The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทางาน
(Work Integrated Learning : WIL)
คณะวิทยาการจัดการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Prasittichai Chaiyan, 2020-06-18 03:10:20

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทางาน

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทางาน
(Work Integrated Learning : WIL)
คณะวิทยาการจัดการ

Keywords: WIL

หน้า 1

รายงานผล
การจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการกบั การทางาน

(Work Integrated Learning : WIL)

ปกี ารศึกษา 2562
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย

หน้า 2

สารบัญ

ส่วนท่ี 1 การจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการกับการทางาน 1

สว่ นที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกบั การทางาน 10

สว่ นที่ 3 ระบบและกลไกการจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการกบั การทางาน 14
ส่วนที่ 4 หลักสตู รฯท่ีมีการจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการกับการทางาน 19
สว่ นท่ี 5 แนวปฏิบตั ิการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการกบั การทางาน 20
ส่วนท่ี 6 รายงานผลการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทางาน 21
ส่วนท่ี 7 ภาคผนวก 27

หน้า 3

สว่ นที่ 1 การจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการกับการทางาน

ความหมายของการจดั การศึกษาเชิงบูรณาการกบั การทางาน
(Work Integrated Learning : WIL)

"การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางาน(Work Integrated Learning : WIL)" เป็นกรณี
หน่ึงของการเรียนรู้เชิง ประสบการณ์ ท่ีช่วยให้นักศึกษามีโอกาสในการประยุกต์ความรู้ ทักษะการทางาน และ
ทักษะเฉพาะที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ ได้รู้จัก ชีวิตการทางานท่ีแท้จริงก่อนสาเร็จการศึกษา การจัดการเรียนการสอน
แบบบูรณาการการเรียนกับการทางาน (Work- integrated Learning) คือ การจัดการศึกษาแบบผสมกลมกลืน
ระหว่างประสบการณ์ทางานทางวิชาชีพนอกห้องเรียน กับการเรียนในห้องเรียน ทั้งในรูปแบบการศึกษาวิจัย การ
ฝึกงาน การทา งานเพื่อสังคม การทางานในสถานประกอบการหรือการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ เป็นการจัดการ
เรยี นการสอนแบบผสมกลมกลืนกันระหว่างการเรียนในห้องเรียนกับการหาประสบการณท์ างานนอกห้องเรียนโดย
การประยุกต์ใช้เทคนิคการสอนตามรูปแบบท่ีเหมาะสมตามเนื้อหา รายวิชาเง่ือนไขของการจัดการเรียนการสอน
แบบบูรณาการการเรียนกบั การทางาน ในรายวชิ า

1. ต้องมีการผสมกลมกลืน มีจุดร่วม และหลอมรวมกันระหว่างความรู้ทางทฤษฎีที่ได้จากการเรียน
ใหอ้ งเรียนกบั ประสบการณท์ างานนอกหอ้ งเรียน

2. ตอ้ งเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาในรายวชิ า
3. ตอ้ งอยใู่ นสภาพแวดล้อมของการทางานจริง
4. งานทีฝ่ กึ ปฏิบัติตอ้ งเป็นงานท่มี คี ุณภาพหรือสามารถพฒั นาศักยภาพของนักศึกษาได้

การจดั การเรียนการสอนเชิงบูรณาการกับการทางาน สามารถแบง่ กลุ่มบูรณาการตาม
ระยะเวลาทีเ่ ข้าศึกษาในหลักสูตรดังนี้

1 บรู ณาการก่อนเขา้ ศึกษาในหลกั สตู ร

2 บรู ณาการระหวา่ งเรียนตลอดหลกั สตู ร

3 บรู ณาการชว่ งท้ายของหลักสตู ร

4 บูรณาการกอ่ นสาเร็จการศกึ ษา

หน้า 4

แตล่ ะประเภทสามารถจัดเป็นระบบการเรยี นการสอนท้ังหลักสูตร จัดเป็นรายวชิ า และ
จดั เป็นกจิ กรรมการเรยี นการสอนทีเ่ ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชา ทั้งนขี้ ึ้นอยู่กบั ความเหมาะสมของแตล่ ะหลักสตู ร/
สาขาวิชา

รปู แบบการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการกบั การทางาน

การจดั การเรียนการสอนเชงิ บูรณาการกับการทางาน มี 9 รูปแบบดงั ต่อไปนี้

1 การกาหนดประสบการณ์ก่อนการศกึ ษา (Pre-course Experience)

เป็นกจิ กรรมทีจ่ ดั ให้ผ้เู รียนไดเ้ ข้าไปสัมผสั ประสบการณ์จรงิ ในสถาน

ประกอบการเพื่อเรียนรู้บทบาทของผู้ประกอบ บทบาทของอาชพี ที่ผู้เรียนสนใจก่อนการเรียนเนื้อหาตามหลักสูตร

หรือก่อนเลือกสาขาวิชา สามารถจัดเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชา ต้องจัดควบคู่กับประเภทอื่นเพื่อให้เกิดการบูรณา

การกับการทางานทีส่ มบรู ณ์ มีองคป์ ระกอบที่สาคญั ดังน้ี

(1) ผู้เรยี นต้องเขา้ ไปอยู่ในส่ิงแวดล้อมทางวชิ าชพี กอ่ นเร่ิมการศึกษาหรือเลือกสาขาวชิ า

1 บูรณาการกอ่ น (2) มกี ารกาหนดประเดน็ ทเ่ี กี่ยวข้องในวิชาชพี ใหผ้ ูเ้ รียนสังเกตการณแ์ ละเก็บข้อมลู เช่น
เข้าศกึ ษาในหลกั สตู ร สภาพแวดล้อมในการทางาน บทบาทของบุคคลในวชิ าชีพ ลกั ษณะตาแหนง่ งานของ
แผนกตา่ งๆ

(3) มกี ารนาประเด็นที่ไดจ้ ากการสังเกตมาสะท้อนคิด (Reflection) แลกเปลย่ี นกบั

ผู้เรียน ด้วยกันเองและกับคณาจารย์

(4) ผูเ้ รยี นสรปุ ข้อคน้ พบ เช่น ความคดิ รวบยอดเกี่ยวกบั วชิ าชีพ (Concept) บทบาท

ของบุคคลในวิชาชพี บทบาทของตาแหน่งงานในแผนกต่างๆ ในสถานประกอบการ

โดยนาเสนอในรปู แบบรายงานหรอื แผนผังความคิด (Mind Mapping)

หนา้ 5

2 การเรยี นสลับกับการทางาน (Sandwich Course)

เป็นระบบการเรียนการสอนทส่ี ลับการเรียนในสถานศึกษากบั การทางานใน

สภาพจรงิ อยา่ งต่อเน่อื งตลอดหลักสูตร เพื่อใหผ้ ้เู รียนสามารถนาความรจู้ ากสถานศึกษาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ

ทางานและ นาประสบการณ์จากการทางานกลบั มาเป็นประเดน็ การเรยี นในสถานศึกษา โดยผเู้ รยี นต้องมตี าแหน่ง

งาน สงู ขึน้ หรือลักษณะงานซับซ้อนข้นึ ตามชั้นปีหรือรายวชิ าทศ่ี ึกษา มีองคป์ ระกอบสาคัญดังน้ี

(1) การจดั หลักสตู รแบบแซนวิช แบง่ ออกเป็น 2 แบบ ได้แก่

(1.1) แซนวชิ แบบบาง (Thin Sandwich) เป็นการเรียนในสถานศึกษา

2 ควบคู่กบั การทางานในสภาพจริงตลอดหลักสตู ร
บรู ณาการระหวา่ ง (1.2) แซนวิชแบบหนา (Thick Sandwich) เป็นการเรียนภาคการศึกษาปกติ

