วัฒนธรรม
ภาคกลาง
-วัฒนธรรมดา นการเเตง กาย
-วัฒนธรรมดานอาหาร
-วัฒนธรรมดานภาษา
-วฒั นธรรมดานทอี่ ยูอาศยั
-ประเพณีภาคกลาง
คํานํา
หนังสือเลม่ นีเปนสว่ นหนงึ ของราย
วชาส31101 การคน้ คว้าและเขียน
หนังสือ
โดยมวี ัตถุประสงค์เพือใหท้ ราบเรองราย
ภาคกลาง
นําเสนอ
คณุ ครูชนนิ ทร์ สนุ าพันธ์
โดย
นายกญุ ช์ จนั ทร์แก้ว
สารบัญ
เนอื หา หนา้
.ว..ัฒ....น..ธ..ร..ร..ม...ด..า้..น...ก..า..ร..ต...า่ .ง..ก...า.ย...........................๑..........
.ว...ัฒ...น...ธ..ร..ร..ม...ด..า้ ..น..อ...า.ห...า..ร..................................๒..........
.ว...ัฒ...น...ธ..ร..ร..ม...ด..า้ ..น..ภ...า..ษ..า....................................๕..........
.ว...ัฒ...น...ธ..ร..ร..ม...ด..้า..น..ท...อี ..ย..อู่...า..ศ..ัย............................๖...........
.ป...ร..ะ.เ..พ..ณ....ภี ..า..ค...ก..ล..า..ง......................................๑...๐.........
วฒั นธรรมด้านกายตา่ งกาย
ผู้ชาย
ผชู้ าย สมยั กอ่ นการเปลยี นแปลงระบอบการ
ปกครอง นิยมสวมใส่โจงกระเบนสวมเสอื สีขาว ตดิ
กระดมุ 5 เมด็ ทีเรยกวา่ "ราชประแตน" ไวผ้ มสัน
ขา้ งๆตัดเกรยนถึงหนงั ศีรษะขา้ งบนหวแสกกลาง
ผู้หญิง
ผู้หญิง สมัยก่อนการเปลียนแปลงระบอบการ
ปกครอง นยิ มสวมใสผ่ า้ ซินยาวครงแข้ง หม่ สไบ
เฉยี งตามสมัยอยุธยา ทรงผมเกลา้ เปนมวย และ
สวมใสเ่ ครองประดับเพอื ความสวยงาม
โ ร ง เ รี ย น เ บ ญ จ ม ร า ชู ทิ ศ จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี
วัฒนธรรมดา้ นอาหาร
ภาคกลาง เปนภาคทีมีความอดุ มสมบรู ณ์มากกว่าภา
คอืนๆ ถือได้ว่าภาคกลางเปนอ่ขู ้าวอูน่ าํ ทสี ําคญั ของ
ประเทศไทย เนอื งจากสภาพทางภมู ิประเทศทเี ปนทีราบ
ลุ่ม มีแม่นาํ ลําคลอง หนอง บึงมากมาย ทาํ ใหภ้ าคกลาง
เปนแหล่งผลติ อาหารทีสําคญั ของประเทศไม่ว่าจะเปน
ด้าน เกษตรกรรม หรอปศสุ ตั ว์ นอกจากนนั ในบางพนื ที
ของภาคกลางยงั มีบางส่วนทีตดิ กับทะเลจึงทําให้มี
วัตถุดิบทีใช้ในการปรุงอาหารทหี ลากหลาย
ประเภทหลนและนาํ พรก
หลนต่างๆ มกั กนิ กับผกั
ดิบ นิยมใช้ปลาย่าง ปลา
ฟู ปลาทอด เปนเครอง
