The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบรายงานด้านที่ ๓ (ส่วนที่ 1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nureesan.kabang, 2021-08-24 01:12:27

แบบรายงานด้านที่ ๓ (ส่วนที่ 1)

แบบรายงานด้านที่ ๓ (ส่วนที่ 1)

Keywords: แบบรายงานด้านที่ ๓ (ส่วนที่ 1)

1
ก.ค.ศ. 3 (จชต.)
แบบรายงานด้านท่ี 3
ด้านผลงานท่ีเกดิ จาการปฏบิ ัตหิ น้าที่ในสายงานบริหารสถานศกึ ษา
ส่วนท่ี 1 ขอ้ จากัดตามสภาพความยากลาบากในการปฏิบตั ิงาน
ของข้าราชการครูแลบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ขอมหี รือเลอ่ื นเป็นวทิ ยฐานะผอู้ านวยการชานาญการพเิ ศษ

นายสมศักด์ิ นิจนารถ
ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา วิทยฐานะ ผู้อานวยการชานาญการ
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบงั

สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาจังหวัดยะลา
สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



แบบรายงานดา้ นท่ี 3
ด้านผลงานท่เี กดิ จาการปฏบิ ตั ิหน้าที่ในสายงานบรหิ ารสถานศึกษา
สว่ นท่ี 1 ข้อจากัดตามสภาพความยากลาบากในการปฏบิ ัตงิ าน

การบรหิ ารสถานศกึ ษา เปน็ บทบาทหน้าที่สาคญั ย่ิงของผู้บริหารสถานศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ ตาม
วสิ ยั ทัศน์ ของสถานศึกษา เป็นผู้กาหนดนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของสถานศึกษา ควบคุม กากับ
ดูแลภายใต้กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ การดาเนินงานอย่างเป็นระบบ เพื่อขับเคลื่อนสถานศึกษา ให้
สามารถดาเนินการจัดการศึกษาให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและผู้รับริการ
และบคุ ลากรผู้ปฏบิ ัตงิ านในสถานศึกษา

ผู้ขอรับการประเมินได้ปฏิบัติงานในพ้ืนที่มีข้อจากัดตามสภาพความยากลาบากในการปฏิบัติงานซึ่ง
เสยี งภัยตอ่ ต่อชีวติ และทรัพยส์ นิ ซึ่งสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดมายาวนานต้ังแต่ปี
พ.ศ.2547 ตลอดถึงปัจจุบันใน ปี พ.ศ. 25๖๒ เป็นเวลา ๑๕ ปี ของการเกิดจากเหตุการณ์ หน่ายงาน
ภาครัฐและเอกชนตลอดจนภาคเครือข่ายประชาชน หน่วยงานต่างเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขปัญหา แต่ก็
ประสบผลสาเรจ็ ในระดับหนง่ึ เทา่ นน้ั สาเหตุ มากมาย ได้แก่ ความความวาดระแวงตอบุคลากรของรัฐ ความ
เชื่อของการทางานระหวา่ งหน่วยงานราชการกับประชาชน แนวคิดคาสอนของศาสนา ปัญหายาเสพติด การ
มีความเห็นต่าง การแบ่งแยกยกดินแดน การได้รับโอกาสการศึกษาไม่เท่าเทียมกัน การประกอบอาชีพค่อย
ข้างขาดความมั่นคง ในการสร้างรายได้ ส่งผลให้มีประชาชนทั่วไป ตารวจ ทหาร ตลอดจนข้าราชการครู
เสียชีวิตจานวนมาก และปัญหาความรุนแรงยังเกิดขึ้นรายวัน ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานการจัด
การศึกษาและการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเปน็ ไปด้วยความยากลาบาก

พื้นที่ในการปฏิบัติงานของผู้ขอรับการประเมิน ศูนย์การศึกษานอกระบบและศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอกาบัง อยหู่ า่ งจาก สานกั งาน กศน.จงั หวัดยะลา ระยะทางโดยรวมประมาณ ๔๐ กิโลเมตร แบ่งเขตการ
ปกครอง เป็น 2 ตาบล 19 หมู่บ้าน การเดินทางไปปฏิบัติงานต้องใช้เส้นทางรถยนต์จากยะลา ผ่านพื้นท่ี
อาเภอยะหา จนถึงอาเภอกาบัง และการเดินทางต้องใช้รถส่วนตัวเท่านั้น หรือรถยนต์ของทางราชการ
เนือ่ งจากเปน็ เสน้ ทางเฉพาะ ไมม่ ีรถโดยสารรับจ้าง ตลอดเส้นทางการเดินทางบอกไม่ได้ว่าเหตุการณ์ความไม่
สงบจะเกิดขึน้ ตรงไหนบ้าง บางครั้งนงั่ รถผ่านสถานท่ที ่เี กดิ เหตุ ก็ขอภาวนาอยา่ เกิดขึ้นกบั ตวั เอง เพ่ือนร่วมงาน
และเพอ่ื นข้าราชการครทู กุ คนทกุ สงั กัด

ผู้ขอรับการประเมิน ได้ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีอย่างเต็มสมรรถนะและความสามารถ เพ่ือให้
กลุ่มเป้าหมายประชาชนต่อผู้เรียนและบริการ ภายใต้บทบาทหน้าที่ตามกลุ่มงานของสถานศึกษา เกิด
ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล

1. งานบรหิ ารสถานศึกษา
งานบริหารสถานศึกษาของผู้รับการประเมิน ผู้ขอรับการประเมินเริ่มเข้าสู่ตาแหน่งผู้อานวยการ
สถานศึกษาคร้ังแรกเม่ือเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 ณ สถานศึกษาแรก คือศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภออาเภอละอนุ่ จงั หวัดระนอง มีลักษณะภูมิประเทศ เป็นภูเขาสูงชันสลับซับซ้อน
ลักษณะของพื้นทม่ี ีความเสี่ยงคอ่ นขา้ งมากในการใช้สั้นทางที่คดโค้ง ถนนลื่น การเดินทางเป็นไปปฏิบัติงานท่ี
กศน. อาเภอละอนุ่ ด้วยความระมัดระวงั เนอื่ งจากฝนตกเกอื บตลอดทงั้ ปี



ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ได้ย้ายมาการปฏิบัติงาน ณ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย อาเภอ ควนโดน จังหวัดสตูล การย้ายมาครั้งนั้นย้ายมาด้วยความสมัครใจ การบริหารจัดการ
สถานศึกษาขณะนน้ั ไดน้ าประสบการณ์ต่างๆที่ได้รับมาเป็นกรอบและแนวปฏิบัติการปฏิบัติงาน พัฒนางาน
กิจกรรม โครงการอย่างประสบผลสาเร็จ จนได้รับรางวัลแห่งความภูมิใจของบริหารและบุคลากรของ
สถานศึกษา คะแนน N – NET สูงกว่าระดับประเทศในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น / มัธยมศึกษาตอนปลาย
โครงการไทยนิยม ไดร้ ับรางวัลต้นแบระดับประเทศ ที่เป็นเช่นนี้อาจมาจาก ชุมชนให้ความสาคัญต่อกิจกกรม
กศน. บุคลากรมีความรู้ความสามารถ ผู้บริหารในระดับจังหวัดใส่ใจ ดูแล ทาให้การปฏิบัติงาน กศน. อาเภอ
ควนโดน เปน็ สมั พันธภาพที่ดี

ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ได้มีคาสั่งท่ี ๖๐๑ / ๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๒ จากสานักงาน
กศน. ใหย้ า้ ยมาปฏิบตั ิงาน ณ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง จังหวัดยะลา
จากผลกระทบของคณุ สมบตั ขิ องการผบู้ รหิ ารหรอื เรียกสั้นๆๆว่า ว. 10 ก่อนหน้านี้ มีเหตุการณ์ความไม่สงบ
ประกอบดว้ ยเหตกุ ารณ์ระเบิดและมีเหตุยิงหลายคร้ัง มีผู้เสียชีวิต ในพื้นที่ท้ังตาบลบาละและตาบลกาบังหรือ
รอยต่อของระหว่างตาบลบาละกบั ตาบลปะแต อาเภอยะหา และเป็นเหตุการณ์ท่ีนักศึกษา กศน. อาเภอกาบัง
โดยยิงเสียชีวิต ผูข้ อรบั การประเมินหลังทราบข่าวกเ็ ดนิ ทางเขา้ พื้นทท่ี ันที เพือ่ ไปชว่ ยเหลือดูแล ตามกาลังท่ีมี
อยู่ มอบหมายให้ครเู ข้าไปพดู คยุ กับครอบครัวที่เสียชีวิตเพื่อให้กาลังใจ สภาพพ้ืนท่ีตรงน้ีผู้ขอรับการประเมิน
ทราบดีอยู่แล้วจากข้อมูลหลายๆด้าน ว่ามีเหตุการณ์ตลอด แต่ด้วยความตระหนัก ความรับผิดชอบ ความ
เสียสละ เปน็ พลงั และกาลังใจของครอบครัวก็มไิ ดหวน่ั ไหวต่ออปุ สรรควนั ข้างหนา้

ผู้ขอรับการประเมิน ปฏิบัติงานในสถานศึกษาแรก เข้าสู่ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา คร้ังแรก
ณ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอละอุ่น จังหวัดระนอง จนถึงปัจจุบัน เป็น
ระยะเวลา ๓ ปี ๔ เดือน และย้ายมาปฏบิ ัตงิ านศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ
กาบงั จังหวดั ยะลา เป็นเวลา ๑ ปี ๑ เดือน รวมระยะเวลา ในการรับราชการ ต้ังแต่เร่ิมบรรจุเข้ารับราชการ
เมอ่ื วันที่ ๓ เดือน มีนาคม พ.ศ ๒๕๕๑ เป็นระยะเวลาท้ังสิ้นจนถึงปัจจุบัน ๑๒ ปี ๑ เดือน ทาหน้าท่ีสาย
สอน ๗ ปี ๘ เดือน

ผู้ขอรับการประเมินได้ปฏิบัติหน้าท่ีผู้อานวยการ การทักษะ ประสบการณ์ ความรู้
ความสามารถมาพัฒนาการงาน ดงั น้ีโดยใช้การวางแผนการดาเนินการ การตรวจสอบ และการปรับปรุงแก้ไข
รวมไปถงึ การมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา ภายใตก้ ารบริหารงานสถานศึกษา ดงั น้ี

หลักการและแนวคิด
๑. สถานศึกษาจัดทาหลกั สตู รสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามกรอบหลักสูตรการศึกษานอกระบบ

ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐานและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง
โดยมีครู ผบู้ ริหาร และชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการดาเนนิ งาน

๒. สถานศึกษาจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยถือว่าผ้เู รยี นมีความสาคญั สงู สดุ
๓. ส่งเสริมให้ชมุ ชนและสงั คมมีสว่ นร่วมในการกาหนดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ รวมทั้ง
เปน็ เครอื ขา่ ยและแหล่งเรยี นรู้
๔. มุ่งจดั การศึกษาให้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน โดยจัดให้มีดัชนีชี้วัดคุณภาพการจัดหลักสูตร
และกระบวนการเรยี นรแู้ ละสามารถตรวจสอบคณุ ภาพการจดั การศึกษาได้ทกุ ระดบั



๕. มุ่งสง่ เสรมิ ให้มกี ารร่วมมอื เปน็ เครอื ขา่ ย เพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดและ
พฒั นาการศึกษา

1.1 งานบรหิ ารวชิ าการ
งานบริหารวิชาการ โดยผู้ขอรับการประเมินได้มีการศึกษากฎระเบียบ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับงาน
วิชาการ เพ่ือนามาเป็นแนวทาง วิธีการและรูปแบบในการบริหารวิชาการของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง ในทุกสถานศึกษาท่ีผู้ขอรับการประเมินได้ดารงตาแหน่งเป็นผู้บริหาร
สถานศึกษา และได้บริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ดงั น้ี
1.1.1 ขอบข่ายภารกจิ การบริหารงานวิชาการ

1. การพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา
2. การจดั กระบวนการเรยี นรู้
3. การวดั ผล ประเมินผล และการเทยี บโอนผลการเรียน
4. การประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
5. การพฒั นาและใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา
6. การพฒั นาและส่งเสริมใหม้ ีแหล่งเรียนรู้
7. การนิเทศตดิ ตามผล
1) การดาเนินงานของสถานศกึ ษา
การพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ผู้ขอรับการประเมิน ใช้หลักการมีส่วนร่วม ของผู้บริหาร ครู
ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศกึ ษา จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสามารถตอบสนองต่อความต้องการ
ของผเู้ รยี นอย่างเหมาะสมกับชุมชนและท้องถ่ิน การดาเนินงานของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา น้ัน ผู้
ขอรบั การประเมิน ไดคานึงถึงกรอบในการพัฒนา เช่น จดุ มงุ่ หมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้าง
เวลาเรียน การจดั กระบวนการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชา แลการวัดผล ประเมินผล ผ่านความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษา และพร้อมนาหลักสตู รไปใช้ มกี ารนเิ ทศ ติดตาม วตั ถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงให้
มีความเหมาะสมต่อไป
กระบวนการทใ่ี ช้ในการดาเนนิ งาน รูปแบบ PDCA ดงั ต่อไปนี้
๑.สถานศึกษาโดยกลมุ่ งานพนื้ ฐานเป็นเจ้าภาพร่วมคณะกรรมการสถานศึกษาศึกษาสภาพปัญหาจาก
แหล่งขอ้ มลู ท่ีเป็นเอกสาร ขอ้ มลู รายบคุ คล เพ่อื ตอบสนองความต้องการ
๒.การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา เอกสารประกอบได้ดาเนินการวิเคราะห์ผ่านผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญ เป็น
วทิ ยากรให้ความรู้ พร้อมเป็นท่ปี รกึ ษา และไดข้ อความอนุเคราะหเ์ อกสารท่ีเกีย่ วขอ้ งในการจดั ทาทุกข้ันตอน
๓.กศน. อาเภอกาบัง ได้จัดทาคาสงั่ ในการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
๔.กศน. อาเภอกาบังร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาโดยผู้อานวยการประกาศใช้หลักสูตร
สถานศกึ ษา
๕.การประกาศใช้หลักสตู รสถานศึกษา ได้แสดงระเบียบ การวัดผล ประเมินผล ท่ีบ่งบอกถึงความ
สอดคลอ้ งกับ มาตรบานการศกึ ษาชาติ มาตรฐานของกระทรวง ตัวบ่งช้ีของผูเ้ รียนและการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
๖.กศน. อาเภอบงั โดยงานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ไดส้ ร้างแบบสอบถามเพอ่ื ปรับปรงุ และพัฒนาเน้นการ
นาไปใชเ้ หมาะสม



2) การจดั กระบวนการเรียนรู้
ผู้ขอรับการประเมินและคณะครู กศน. ตาบลทุกคน หลังจากนักศึกษาลงทะเบียนและละภาคเรียน
แล้ว ไดม้ อบหมายใหค้ รจู ดั เตรียมเอกสาร ข้อมูล เพื่อร่วมกันจัดทาแผนการเรียนรู้ รายบุคคลในลักษณะของ
แผนบูรณาการ แผนรายสัปดาห์ การออกแบบกิจกกรม สื่อวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดการเรียนรู้ ตลอดจน
แผนการพบกลุ่มรายภาคการวดั ผลประเมนิ ผล ในภาคเรยี นน้นั ๆผู้ขอรับการประเมนิ ไดด้ าเนินการดังนี้
การจดั ทาแผนการเรยี นร้ขู อง กศน. อาเภอกาบงั ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนดังน้ี
๒.๑ มอบหมายให้ครู ตรวจสอบสรุปการลงทะเบียนของนักศกึ ษาของแตล่ ะกลุม่ ในทุกรายวิชา สรุป
จานวนทล่ี งทะเบียน
๒.๒ มอบหมายใหค้ รูไปศึกษาโครงสรา้ งเนื้อหาในรายวิชาทไี่ ดร้ ับมอบหมาย เตรยี มเอกสาร ตารา
จากการค้นคว้า จากแหล่งวิชาการอ่ืนๆ เพ่ือมาประกอบการจัดทาแผนการเรียนรู้รายภาค ราย
สัปดาห์
๒.๓ ได้กาหนดระยะเวลาในการจัดทาแผนการเรียนรใู้ ห้เสร็จ ทนั เวลาในการเปิดภาคเรียน
๒.๔ มอบหมายให้ครตู รวจสอบรายวชิ าทต่ี นเองมคี วามถนดั และจบการศึกษาวชิ าเอกนนั้ ๆ
เพื่อตรวจความถูกต้อง ครอบคลุมสว่ นของรายวิชา
๒.๕ ผู้ขอรับการประเมินได้มอบหมายให้ครู จัดบริการและหาแหล่งในการสืบค้นข้อมูลที่ใช้ประกอบ
ในการจัดการเรยี นการสอน เช่น
- การจดั หาสือ่ ประกอบการเรยี นการสอน
- ภูมิปญั ญาทีอ่ ยใู่ นท้องถนิ่
- การสมัครเปน็ สมาชิกหอ้ งสมุด กศน. อ. กาบงั
- หน่วยงานองค์กรเพือ่ การเรยี นรู้ในชมุ ชน เช่น โครงการจฬุ าภรณ์ ๑๑ ศนู ย์เศรษฐกจิ พอเพียงบ้านลุงดา
. เน้นการจัดทาบันทกึ หลงั สอน เพื่อเปน็ ชอ่ งทางในการแกป้ ัญหาสูก่ ารทาวิจัยแผน่ เดียวหรือหน้าเดียว
- สง่ เสรมิ และสนบั ครแู ละนกั ศึกษาจัดทาโครงงาน
- มอบหมายครูจัดทาโครงการกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น เชน่ การเขา้ ค่ายทักษะชีวิต
- คา่ ยคุณธรรม ค่ายอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ประวิติศาสตร์ชาติไทย เศรษฐกิจพอพียง และพร้อมรายงาน
ผลในทุกโครงการแลทกุ กิจกรรม
3. การวัดผล ประเมนิ ผลและการเทียบโอนผลการเรียน

3.1) จัดทาระเบยี บการวัดผลและประเมินผลของสถานศกึ ษา
3.2) สง่ เสริมให้ครูดาเนนิ การวัดผลประเมนิ ตามสภาพที่แท้จริงจากกระบวนการ การปฏิบัติ
และผลงาน
3.3) แต่งตั้งคณะกรรมการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาเพื่อดาเนินการวัดและ
ประเมนิ ผลไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
3.4) พฒั นาเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผลให้ได้มาตรฐาน



4. การประกันคณุ ภาพภายใน
4.1) จัดใหม้ ีระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั สถานศึกษา

สถานศกึ ษาไดม้ ีการดาเนินการประกนั คุณภาพภายในท่ีสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพผู้เรียนและผ้รู บั บริการ ดงั นี้
- มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและประกาศใช้ตามประกาศศูนย์การศึกษานอก

ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง เร่ืองการใช้มาตรฐานการศึกษา ของศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอ เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

- สถานศึกษากาหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั อาเภอ

- ดาเนินการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้เป็นไปตามค่าเป้าหมายและมาตรฐานการ
ประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

- จัดทาคาสั่งแตง่ ตั้งผู้รบั ผดิ ชอบตวั บง่ ชี้ ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
- ดาเนนิ การจดั ทาแผนงาน โครงการ กิจกรรมเกี่ยวกับพัฒนาผู้เรียนตามตัวบ่งชี้มาตรฐานที่ส่งผลต่อ
คุณภาพผเู้ รียนและผ้รู บั บริการ
- ติดตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ โครงการ กิจกรรมให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้และมาตรฐานการประกัน
คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
- จัดทาคู่มือประกันคณุ ภาพ สถานศกึ ษาดาเนินการจัดหา จดั ทาคมู่ อื
แนวทางการประกันคุณภาพในศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต ให้กับ
บคุ ลากรทกุ คน
- จดั ทาปฏิทินการดาเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพในสถานศกึ ษา
- ติดตามผลการดาเนนิ งานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตาม
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาตามปฏิทินการดาเนินงานอยา่ งเครง่ ครัด

4.2) ดาเนินการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา

4.3) ดาเนินการรายงานการประเมินตนเอง (SAR) สถานศึกษาได้มีการจัดทารายงานการ
ประเมนิ ตนเอง (SAR) เปน็ ประจาทุกปี และอัพโหลดการประเมินตนเอง (SAR) ในผ่านระบบการรายงานและ
ทางเว็บไซตร์ ะบบการบันทึกข้อมูลรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาในสงั กดั สานกั งาน กศน.

4.4) ปรับปรุงและพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
5) การพฒั นาและใช้ส่ือและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

ในการวางแผนผู้ขอรับการประเมินได้เก็บข้อมูลจากข้อเสนอแนะในการประเมินสถานศึกษาโดยต้น
สังกดั ข้อเสนอของคระกรรมการสถานศึกษา และข้อเสนอแนะจาก สมศ. เพื่อดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง
การจดั ชอื้ จัดหาวัสดทุ างการศึกษาท่ตี รงตามเนอ้ื หา ดาเนนิ การดังน้ี

- ครสู ารวจความพรอ้ มเครื่องรบั สัญญาณ จานดาวเทยี ม ทีวี และระบบอินเตอร์เน็ตและอุปกรณ์ต่อ
พ่วงตา่ งๆใหส้ มบูรณ์ใชง้ านได้ตามปกติ

- ผู้ขอรับการประเมนิ ไดด้ าเนนิ การประสานงานกับองคก์ ารโทรศัพท์เพ่ือขอติดตั้งอินเตอร์เน็ตความเร็ว
สงู เนื่องจากเป็นพืน้ ที่ปา่ ภเู ขาสูง ไม่มีสัญญาณ ของตาบลในบาละ

- การมอบหมายงานใหบ้ รรณารักษ์จัดทาปฏิทินปฏบิ ัติงานใน ๒ ตาบล



- สง่ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเข้ารา่ งฝึก อบรม สมั มนา ในพนื้ ที่จังหวดั ยะลาและตา่ งจังหวดั ดงั น้ี
- เขา้ ร่วมฝกึ อบรมที่ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์จังหวัดยะลา
- สถาบันภาคใต้จงั หวดั สงขลา
- โครงการฟาร์มตัวอยา่ งในสมเด็จพระนางเจา้ ฯ ณ ฟาร์มบ้านน้าดา อาเภอหนองจิก จังหวัดปตั ตานี
- ส่งเสริมและสนบั สนุนใหค้ รผู ลิตพฒั นาและใชส้ อื่ และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมเพือ่ การศกึ ษา
- จดั หาสอ่ื และเทคโนโลยเี พ่ือการใช้ในการจดั การเรยี นการสอน
6) การพฒั นาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้

6.1) สารวจและจัดให้มแี หล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษาให้เพียงพอและ
สอดคลอ้ งกับการจัดกระบวนการเรียนรู้

6.2) ประสานความร่วมมอื ในการบรหิ ารจดั การแหลง่ เรียนร้รู ะหวา่ งสถานศกึ ษากับองค์กร
ภายนอก

6.3) พฒั นาแหล่งเรียนร้ใู ห้มคี วามพรอ้ มสาหรบั การบรกิ ารอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
มอบหมายให้ครูพฒั นา ๔ ศูนย์การเรียนรใู้ น กศน. ตาบล เป็นแหล่งเรียนรูใ้ กล้ตวั