เรียนตลอดหลักสตู ร (Academic Term) ในสถานศึกษาสลับกบั ภาคการทางาน (Work Term)
ในสภาพจริง

(2) ตอ้ งเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดเ้ ช่ือมโยงความรภู้ าคทฤษฎีจากสถานศึกษากบั

ประสบการณ์การทางานในสภาพจริง

(3) มีคณาจารยใ์ นสถานศึกษาและพี่เลย้ี งในสภาพจริงดแู ลผูเ้ รียนอย่างใกลช้ ิด

(4) ตาแหนง่ งานทีผ่ ูเ้ รยี นได้รับจะต้องสงู หรือมลี ักษณะงานซับซอ้ นขนึ้ ตามช้ันปี

การศกึ ษา

(5) ผเู้ รียนตอ้ งได้รบั ค่าตอบแทนในระหว่างการทางาน

(6) คณาจารยป์ ระเมนิ ผลการศึกษาและพ่เี ลี้ยงในสภาพจริงประเมนิ ผลการ

ทางาน

หน้า 6

3 สหกิจศึกษา (Cooperative Education)

3
เป็นระบบการเรยี นการสอนหรอื การจัดรายวิชาทใ่ี ห้ประสบการณท์ างวิชาชีพแก่

ผู้เรียน โดยอาศยั ความรว่ มมือกบั สถานประกอบการภายนอกสถานศกึ ษาด้วยการทางานจรงิ เตม็ เวลามที ้งั แบบ

สลบั ภาคการศึกษากบั ภาคการทางานและแบบทางานตอ่ เนื่องระยะยาว มอี งค์ประกอบท่ีสาคัญดังนี้

(1) การจัดหลักสูตรแบบสหกจิ ศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ 2 แบบ ได้แก่

(1.1) แบบสลับภาคการศึกษากับภาคการทางานตัง้ แต่ 2 ภาคการทางาน

ขน้ึ ไป

(1.2) แบบต่อเน่ือง 1 ภาคการทางาน ต้ังแต่ 16 สปั ดาห์ขึ้นไป

(2) มกี ารเตรยี มความพร้อมและจดั หางานให้แก่ผู้เรียน

(3) มีการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่สถานประกอบการทใ่ี ห้ความร่วมมือ

2 (4) มคี ณาจารยน์ เิ ทศในสถานศกึ ษาและผนู้ เิ ทศงานในสถานประกอบการที่
บรู ณาการระหวา่ ง ผ่าน การเตรียมความพร้อมในการนิเทศ ดแู ล และติดตามความก้าวหน้า
ของผเู้ รยี นในการทางาน
เรียนตลอดหลักสตู ร

(5) ต้องเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้เช่ือมโยงความรภู้ าคทฤษฎีจากสถานศึกษากบั

ประสบการณก์ ารทางานในสถานประกอบการในลกั ษณะงานประจาหรอื

การพัฒนากระบวนการคดิ แบบโครงงาน

(6) ผู้เรยี นต้องได้รับค่าตอบแทนและสวัสดิการในระหว่างการทางาน

(7) มกี ารนาเสนอและสะทอ้ นผลการปฏบิ ัตงิ านของผเู้ รยี น

(8) มกี ารแบ่งสดั ส่วนการประเมินผลระหวา่ งคณาจารย์นิเทศในสถานศึกษา

และผูน้ ิเทศงานในสถานประกอบการ

หนา้ 7

4 หลักสตู รร่วมมหาวทิ ยาลัยและอุตสาหกรรม (Joint Industry
University Course)

เป็นระบบการเรียนการสอนท่ีร่วมกันจดั ทาหลักสูตรและจัดการเรียนการ

สอนระหวา่ ง สถานศกึ ษากบั องค์กรร่วมผลติ ที่มีองค์ความรู้ในสาขาวิชาชีพนั้นๆ เพื่อใหผ้ ู้สาเร็จการศกึ ษามผี ลลัพธ์

การเรยี นรู้ตรงตามท่ตี กลงกนั ไว้มีองค์ประกอบทีส่ าคัญดังน้ี

(1) ผทู้ ่ีจะขบั เคลื่อนความร่วมมือต้องมาจากผู้บริหารระดับสูงทั้งสอง

องค์กร ตอ้ งสรา้ ง เปา้ หมาย ขอ้ ตกลงความร่วมมือ และผลประโยชน์

ร่วมกนั อย่างชดั เจน

(2) มีการประเมนิ จุดแข็งทางด้านวิชาการของสถานศกึ ษาและ

ความสามารถ ด้านการวิจยั และพัฒนาขององค์กรร่วมผลติ

2 (3) ตอ้ งมีบคุ คลทีม่ ีความสามารถในการประสานและจัดการความรว่ มมือ
บรู ณาการระหวา่ ง (4) เน้นการเรยี นเพื่อแก้ไขโจทยจ์ ริงจากภาคอุตสาหกรรมหรือภาคธุรกิจ

เรยี นตลอดหลกั สตู ร โดยนาเอา ความรู้จากห้องเรยี นมาประยุกต์ใช้หรือภาคธุรกิจ
(Problem-based Learning)

(5) ผเู้ รยี นต้องพฒั นากระบวนการคิดด้วยโครงงานวิจยั ซ่ึงเปน็ ปญั หาจรงิ

จากภาคอตุ สาหกรรม (Project-based Learning)

(6) มีคณาจารยป์ ระจาองค์กรร่วมผลิตดูแลผเู้ รียนอยา่ งใกลช้ ดิ

(7) รายงานทางวิชาการที่เกิดจากผลงานของผู้เรยี นจะถูกจดั เก็บไว้ใน

องคก์ รรว่ มผลติ หรือตามข้อตกลงทไ่ี ดร้ ะบไุ ว้

(8) ผู้เรียนต้องนาเสนอผลงานท่ีสถานศึกษาเม่อื เสรจ็ สิ้นการทางาน

หน้า 8

5 การปฏิบัตงิ านภาคสนาม (Fieldwork)

เป็นรายวิชาหรือเป็นกจิ กรรมหนึ่งของรายวิชาที่ใหผ้ ู้เรยี นทางานในชมุ ชนหรอื

พื้นทเ่ี ชงิ ภมู ิประเทศในรปู แบบต่างๆ ด้วยการสลับกับการเรียนในหอ้ งเรยี น โดยการปฏิบัติงานภาคสนาม แต่ละ

ช่วงจะมีความต่อเนือ่ งจากงา่ ยไปยากเม่อื ชน้ั ปีของผู้เรียนสูงข้นึ ตามลาดบั มีองคป์ ระกอบทส่ี าคัญดงั นี้

(1) ใหผ้ ูเ้ รยี นเขา้ ไปมีส่วนรว่ มของการทางานในสภาพจรงิ เชน่ ชมุ ชน พืน้ ท่ี

เชิงภมู ปิ ระเทศเปน็ ระยะเวลาสน้ั ๆ ตอ่ เนอ่ื งตลอดหลกั สตู ร

(2) มกี ารเพ่ิมเนอ้ื หาการปฏบิ ัติงานภาคสนามทส่ี อดคล้องกับสาขาวชิ าชีพตาม

ช้นั ปกี ารศกึ ษาของผเู้ รียน

2 (3) มีการเตรียมความพร้อมผเู้ รยี นด้านความปลอดภัยและการป้องกนั
บรู ณาการระหว่าง โรคติดต่อก่อนไป ปฏบิ ตั ิงานภาคสนาม

เรยี นตลอดหลักสูตร (4) เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนไดป้ ระยกุ ต์ใช้ความรจู้ ากสถานศึกษากบั การทางาน
ภายใต้ สภาพจรงิ