แนม
ปผนลกัําาพตฟม้รู กกกกะงุ้ ทเะคปิ นม็ กิยเินมปกในชบั ้
เครองแนม
ประเภทหลนและนําพรก
นาํ พรกลงเรอ นิยมใช้
หมูหวาน ไขเ่ คม็ ปลา
ชอ่ นย่างหรอปลาดกุ
ย่าง เปนเครองแนม
เหชวปน่ แาลเนกคปาๆง็มลเเคาผเหปแม็ ็ดรหนอแง้เนคตเปิยเรงนมรโอือยมใงชเวคแข้ ๆน็มอมง
แกงส้ม นยิ มใชข้ องเค็มๆ มันๆ เปนเครองแนม เชน่ ไข่เจยี ว ปลาเคม็ ไข่เคม็ หมูแดดเดยี ว
แกงควั นยิ มใชข้ องเคม็ ๆ เปรยวๆ เปนเครองแนม เช่น ปลาเคม็ ไข่เค็ม ผักกาดเค็ม
แกงมสั มัน นยิ มใชอ้ าจาด ผกั ดองอบนาํ สม้ ถัวลสิ งทอดเคลา้ เกลือ เปนเครองแนม
แกงขีเหล็ก นยิ มใชห้ วั ผกั กาดยาํ เคม็ เปนเครองแนม
ประเภทอาหารจานเดยี ว
ขา้ วมันสม้ ตํา นยิ มใชเ้ นือเค็มฝอยทอดกรอบ ไขเ่ ค็ม
ผกั สด เปนเครองแนม
ข้าวคลกุ กะป นิยมใชห้ มูหวาน กงุ้ แห้งทอดกรอบ ใบ
ชะพลูหนั ฝอย หอมแดง เปนเครองแนม
ขา วผดั นิยมใชแตงกวา ตน หอม มะนาว พรกิ ขหี้ นู
เป็นเคร่ืองแนม และมักจะมีแกงจดื เป็น เคร่ืองแนม
ประเภทยํา
ยาํ ไขจ่ ะละเมด็ นยิ มใชม้ ังคดุ เปนเครองแนม
ยาํ ปลาทนู ึง นิยมใชผ้ กั กาดหอม ใบชะพลู เปนเครองแนม
วัฒนธรรมด้านภาษา
ภาษากลางไดแ้ ก่ภาษาทใี ชพ้ ูดกนั ในจงั หวัดภาคกลางของ
ประเทศไทย เช่น สุพรรณบุร อ่างทอง ราชบรุ กาญจนบรุ
นครปฐม และพระนครศรอยธุ ยา เปนต้น ภาษาภาคกลาง
ทสี ําคัญ คอื ภาษากรุงเทพฯ ซึงเปนภาษาราชการ และ
เปนภาษาประจําชาติ
การแบ่งภาษาถนิ เปนการแบ่งอยา่ งคร่าวๆ ซงึ ตาม
สภาพความเปนจรงแล้วภาษาในแต่ละภาคไม่เหมือนกนั
ทเี ดยี ว มคี วามผดิ เพียนกันไปบ้าง ภาษากรุงเทพฯ ถือ
เปนภาษาถนิ ภาคกลางทยี อมรับกันว่าเปนภาษา
มาตรฐานทกี าํ หนดให้คนในชาติใชร้ ่วมกนั เพอื สือสาร
ให้ตรงกัน แตภ่ าษาถินทุกภาษามศี ักดิศรความเปน
ภาษาเทา่ เทยี มกัน ถ้าเราเข้าใจและสามารถใช้ภาษาถิน
ได้ จะทาํ ใหส้ ือสารสัมฤทธผิ ลและเสรมสร้างความเข้าใจ
อนั ดีต่อกันยงิ ขนึ
วฒั นธรรมดา้ นทอี ยูอ่ าศัย
บา้ นทรงไทยนบั ว่าเปนภูมิปญญาของบรรพบรุ ุษไทย ทไี ด้คดิ สร้างทอี ยู่
อาศยั ทเี หมาะสมกับสภาพภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ และประโยชน์ใช้สอย คือ
