสดงฐานะการเงินของกิจการการซอ้ื มาขายไป จะต่างกันก็ตรง

ต้นทนุ ขาย ซ่งึ จะคำนวณได้จาก สินค้าสำเร็จรปู ต้นงวด+ต้นทุนสนิ คา้ สำเรจ็ รูป (มาจากงบต้นทนุ ผลิต)
– สนิ คา้ สำเร็จรปู ปลายงวด

งบกำไรสะสม (Retained Earnings Statement)
งบกำไรสะสม เปน็ งบท่ีแสดงรายละเอยี ดเกี่ยวกบั กำไรขาดทนุ ของกิจการในรปู แบบของบรษิ ทั

จำกดั

งบดลุ (Balance Sheet)
งบดลุ เป็นงบท่ีแสดงฐานะทางการเงนิ ของกิจการ ณ วนั ใดวันหน่งึ งบดลุ ของกิจการ

อุตสาหกรรม จะคล้ายกบั กจิ การซอื้ มาขายไป ส่วนท่แี ตกต่างกันคอื สินค้าคงเหลือปลายงวดของ
กิจการอุตสาหกรรม จะประกอบดว้ ย สินคา้ สำเรจ็ รูป สนิ ค้าระหว่างผลิต วตั ถดุ บิ และวัสดโุ รงงาน

บรรณานกุ รม

ภาษาไทย

กรมทะเบียนการคา้ , รวมกฎหมายกรมทะเบยี นการค้า, พมิ พ์คร้ังที่ 5 กรุงเทพฯ :สหมิตรพริน้ ติ้ง
,2545.

กรมทะเบยี นการค้า, คำช้ีแจงกรมทะเบียนการคา้ เรอื่ งกำหนดรายการย่อทีต่ ้องมใี นงบการเงนิ
กรุงเทพฯ : 2544.

เกษรี ณรงค์เดช. รายงานการเงนิ . กรุงเทพฯ : อมรินทร์พรินติง, ม.ป.ป.

เชาวลีย์ พงศ์ผาติโรจน,์ หลักการบัญชีขั้นต้น. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. 2531.

ธารี หิรญั รศั มีและคณะ, การบญั ชเี บอื้ งตน้ , พมิ พ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั , 2535.

พยอม สงิ่ ห์เสนห่ แ์ ละนรี นุช เมฆวิชัย, การบัญชกี ารเงิน. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพมิ พ์ 2540.

วรศกั ดิ์ ทุมมานนท,์ งบกระแสเงนิ สด งบการเงินรวม, พมิ พ์ครั้งท่ี 3 กรุงเทพฯ : ไอโอนิค พีอาร์ แอนด์
พับลิซซ่ิง, 2544

สมาคมนักบญั ชแี ละผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตแหง่ ประเทศไทย. มาตรฐานการบัญชีรวมเลม่

กรุงเทพฯ : พี. เอลีพวิ่ง, 2539.

มาตรฐานงบการเงนิ . พิมพ์คร้งั ท่ี 4, กรงุ เทพฯ : พี. เอลีพวงิ่ , 2530.

ศพั ท์บัญชี. พิมพค์ ร้ังท่ี 5, กรงุ เทพฯ : พ.ี เอลีพวิง่ , 2538.

ภาษาอังกฤษ

James A. Gentry. Finney and Miller’s Principles of Accounting Introductory. (8Ed.),
Japan :Charles E. Tuttle Company, Nd.

Horngren, Charles T., Gary L. Sundem and Hn A. Elliott. Introduction to
FinancialAccount. (7”. Ed.), New Jersey : Prentice Hall Inc., Nd.




Click to View FlipBook Version