(5) มีการนาวิธีการบูรณาการกบั การทางานในรปู แบบอ่นื มาสอดแทรกใน

หลักสตู ร การปฏบิ ตั ิงานภาคสนาม เช่น การฝึกงานเฉพาะตาแหนง่

(Practicum) การเรียนด้วยการพฒั นา กระบวนการคิดแบบโครงงาน

(6) มกี ารประเมนิ ผลผเู้ รียนเปน็ ระยะท้ังระหวา่ งและสนิ้ สุดการปฏบิ ัตงิ าน

ภาคสนาม

หนา้ 9

6 การฝกึ งานท่ีเน้นการเรยี นรหู้ รือการตดิ ตามพฤตกิ รรมการทางาน
(Cognitive Apprenticeship or Job Shadowing)

เปน็ กิจกรรมใหผ้ ้เู รยี นเรยี นรปู้ ระสบการณจ์ ากพฤติกรรมการทางานของผู้ที่

ประสบ ความสาเรจ็ ในการทางานแลว้ หรอื เปน็ บุคคลต้นแบบ ดว้ ยการสงั เกต การพูดคุย และทางานร่วมกัน

สามารถจดั เป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิชาแกนของหลักสตู ร ต้องจดั ควบค่กู ับประเภทอน่ื เพ่ือให้เกิดการบูรณาการกับ

การทางานที่สมบรู ณ์มอี งค์ประกอบท่สี าคัญดงั นี้

(1) มีการกาหนดผถู้ กู ติดตาม (Host/Role Model/Idol) และผู้ตดิ ตาม

(Visitor/ Guest)

3 (2) มีการเตรยี มความพร้อมผ้เู รียนกอ่ นการเรียนรู้หรือติดตามพฤติกรรมการ

บูรณาการช่วงทา้ ย ทางาน เชน่ การวางแผนการตดิ ตาม และกจิ กรรมท่ตี ้องตดิ ตาม

ของหลักสูตร (3) ผู้เรยี นหรือผตู้ ดิ ตามสามารถเรียนรหู้ รือติดตามพฤติกรรมการทางานของ
ผู้ถกู ติดตามไดโ้ ดยการสังเกต การพดู คุย และการทางานร่วมกับผูถ้ ูกตดิ ตาม

(4) ประเมินผลด้วยการสะท้อนคดิ ท้งั ผู้เรียนหรอื ผตู้ ิดตามด้วยกนั เองและ

ร่วมกับผู้ถูก ตดิ ตามในรูปของการสนทนากลมุ่ ยอ่ ย (Focus Group) เพ่ือ

แลกเปลยี่ นประสบการณ์

7 การบรรจใุ หท้ างานหรือการฝึกเฉพาะตาแหน่ง (Placement or
Practicum)

เปน็ รายวชิ าทเี่ น้นให้ผู้เรยี นทางานหรอื ฝกึ งานเฉพาะตาแหนง่ ในสภาพจรงิ
หลังจาก ท่ีเรียนในสถานศกึ ษาไปแลว้ ระยะหน่ึง โดยผูเ้ รียนสามารถเรียนรายวิชาที่มีเน้ือหาสัมพันธ์กบั งานควบคู่
ไปด้วย มีองค์ประกอบสาคญั ดงั นี้

(1) ผู้เรียนต้องได้รับการฝกึ ตรงตามสาขาวิชาท่ีศกึ ษา
(2) ผเู้ รยี นต้องเรยี นควบคู่กบั การทางานในสภาพจริงเปน็ ระยะเวลานาน

เพียงพอในการ เรยี นร้ปู ระสบการณ์เพื่อให้มีทกั ษะและสมรรถนะตาม
วชิ าชีพ

หนา้ 10

3 (3) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั ความรูท้ างทฤษฎีก่อนการทางานหรือเรียนควบคกู่ ับการ
บรู ณาการชว่ งท้าย ทางาน ในชัน้ ปีทสี่ ูงขนึ้

ของหลกั สูตร (4) มีการเตรยี มความพร้อมผเู้ รียนก่อนการทางานทั้งความสามารถในการเข้าสู่
งานและ ความสามารถในการทางาน

(5) มคี ณาจารย์หรือครูฝกึ ดูแลและติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน
(6) ผู้เรียนมกี ารแลกเปลีย่ นประสบการณด์ ้วยการสะท้อนคิด (Self-

reflection) ระหว่างการทางานท้งั กับผู้เรียนดว้ ยกนั เองและกบั คณาจารย์
(7) มกี ารประเมินผลผเู้ รียนเป็นระยะทั้งระหวา่ งการทางานและเม่ือสน้ิ สดุ การ

ทางาน

8 พนักงานฝกึ หัดใหม่หรอื พนักงานฝึกงาน (New Traineeship or
Apprenticeship)

เป็นรายวชิ าเพ่อื เตรยี มผ้เู รียนในตาแหนง่ งานทสี่ ถานประกอบการต้องการก่อน

สาเรจ็ การศึกษา โดยผเู้ รยี นควรได้งานทาในตาแหนง่ นัน้ ทนั ทเี ม่ือสาเรจ็ การศึกษา มีองค์ประกอบทีส่ าคัญดังน้ี

(1) เป็นการเตรยี มผูเ้ รยี นให้มีทกั ษะวชิ าชพี ทีพ่ ร้อมทางานไดท้ นั ที (Work

Ready)

(2) มกี ารเตรยี มความพร้อมผ้เู รียนใหส้ ามารถเข้าสู่งานที่ตนสนใจ เชน่ การ

4 เลอื กงาน และอาชพี การเขียนจดหมายสมัครงานและประวัติย่อ เทคนคิ
บูรณาการก่อน การสมั ภาษณง์ าน พ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
(3) มีการเรยี นเน้ือหาหรือรายวิชาทตี่ รงตามความต้องการของสถาน
สาเร็จการศึกษา ประกอบการทร่ี ับ เขา้ ฝกึ หรอื ทางาน

(4) มีการผสมผสานกันระหวา่ งการเรยี นรูแ้ ละการทางาน (On-the-job

Learning) ท่สี ามารถเชอื่ มโยงความรู้ทางทฤษฎีควบคู่กับการทางาน ทัง้

การทางานประจา การวิจยั หรอื การพัฒนา กระบวนการคิดแบบโครงงาน

(5) ตอ้ งมงี านและสถานประกอบการรองรบั เมื่อสิ้นสดุ การเรยี น

หน้า 11

9 การฝกึ ปฏิบตั จิ รงิ ภายหลังสาเร็จการเรยี นทฤษฎี (Post-course
Internship)

เป็นรายวชิ าที่เนน้ ให้ผู้เรียนทางานในสภาพจรงิ โดยใช้ความคดิ รวบยอดจาก

การเรียน ตลอดหลกั สตู รหลงั จากเรยี นในสถานศึกษาครบตามหลกั สูตรแล้วและอยใู่ นช่วงสุดท้ายกอ่ นสาเร็จ

การศึกษา ผเู้ รียนสามารถเรยี นรายวชิ าท่ีมีเน้อื หาสัมพันธ์กับงานควบคู่ไปด้วยเพื่อเตมิ เต็มความรกู้ ่อนสาเรจ็

การศึกษา มอี งคป์ ระกอบที่สาคญั ดงั นี้

(1) ตอ้ งเป็นการทางานหลงั จากการเรียนภาคทฤษฎคี รบตามหลักสูตรหรอื

ผ่านการเรยี น มาแล้วในระดับหนง่ึ

(2) มกี ารเตรียมความพร้อมผู้เรียนทัง้ ความสามารถในการเขา้ สงู่ านและ

4 ความสามารถในการทางาน
บรู ณาการกอ่ น (3) เปน็ การทางานควบคกู่ ับการเรยี นในสถานศึกษา
(4) เน้นการทางานประจาหรือการพัฒนากระบวนการคดิ ด้วยโครงงานที่ตรง
สาเรจ็ การศึกษา
ตามสาขา วิชาชพี

(5) ผเู้ รียนมกี ารแลกเปลีย่ นประสบการณ์ด้วยการสะทอ้ นคิด (Reflection)