- ศนู ยเ์ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
- ศนู ย์ดจิ ิทลั ชมุ ชน
- ศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ลอดชีวติ
- ศูนย์ประชาธิปไตยประจาตาบล
7) ระบบการนเิ ทศติดตามผล
7.1) วางแผนการนิเทศติดตามผล สถานศึกษาได้มีการวางแผนการนิเทศตดิ ตามผลทกุ
กิจกรรม/โครงการ โดยมกี ารจดั ทาแผนการนเิ ทศเป็นประจาทุกเดอื น และเจ้าหนา้ ทีไ่ ดล้ งพ้นื ทนี่ เิ ทศกจิ กรรม/
โครงการ พร้อมทัง้ เสนอผลการนิเทศใหผ้ ู้บริหารรบั ทราบ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทาวจิ ยั เพ่ือพัฒนาผู้เรยี น
7.2) สรา้ งเครอื่ งมือนิเทศ สถานศึกษาได้มกี ารสร้างเครื่องมือนเิ ทศกิจกรรม/โครงการ เพ่ือ
เปน็ แนวทางในการนิเทศกจิ กรรม/โครงการ ในทศิ ทางเดยี วกัน และไดข้ ้อมูล/ผลการนิเทศ ได้ครบถ้วนสมบรู ณ์
7.3) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการนิเทศ สถานศึกษาไดม้ ีการแต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศเปน็ ประจา
ทุกปี เพอ่ื นเิ ทศกิจกรรม/โครงการท่ีได้ดาเนนิ การ
7.4) สรุปและรายงานผลการนเิ ทศ สถานศึกษาไดม้ กี ารสรปุ และรายงานผลการนเิ ทศทกุ
กิจกรรม/โครงการ เพ่อื รายงานผลการดาเนนิ งาน ความก้าวหน้า ปัญหา ขอ้ เสนอแนะให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
การบริหารงานวชิ าการของผ้ขู อรบั การประเมนิ มกี ารวางแผนพฒั นาการศกึ ษา ดาเนนิ การ ตรวจสอบ
ปรับปรงุ แกไ้ ขอยู่เสมอ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการใหด้ ขี ึน้
จดุ ม่งุ หมายของการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบังมุง่ เน้น เพอื่
- เพือ่ ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาบรหิ ารหลักสูตรจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล
การศกึ ษาพฒั นาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยแี ละการนเิ ทศภายในอยา่ งมีคุณภาพ
- ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษามีระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน กศน.
- เพ่อื ใหค้ าปรกึ ษา เสนอแนะและเปน็ ทพ่ี ึ่งในการพฒั นาวชิ าการของสถานศกึ ษาและ
สานักงาน กศน. จังหวัด



- เพ่อื ประสาน สนบั สนนุ และเผยแพรง่ านทางด้านวชิ าการแกส่ ถานศึกษาต่อและสานกั งาน
กศน. จงั หวัด

สภาพความยากลาบากในการปฏิบัตงิ าน ทางดา้ นวชิ าการ พรอ้ มท้งั การดาเนนิ การแก้ไข มดี งั น้ี
๑) ปจั จยั ของนักศกึ ษาในเรือ่ งการใชภ้ าษาไทยเป็นความเชื่อเชอื่ ว่าไมม่ คี วามจาเปน็ ในการใช้
ภาษาไทยใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้ ส่วนใหญ่ผ้เู รียนท่มี ีการมีการใชภ้ าษามลายูถ่ินในดาเนนิ ชวี ิต
การตดิ ตอ่ สอื่ สาร สถาบันครอบครัวเป็นตวั เหน่ยี วรั้งและไม่ใหค้ วามสาคัญ ทาให้ผเู้ รียนมีทกั ษะทางการเรยี น
วิชาภาษาไทยอย่ใู นระดบั คอ่ ยข้างต่า ผูบ้ รหิ าร และครูผสู้ อนถึงแมน้ มีแผนการสอน / สื่อทม่ี อี ยู่แล้ว กไ็ ม่
เพยี งพอตอ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ ส่ิงท่ี กศน. อาเภอกาบงั ได้กจิ กรรมการสอนเสริมวชิ าภาษาไทย และ
กิจกรรมเสรมิ ตา่ งๆ ทีเ่ ก่ยี วกับภาษาไทย โดยประสานขอ้ ความรว่ มมอื จากครูโรงเรยี นกาบังพิทยาคม เป็น
โรงเรียนสงั กัดมัธยมศกึ ษาเป็นวทิ ยากร เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาเรยี นเน้อื หาเพมิ่ เตมิ ภาษาไทย
2) การจดั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องครผู สู้ อนท่ีจะตอ้ งดาเนนิ การในพ้นื ที่ตาบล บางคร้งั ไม่สามารถลงไป
จัดการเรยี นรู้หรือจัดกิจกรรมในพนื้ ที่ได้ จากได้รบั การเตอื นและเฝา้ ระวังของสถานการณ์ จากฝา่ ยความม่ันคง
ของอาเภอการบัง ซึ่งผู้ขอรบั การประเมนิ ไดร้ บั การแต่งตง้ั จากทา่ นนายอาเภอกาบังเป็นคณะทางานในโครงการ
สรา้ ง ศ.ป.ก. อาเภอกาบัง มกี ารเขา้ กลุม่ ไลน์ ด้านความม่นั คง เฉพาะหัวหนา้ สว่ นในระดบั อาเภอเท่านั้น แจ้ง
เหตเุ ตอื นภยั ความไมป่ ลอดภยั จากกรณีดงั กล่าวครผู สู้ อนเตรยี มเนื้อหาที่จะสอน มกี ารวางแผนสารองเมื่อมี
เหตกุ ารณ์ เชน่ จดั การเรยี นรู้ผา่ น ไลนก์ ลุ่มนักศึกษา เฟสบุ๊ค , มอบหมายงานค้นคว้าจาก GOOGLE
๓) พืน้ ทีแ่ ต่ละตาบลในการลงไปนเิ ทศ เยีย่ มเยียนการจัดกจิ กรรมเรยี นรู้ในตาบลบาละบางแห่งอย่ใู นท่ี
เส่ียงตอ่ ความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สนิ การเดนิ ทางลงพ้นื ที่ทกุ ครัง้ จะต้องมกี ารสอบถามและไดร้ บั การ
ฝา่ ยปกครองและฝ่ายความม่นั คงของอาเภอก่อนทกุ ครัง้ ส่งผลใหบ้ างกจิ กรรมไมส่ ามารถนเิ ทศตดิ ตามงานตาม
แผนการนเิ ทศท่ีกาหนดไวไ้ ด้ วิธกี ารแก้ไขปัญหาดังกลา่ ว คือ การใชเ้ ทคโนโลยีในการนิเทศ หรือรายงานสภาพ
การจดั กิจกรรมดว้ ยภาพ วดี ีโอ ครูบันทึกข้อความรายงานผล ปรบั เปล่ียนแผนการดาเนินการนเิ ทศ
วธิ กี ารจากสภาพความยากลาบากในการบริหารงานวชิ าการ ผู้ขอรับการประเมินสามารถบริหาร
วชิ าการให้สาเรจ็ ไปไดด้ ว้ ยดี โดยใชก้ ารบริหารงาน แบบมีส่วนร่วม ใชว้ งจรเดมิ่งเข้ามามบี ทบาท สร้างขวัญ
กาลังใจและแรงจงู ใจในการทางานของครผู ้สู อนรวมทง้ั นักศกึ ษาท่มี าเรยี นรู้ มีปฏทิ นิ วิชาการการปฏิบัติหน้าที่
ของครผู ู้สอนชัดเจน เน้นให้ครูพบกลมุ่ นักศึกษาทุกสปั ดาห์ มีการกากับนิเทศการทางานเป็นระยะทกุ สปั ดาห์
ส่งเสรมิ นักศกึ ษาโดยใชก้ จิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนในทุกๆดา้ น ท้ังในเรอื่ งการจัดสอนเสริมวชิ าหลกั ส่งเสรมิ
ทางดา้ นกฬี า เขา้ ค่ายวิทยาศาสตร์ การอบรมทางด้านคณุ ธรรมจริยธรรม ให้ความรู้เพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ติ กบั
นกั ศกึ ษา รวมไปถึงการสง่ เสรมิ การเข้าแข่งขนั ทางดา้ นวิชาการนวตั กรรม และการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่
จดั โดยกล่มุ ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา จึงทาให้การบริหารงานสาเรจ็ ลุลว่ งผ่านได้ดว้ ยดี
1.2 งานบรหิ ารงบประมาณ
งานบริหารงบประมาณ ผูข้ อรับการประเมินได้ศกึ ษาวิธีการในการบริหารงบประมาณและปฎบิ ตั ติ าม
กฎหมาย ระเบียบและขอ้ ส่ังการอยา่ งเคร่งครดั มีการวางแผนในการดาเนินงาน โดยใชห้ ลักการมีสว่ นรว่ มใน
การบริหารงบประมาณ ดงั น้ี
1.2.1 ขอบขา่ ยและภารกิจ

1) การจัดตงั้ งบประมาณ
2) การจัดสรรงบประมาณ



3) การบริหารพัสดุ
4) การบรหิ ารงบประมาณและสนิ ทรัพย์
1.2.2 การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
1) การจัดต้ังงบประมาณ

ดาเนินการวเิ คราะห์แผนงาน/โครงการต่างๆ เพอ่ื นาไปจดั ตง้ั และจดั ทาแผนการ
จัดสรรงบประมาณของสถานศึกษา

2) การจดั สรรงบประมาณ
2.1) จดั สรรงบประมาณท่ไี ด้รับให้กบั หนว่ ยงานภายในสถานศกึ ษาตามแผนงาน/

โครงการ ของแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา
2.2) การตรวจสอบ กากับตดิ ตามการใชง้ บประมาณ ตามแผนปฏบิ ัติการและการใช้

จ่ายงบประมาณตามโครงการต่างๆ ทีไ่ ด้ดาเนนิ การและไมไ่ ดด้ าเนนิ การ เพือ่ ใหก้ ารเบิกจ่ายไดท้ นั เวลาท่ี
กาหนด

2.3) รายงานผลการดาเนินการใช้จ่ายงบประมาณต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา
3) การบริหารพสั ดุ

3.1) บริหารการจดั ซ้อื จัดจา้ งผ่านระบบ E-GP
3.2) ให้มีผรู้ บั ผิดชอบกจิ กรรม/โครงการทกุ กจิ กรรม ดาเนนิ การจดั ทาแผนการ
จดั ซอื้ จัดจ้าง และทาบันทกึ ข้อความเสนอผบู้ ริหารอนมุ ัตเิ พื่อดาเนินการจดั ซอื้ จดั จ้างกอ่ นจดั กิจกรรม/โครงการ
อย่างนอ้ ง 7 วนั
3.3) จดั ทาบญั ชวี ัสดุ และทะเบยี นครุภณั ฑ์ทกุ ประเภท จดั ทาทะเบยี นการ
เบิกจ่าย-จ่าย และการยืม-คืน พสั ดุและรายงานพัสดุคงเหลอื ประจาปีให้ผบู้ ริหารรบั ทราบ
3.4) ควบคมุ การใชว้ สั ดุ ครภุ ัณฑ์ทกุ ประเภท และรายงานพสั ดุคงเหลอื ประจาปใี ห้
ผู้บริหารรับทราบ
3.5) ตรวจสอบและรายงานพสั ดุประจาปีใหห้ ัวหน้าฝา่ ยงานแตล่ ะฝา่ ยดาเนินการ
ตรวจสอบและรายงานพัสดุประจา รายการพสั ดคุ งเหลอื ประจาปี ให้ผบู้ รหิ ารรับทราบและรายงานให้
สานกั งาน กศน.จังหวดั ยะลา
3.6) การระดมทรัพยากร สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรและประสานภาคี
เครอื ขา่ ยต่างๆ เพือ่ ใช้ในการบรกิ ารงานงบประมาณ เชน่ รบั การชว่ ยเหลือตน้ ไม้ในการเพาะปลูกในช่วงวนั จาก
สาคัญต่างๆ ในพ้ืนท่ีจากศนู ย์เพาะชากล้าไม้ โครงการจุฬาภรณพ์ ฒั นา ๑๑ ตาบลบาละ อาเภอกาบงั
งบประมาณและของรางวัลตา่ งๆ จากหน่วยงาน ห้างรา้ น เพือ่ ใช้เปน็ ของรางวลั และงบประมาณในการดาเนิน
กิจกรรมของสถานศึกษา รวมถงึ ขอท่ดี นิ ในการใช้ในการสรา้ ง กศน.ตาบล จากเครอื ข่ายในพน้ื ท่ี ท้ังนี้
ความสาเร็จเกดิ จากการมีคณะกรรมการสถานศกึ ษาร่วมคิด รว่ มวางแผน ประชมุ สม่าเสมอ ใหแ้ นวทางในการ
ทางานเพอ่ื ประโยชน์ของสถานศึกษา