เปนเรอนยกพืนสูง เพอื ปองกันนําทว่ มตัวเรอน เพราะในปลายฤดู ฝนจะมี
นาํ ปาไหลหลากจากทางเหนอื มาท่วมพืนทีลมุ่ ในภาคกลาง หากมลี มพายกุ ็
สามารถพดั ผา่ นใต้ถนุ เรอนไปได้ ใต้ถนุ เรอน สามารถใชเ้ ปนสถานทีทอผ้า
ตาํ ข้าว เก็บของ ส่วนหลังคาทีสงู และลาดชันกเ็ หมาะ กับสภาพอากาศที
ร้อนอบอ้าว และมฝี นตกชุกของภาคกลาง เพราะทําให้อากาศร้อนจาก
ภายนอกถา่ ยเทมา ยงั หอ้ งไดช้ า้ และทาํ ให้ฝนไหลลงอยา่ งรวดเร็ว รอบตัว
เรอนมชี ายคายนื ยาว เพอื ปองกนั กันฝนสาด และ แสงแดด การสร้างบา้ น
ยังคาํ นึงเรองทศิ ทางของการระบายลม และระบายความร้อน โดยลม
ประจําทพี ัดผา่ น เรยกว่า ลมว่าว หรอลมตะเภา พัดจากทศิ ใต้ไปทิศเหนือ
การวางตวั เรอนจึงต้องหันทางทศิ ใต้ หรอทิศเหนือ เพอื ใหล้ มพัดผา่ น
บ้านเรือนไทย หรือ เรือนไทย
เรือนไทยภาคกลางจะสรา้ งด้วยไม้ แบง่ เปน 2 ประเภท คือ
๑.เรือนเครืองสับ เปนเรือนทีทําด้วยไม้เนือแขง็
๒.เรือนไม้ผูก
เปนเรอนทที าํ ด้วยไม้ไผเ่ ปนส่วนใหญ่ เอกลกั ษณข์ องคนไทย คอื
ยกพืนสงู มีใตถ้ นุ เรอน หลงั คาหนา้ จัวทรงสงู สร้างโดยไม่ใชต้ ะปู
แต่จะนําจาํ นวนต่างๆ ของเรอนมาประกอบกนั เรยกว่าการเข้าไม้
ทาํ ให้สะดวกต่อการยา้ ยบา้ น
เรือนคหบดี
เปนเรอนของผ้ทู ีมฐี านะ เจ้าของตังใจสร้างขึนให้มขี นาดใหญ่
โต หรูหรา เหน็ ไดช้ ัดเจนจาก การวางผงั
เรือนร้านคา้ ริมทาง
เปนเรอนทสี ร้างขึน เพือประโยชน์
ทางการค้า และใชพ้ ักอาศยั ไปใน
ตวั มจี ดุ มุ่งหมายเช่นเดยี วกับ
เรอนร้านคา้ รมนาํ การขนส่งใช้
เกวยนเปนพาหนะ
เรือนตาํ หนัก
เปนเรอนสําหรับเชอื พระวงศห์ รอเจ้านายชันผใู้ หญ่ มีขนาด
ใหญ่ หลายชว่ งเสา ลกั ษณะคลา้ ยกุฏสิ งฆ์ ซึงนํามารวมกัน
จาํ นวน 6-9 ห้อง ฝาลกู ปะกน มีสดั ส่วนใหญ่โตกว่าเรอน
ธรรมดา ลบมุมลูกตังลกู นอน ดา้ นหน้า เปนระเบยี ง มุมสดุ
หัวทา้ ยของระเบียงกันเปนห้องนํา หอ้ งส้วมและหอ้ งเก็บ ของ
ระเบยี งนเี รยกว่า "พะไล" ถ้าเจ้าของเรอนเปนเชือพระวงศก็
จะมชี อ่ ฟาใบ ระกาประดบั ปลายหลังคา ด้านหน้าจวั
กฏุ ิสงฆ์ เปนเรอนพักอาศยั ชนิดหนงึ ของ
เรือนแพ พระภิกษุสงฆ์ ลกั ษณะคล้าย
เรอนทังหลายทีกล่าวมา กุฏบิ าง
หลงั เปนเรอนของชาวบา้ นรอมา