ทงั้ ระหว่าง การทางานและเมื่อสน้ิ สุดการทางานกบั ผู้เรียนดว้ ยกันเองและ

คณาจารย์

(6) ประเมนิ ผลเมอื่ สน้ิ สุดการทางานทัง้ การส่งรายงานและการนาเสนอผลงาน

หน้า 12

สว่ นที่ 2 แผนการจัดการเรยี นการสอนเชงิ บูรณาการกบั การทางาน

แผนการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการกับการทางาน หมายถึง แผนบรหิ ารจัดการ
เพ่ือขับเคล่ือนให้หลกั สตู รมีการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการกบั การทางาน

แผนการจดั การเรยี นการสอนเชงิ บูรณาการกับการทางานของคณะวิทยาการจดั การ

ตั้งแตป่ กี ารศึกษา 2557 คณะวิทยาการจดั การ ไดม้ ีการปรับปรุงหลกั สตู รทม่ี ีการจดั การ
เรียนรู้แบบบรู ณาการกับการทางาน ทั้งหมด 2 หลักสูตรฯ 7 สาขาวิชา ซ่ึงเป็นรปู แบบสหกิจศึกษา (Cooperative
Education) เป็นระบบการเรียนการสอนหรือการจัดรายวิชาที่ให้ประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่นักศึกษา ด้วยการ
สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการภายนอกสถานศึกษาด้วยการทางานจริงเต็มเวลา ในภาคการศึกษา
สดุ ท้าย

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ว่าดว้ ยการเสริมสร้างและ
พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ศักยภาพใน
ปัจจุบันให้เข้าสู่การใช้เทคโนโลยี โดยส่งเสริมการทางานร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม
เป็นการเตรียมความพร้อมและพัฒนาบุคลากรโดยผ่านการศึกษาแบบทวิภาคและสหกิจศึกษา คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ไดน้ านโยบายไทยแลนด์ 4.0 มาพัฒนาและปรับปรุงหลักสตู รฯ เพือ่ ผลิตกาลังคน
ใหต้ รงตามความต้องการของสถานประกอบการโดยมแี ผนการจัดทาหลักสูตรฯ การจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณา
การกับการทางาน

เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตวั ชว้ี ดั

1.เพื่อให้นักศึกษาเกิดการพัฒนา 1.กาหนดทิศทางและเป้าหมาย 1.จานวนคร้ังในการอบรมเพ่ือ

ทักษะทางวิชาชีพและทางสังคม การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เตรียมความพร้อมให้สอดคล้อง

อย่างมีระบบตรงตามความ กับการทางานให้สอดคล้องกับ กบั สถานประกอบการ

ต้องการของสถานประกอบการ สถานประกอบการ

2.สนบั สนนุ งบประมาณ

หน้า 13

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ช้วี ัด

2.เพื่อให้เกิดการประสานความ 1.ประสานความร่วมมือกับ 1.จานวนสถานประกอบการ/

ร่วมมือทางวิชาการระหว่าง ห น่ ว ย ง า น ท้ั ง ภ า ย ใ น แ ล ะ หน่วยงานความร่วมมือ (MOU)

ม ห า วิ ท ย า ลั ย กั บ ส ถ า น ภายนอกเพ่ือให้เกิดการประสาน 2.จานวนหลักสูตร/สาขาวิชาท่ีมี

ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น ก า ร พั ฒ น า ความรว่ มมือทางวชิ าการระหว่าง การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร

คุณภาพบัณฑิต พัฒนาปรับปรุง ม ห า วิ ท ย า ลั ย กั บ ส ถ า น โดยมีการจัดการเรียนรู้แบบ

หลักสูตร การวิจัยและนวัตกรรม ประกอบการ บูรณากับการทางาน

ในอนาคตอย่างมีมาตรฐานและ 2.ประสานความร่วมมือกับ

ตรงตามความต้องการของสถาน หลักสูตร/สาขาวิชาเพื่อปรับปรุง

ประกอบการ ห ลั ก สู ต ร ใ ห้ ต ร ง ต า ม ค ว า ม

ตอ้ งการของสถานประกอบการ

3.พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม

ให้ตรงตามความต้องการของ

สถานประกอบการ

3 . เ พ่ื อ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ไ ด้ รั บ 1.ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ 1.จานวนสถานประกอบการ/

ประสบการณ์จริงในภาคปฏิบัติ แบบบรู ณาการกับการทางาน หน่วยงานความร่วมมือ (MOU)

กรปรับตัว เข้ากับสังคมการ แ ล ะ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท่ี รั บ

ทางานในสถานประกอบการ ท้ัง นักศึกษาเข้าฝึกประสบการณ์

ด้านบุคลิกภาพและหน้าที่ความ ภาคปฏิบัติ

รบั ผิดชอบ รวมถึงสามารถคิดค้น

วิธแี ก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ

4.สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง 1.ประสานร่วมมือกับนักศึกษา 1.จานวนนกั ศกึ ษาและอาจารย์

ม ห า วิ ท ย า ลั ย กั บ ส ถ า น และอาจารย์เพื่อกาหนดทิศทาง

ประกอบการ ผ่านนักศึกษาและ และเป้าหมายการจัดการเรียนรู้

อาจารย์เพื่อนาไปสู่ความร่วมมือ แบบบูรณาการกับการทางานให้

ทขี่ ยายกวา้ งขวางยิ่งข้ึน สอดคล้องกับสถานประกอบการ

หนว่ ยงาน

2 . ส นั บ ส นุ น อ า จ า ร ย์ แ ล ะ

นักศึกษากับการจัดการเรียนรู้

แบบบูรณากับการทางาน

หน้า 14

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ช้ีวัด

3.สนบั สนุนงบประมาณ

5.เพ่ือให้มีการพัฒนาหลักสูตร 1.ส่งเสริมการบูรณาการ การ 1.จานวนหลักสูตร/สาขาวิชาท่ีมี

และการจัดการเรียนให้ทันสมัย จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

ได้มาตรฐานและตอบสนองกับ การทางานในหลักสูตรๆต่างเพ่ือ กบั การทางาน

ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ส ถ า น สนองความต้องการของสถาน

ประกอบการและตลาดแรงงาน ประกอบการและตลาดแรงงาน

2.สนับสนุนบประมาณ

ตวั ชวี้ ัดตามแผนการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการกับการทางานของคณะวทิ ยาการจดั การ

ตัวชีว้ ดั ตามแผนงาน ปีการศึกษา

2562 2563 2564 2565

1.จานวนคร้ังในการอบรมเพ่ือเตรียมความพร้อมให้สอดคล้องกับสถาน 3 3 3 3

ประกอบการ อย่างน้อย 30 ชว่ั โมง

2.จานวนของสถานประกอบการการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ 30 40 50 50

3.จานวนหลักสูตรที่มีการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ 8 9 10 10

บูรณาการกับการทางาน

4.จานวนของนกั ศกึ ษาลงทะเบียนฯการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการ >20 >20 >20 >20

5.จานวนอาจารยจ์ ัดทาหลกั สตู รการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ 5555

6.ร้อยละของนกั ศึกษาท่ไี ด้งานทาหลังจากเสรจ็ ส้ินการจดั การเรยี นรู้ 50 60 70 80

แบบบรู ณาการ

7.จานวนผลงานหรือนวัตกรรมท่ีเกิดจากการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา 5 5 5 5