4) การบริหารงบประมาณและสินทรพั ย์

4.1) ดาเนนิ การจดั ทาแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ งบอุดหนุน และงบพฒั นา
คณุ ภาพผู้เรียนเปน็ ประจาทุกภาคเรยี นได้มกี ารจดั ทาทะเบยี นคมุ เงนิ งบประมาณ รายไดข้ องสถานศึกษาตาม
ระเรยี บหนว่ ยงานจดั ทาบัญชคี วบคมุ การเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทาสมดุ และรายงานยอดเงินคงเหลือ
ประจาวัน

4.2) ได้มีการจัดทาทะเบยี นคุมเงินงบประมาณ รายได้ของสถานศกึ ษาตามระเบยี บ
หนว่ ยงานจัดทาบัญชีควบคุมการเบกิ จ่ายงบประมาณ จัดทาสมุดและรายงานยอดเงินคงเหลอื ประจาวันมีการ
บรหิ ารงานการเงนิ และบัญชี

4.3) นาเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารการเงินและบญั ชีได้มีการควบคมุ เบกิ จา่ ย
งบประมาณทุกประเภท ผ่านระบบบรหิ ารงบประมาณ E-Budget

4.4) จดั ทาทะเบยี นคมุ เงนิ งบประมาณ รายได้สถานศึกษาตามระเบยี บหนว่ ยงาน
จดั ทารายงานเงนิ งบประมาณทกุ ประเภท และจดั ทาบญั ชีควบคมุ เบิกจ่ายเงนิ งบประมาณ จดั ทาหลักฐาน
เบิกจา่ ยงบประมาณ ดาเนินการรบั เงนิ การเก็บรกั ษาเงินและการจ่ายเงินงบประมาณทกุ ประเภท

เอกสารและสมุดทะเบียนทกุ รายการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั อาเภอกาบงั มกี ารปฏิบตั เิ ป็นปจั จบุ ัน

สภาพความยากลาบากในการปฏิบัตงิ าน ทางด้านการบรหิ ารงบประมาณ พรอ้ มทัง้ การดาเนนิ การ
แก้ไข มดี งั น้ี

1) การดาเนนิ การจัดการศกึ ษาและปฏิบัตงิ านเป็นพื้นทพ่ี เิ ศษ ตามกฎหมายว่าด้วยความมัน่ คง เพอ่ื ให้
ประชาชนในพน้ื ทีม่ คี วามปลอดภยั เป็นการชว่ ยเหลอื ในและพฒั นายกระดับคณุ ภาพชวี ิตในทกุ ด้านควบค่กู นั ไป
หน่วยงาน กศน. กเ็ ปน็ หนง่ึ หนว่ ยงานท่ีไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ ตามโครงการพฒั นาเฉพาะกจิ จงั หวัด
ชายแดนใต้ ประมาณ ๔ โครงการ นอกเหนือจากการกการไดร้ บั งบประมาณปกตจิ าก สว่ นกลางคือสานกั งาน
กศน . เนือ่ งจากโครงการพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใต้สว่ นใหญห่ ว้ งเวลาของการจดั สรรงบประมาณอยู่
ในไตรมาสที่ ๓ มีเกณฑ์การเบิกจา่ ยในการจัดและการกาหนดระยะเวลาการจัดกิจกรรมให้แล้วเสร็จในเวลา
น้นั ๆ ปัญหาทเ่ี กิดข้นึ และตามมา การที่จะต้องทาแผนการใช้จา่ ยงบประมาณเพิม่ เตมิ ทาปฏิทิน ส่งผลใหม้ ี
แผนงานโครงการ ต้องมกี ารปรับเปลย่ี นแผนโครงการจากงบจากงบปกติ

ถ้ามเี หตกุ ารณ์ความไมส่ งบในพ้นื ทที่ าให้การปฏิบัตงิ านตามแผนที่วางไวต้ อ้ งเปลย่ี นแปลงหรือเลอ่ื น
ออกไป การเบกิ จ่ายงบประมาณเกิดความล่าช้าตามไปด้วยและบางครงั้ ทาให้ไมส่ อดคลอ้ งกบั การอนมุ ัตจิ ดั ซอื้
จัดจ้าง และเบิกจ่ายพัสดุ วธิ ีการแก้ไขปัญหาดังกลา่ ว ผู้ขอรับการประเมนิ ในฐานะผ้อู านวยการสถานศึกษา ซ่งึ
ต้องบรหิ ารงบประมาณ มอบหมายเจา้ หนา้ ท่ีพัสดุประสานกับร้านคา้ เตรียมวัสดุไว้ลว่ งหนา้ กอ่ น การดาเนนิ
กจิ กรรม เป็นไปตามข้นั ตอนของการจดั ชอ้ื และจัดจา้ ง

อีกประการหนง่ึ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบัง มีข้าราชการอยู่ ๑
คน งานท่รี บั ผิดขอบในหนา้ ทกี่ ็มากมาย ผู้ขอรับการประเมินในฐานะผ้อู านวยการสถานศกึ ษาจงึ ทาหนา้ ท่ี
หัวหน้าเจา้ หนา้ ที่พัสดุ อกี งานหนึง่ ดว้ ย

๑๐

๒) ระบบสัญญาณอินเทอรเ์ น็ตลา่ ชา้ และขดั ข้อง เปน็ ผลสบื เน่ืองจากการมปี ัญหาเรื่องไฟฟา้ ทข่ี ัดขอ้ ง
บ่อยครัง้ และไมม่ สี ญั ญาณในบางวัน หรอื บางช่วง ทาใหง้ านพัสดุท่ตี อ้ งมกี ารจัดซ้ือจดั จ้างผ่านระบบ E-GP
และงานการเงินท่ีต้องดาเนินการผา่ นระบบ บรหิ ารงบประมาณ E-Budget งานระบบโปรแกรมดังกลา่ วต้อง
อาศัยสัญญาณอินเตอร์เนต็ ได้ สง่ ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณลา่ ชา้ ไปดว้ ย วิธีแกไ้ ขการปฏบิ ตั งิ านส่ังการให้
รับผดิ ชอบงานพัสดุ จัดทาบนั ทกึ การจัดชอ้ื จัดจ้างและเขา้ ระบบ E-GP ทสี่ านักงาน กศน. จังหวัดยะลา ถ้ามี
ข้อผิดหรอื คาดว่าน่าจะไมต่ อ้ งถูกตามระเบยี บหรอื ข้อสงสยั ก็สอบถามเจา้ ท่พี สั ดุในระดบั จังหวัดได้ เปน็ การ
แก้ไขปัญหาได้ทันทว่ งที

๓) เนือ่ งจากสถานการณ์ความรนุ แรงในพน้ื ที่ การดาเนนิ การตามแผนงาน การปรบั เปลยี่ นเวลา
กจิ กรรมตามแผนงานโครงการในพน้ื ที่ตาบล ไมส่ ามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ ผู้ขอรับการประเมนิ ในฐานะ
ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา พิจารณาสงั่ การ ดคู วามเหมาะสม ห้วงเวลาการจัด และการเตรยี มความพรอ้ มของ
บคุ ลากรและประสานวทิ ยากร งานพัสดุ งานแผนตอ้ งเตรยี มความพร้อมวางแผนในการเบกิ จา่ ยวัสดุ
และพร้อมที่ดาเนินการ

ในการบริหารงานงบประมาณในพืน้ ท่ีมีความเส่ยี ง ทอ่ี ยู่เหนือการควบคมุ ผู้ขอรบั การประเมนิ
สามารถที่จะบริหารงานด้านงบประมาณใหส้ าเรจ็ เป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย ถกู ต้องตามระบบและระเบียบ
การบรหิ ารราชการ เกิดประโยชนต์ ่อราชการและกลมุ่ เปา้ หมาย ซงึ่ อาศัยการบรหิ ารงานโดยใช้หลกั ธรรมาภิ
บาล มีสว่ นรว่ มในการวางแผน ปฏบิ ัติ สรุปผล มีการกากบั ตดิ ตามและตรวจสอบการเบิกจา่ ยงบประมาณจาก
ระบบระบบ E-GP สัปดาห์ละ ๑ ครง้ั นอกน้นั ได้สอบถามด้วยวาจา หรอื จากการรายงานผลในที่ประชุม
ประจาเดือน เม่ือแก้ไขปญั หาและพัฒนาต่อไป
1.3 งานบรหิ ารงานบุคคล

การบรหิ ารงานบุคคลในสถานศกึ ษา เป็นภารกจิ สาคญั ทีม่ ่งุ สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษาสามารถปฏิบัติงาน
เพอ่ื ตอบสนอง ภารกิจของสถานศึกษา เพอ่ื ดาเนนิ การด้านการบรหิ ารงานบุคคลดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล
ถูกตอ้ ง รวดเรว็ เปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล สง่ เสรมิ บุคลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถและมจี ิตสานกึ ในการ
ปฏบิ ัตภิ ารกิจท่ีรับผดิ ชอบ ใหเ้ กิดผลสาเร็จตามหลกั การบรหิ ารแบบมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ ปฏิบัติงานเต็มตามศกั ยภาพ
โดยยดึ มั่นในระเบียบวินัย จรรยาบรรณ อย่างมีมาตรฐานแห่งวชิ าชีพ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาท่ี
ปฏบิ ตั ิงานได้ตามมาตรฐานวิชาชพี ได้รบั การยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ มีความมน่ั คงและความก้าวหนา้ ในวิชาชีพ ซึง่
จะสง่ ผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของผูเ้ รียนและผรู้ บั ริการ

๑๑

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบงั ประกอบดว้ ยบคุ ลากร 16 คน ดังนี้

ท่ี ตาแหนง่ จานวน (คน) หมายเหตุ

1 ผู้อานวยการสถานศึกษา 1

2 ขา้ ราชการ 1

3 ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียนประจาตาบล 4

4 ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียนประจาสถาบัน 3

ศกึ ษาปอเนาะ

5 ครู กศน.ตาบล 2

6 ครูอาสาสมัครฯ 2

7 ครูผสู้ อนคนพกิ าร 1

8 บรรณารกั ษ์อตั ราจา้ ง 1

9 พนักงานบริการ 1

รวม 16

1.3.1 ขอบข่ายการบริหารงานบุคคล
ผู้ขอรับการประเมินได้ดาเนินการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาที่เก่ียวข้องการบริหารงานบุคคล

ได้แก่
1) การวางแผนอัตรากาลังและการกาหนดตาแหนง่
2) การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตัง้
3) การสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ
4) วนิ ัยและการรักษาวนิ ยั
5) การออกจากราชการ

1.3.2 การดาเนินงานของสถานศึกษา
ผขู้ อรับการประเมินการบริหารงานบุคคล ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศยั อาเภอกาบงั ภายใต้กฎหมาย ระเบยี บ วิธีการและหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานบคุ คล ดังตอ่ ไป
1) การวางแผนอัตรากาลังและการกาหนดตาแหน่ง สถานศึกษาจัดทาโครงสร้างการ

บริหารงานของสถานศึกษา เพอ่ื วางแผนอัตรากาลงั และการกาหนดหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ โดยการให้บุคลากร
มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์โครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับระเบียบการปฏิบัติและ
นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. ตลอดจนการปฏิบัติงานในพ้ืนที่ กศน.อาเภอกาบัง พร้อมช้ีแจงให้
บคุ ลากรทุกคนทราบ เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั ให้ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ

2) การสรรหาและบรรจุแต่งต้ัง สถานศึกษาดาเนินการสรรหาและจัดจ้างบุคคล เพื่อ
ปฏบิ ัตงิ านในตาแหน่งตามท่สี านักงาน กศน.จงั หวัดยะลาพิจารณาเห็นชอบมอบหมายให้ดาเนนิ การ

3) การสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ สถานศึกษาได้มีการส่งเสริมประสิทธิภาพ
ในการปฏิบตั ริ าชการดงั น้ี

3.1) สารวจความต้องการปฏิบัติการงาน โดยให้บุคลากรทุกคนระบุความสามารถ
ในภาคปฏิบัตงิ านตามโครงสรา้ งการบริหารงานทส่ี ถานศึกษา

๑๒

3.2) จัดทาคาส่ังมอบหมายการปฏิบัติงานให้บุคลากรแต่ละคนได้รับผิดชอบงาน
ตามความถนัดและเหมาะสมตอ่ บริบทตอ่ การทางานของสถานศกึ ษา

3.3) สนับสนุนให้บุคลากรพัฒนาความรู้ความสมารถ โดยพิจารณาอนุญาตให้ไป
ร่วมในกิจกรรมศึกษาดูงาน อบรม ประชุม สัมมนา โครงการท่ีเกี่ยวข้องกับงานตามบทบาทหน้าท่ี ที่มีการ
ประสานให้บุคลากรเขา้ รว่ ม พฒั นาตนเอง เพิ่มทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้สามารถนาความรู้ที่ได้รับมา
พฒั นาผูร้ ับบรกิ ารของสถานศึกษาและสถานศึกษา

3.4) จัดให้มีการประชุมประจาเดือน ประจาสัปดาห์ เพื่อช้ีแจงข้อราชการ จาก
สานักงาน กศน. จงั หวดั ยะลา ติดตามผลการดาเนนิ งาน และวางแผนการดาเนนิ งานร่วมกัน ร่วมคิดวิเคราะห์
แกป้ ัญหา และวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน เพื่อให้การดาเนินการโครงการกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ
บรรลุวัตถปุ ระสงค์

3.5) จัดทาโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ
บุคลากรในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเน่อื ง

3.6) มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างเหมาะสม โปร่งใสและ
ยุติธรรม โดยแต่งต้ังคณะกรรมการประเมิน และดาเนนิ การประเมนิ ตามเกณฑ์ ตวั ชีว้ ดั ที่ทางสานกั งาน กศน.กาหนด

3.7) ผู้ขอรับการประเมิน ร่วมกับครูในพื้นท่ี ลงพื้นที่สร้างเครือข่ายในการทางาน
สรา้ งความสัมพนั ธท์ ่ีดี เมอื่ มโี อกาสเหมาะสม ต้ังแต่วิทยากรสอนเสรมิ วทิ ยากรสอนอาชีพ วิทยากรที่ให้ความรู้
ในโครงการตา่ ง ๆ ทจี่ ัดข้ึน ผูน้ าท้องถน่ิ ผ้นู าทอ้ งที่ ตลอดจนผูน้ าทางศาสนา และพูดคุยกบั ประชาชนในพื้นที่

3.8) ลงพ้ืนที่นิเทศติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากรในพ้ืนที่ เพื่อสร้างขวัญและ
กาลงั ใจในการปฏบิ ัตงิ านให้กบั บคุ ลากรอย่างต่อเนอ่ื งสม่าเสมอ

3.9) ให้การชว่ ยเหลอื ให้แกค่ รอบครัวของบคุ ลากร เช่น ป่วย งานศพ แต่งงาน เป็น
ตน้ โดยผู้ขอรับการประเมินได้มีการช่วยเหลือแก่บุคลากร ครอบครัวบุคลากรตลอดจนผู้เรียน ภาคีเครือข่าย
ได้แก่ มอบของเยี่ยมให้แก่บุคลากรและครอบครัวบุคลากรกรณีเจ็บป่วย มอบของขวัญให้แก่บุคลากรและ
ครอบครวั บุคลากร ผู้เรียน ภาคีเครือข่าย กรณีคลอดบุตร การแนะนา/ การเตรียมตัว เพื่อสอบบรรจุราชการ
ท้ังในระบบและนอกระบบ แสดงความดีใจต่อย้ายสถานท่ีทางาน งานแต่งงาน มอบเงินช่วยเหลือให้แก่
บคุ ลากรและครอบครัวบุคลากร ช่วยเหลืองานศพแก่ครอบครัวของบุคลากร องค์กรนักศึกษา และรวมถึงถึง
นักศกึ ษาของสถานศกึ ษา และการมอบ ผลไม้ อินทผลมั ในเดือนถือศีลอดของพ่นี ้องมสุ ลิมในทุกปี

4) วนิ ัยและการรกั ษาวินยั ผู้ขอรับการประเมินได้ดาเนินการบริหารบุคคลเก่ียวกับวินัยและ
การรกั ษาวินยั ดงั นี้

4.1) เป็นผู้มีวินัยและเป็นตัวอย่างที่ดีทางด้านการรักษาวินัยแก่ราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา

4.2) เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีวินัยในตนเองและป้องกันมิให้
ผูใ้ ตบ้ ังคบั บญั ชากระทาผดิ วนิ ยั

5) การออกจากราชการ ผู้ขอรับการประเมินอนุญาตการลาออกจากราชการของบุคลากร
โดยการรบั เร่อื งการลาออกจากบุคลากร แลว้ เสนอไปยังผู้มอี านาจส่ังบรรจุและแตง่ ต้ังแล้วแต่กรณี

๑๓

จากการบรหิ ารงานบุคลากรท่ีผ่านมา ได้มีการจัดสรรบุคลากรให้ทางานตามความเหมาะสม ให้ขวัญ
กาลงั ใจกบั บุคลากรท่ีทาดี ทาถูกตอ้ ง โดยการชมเชยในที่ประชุมประจาเดือน ยกย่องเม่ือมีโอกาส สร้างความ
รกั ความสามัคคีในสถานศึกษา ส่งผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถานศึกษามีความราบรื่นและเป็นไปด้วย
ความเรียบรอ้ ย

สภาพความยากลาบากในการปฏบิ ตั ิงาน ทางดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คลพร้อมท้ังการดาเนนิ การแก้ไขมดี งั นี้
1) บคุ ลากรในทกุ ตาแหนง่ ของศูนย์การศึกษาอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง เป็น
ครูอยู่หลายประเภทครูเหลา่ นมี้ ี บทบาทหนา้ ที่หลักคอื สอน กับการจดั กระบวนการเรียนรู้ และมีข้าราชการครู
เพียง ๑ คนเทา่ น้ัน ที่คอยช่วยเหลอื งานของผู้บริหารสถานศึกษา สามารถตัดสินใจหรือปฏิบัติงานแทนได้ มี
ความจาเป็นต้องการมอบหมายงานตามโครงสร้าง กศน. อาเภอ ยิ่งทาให้ งานในบทบาทหน้าท่ี งานที่ได้รับ
มอบหมายเพิ่มขึ้น การปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการไม่ทันตามระยะเวลาที่กาหนดผู้บริหารสถานศึกษา
แก้ไขสภาพดงั กลา่ วคือ การบรู ณาการกบั ภาคเี ครือขา่ ยหรือหน่วยงานในพื้นท่ีระดบั อาเภอจนถึงระดับตาบล
ครทู ุกคนร่วมกนั และคอยชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกนั ใชแ้ นวคดิ ของการทางานเปน็ ทีม เพ่อื เป้าหมายงานสาเรจ็
2) ในพื้นที่บางพื้นท่ีมีความเส่ียงส่วนใหญ่ ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม การปฏิบัติงานของครูใช้
ทีมงานทนี่ บั ถอื ศาสนาอิสลามเข้าพ้ืนท่ี เพ่ือลดความเสี่ยง
3) การเดนิ ทางลงไปพ้ืนที่ในการจัดการเรียนการสอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้การประสานงานกับ
หน่วยงานทางด้านความม่ันคงที่เป็นกองกาลังในพื้นท่ีได้แก่ ทหารพราน ( ๔๑๐๗ และ ๔๑๐๙ )กานัน
ผู้ใหญ่บ้าน อส. และหนว่ ย ฉก รว่ ม ๓ ฝา่ ย เพือ่ เพิม่ ความปลอดภยั
จากการบริหารงานบุคคลของผู้รับการประเมิน ได้ดาเนินการตามระเบียบวิธีบริหารงานราชการเป็น
ตามอานาจและบทบาทหน้าที่ มงุ่ มนั่ พัฒนางาน สร้างขวัญกาลังใจให้กบั ผู้ใตบ้ ังคับบัญชาโดยการยกย่องชมเชย
และพจิ ารณาความดคี วามชอบดว้ ยความโปร่งใส ยุติธรรม ไม่มีการร้องร้องเรียน บัตรสนเท่ห์ หรืออ่ืนๆ ทาให้
การบริหารงานบุคคลตามโครงการสรา้ งและคาส่งั ทม่ี อบหมายใหเ้ ป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย
1.4 งานบริหารทว่ั ไป
การบริหารงานทัว่ ไปเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กร ให้บริการงานอื่น ๆ ให้บรรลุ
ตามมาตรฐาน คุณภาพและเป้าหมายทกี่ าหนด มุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธข์ิ องงานเปน็ หลัก โดยเน้นความโปร่งใส ความ
รับผิดชอบท่ีตรวจสอบได้ ตลอดจนการมีส่วนร่วมของบุคคล ชุมชนและองค์กรท่ีเก่ียวข้องเพื่อให้การจัด
การศกึ ษามีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลดังนี้

1.4.1 การดาเนินงานธรุ การ
1.4.1 งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
1.4.1 งานพฒั นาระบบและเครอื ข่ายข้อมูลสารสานเทศ
1.4.1 การประสานและพฒั นาเครอื ข่ายการศกึ ษา
1.4.1 การดูแลอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดล้อม
1.4.1 การรบั นักเรยี น
1.4.1 งานสง่ เสริมกิจการนกั เรียน
1.4.1 การประชาสมั พันธ์งานศกึ ษา

๑๔

การดาเนินงานของสถานศกึ ษา
ผู้ขอรบั การประเมินมีการบรหิ ารงานทัว่ ไป ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อธั ยาศัยอาเภอกาบัง ภายใตก้ ฎหมาย ระเบียบ วิธีการในการบรหิ ารงานท่วั ไป ดงั ต่อไปน้ี
1.4.1 การดาเนินงานธรุ การ ได้ดาเนนิ การดงั น้ี
1) นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยและเหมาะสมมาใช้ในการปฏิบัติงาน

ได้แก่ ระบบ ส่งหนังสือ E-Office และการใช้ผ่านระบบ กลุ่มLine และ E-mail ในการรับส่งหนังสือ หนังสือ
และขอ้ มลู ตา่ ง ๆ

2) กาหนดการประชุมบุคลากร เพ่ือช้ีแจงข้อราชการ ร่วมวางแผนการดาเนินงาน
และติดตามการดาเนินงาน เป็นประจาทุกสัปดาห์ และได้มีการขจัดทารายงานการประชุมเพื่อเสนอผู้บริหาร
ได้รับทราบ มีการทบทวนส่งหนังสือผ่านขั้นตอนงานสารบรรณ มีการช้ีแจงข้อมูลสารสนเทศให้งานข้อมูล
สารสนเทศจดั เก็บขอ้ มลู ผ่านระบบ DMIS เปน็ ปจั จุบนั

3) มีระบบการจัดเก็บเอกสารและสามารถค้นหาได้อย่างรวดเร็ว สถานศึกษาได้มี
การจัดเก็บเอกสารในแต่ละฝ่ายงานเก็บไว้ในแฟ้มงานอย่างเป็นระบบ โดยจัดเก็บแฟ้มเอกสารเข้าตู้แบ่งฝ่าย
งาน และจัดทาถ่ายสาเนาเอกสารไว้ ๑ ชุด เพื่อกันการสูญหาย และสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย รวดเร็ว
สะดวกแก่การปฏบิ ตั ิ