ถวาย เพราะเปนเรอนของบดิ า
มารดาทลี ว่ งลบั ไปแลว้ เพอื อทุ ศิ
ส่วนกุศลผลบุญ ไปให้ แต่กุฏิ
สงฆท์ ัวไปนันมลี ักษณะมากมาย
หลายแบบ
คอื ร้านคา้ รมนําทลี อยนาํ
เคลอื นทไี ปมาได้ รวมทังเปนที
อยอู่ าศยั หลับนอน มลี กั ษณะ
เหมือนเรอนไทยแฝด หลังใน
เปนทีพักผอ่ นหลับนอน สว่ น
หลังนอกเปนร้านค้า มฝี าหน้า
ถังปดเปด ด้านหน้าเปนระเบียง
ตดิ กบั นํา บางหลังมีระเบยี ง
รอบตัวเรอน
ประเพณีภาคกลาง
ประเพณี หมายถงึ สิงทีแตล่ ะสังคมนิยมยดึ ถือ
ประพฤตปิ ฏิบัติสบื ทอดกนั มาจนเปนแบบแผนทดี ี
งาม ทงั นีการป บตั ิตามประเพณยี ่อมจะต้องมีการ
เปลยี นแปลงแกไ้ ขบา้ ง คงไว้บา้ ง ประเพณเี ปนสงิ ที
แสดงถงึ สญั ลักษณ์ของชาติ ไม่ว่าชาติใด ภาษาใด
ตอ้ งมีประเพณีประจาํ ทอ้ งถนิ หรอชุมชน ประจาํ ชาติ
ของตน
ประเพณีรับบัว
ประเพณีรับบัว เปนประเพณีเกา่ แก่ทเี กดิ และจัดขนึ ในอาํ เภอ
บางพลี จงั หวัดสมุทรปราการ มาช้านานแตเ่ พิงปรากฏหลักฐาน
ในราว พ.ศ. ๒๔๖๗ ว่าเดิมจัดในวันขึน ๑๔ คาํ เดอื น ๑๑ ของ
ทกุ ป และจากคาํ บอกเล่าของผู้เฒ่าผแู้ ก่ชาวอาํ เภอบางพลีดงั
เปนทีทราบกันโดยทวั ไปแล้วนันเอง และชาวอาํ เภอบางพลี
จังหวัดสมุทรปราการมสี งิ หนึงทชี ว่ ยยืนยนั ถงึ ความเปนผู้มนี าํ ใจ
ไมตรของ คนไทยเช่นกัน สิงนนั คอื มรดกทางวัฒนธรรมที
บรรพบรุ ุษของชาวบางพลไี ดม้ อบไว้ใหล้ ูกหลานของ ตน นันคือ
“ประเพณรี ับบัว”
ประเพณีอุ้มพระดาํ นา
เปนประเพณีที ได้ร่วมมอื กนั จัดขนึ ในวันแรมสบิ ห้าคําเดือนสบิ ประวัติความเปน
มาของประเพณีอมุ้ พระดาํ นาํ กค็ ือ เมอื ประมาณ 400 ปทผี ่านมามชี าวบา้ นกลมุ่
หนึงมีอาชพี หาปลาขาย ไดไ้ ปหาปลาทแี มน่ ําปาสกั เปนประจาํ ทกุ วัน อยูม่ าวัน
หนึงก็ได้เกิดเรองทีไมม่ ใี ครให้คาํ ตอบได้ว่า เกดิ อะไรขนึ เพราะวันนนั ไมม่ ีใครจับ
ปลาไดส้ กั ตัว จากนันก็เกดิ เหตกุ ารณป์ ระหลาดขึนตรงบรเวณ วังมะขามแฟบ
(ไมร้ ะกํา) ซงึ ปกตบิ รเวณนนี ําจะไหลเชียวมาก จู่ ๆ นําก็หยดุ ไหล และมีพลายนาํ
ผดุ ขึนมา แล้วพระพทุ ธรูปกผ็ ลุดขนึ มาด้วย ชาวบา้ นจงึ ไดอ้ ญั เชญิ พระพทุ ธรูป
องค์ดังกล่าว ขนึ จากนําและนําไปประดษิ ฐานไว้ทีวัดไตรภมู ิ เปนพระพุทธรูปคู่