การในสถานประกอบการ

หนา้ 15

ผลที่ได้รบั ระบบ ปจั จยั นาเขา้ กระบวนการ ผลทไี่ ดร้ บั

1.ได้ลักษณะ เฉพาะ 1.ไดล้ กั ษณะการทางานกบั 1.ไดเ้ รยี นร้ชู ีวติ การทางาน 1.ได้ทางานจรงิ ในวิชาชีพที่
ดา้ น ผอู้ ื่น 2.ไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ิงานตามความรูใ้ น เรียนการสอนโดยตรง
2.ได้ฝกึ ปฏิบตั ติ าม 2.ได้เรยี นรชู้ วี ติ การทางาน สาขาทตี่ นเรียน 2.บรู ณาการความรู้โดยการฝึก
สมรรถนะรายวชิ า 3.การฝกึ ปฏิบตั เิ พอื่ เปล่ยี น 3.บูรณาความรูส้ ู่สถาน ปฏิบตั จิ รงิ
อาชพี ประกอบการโดยการทาโครงการ 3.ไดก้ รณศี ึกษาจากการทางาน
และการแกป้ ญั หางาน จรงิ
4.มรี ายงานหลงั จากฝึกปฏิบตั ิ 4.มีองคก์ รวิชาชีพรบั รอง
5.ได้สมรรถนะตามอาชพี

กระบวนการ 1.เรยี นทฤษฎคี วบคู่ 1.การฝึกปฏิบตั งิ านในสถาน 1.เรียนทฤษฎีก่อนและฝึก 1.เรยี นทฤษฎีกอ่ นและฝึก
กบั การฝึกปฏิบตั ิตาม ประกาอบการเปน็ ไปตาม ปฏบิ ัตงิ านตามหลกั สูตรที่กาหนด ปฏบิ ตั งิ านตามความเหมาะสม
ความเหมาะสมโดย ขอ้ กาหนดของหลักสูตร 2.ระยะการฝึกปฏิบัติงานเป็นไป 2.เรยี นทฤษฎจี นจบก่อนจงึ จะ สถาน
สถานศกึ ษาและ 2.การประเมินผลการฝึก ตามขอ้ กาหนดของหลักสูตร เรยี นเรม่ิ ปฏบิ ตั งิ าน ประกอบการ
สถานประกอบ การ ปฏบิ ัตริ ่วมกนั ระหวา่ ง 3.การประเมินผลการฝกึ ปฏิบัติ 3.องค์การวิชาชีพมีส่วนรว่ ม
ตอ้ งตกลงร่วมกัน สถานศกึ ษากบั สถาน รว่ มกนั ระหว่างสถานศึกษากับ จดั การเรยี นการสอนและการ
2.การประเมนิ ผลการ ประกอบการ สถานประกอบการ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน
ฝึกปฏิบัติร่วมกัน
ระหวา่ งสถานศึกษา
กบั สถาน
ประกอบการ

1.หลักสตู ร 1.หลกั สูตร ปวส. และระดบั 1.หลักสตู รระดับปรญิ ญาตรแี ละ 1.หลักสตู รระดับปริญญาตรี
ระดับบณั ฑิตศึกษา 2.การเรยี นการสอนแบบ
2.การเรยี นการสอน ปริญญาตรี 2.การเรียนการสอนแบบ Problem Based และ
Problem Based และ Cooperative Learning
แบบ Problem 2.การเรียนการสอนแบบ Cooperative Learning 3.กาหนดคณุ สมบัตผิ เู้ รยี น
3.กาหนดคุณสมบตั ิผเู้ รยี น 4.การเตรียมสถานประกอบการ
Based และ Problem Based และ 4.การเตรยี มสถานประกอบการ 5.การฝึกอบรมอาจารย์ คูฝ่ กึ
5.การฝึกอบรมอาจารย์ คฝู่ ึก และ และพ่เี ลย้ี ง
Cooperative Cooperative Learning พเ่ี ลีย้ ง

Learning 3.กาหนดคุณสมบตั ิผูเ้ รียน

3.กาหนดคุณสมบตั ิ 4.การเตรยี มสถาน

ผู้เรียน ประกอบการ

4.การเตรียมสถาน 5.การฝึกอบรมอาจารย์ คู่

ประกอบการ ฝกึ และพเ่ี ลยี้ ง สถาน
ศึกษา
5.การฝกึ อบรมอาจารย์

คู่มอื ฝกึ และพี่เลย้ี ง

ปัจจัยนาเข้า

ระบบทวภิ าคี ระบบการฝึกงาน ระบบสหกิจศึกษา ระบบการฝกึ หัด
(DVT) (Apprentice) (Co-operative Education) (Traineeship)

หน้า 16
สว่ นที่ 3 ระบบและกลไกการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการกับการทางานของคณะวิทยาการจดั การ

หนา้ 17

ขนั้ ตอนการดาเนินงานของคณะวทิ ยาการจัดการ

การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรยี นกบั การทางาน (Work – integrated Learning :

WIL) ระดับรายวิชา

ขน้ั ตอน กจิ กรรม เวลาดาเนนิ การ ผรู้ บั ผิดชอบ/ผทู้ ี่

เก่ียวข้อง

กอ่ นดาเนนิ การ

1 สาขาวิชาส่งแผนการการจัดการเรียนการสอน ก่อนเปดิ ภาคเรียน สาขาวชิ า

แบบบูรณาการการ เรยี นกบั การทางาน (Work- 1 เดอื น ศูนย์สหกิจ

integrated Learning : WiL) ระดบั รายวชิ า (พฤษภาคม 62)

1) ส่งแผนการการจดั การเรียนการสอนแบบ

บูรณาการการเรียนกบั การทางาน (Work-

integrated Learning : WiL) ระดับรายวิชา

ให้กบั ศูนยส์ หกิจศึกษา

2) ศูนยส์ หกิจศึกษาทาบนั ทึกขอ้ ความรายงาน

แผน ฯ แก่มหาวิทยาลยั ใหร้ บั ทราบ

2 สาขาวิชาแจง้ ความประสงค์รายวิชาทีจ่ ะออก ก่อนเปดิ ภาคเรยี น อาจารย์ผ้สู อน

ปฏบิ ัตงิ านภาคปฏบิ ตั ิ 1 เดือน สาขาวิชา

1) บนั ทกึ ขอ้ ความขออนุมตั ผิ ่านสายงานบังคบั (พฤษภาคม 62) ศูนยส์ หกิจ

บัญชา เสนอถึงอธิการบดี พร้อมแนบ มคอ.3

2) สาเนาเอกสาร บนั ทกึ ข้อความให้ศนู ย์สหกจิ

ศกึ ษา

3 สาขาวชิ าติดต่อตดิ ต่อประสานงานสถาน หลังจาก มคอ.3 อาจารย์ผู้สอน

ประกอบการทจ่ี ะรว่ ม (ถา้ ม)ี หรือติดตอ่ ไดร้ ับการอนมุ ตั ิ สาขาวิชา

หน่วยงานภายในมหาวทิ ยาลยั (เมษายน-

กรณีตดิ ตอ่ สถานประกอบการ พฤษภาคม 62)

1) อาจารยผ์ ู้สอนติดตอ่ ประสานงานเบอื้ งต้นกับ

สถานประกอบการ

2) จัดทาหนังสอื อกเพื่อตดิ ต่อสถานประกอบการ

หน้า 18

ข้ันตอน กิจกรรม เวลาดาเนนิ การ ผู้รับผิดชอบ/ผทู้ ่ี
เกยี่ วข้อง

3) รอการตอบรบั จากสถานประกอบการ หลังจาก มคอ.3 อาจารย์ผู้สอน
กรณีตดิ ต่อหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย อนุมัติจนถึงก่อน สาขาวชิ า
1) อาจารย์ผูส้ อนตดิ ต่อประสานงานเบื้องต้นกบั จดั การเรียนการ หนว่ ยงาน
หน่วยงาน สอน 1 สัปดาห์
2) บันทึกข้อความแจง้ รายละเอยี ดหน่วยงาน (พฤษภาคม 62) สาขาวชิ า
4 เตรยี มความพรอ้ มนกั ศึกษาก่อนดาเนนิ งาน ก่อนวันเดนิ ทาง ศูนยส์ หกจิ ศกึ ษา
1) เตรียมความพร้อมนกั ศกึ ษาโดยสาขาวิชา 1 เดือน
2) ชแ้ี จงรายละเอียดการดาเนินงานในรายวชิ า (พฤษภาคม 62)
แกน่ กั ศกึ ษา