1.4.2 งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาได้ทีการดาเนินการ
ตามข้ันตอนการดาเนินงานคณะกรรมการสถานศึกษา และได้มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่าง
น้อยปีละ 2 คร้ัง เพอ่ื ช้ีแจงข้อราชการเกี่ยวกับแผนการดาเนินงานประจา รายงานผลการดาเนินงานประจาปี
เห็นชอบหลักสูตรสถานศกึ ษา แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี การจัดหาหนังสือเรียน
ประจาภาคเรียน ตลอดจนใหข้ ้อเสนอแนะในการดาเนินงานของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของ
กศน. อาเภอกาบงั ใหม้ คี ณุ ภาพ

1.4.3 การพฒั นาระบบเครอื ข่ายข้อมูลสารสนเทศ
๑) จัดระบบฐานข้อมูลของสถานศึกษาเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการภายในของ

สถานศึกษางานพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ สถานศึกษาได้มีการนาระบบเพ่ือใช้ในการเก็บ
และดาเนินการเกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศ ได้แก่ ระบบ PLS 5 ระบบ DMIS ระบบฐานข้อมูลการรู้หนังสือ
ระบบฐานข้อมลู ประชากรวยั เรียนท่ีอยนู่ อกระบบสถานศกึ ษา

๒) จดั ระบบขอ้ มลู สารสนเทศเช่อื มโยงกับสถานศึกษาอน่ื
1.4.4 การประสานงานและพัฒนาเครอื ข่ายการศกึ ษา

๑) ประสานงานกับเครือข่ายการศึกษาเพ่ือแสวงหาความช่วยมือ เครือข่ายเพ่ิมเติม
เพ่ือส่งเสริมสนบั สนุนงานการศกึ ษาของสถานศึกษา

๒) การปฏบิ ตั งิ านร่วมกบั ภาคเี ครือข่ายอยา่ งต่อเนอื่ งไดแ้ ก่ บา้ นหนังสือชุมชน โครงการ
เรยี นดี มีอาชพี มงี านทา กับโรงเรยี นขยายโอกาสในพน้ื ท่ี โครงการน่ังทีไ่ หนอา่ นท่นี ่นั กิจกรรมกินน้าชาพบปะ
ยามเช้าอาเภอกาบงั กิจกรรมการเกบ็ ขอ้ มูล จปฐ. รว่ มกับสานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอกาบัง โครงการวันเด็ก
แห่งชาติร่วมกับองค์การบริหารส่วนตาบลกาบังและองค์การบริหารส่วนตาบลบาละ จัดกิจกรรมห้องสมุด

๑๕

เคล่ือนท่ี ประสาน กศน. ยะลา สนับสนุนรถโมบาย โดยมีสโลแกน“ครอบครัวกาบัง” เผยแพร่ข้อมูล
เครอื ขา่ ยการศกึ ษาใหบ้ คุ ลากรในสถานศึกษาและผเู้ กยี่ วข้องได้รบั ทราบ

๓) กาหนดแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างเครือข่าย
การศกึ ษากับสถานศกึ ษา ตลอดจนให้ความร่วมมือและสนับสนนุ ทางด้านวิชาการ

๔) ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติภาคีเครือข่าย โดยการมอบเกียรติบัตร ให้กับภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วม
จดั กิจกรรม เสนอชื่อเพ่ือเขา้ รบั การประเมินเครอื ข่ายดีเด่นทกุ กจิ กรรม ตามเวลาและโอกาสท่มี ี
จัดระบบฐานข้อมูลของสถานศึกษาเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการภายในของสถานศึกษาจัดระบบข้อมูล
สารสนเทศเชื่อมโยงกบั สถานศกึ ษาอน่ื
1.4.5 การดูแลอาคารสถานทส่ี ภาพแวดลอ้ ม และยานพาหนะ ได้มีการดาเนินการ ดงั น้ี

1) ดาเนนิ การมีมาตรการรักษาความปลอดภัย ได้มีการจัดตั้งเวร-ยาม รักษาความปลอดภัย
ท้งั กลางวัน และกลางคนื ประจาทกุ เดือนและกาชบั บุคลากรทมี่ ีคาสัง่ เวร-ยามรกั ษาความปลอดภัยดังกล่าว ให้
มาอยูเ่ วร-ยาม อยา่ งเครง่ ครัด ได้มีการจัดต้ังกล้องวงจรปิดรอบ ๆ อาคารสถานท่ีเพื่อดูแลความปลอดภัยของ
อาคารสถานท่ีและรอบ ๆ อาคาร และผู้บริหารได้มอบนโยบายให้บุคลากรจัดโต๊ะสถานท่ีทางาน ตู้เอกสาร
ตา่ งๆ ใหส้ ามารถเดินเขา้ -ออกง่าย และได้มกี ารติดต้ังเหล็กดัดท่หี น้าตา่ ง กันโจรขโมยวัสดสุ านกั งาน

2) จัดบรรยากาศส่ิงแวดล้อม ภายในและภายสนอกสถานศึกษา ทาโครงการ 5 ส. ( Big
Cleaning) โดยให้บุคลากร ร่วมกันทาความสะอาดอาคารสถานที่ จัดระเบียบเอกสาร จัดโต๊ะ ตู้เอกสาร เป็น
ประจาทุกเดือนและสถานศึกษาเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย พรอ้ มต่อการใหบ้ ริการตลอดเวลา

3) ซ่อมและบารุงรักษาให้พร้อมใช้บริการ ดาเนินการซ่อม และบารุงรักษา ดูแลอาคาร
สถานท่ี วัสดุสานักงานให้พรอ้ มใช้งานและพร้อมให้บริการตลอดเวลา

4) ควบคุมการใช้อาคารสถานที่และยานพาหนะ สถานศึกษาได้จัดทาสมุดคุมการใช้
ยานพาหนะ เม่อื บุคลากรประสงคใ์ ช้ยานพาหนะให้ทาบันทึกขออนญุ าตให้ผบู้ รหิ ารทราบและอนมุ ัติ ทกุ ครัง้

1.4.6 การรับผเู้ รยี น สถานศึกษาไดด้ าเนินการเกยี่ วกบั การรับผู้เรยี น ดงั นี้
1) การรับผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาได้มอบหมายให้ครูผู้สอนดาเนินการ

ประชาสมั พันธไ์ ปยงั กลมุ่ เป้าหมายประชาชนในพน้ื ที่ ทย่ี งั ไมจ่ บการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ในรูปแบบการเคาะประตู
บา้ น ผา่ นเวทีประชาคม และการประสานงานกับผู้นาชุมชน และดาเนินการรับสมัครู้เรียนเป็นรายภาคเรียน
จานวน 2 ครั้งต่อปี

2) การรับสมคั รผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเนือ่ ง สถานศึกษาได้ดาเนินการรับผู้เรียนในรูปแบบของ
การรับสมคั รผสู้ นใจ โดยผา่ นเวทีประชาคมและสารวจความต้องการเรยี นรู้ และรบั สมคั รู้เรียนรายปี

1.4.7 งานส่งเสริมกิจการนักเรียน ได้ส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา
ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมผู้เรียนและส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนได้มีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย ตามความถนัด
และความสนใจและความตอ้ งการของผ้เู รียนและกรอบการจดั กิจรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน

1.4.8 การประชาสมั พนั ธ์งานการศกึ ษา ได้มีการดาเนนิ การดงั นี้

๑๖

1) ติดตามให้คาแนะนาในการประชาสัมพันธ์งานของ กศน. อาเภอ โดยให้มีจดหมายข่าว
สารการรับรู้ อาทิตย์ละ ๑ ครงั้ รายงานในการประชาสัมพันธ์งานเป็นประจาทุกเดือน เพื่อให้บุคคลอ่ืนได้รับ
ทราบกิจกรรมท่ไี ด้ดาเนินการผา่ นไปแล้ว รวมไปถึงกิจกรรมทเ่ี ตรยี มการดาเนินการ

2) ประชาสัมพันธ์กิจกรรมงานผ่านทางเว็บไซต์ของ กศน.อาเภอกาบัง เว็บไซต์การ
ประชาสมั พันธท์ เี่ กี่ยวขอ้ ง รวมไปถงึ การใช้ Facebook ในการประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรม

สภาพความยากลาบากในการปฏิบัติงาน ทางด้านการบริหารงานบริหารทั่วไป พร้อมท้ังการ
ดาเนนิ การแกไ้ ข มดี งั น้ี

1) การรับส่งหนังสอื ราชการจากสานักงาน กศน.จงั หวัดยะลา ผ่านทาง E-Office บางครั้งไม่
สามารถรบั หนังสอื ได้ เนอื่ งจากปัญหาระบบเครือข่ายสัญญาณอินเทอร์เน็ตช้า หรือไม่มีสัญญาณในพื้นที่ การ
แก้ไขปัญหาการท่เี กิดข้ึน ติดตอ่ สื่อสารเจา้ หนา้ ทีโ่ ดยตรงผ่านผา่ นทางโทรศพั ท์มือถือส่วนตัว

2) ความปลอดภัยของอาคารสถานที่ในเวลากลางคืนและวันหยุด เนื่องศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบัง อยู่เย้ืองกับสถานีตาราวภูธรอาเภอกาบัง จึงประสานขอความ
รว่ มมอื กบั ตารวจสายตรวจอีกช่องทางหน่ึง นอกจากน้ีใช้กล้องวงจรปิด และที่สาคัญในเวลากลางคืน การใช้
แสงสว่างรอบๆ สถานศึกษา เพื่อเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัย มีการแต่งต้ังเวรยามปฏิบัติหน้าท่ี และ
รายงานปฏิบัติหน้าที่ตลอด

3) ระบบนา้ ประปาทใ่ี ช้งานใน กศน.อาเภอกาบัง เป็นระบบน้าประปาชุมชน เป็นประปาบ่อ
บาดาล ขนาดเล็ก โดยมีท่ีว่าการอาเภอกาบังเป็นผู้ดูแล และใช้เฉพาะในส่วนราชการของอาเภอกาบังน้ามี
จานวนค่อนข้างจากัด จะปล่อยน้าประปาเฉพาะในช่วงเช้าเท่านั้น ทาให้น้าไม่เพียงพอ แก้ไขปัญหาในระดับ
หนงึ่ คือ การซือ้ ถังมาใชส้ ารองนา้ / ขอบริจาคเคร่ืองสูบน้าขนาด ๑ นิ้ว สูบน้าจากเข่ือนหลังสถานศึกษามา
พกั ในถังเพอ่ื ให้นา้ ตกตะกอยกอ่ นนามาใช้

4. อาคารของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง ใช้ร่วมกับ
ห้องสมุดอาเภอประชาชนอาเภอกาบังเป็นอาคารปฏิบัติงานจานวน ๑ อาคาร เมื่อมีการชารุด เสียหาย และ
ทรุดโทรม มาสามารถของบประมาณจากส่วนกลางในการปรับปรุงซ่อมแซมได้ เนื่องจากไม่ได้เป็นอาคารที่
สร้างข้ึนโดยงบประมาณท่ีมาจากในการปรับปรุงซ่อมแซมได้ เนื่องจากไม่ได้เป็นอาคารที่สร้างข้ึนโดย
งบประมาณทม่ี าจากสานกั งาน กศน. วธิ กี ารแกไ้ ข การจดั ทากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของผู้เรียน และจัดต้ัง
งบประมาณในการซ่อมแซมสถานศึกษาเพ่ือใช้ในจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับ
ผู้เรยี นการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพียงเลก็ นอ้ ย และการสนับสนุนจากบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

ในส่วนของผู้บริหารสถานศึกษา จึงมีความพยายามท่ีสร้างอาคาร โดยขอสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์
จากเครือขา่ ย ผนู้ าชุมชน กไ็ ดด้ าเนนิ การไปบางส่วนแล้ว

ในการบรหิ ารท่ัวไป ผู้ขอรบั การประเมนิ มีการประสานความร่วมมือกบั ชุมชนและท้องถิ่นในการระดม
ทรัพยากรเพื่อการศึกษาและให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชนเป็นอย่างดี ทาให้มี กศน.ตาบล ทั้ง 2 ตาบล
มสี ถานทใี่ นการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ืองและให้บริการเรียนรู้