บา้ นคเู่ มอื งของจังหวัดเพชรบรู ณ์ จนกระทงั ถงึ วันสารทไทยหรอ วันแรม 15 คาํ
เดือนสบิ พระพุทธรูปองค์ดังกลา่ ว (พระพุทธมหาธรรมราชา) กไ็ ดห้ ายไปจาก
วัด ชาวบา้ นจงึ ช่วยกันตามหาและเจอพระพุทธรูป อยู่บรเวณวังมะขามแฟบ
จากนนั เปนตน้ มา พอถึงวันแรม 15 คาํ เดือน 10 ชาวจังหวัดเพชรบรู ณ์ ก็จะจดั
งานซงึ เรยกว่า “อมุ้ พระดาํ นาํ ”
ประเพณีวิงควาย
เปนหนงึ ในประเพณอี นั เปนเอกลกั ษณ์ของ
จังหวัดชลบุรทมี ีการจัดมากว่า 100 ปแลว้
ประเพณีวงควาย เปนประเพณที ีจัดขึนเปน
ประจาํ ทุกป ในวันขึน 14 คํา เดอื น 11 หรอ
กอ่ นออกพรรษา 1 วัน เพือเปนการทาํ ขวัญ
ควายและให้ควายไดพ้ กั ผ่อนหลงั จาก
ตรากตรํากับการงานในทอ้ งนามายาวนาน
นอกจากนปี ระเพณวี งควายยังเปนการแสดง
ความกตญั รู ู้คุณต่อควายทเี ปนสัตว์มีบุญ
คุณตอ่ ชาวนาและคนไทยอกี ทงั ยงั เพอื ใหช้ าว
บ้านไดม้ ีโอกาสพกั ผ่อนมาพบปะสงั สรรค์กัน
ในงานวงควาย
บรรณานุกรม
ข้อมูลของวัฒนธรรมการเเต่งกาย(ออนไลน์)สบื ค้นจาก
:https://sites.google.com/site/thanawantachasarsnsirikul43/kar-taeng-
kay-phakh-klang
วันทีสืบค้น : 3/11/63
ข้อมูลของวัฒนธรรมด้านอาหาร(ออนไลน)์ สืบค้นจาก
:https://thaifoodtoday.wordpress.com/test/
วันทสี บื คน้ : 3/11/63
ข้อมูลของวัฒนธรรมดา้ นภาษา(ออนไลน)์ สบื คน้ จาก
:https://sites.google.com/site/adecmjuu2605/wathnthrrm-phakh-
klang/phasa-khxng-phakh-klang
วันทสี บื ค้น : 3/11/63
ขอ้ มูลของวัฒนธรรมด้านทีอยู่อาศัย(ออนไลน)์ สืบคน้ จาก
:https://sites.google.com/site/wathnthrrmthiy123/home/wathnthrrm-
thiy-phakh-klang
วันทีสืบคน้ : 3/11/63
ขอ้ มลู ของประเพณีภาคกลาง(ออนไลน)์ สืบคน้ จาก
:https://sites.google.com/site/praphenithiykib5543/prapheni-phakh-
klang
วันทสี ืบคน้ : 3/11/63
สมาชกิ กล่มุ
นาย กิตติพัฒน์ อมิ ผอ่ ง ม.4/14 เลขที 3
นาย กุญช์ จนั ทรเ์ เก้ว ม.4/14 เลขที 4
นาย จริ ภทั ร เจริญชาติ ม.4/14 เลขที 5
นาย ฐิตศิ ักดิ สงั ฆเวช ม.4/14 เลขที 6
นาย พัทธดนย์ ฤทธิเลิศชัย ม.4/14 เลขที 9
นาย วชริ ะ โภชเจรญิ ม.4/14 เลขที 10