5 ดาเนนิ การดา้ นเอกสารต่างๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ตามระยะเวลาที่ นักศกึ ษา
- หนงั สือเดินทาง (เฉพาะนักศกึ ษานานาชาติ)
- หนังสือส่งตัวนกั ศกึ ษา กาหนดในรายวิชา อาจารยผ์ สู้ อน
- หนงั สอื ขออนุญาตผ้ปู กครอง (เฉพาะกรณี
นักศกึ ษาไป ปฏบิ ตั ิงานตา่ งจงั หวดั (มคอ.3) สถานประกอบการ

ระหวา่ งดาเนนิ การ (มิถนุ ายน-ตลุ าคม
6 ดาเนินการจัดการเรียนการสอน
1) จัดการเรยี นการสอนตาม มคอ. 3
2) นกั ศึกษาปฏบิ ัตงิ าน WiL ในสถาน
ประกอบการ

62)

7 นิเทศนกั ศึกษาหรือประเมนิ นักศึกษา ตามระยะเวลา อาจารย์ผสู้ อน
(หนว่ ยงาน/สถานประกอบการ)
มคอ.3

(สิงหาคม-

กันยายน 62)

หน้า 19

ขน้ั ตอน กิจกรรม เวลาดาเนนิ การ ผูร้ บั ผดิ ชอบ/ผูท้ ่ี
เกย่ี วข้อง
หลงั ดาเนนิ การ สปั ดาห์สุดทา้ ย
8 จดั สมั มนาหรือจัดนิทรรศการถ่ายทอดความรู้ หรือภายใน 1 อาจารย์ผสู้ อน
สปั ดาหห์ ลังจาก สาขาวิชา
สปั ดาหส์ ดุ ท้าย

หน้า 20

ขั้นตอนการดาเนนิ งาน การจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทางาน

(Work-integrated Learning : WiL)

ระดบั หลักสูตร (ฝกึ ทกั ษะภาคปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการ)

ข้ันตอน กจิ กรรม เวลาดาเนนิ การ ผ้รู บั ผดิ ชอบ/ผู้ที่

เก่ยี วข้อง

ก่อนดาเนินการ

1 สาขาวิชาขออนมุ ตั ิมหาวิทยาลัยในการ กอ่ น 1 ปีการศกึ ษา สาขาวิชา
จัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ หรือก่อน 1 ภาค

เรียนกบั การทางาน (Work- การศกึ ษา

integrated Learning : WiL) ระดบั

หลกั สูตร

2 สาขาวิชาจดั หาสถานประกอบการ กอ่ นนักศึกษาออก สาขาวิชา

สาหรับใหน้ ักศึกษาปฏบิ ัติงาน ปฏิบตั งิ าน 3 เดือน ศูนยส์ หกิจ

 ตาแหนง่ งาน

 ลกั ษณะงาน

 ทกั ษะความสามารถของ

นกั ศึกษาในการปฏิบัตงิ าน

3 จัดส่งหนงั สอื ขอความอนุเคราะหใ์ ห้ หลังจากได้สถาน สาขาวชิ า

นักศกึ ษาเข้ารับการฝึกปฏบิ ตั ิงาน ประกอบการ ภายใน

15 วัน

4 จัดส่งหนงั สือสง่ ตยั วนักศึกษาเข้ารับ ก่อนนักศกึ ษาออก สาขาวชิ า

การฝกึ ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ัติงาน 1 เดือน

5 สาขาวิชาจัดอบรมทักษะท่ีจาเปน็ แก่ ตลอดภาคการศกึ ษา สาขาวิชา

นักศึกษา ที่ 2 (ระยะเวลาตาม

ปฏิทนิ การศึกษา)

6 ดาเนนิ การด้านเอกสารตา่ งๆ ท่ี ก่อนวันเดนิ ทาง 1 สาขาวิชา

เกี่ยวข้อง เดอื น ศูนย์สหกิจ

- หนงั สอื เดนิ ทาง (นกั ศึกษาตา่ งชาต)ิ

- หนงั สอื สง่ ตวั นักศกึ ษา

- หนังสือขออนญุ าตผปู้ กครอง

หน้า 21

ขัน้ ตอน กจิ กรรม เวลาดาเนินการ ผรู้ ับผิดชอบ/ผทู้ ี่
เกีย่ วข้อง

กรณีนกั ศกึ ษาไป ปฏบิ ตั ิงาน กอ่ นนักศกึ ษาออก สาขาวชิ า
ต่างจงั หวัด ปฏบิ ตั งิ าน 15 วัน ศนู ยส์ หกจิ
6 ปฐมนิเทศก่อนออกปฏบิ ตั งิ าน

ระหวา่ งดาเนินการ ภาคการศึกษาฤดู สาขาวิชา
7 นกั ศกึ ษาฝึกทักษะภาคปฏบิ ตั ิใน รอ้ น สาขาวิชา
สถานประกอบการ (ระยะเวลาตาม
ปฏิทนิ การศกึ ษา)
8 อาจารย์ที่ปรึกษา ออกนเิ ทศการ ภาคการศึกษาฤดู
ปฏบิ ัตงิ าน ร้อน
(ระยะเวลาตาม
ปฏิทนิ การศึกษา)

หลังดาเนนิ การ ภายใน 15 วนั อาจารยผ์ ้สู อน
9 นกั ศกึ ษาสง่ เลม่ รายงานการ หลงั จากปฏิบตั งิ าน สาขาวชิ า
ปฏบิ ัติงาน ภายใน 30 วัน สาขาวิชา
10 สัมมนาหลังปฏบิ ัตงิ าน หลังจากปฏิบัติงาน ศนู ย์สหกจิ
ภายใน 15 วนั ศนู ย์สหกจิ
11 ตดิ ตามผลการดาเนินงานของ หลงั จากการสัมมนา
สาขาวชิ า

หนา้ 22

ส่วนท่ี 4 หลักสูตรฯที่มีการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการกับการทางาน คณะวทิ ยาการจดั การ

หลักสตู ร/สาขาวชิ า รูปแบบ (WIL) ปี

หลกั สตู รบริหารธรุ กจิ บัณฑิต

1.สาขาวิชาการบัญชี สหกจิ ศกึ ษา 2562-2563

2.สาขาวชิ าการจัดการ สหกิจศึกษา 2562-2563

3.สาขาวชิ าการตลาด สหกิจศกึ ษา 2562-2563

4.สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ สหกิจศึกษา 2562-2563

ดิจิทลั

5.สาขาวชิ าการจัดการ สหกิจศึกษา 2562-2563

โลจิสติกสแ์ ละซพั พลายเชน

6.สาขาวิชาการเงิน สหกิจศึกษา 2562-2563

7.สาขาวิชาการจดั การการค้า -การเรียนสลบั กับการทางาน 2562-2563

สมัยใหม่ -หลักสตู รรว่ มมหาวิทยาลัยและอตุ สาหกรรม

-พนักงานฝกึ หัดใหมห่ รือพนักงานฝึกงาน

หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต

8.สาขาวชิ าการท่องเทีย่ วและ -สหกิจศึกษา 2562-2564

การโรงแรม -การปฏิบตั ิงานภาคสนาม (Fieldwork)