2. ผลที่เกดิ กับผู้เรียน ครู ผปู้ กครอง ชมุ ชน และสถานศกึ ษา

๑๗

2.1 ผลท่ีเกิดกับผเู้ รยี น
ผู้เรียนของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง มี 2

สว่ น คือ ผ้เู รียนการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน และผเู้ รียนการศึกษาตอ่ เนื่อง (การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาอาชีพ)
2.1.1 ผูเ้ รยี นท่ีเรียนการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน มคี วามรู้มากข้ึน นาความรทู้ ี่ได้รับไปประยุกต์ใช้ใน

ชวี ิตปะจาวัน เช่น พืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ความคดิ สร้างสรรค์ สามารถความรู้ไปใชใ้ นการแขง่ ขันโครงการแข่งขัน
ทักษะความสามารถ “เยาวชน คนชายแดนใต้” ได้แก่ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดชุดแต่งกาย
จากวัสดุเหลือใช้ ระดับนักศึกษา กศน. รางวัลชมเชยการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สาหรับนักศึกษา
กศน. พ.ศ. 2561 ดา้ นการใช้และการอนรุ กั ษ์พลงั งานไฟฟา้ ในชีวิตประจาวัน เปน็ ต้น

2.1.2 ผู้เรียนที่เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐาน สามารถนาวุฒิการศึกษาท่ีจบไปใช้ในการสมัคร
เขา้ ทางานประกอบอาชพี ไดแ้ ละใชใ้ นการศึกษาตอ่ ในระดบั ทสี่ งู ทีว่ ทิ ยาลัยชุมชนยะลา

2.1.3 ผู้เรียนที่เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และมีคุณธรรม
จริยธรรมทีด่ ขี ้ึน เหน็ ได้จากเวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมท้งั ที่ กศน.เปน็ ผู้จัดและหน่วยงานอนื่ ๆ เป็นผู้จัดในพื้นท่ีตาบล
ส่วนใหญน่ กั ศึกษา กศน.ปัจจบุ ันและศษิ ย์เกา่ กศน.เข้ากิจกรรมจติ อาสาทาความดีดว้ ยหัวใจ เปน็ ตน้

2.1.4 ผู้เรียนอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ เช่น การเรียนอาหารขนม
สามารถกลบั ไปทาอาหารขนม รบั ประทานเองภายในครอบครวั ได้ การมาเรียนรู้ช่างตัดเย็บเส้ือผ้า สามารถตัด
เสอ้ื ใช้เอง เป็นการลดค่าใช้จา่ ย เปน็ ตน้

2.1.5 ผ้เู รยี นอาชพี สามารถนาความรูไ้ ปใชไ้ ด้ โดยมขี ้อมลู ผู้เรียนท่จี บการศกึ ษา ดงั น้ี

ท่ี สถาบันศึกษาปอเนาะ หลกั สูตร จานวนผเู้ รียนการศกึ ษา จานวนผเู้ รยี นท่นี า

เพอื่ พัฒนาอาชพี ความรู้ไปใช้

1 สถาบัน ศึก ษาปอเน าะ วชิ าการทาอาหาร-ขนม 15 คน 15 คน
อลั ฟาแตฮ์(ป่าพรา้ ว) (ขนมพื้นบา้ น)
15 คน 15 คน
วชิ าตดั ผมชาย 15 คน 15 คน
15 คน 15 คน
2 สถาบันศึกษาปอเนาะมะ วชิ าการเล้ียงเปด็
15 คน 15 คน
หัดดารลุ กรุ อาน วิชาการทาอาหาร-ขนม (การ
75 75
ทาน้าพรกิ )

3 สถาบันศึกษาปอเนาะอัน- วิชาการทาอาหาร-ขนม (ขนม

ซอรุลซนุ นะห์ โรตี)

รวม 5

นักศึกษาทจ่ี บการศกึ ษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น โดยส่วนใหญ่จะเข้าศึกษาต่อ
ในสว่ นของ กศน.อาเภอกาบัง

๑๘

สภาพความยากลาบากทเ่ี กิดกับผ้เู รยี นพรอ้ มทัง้ การดาเนินการแก้ไข
1) ในระดับประถมศึกษา ผู้เรียนบางคนมีปัญหาทักษะในการเขียนและการอ่านหนังสือไทย การพูด
ภาษาไทยอาจเน่ืองจากพื้นฐานของครอบครัว การรับรู้เนื้อหาสาระภาษาไทยของผู้เรียน และโอกาสแต่ละ
บคุ คลไมเ่ ท่ากัน ครจู งึ ตอ้ งทบทวนความร้เู ดิม เชน่ สรา้ งเคร่ืองมอื หรือแบบในการทดสอบ ความรู้พื้นฐานแล้ว
มาวางแผนการเรียนรายบุคคลตอ่ ไป
2) การพบกลมุ่ ของนกั ศึกษาบางรายไม่มาพบกล่มุ ได้ เกิดจากนักศึกษาส่วนใหญ่ของ กศน. อาเภอ
กาบัง ประกอบอาชีพ การทาสวนยางพารา สวนผลไม้ และรับจ้างในตัวเมือง และทางานรับจ้างกรีดยาง
ประเทศมาเลเชีย ครตู อ้ งมเี ทคนิคในการจัดและยืดหยนุ่ ในการจดั การเรียนการสอนไดค้ รบตามปฏทิ นิ
3) วนั สอบของนักศึกษา ตรงกบั วนั สาคัญทางศาสนา หรอื วัฒนธรรมของชมุ ชน นกั ศึกษาจะขาดสอบ
มาก และไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑท์ สี่ านักงาน กศน. วา่ ดว้ ยการเขา้ สอบของนักศกึ ษา กศน. กาหนด การกาหนดวัน
สอบของนกั ศกึ ษา กศน. และผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ไม่สามารถกาหนดเอง ปัญหาน้ีผู้ขอรับการประเมินได้เคย
พูดคยุ สมยั ท่าน ผอ. จรญั คงนวลใย ผอ.สถาบนั ภาคใต้ และคณุ ครูของสถาบันภาคใตใ้ นวันที่นิเทศสนามสอบ
ปญั หาดงั กล่าวก็ไมไ่ ด้รับการแกไ้ ข
การแก้ไขปัญหา ทาได้แค่การข้ีแจง ปฏิทินการสอบตาม ตารางสอบ เพื่อนักศึกษา ได้เตรียมตัว
ลว่ งหน้า เป็นการแก้ปญั หาเฉพาะหน้า
๔) นักศึกษาบางรายได้ลงทะเบียนไว้ กับ กศน. อาเภอกาบัง แต่ตรวจสอบแล้วปรากฏว่า ยังเป็น
นกั เรยี นในโรงเรยี นมัธยมศึกษาในพ้ืนท่ี ตามขอ้ เท็จจริงที่สอบถาม พบวา่ เด็กไม้ได้เรยี นในระบบแล้ว การไปขอ
ลาออกก็เปน็ ปญั หากบั เด็กและเกดิ การชาซ้อนถ้าตรวจเชด็ ระบบ IT
การแก้ปัญหา ผู้บริหารและครูนัดผู้ปกครองของเด็กและตัวเด็ก มาหาแนวทางร่วมกันว่าจะเลือก
เรยี นสถานศึกษาใด หรือท่หี นึ่งทใ่ี ด ก็ใหเ้ นนิ การใหเ้ รยี บรอ้ ย

2.2 ผลทเี่ กิดข้นึ กับครู
ในการปฏิบัติหน้าที่บริหารของผู้ขอรับการประเมินในทุกสถานศึกษาท่ีผ่านมา ท้ังศูนย์

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอละอุ่นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอควนโดน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง มีความตั้งใจ
ในการทางานอยา่ งเต็มกาลงั ความสามารถ ซงึ่ จากการบรหิ ารงานของผู้ขอรับการประเมิน ส่งผลที่เกิดข้ึนกับครู
ดังนี้

2.2.1 ครไู ดร้ บั การยอมรบั จากหนว่ ยงานภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เห็นได้จาการเชิญให้
มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในพื้นที่ เช่น เป็นคณะกรรมการในการขับเคลื่อนท่ีการดาเนินงานหรือการจัด
กิจกรรมในระดับตาบล อาเภอ เป็นคณะทางานของอาเภอ เป็นกรรมการตัดสินผลผลิตทางการเกษตร
ผลิตภณั ฑ์พัฒนาชุมชน เป็นกรรมการตัดสินงานวันเด็กแห่งชาติ เหตุที่เป็นเช่นน้ี ผลความเชื่อม่ันในตัวครูทุก
คนมีความรู้ ความสามารถและมจี ิตสาธารณะ

2.2.2 ครูได้รับการยอมรับจากนักศึกษาและผู้ปกครองของนักศึกษาเป็นอย่างดี
ประเมนิ ได้จาการให้ความร่วมมือในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ มผี เู้ รียนเข้ารว่ มโครงการเปน็ ไปตามเป้าหมายที่
กาหนด ทุกคร้งั

๑๙

2.2.3 ครูไดร้ บั รางวัลในระดับจงั หวดั 4 ราย ซงึ่ หากนับรางวลั ท่เี กดิ จากการบริหาร
ของผู้ขอรับการประเมินในช่วงปีงบประมาณ 2558 ถึงปีงบประมาณ 2561 มีผลงานที่เกิดกับครูหลาย
รายการ นาความภาคภมู ิใจมาส่คู รู ผู้เรียนและสถานศกึ ษา

2.2.4 ครูเป็นวิทยากรให้ความรู้ในด้านต่างๆ แก่ชุมชน เช่น วิทยากรในการให้
ความรูเ้ ก่ยี วกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วิทยากรใหค้ วามรเู้ กี่ยวกับการปอ้ งยาเสพติด เป็นต้น

สภาพความยากลาบากทเ่ี กดิ กบั ครพู ร้อมทง้ั การดาเนินการแกไ้ ข
ในการปฏบิ ัติหนา้ ทีข่ องครนู น้ั มีความยากลาบาก พรอ้ มทง้ั ไดด้ าเนนิ การแก้ไข ดงั นี้
1) สภาพความยากลาบากความเส่ยี งของการเดินทาง ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในพื้นที่ กรณี
ถ้าครูที่มีภูมิลาเนาในพ้ืนที่เป้าหมายน้ันๆ ก็จะประสานขอความร่วมมือเป็นทีมช่วยในการเดินทางเข้าไป
ปฏิบตั ิงาน หรือใชช้ ่องทางการประสานความร่วมมอื ผู้นาชมุ ชน ผู้นาศาสนา หรอื นักศึกษาเดินทางพรอ้ มกัน
2) ความยากลาบากในการสอื่ สาร เนือ่ งจากผู้เรยี นบางคนมีทักษะภาษาไทยน้อย วิธีแก้ไข ครูอธิบาย
ใช้กระบวนการกลุ่มในเรียนรู้ภาษาไทยเพ่ิมเติม จัดหาวิทยากรเป็นภาษาไทยท่ีเป็นมุสลิมจะได้เกิดประโยชน์
สองทางใหก้ บั นกั ศึกษาได้เรยี นรู้ทง้ั การอธบิ ายภาษาไทยภาษามลายูถิ่น เพ่ือช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในการ
จัดการเรียนการสอนภาไทยมากข้นึ
3) การปฏิบัติงานของครูที่เป็นคนไทยพุทธ คือเป้าหมายของการทาร้าย อาจมาจากความเช่ือผิดๆ
ของแนวคิดของผู้ก่อความไม่สงบท่ีแฝงตัวในพื้นที่ชุมขน หมู่บ้าน โดยเฉพาะเยาวชนของชาติ สิ่งที่ครูต้อง
ระมดั ระวงั เปน็ พเิ ศษ คอื
๓.๑) อย่าเลา่ ประวัตศิ าสตรห์ รือขุดคยุ เรอ่ื งในอดตี เกยี่ วกบั ดินแดน พื้นที่ การปกครอง
๓.๒) อย่าพดู ดูถูกดูหมิน่ ศาสนา / วัฒนาธรรม/ ประเพณีทีดงี าม
๓.๓) พยายามหาโอกาสในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมคนมุสลิมตลอดเพื่อความมั่นใจมี
สัมพนั ธภาพท่ดี ตี อ่ กนั
๓.๔) การแสดงความคิดเห็นของครูในเวทีต่างๆ ต้องเป็นกลาง ไม่บ่งบอกหรือสนับสนุนฝักใฝ่ฝ่าย
หน่ึงฝา่ ยใด
2.3 ผลทเี่ กิดขน้ึ กับผปู้ กครอง