-การเรียนสลบั กับการทางาน แซนวชิ แบบหนา

-การกาหนดประสบการณ์ก่อนการศึกษา (Pre-course

Experience

หลกั สตู รเศรษฐศาตรบัณฑิต

9.สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ -สหกจิ ศึกษา 2564

หลักสูตรนเิ ทศศาสตรบัณฑติ

10.สาขาวิชานิเทศศาสตร์ -สหกิจศึกษา 2564

ดิจทิ ัล -การเรียนสลบั กับการทางาน แซนวิชแบบหนา

-ฝึกเฉพาะตาแหนง่ (Practicum)

-พนักงานฝึกหัดใหม่ (New Traineeship)

หน้า 23

สว่ นที่ 5 แนวปฏบิ ัตกิ ารการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการกบั การทางาน คณะวทิ ยาการจัดการ

แนวปฏบิ ัติ (WIL) รูปแบบแนวปฏบิ ตั ิ (WIL)

1.จัดทาหลักสูตรหรือพัฒนาหลักสูตรใหม่ โดย จัดทาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการหรือ

การวิพากษ์หลักสูตรร่วมกันกับผู้ท่ีมีส่วนได้เสีย องค์กรร่วมผลติ ทตี่ กลงสรา้ งความรว่ มมือ (MOU)

ตามความต้องการ ความจาเป็นของหลักสูตรและ

สถานประกอบการรว่ มจดั ทาหลกั สตู ร

2.กาหนดรปู แบบดา้ นการจดั การเรียนการสอน กาหนดวันปฏิบตั กิ ารตามเงื่อนไขในแตภ่ าคเรยี น

3.กาหนดคุณสมบัติผู้เรียนที่เข้าร่วมปฏิบัติการ คัดเลอื ก/สัมภาษณ์ รว่ มกบั สถานประกอบการ

จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทางาน

คัดเลือก สมั ภาษณ์ ร่วมกบั สถานประกอบการ

4.สาขาวิชาและสถานประกอบการจัดทาระบบ คู่มอื ประเมนิ ผล

การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งชดั เจน

5.ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนเข้าร่วมปฏิบัติงานการ โครงการปฐมนิเทศ

จัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการกบั การทางาน

6.ส่งตัวนักศึกษาเข้าร่วมปฏิบัติงานการจัดการ ส่งตัวออกฝึกตามวัน เวลาท่ีกาหนดและแผนการ

เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทางานและอาจารย์ นเิ ทศ ประเมนิ ผล

ติดตาม นิเทศผลการปฏิบัติงานเป็นระยะตาม

แผนงาน

7.อาจารยแ์ ละสถานประกอบการเขา้ รว่ ม ส่งรายงาน/นาเสนอปัญหา ประเมนิ ผลร่วมกัน

ประเมินผลการให้คะแนนในรายวชิ า

8.อาจารยแ์ ละสถานประกอบการรว่ มประเมนิ ประชมุ ตดิ ตาม แลกเปลี่ยนปญั หารว่ มกัน

แนวปฏิบัตปิ ฏิบตั กิ ารจดั การเรียนรู้แบบบรู ณา

การกบั การทางานเพ่ือหาแนวทางพัฒนาในครัง้

ตอ่ ไป

หน้า 24

ส่วนที่ 6 รายงานผลการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการกบั การทางาน คณะวทิ ยาการจัดการ

ผลการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการกบั การทางาน คณะวิทยาการจดั การ
จาก WIL 9 รูปแบบ ในปีการศึกษา 2562 หลักสูตรของคณะวิทยาการจัดการ 4 หลักสูตร 10
สาขาวิชาไดจ้ ัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการกับการทางาน 7 รูปแบบ ดังน้ี

หลักสตู รบริหารธุรกิจบณั ฑิต ปี 2557-2563 เรมิ่ ในปี 2564

สาขาวชิ าการบญั ชี รปู แบบ สหกิจศกึ ษา

สาขาวิชาการจดั การ รูปแบบ สหกจิ ศกึ ษา

สาขาวิชาการตลาด รปู แบบ สหกิจศกึ ษา

สาขาวชิ าการเงนิ รูปแบบ สหกิจศกึ ษา

สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจดจิ ทิ ลั รปู แบบ สหกิจศกึ ษา

สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ รูปแบบ สหกิจศกึ ษา
และซัพพลายเชน
รปู แบบ >การเรียนสลบั การทางาน
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคา้ >หลักสตู รร่วมมหาวทิ ยาลยั และอุตสาหกรรม
สมัยใหม่ >พนักงานฝึกหัดใหม่หรอื พนักงานฝกึ งาน

หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ

สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม รปู แบบ สหกิจศกึ ษา >สหกจิ ศึกษา
>การเรยี นสลับการทางาน

หลกั สตู รเศรษฐศาสตรบณั ฑิต >การปฏบิ ตั ิงานภาคสนาม
>การกาหนดประสบการณ์กอ่ นการศึกษา

สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ รูปแบบ ฝึกประสบการณฯ์ สหกิจศกึ ษา

หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบัณฑติ >สหกิจศึกษา
>การเรยี นสลับการทางาน
สาขาวิชานิเทศศาสตร์ดิจทิ ัล รูปแบบ ฝึกประสบการณฯ์ >ฝึกเฉพาะตาแหน่ง
>พนกั งานฝึกหัดใหมห่ รอื พนกั งานฝกึ งาน

หนา้ 25

การสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมอื ทางวิชาการ โดยบนั ทึกความร่วมมอื (MOU)

คณะวิทยาการจดั การได้มกี ารสรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ทางวิชาการ โดยบนั ทกึ ความ

รว่ มมือ (MOU) การจัดการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการในรปู แบบสหกจิ ศกึ ษา สรปุ รวมสถานประกอบการ

ณ ปกี ารศกึ ษา 2562 จานวน 56 แหง่ ประกอบด้วย

ลาดับที่ หนว่ ยงาน ปกี ารศึกษา

1 กลมุ่ เครือขา่ ยโรงแรมระหวา่ งประเทศ 15 โรงแรม 2557

2 บริษัท ดเิ อส จากัด 2558

3 บริษัท มติ ซูเลย จากัด 2558

4 บรษิ ทั จ.เจรญิ มาร์เกต็ ต้ิง จากดั 2558

5 บรษิ ทั สนามนิสสนั เลย จากัด 2558

6 บริษัท เมืองเลยฮอนด้าคารส์ ์ จากดั 2558

7 สานกั งานพัฒนาการบญั ชี 2558

8 บริษัท เสริมไทยคอมเพล็กซ์ จากดั 2558

9 สานักงานทปี่ รึกษาการบญั ชภี ูวดล 2558

10 ห้างหุ้นส่วนจากัด วิรชั โฮมมารท์ 2558

11 บริษทั พ.ี เจ.การบัญชีและกฎหมาย จากัด 2558

12 บริษทั ไนนทีน อนิ เตอร์เนชน่ั แนล แอนด์ ลิสซ่งิ จากดั 2558

13 บริษัท เจ.พี.ซู จากัด 2558

14 บรษิ ทั โคว้ ยู่ฮะมอเตอร์ จากัด สาขา : เลย 2558

15 บริษัท เทสโก้โลตัส จากัด (สาขาเลย) 2558

16 บริษัท นาโนซอฟต์เทค จากดั อสี านซอฟตแ์ วร์ปาร์ค 2558

17 หา้ งหุ้นสว่ นจากัด เอ็น.บ.ี ฮอลเิ ดย์ทัวร์ 2558

18 โรงแรมอมารี หัวหิน 2559

19 บรษิ ทั ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) 2559

20 บรษิ ทั สนามนิสสันเลย จากัด 2559

21 บรษิ ทั สายการบนิ นกแอร์ จากดั (มหาชน) 2559

22 บรษิ ัท มาร์เก็ตเธยี ร์ จากดั 2560

23 บริษัท สยามแม็คโคร จากดั (มหาชน) 2560

24 บรษิ ัท เมืองเลยบก๊ิ โฮม จากดั 2560

หน้า 26

ลาดับท่ี หน่วยงาน ปีการศกึ ษา
25 สมาคมตวั แทนออกของรบั อนุญาตไทย 2561
26 บริษัท บ๊ิก แมชชนี เทรดดิง้ จากดั 2561
27 บริษทั ใบบญุ เซ็นเตอร์ จากดั 2561
28 โรงแรม เรดสิ ัน บลู พลาซา่ รีสอรท์ ภเู ก็ต พันวาบชี จ.ภูเก็ต 2561
29 โรงแรม เลอเมอริเดยี น ภเู ก็ต บชี รสี อร์ท จ.ภูเก็ต 2561
30 โรงแรม เจดับบลวิ แมริออท ภูเกต็ รีสอร์ทแอนด์สปา ภเู ก็ต 2561
31 โรงแรมเฮเนซองส์ ภเู กต็ รสี อร์ท แอนด์ สปา จ.ภูเกต็ 2561
32 โรงแรม ทวินปาล์มส์ ภเู ก็ต 2561
33 โรงแรม ดับเบลิ ทรี รสี อรท์ โดยฮลิ ตัน ภเู กต็ -สุรนิ ทร์ บชี 2561
34 โรงแรม อมารหี ัวหิน จ.ประจวบครี ขี ันธ์ 2561
35 โรงแรม Horizon Karon Beach Resort & Spa จ.ภเู กต็ 2561
35 โรงแรม เมอเวนพิค สยามโฮเทล พัทยา ชลบุรี 2561
37 โรงแรม เซน็ ทารา แกรนด์ บชี รีสอร์ท ภูเกต็ 2561
38 โรงแรม ฮลู า ฮลู ่า รสี อร์ท อา่ วนาง บชี จ.กระบี่ 2561
39 โรงแรม High Season Pool Villa & Spa จ.ตราด 2561
40 โรงแรม เดอะ นาคาไอแลนด์ จ.ภเู กต็ 2561
41 โรงแรม JW Marriott Phuket Resort and Spa จ.ภูเกต็ 2561
42 โรงแรมเซนทาราแกรนด์มริ าจบชี รสี อร์ท พทั ยา จ.ชลบรุ ี 2561
43 โรงแรม Le Meridien Phuket Beach Resort จ.ภเู ก็ต 2561
44 โรงแรม แกรนด์ เวสท์ แซนด์ รสี อร์ทแอนดว์ ลิ ลา่ ภูเก็ต 2561
45 บรษิ ทั ไททนั สครปิ ท์ บิสซเิ นส คอนเซาท์ จากดั 2561
46 บรษิ ัท บิ๊กซี ซเู ปอรเ์ ซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) 2561
47 บรษิ ัท ขจรศรี (การบญั ช)ี จากดั 2562
48 บรษิ ทั โปรแอค แอนด์ ออดิท จากดั 2562
49 บริษัท บ.ี ว.ี การบัญชีและภาษีอากร จากัด 2562
50 บริษทั พี.แอล.เอ. บิสซเิ นส จากัด 2562
51 บริษัท วเี ซิร์ฟ โลจสิ ติกส์ จากัด 2562
52 บริษทั ซีพีออลล์ จากัด (มหาชน) 2562
53 ศูนยป์ ระชุมและแสดงสินค้านานาชาติขอนแก่น 2562

หนา้ 27

ลาดบั ท่ี หน่วยงาน ปีการศึกษา
54 บรษิ ัท พาราไดซ์ อินเตอร์ทัวส์ จากดั 2562
55 การทอ่ งเทีย่ วแห่งประเทศไทย สานกั งานจังหวดั เลย 2562
56 บริษทั แมสทรานสปอรต์ เอ็กซีเพลส จากดั 2562

จานวนนกั ศกึ ษาของคณะวิทยาการจัดการทีก่ ารจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ

ปกี ารศกึ ษา 2557 2558 2559 2560 2561 2562 รวม
27
การบญั ชี 53388 23
30
การจดั การ 10 2 3 4 4 18
20
การตลาด 2 7 6 3 12 2
12
การจดั การโลจิสตกิ ส์และซพั พลายเชน 477 69
201
คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ 5 555

การเงิน 2

การจดั การธรุ กจิ การค้าสมัยใหม่ 12

การทอ่ งเท่ยี วและการโรงแรม 3 10 6 5 11 34

รวม 8 27 23 26 38 79

40

35 การบญั ชี

30 การจดั การ

25 การตลาด

20 การจดั การโลจิสติกส์

15 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ

10 การเงิน

5 การจดั การธุรกิจการคา้
สมยั ใหม่
0 การท่องเที่ยวฯ

12557 25258 25539 24560 25561 26562

หน้า 28

อาจารยท์ ผ่ี า่ นการอบรมหลักสูตรคณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา จากสานกั งานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา (สกอ.) คณะวิทยาการจัดการ จานวน 34 คน ประกอบด้วย

ลาดับท่ี ชอ่ื – สกลุ

1 ดร.ศศิธร กกฝา้ ย
2 นางสาวจิราวดี กายาน
3 นางสาวเกศนี จึงวัฒนตระกลู
4 นางอาภาภทั ร์ วสนั ตส์ กลุ
5 ผศ.พรรณธวรรณ บุตรดีสวุ รรณ
6 นางสาวกติ ิยา ครี ีวงก์
7 นางอุไรวรรณ บษุ ทิพย์
8 นางเยาวธ์ ิดา รตั นพลแสน
9 นางสาวอญั ญาภสั สร ชลพชั รส์ ทิ ธกิ ลุ
10 นายชวลติ ยศสนุ ทร
11 นายวรกร พมิ พาคุณ
12 นางสาวณปาล อุทยารตั น์
13 ดร.วิศิษฐ์ศริ ิ ชูสกุล
14 นางสาวณิชนนั ทน์ จงใจสิทธ์ิ
15 นางสาวปฐมาวดี คาทอง
16 นางสาวไหมคา ตนั ตปิ ทุม
17 นางสาววรรณวศิ า นครขวาง
18 นางเมชยา ท่าพิมาย
19 นางสาววนนั พรณ์ ชื่นพบิ ลู ย์
20 วา่ ทรี่ อ้ ยเอก นรชยั สอนใส
21 นางสาวอลสิ า โวหารกลา้
22 นางสาวอรจิต ชัชวาลย์
23 ดร.จารพุ ร มที รพั ย์ทอง
24 รศ.ดร.ปฤฐฎาง จันทรบ์ ุญเรือง
25 นายรวฒั น์ มันทรา
26 นางสาววชั รีภรณ์ ดสี ุทธิ
27 ผศ.ดร.วาสนา ดษิ ฐพรม

หน้า 29

ลาดบั ท่ี ชือ่ - สกลุ

28 นางรดาศา เนตรแสงสี
29 ผศ.ชนิ เชงิ แกว้ กา่
30 ดร.สาธยิ า กลิ่นสคุ นธ์
31 นางสาวพชิ ญา ขนุ ศรี
32 นางปรยี าพร อมรหิรญั วงศ์
33 นางสาวภัทร์ณฐั สดุ า จารธุ ีรพนั ธ์ุ
34 นางสาวเพลินพิศ โพธิว์ ัน

สารวจภาวะการมีงานทาของนกั ศึกษาสหกิจศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2561 (หลังจบการศึกษา 1 ปี
โดยสารวจปี 2562)

ปีการศึกษา 2561 ทางานใน ประกอบ
การบัญชี 8 หนว่ ยงาน อาชพี อิสระ
การจดั การ 4
การตลาด 3 7 1
การจดั การโลจสิ ติกส์ 7 2 2
คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ 5 3
การเงนิ - 4 3
การจดั การธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ - 2 3
การท่องเที่ยวและการโรงแรม 11 - -
- -
รวม 38 คน 9 2
คิดเป็นรอ้ ยละ 27 คน 11 คน
71 29

หน้า 30

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version