ผู้ปกครองของผ้เู รียนของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง มี
ความตั้งใจในการส่งบุตรหลานเข้ามารับการศึกษา ทาให้ผู้ปกครองเกิดความภาคภูมิใจในบุตรหลานของตน
และมสี ว่ นรว่ มในการดาเนนิ การจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาดงั นี้

2.3.1 ผู้ปกครองมสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนนุ ประชาสัมพันธ์งาน กศน.
2.3.2 ความไว้วางใจของผูป้ กครองต่อการส่งเสริมให้นักศึกษาเข้ากิกรรมเข้าร่วมกิจกรรมท่ี
เปน็ การสง่ เสริมคณุ ภาพชีวิต
2.3.3 มีความเชื่อใจและมน่ั ใจวา่ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ
กาบงั จดั การศกึ ษาแก่เยาวชนในพืน้ ท่ไี ด้
สภาพความยากลาบากท่เี กิดกับผ้ปู กครองพร้อมทั้งการดาเนินการแกไ้ ข

๒๐

ปัญหาเรื่องรายได้สาหรับผู้ปกครองก็ส่งผลกระทบต่อนักศึกษา แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ของครูท่ี
เตรียมไว้ ไมส่ ามารถใช้ไดก้ บั ทุกคน ถา้ หากนักศกึ ษาตอ้ งช่วยงานหลกั ของครอบครวั

การแก้ไขปญั หา การมอบหมายงานใหท้ าตามเนือ้ หาของหลักสูตร ตรงกับแผนการเรียนรู้รายสัปดาห์
ในครัง้ นน้ั

2.4 ผลทเี่ กิดขนึ้ กบั ชมุ ชน
ชุมชนตา่ งๆ ในพ้ืนท่อี าเภอกาบงั ได้รบั ผลดังนี้
2.4.1 ชุมชนมีประชากรท่ีมคี วามรู้ ความสามารถ และสามารถยกระดบั การศึกษาของชุมชน

ได้ ผลเฉลย่ี ภาพรวมสงู ขน้ึ
2.4.2 ชมุ ชนเกดิ การพฒั นาประสานความรว่ มมือทุกภาคสว่ นทากิจกรรมของผู้เรียนในพื้นท่ี

เช่นการทากิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ จติ อาสาพัฒนาสาธารณะประโยชน์ ๆ เป็นต้น
2.4.3 ชุมชนไดร้ บั การยกระดับการศกึ ษาให้กับสมาชิกในชุมชน เช่น กลุ่มสตรี ผู้นาหมู่บ้าน

ผนู้ าท้องถ่นิ
สภาพความยากลาบากที่เกิดกบั ชมุ ชนพร้อมท้ังการดาเนนิ การแกไ้ ข
ส่วนใหญ่ไม่พบปัญหาความยากลาบากท่ีเกิดข้ึน เท่าที่ได้รับทราบจากสนทนาแลกเปล่ียนมักจะเป็น

เรอื่ งของการประกอบอาชพี ทมี่ น่ั คง ราคาผลติ ผลทางการเกษตรท่ีตกต่า ทาให้ประชาชนต้องออกไปหางานทา
ตา่ งพ้นื ทมี่ ากขึน้

2.5 ผลที่เกดิ ขน้ึ กับสถานศึกษา
ในการปฏิบตั ิหน้าทบ่ี รหิ ารของผู้ขอรับการประเมินในทกุ สถานศกึ ษาทผี่ า่ นมา

ทง้ั ๓ แห่ง ไดแ้ ก่ ทงั้ ผขู้ อรับการประเมนิ และบคุ ลากรมีความมงุ่ มนั่ และตัง้ ใจในการปฏบิ ตั ิงาน อีกทั้งผู้เรียน
เป็นผู้ท่ีมคี วามใฝเ่ รียนรู้ สง่ ผลทเ่ี กดิ ขึน้ กับสถานศกึ ษาดังน้ี

2.5.1 สถานศึกษาได้รับรางวัลในระดับจังหวัด ระดับประเทศ โดยได้รับการ
คัดเลือกให้ไดร้ ับรางวัลชุมชนต้นแบบการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยมย่ังยืน ประจาปี
2561 รางวัลสถานศึกษาดีเดน่ ระดับจงั หวัด รางวลั อันดบั 2 ห้องสมุดดเี ด่นระดบั จังหวัด เป็นต้น

2.5.2 สถานศกึ ษาได้รับการไว้วางใจจากหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ในการทางานใน
พ้นื ทใี่ หก้ บั ประชาชน ประเมนิ ไดจ้ ากการเชิญบคุ ลากร ของ กศน.ไปเป็นวิทยากรให้ความรู้ให้กับประชาชนใน
พ้นื ที่

2.5.3 สถานศึกษาได้รับการยอมจากประชาชนในพ้ืนท่ี การช่วยยกระดับคุณภาพ
ชวี ติ ในใหก้ บั ประชาชน ประเมนิ ได้จากการให้ความร่วมมือในทุกกิจกรรมท่ี กศน. อาเภอกาบังประสานความ
รว่ มมือในการจดั การศึกษาโครงการกจิ กรรมต่างๆ และบรรลวุ ัตถุประสงคท์ กุ กิจกรรม

สภาพความยากลาบากที่เกิดกบั สถานศึกษาพร้อมทงั้ การดาเนินการแก้ไข
1) สถานศึกษาไม่เป็นเอกเทศ อาคารของสานักงานส่วนหน่ึงต่อเติมจากห้องสมุด เป็นที่ปฏิบัติงาน
กศน. อาเภอกาบังส่วนที่สอง อาศัยปัจจัยจากนักศึกษา ประชาชนเครือข่าย ดาเนินการจัดสร้างขึ้นมาเป็น
อาคารไม้เล็กๆ บริหารจัดการได้ส่วนหน่ึงคือการซ่อมแซมปรับปรุงอาคารให้ม่ันคงแข็งแรงเท่าน้ัน การขอ

๒๑

งบประมาณเป็นไปด้วยความยากลาบาก ผู้ขอรับการประเมินในฐานะผู้บริหารสถานศึกษาในขณะนี้ได้
ประสานของวัสดุจากผู้นาชุมชน และเครือข่าย จาก ศฝช. ปัตตานี เพื่อใช้ในการสร้างอาคารไม้ กว้าง ๔
เมตร ยาว ๘ เมตร และได้จดั สร้างไปบางส่วนแลว้ เป็นการแก้ไขปญั หาของสถานศกึ ษาเบื้องตน้

2) สถานศึกษาขาดบุคลากรมีคุณวุฒิ จบปริญญาตรีดา้ นบริหารจักการเป็นส่วนใหญ่ จานวนน้อยมาก
ทีจ่ บดา้ น คณติ / วทิ ย์ / อังกฤษ / ภาษาไทย ซงึ่ เป็นวิชาพนื้ ฐานท่สี าคัญ การพัฒนาด้านความรทู้ าไดเ้ พียง
สง่ เสริมสนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรเขา้ รบั การอบรม / ประชุม / สัมมนา / ศึกษาดูงาน

3. ผลการปฏิบัตหิ นา้ ทีอ่ ืน่ ตามที่ได้รบั มอบหมาย
ผ้ขู อรบั การประเมนิ ไดป้ ฏิบัตหิ นา้ ทต่ี ามท่ไี ด้รับมอบหมาย มากมายด้วยกนั จึงขอยกตัวอย่างงานที่

ไดร้ ับมอบหมายดงั นี้
3.1) แต่งตั้งคณะกรรมการรว่ มงานชมุ นมลูกเสือบาเบญ็ ประโยชน์เฉลมิ พระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหา

มงคลพระราชพิธีบรมราชภิเษก ลูกเสือจิตอาสาทาความดีรวมใจภักดิ์ เทิดไท้องค์ราชัน ลงวันท่ี ๑๑
มถิ นุ ายน ๒๕๖๒

๓.๒) แต่งตั้งคณะทางานโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาปันศึกษาปอเนาะ ลงวันท่ี ๑๙
กรกฎาคม ๒๕๖๒

๓.3) แต่งต่ังกรรมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชภิเษก
ลงวนั ท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๒

๓.4) แต่งตง่ั คณะกรรมการดาเนนิ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศึกษานอกโรงเรียน
(N – NET ) ลงวันที่ ๑๔ สงิ หาคม ๒๕๖๒
๓.5) แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกห้องสมุดของสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ บริการ
ประชาชนเปน็ หลกั สานักงาน กศน. จงั หวัดยะลา ประจาปี ๒๕๖๒ลงวันท่ี ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๒
๓.6) แต่งตั้งคณะทางานโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและวางแผนการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั ยะลา ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒
๓.7) แตง่ ต้งั คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุของลกู จ่งเหมาบรกิ าร ลงวนั ท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๒
๓.8) แต่งต้ังคณะทางานโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามนโยบายและ
จดุ เนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน. จงั หวดั ยะลา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ลงวันท่ี ๒๑ พฤศจิกายน
๒๕๖๒
3.9) แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุของลกู จ้างเหมาบรกิ ารลงวนั ท่ี ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
๓.10) แต่งตง้ั คณะทางานโครงการอบรมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ปฏิบตั ิงาน ของสานกั งาน กศน. จังหวัดยะลาลงวนั ท่ี ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒
๓.๑1) แต่งตั้งคณะกรรมการร่วมงานชุมนมลูกเสือบาเบ็ญประโยชน์เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาส
มหามงคลพระราชพิธีบรมราชภิเษก ลูกเสือจิตอาสาทาความดีรวมใจภักดิ์ เทิดไท้องค์ราชัน ลงวันท่ี ๑๑
มถิ ุนายน ๒๕๖๒
๓.๑2) แตง่ ตง่ั คณะกรรมการดาเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกโรงเรียน
( N – NET ) ลงวนั ท่ี ๑๖ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒

๓.๑3) แต่งตัง้ คณะทางานด้านวิชาการ กศน. ยะลา WOWลงวนั ที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓
๓.๑4) แต่งตั้งคณะทางานโครงการมหกรรมวิชาการ กศน. ยะลา เพ่ือประชาชนลงวันที่ ๓๑
มกราคม ๒๕๖๓
คาส่ังแต่งต้ังจากหน่วยงานอืน่ มดี ังน้ี

คาสั่งจากสานักงานจงั หวดั ยะลา
๓.๑5) แต่งตั้งคณะทางานบูรณาการจัดทาแผนบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็กระดับอาเภอ
ลงวันท่ี ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๖๒

คาสั่งท่ีว่าการอาเภอ กาบงั
๓.๑6) แต่งต้ังคณะทางานจัดทาและตกแต่งขบวนแห่วัฒนธรรมงานของดีเมืองยะลา ลงวันท่ี ๙
พฤษภาคม ๒๕๖๒
๓.๑7) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการอานวยการและคณะทางานเตรียมการรับเสด็จ สมเด็จพระขนิษฐาธีร
ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า สยามบรมราชกุมารี ลงวนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒
๓.๑8) แตต่ ้งั คณะกรรมการและคณะทางานรับผิดชอบงานทอดกฐินสามัคคี ลงวนั ที่ ๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
๓.๑9) แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการคัดเลือกกรรมการท่ีปรึกษาการบริหารและพัฒนาจังหวัด
ชายแดนใต้ ระดับอาเภอ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒

คาสัง่ จากองค์การบริหารสว่ นตาบลกาบงั
๓.20) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการการจดั งานวนั เด็กแหง่ ชาติ ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

ลงชื่อ.......................................ผ้ขู อรบั การประเมนิ
(นายสมศกั ด์ิ นิจนารถ)

ตาแหน่ง ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบงั
วันท่ี 30 เดือนเมษายน พ.ศ. 2563

23


Click to View FlipBook Version