The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการความรู้
Knowledge Management
เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ฐาน TCI

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Prasittichai Chaiyan, 2020-06-18 03:53:33

เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ฐาน TCI

การจัดการความรู้
Knowledge Management
เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ฐาน TCI

การจดั การความรู้

Knowledge Management

เทคนิคการเขยี นบทความวิจัยเพ่ือตีพิมพ์เผยแพร่
ในวารสาร ฐาน TCI

คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย

Knowledge Management Faculty of Management Science: KMFMS

สารบัญ

หน้า

เทคนิคการเขยี นบทความวจิ ัยเพ่ือตพี ิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ฐาน TCI 1
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนางานวจิ ยั และนวัตกรรม 1
กลยุทธ์ 1
กจิ กรรมดาเนินการจดั การความรู้ 1
การจัดการความร้ดู ้านการวจิ ยั : การเขยี นบทความ 1
หลักการเขยี นบทความวจิ ยั ท่มี ีคุณภาพ 2
แนวคิดการเขียนบทความวจิ ัยเพ่ือตีพิมพ์เป็นวารสาร 3
การหาแหล่งเผยแพร่ผลงานวิจัย 3
ภาคผนวก 4

การจดั การความรู้ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย

Knowledge Management Faculty of Management Science:KMFMS

ด้านการวิจัย : 2562 ชื่อเรือ่ ง เทคนิคการเขียนบทความวิจยั

KM

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 เพ่ือตพี ิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ฐาน TCI

การพัฒนางานวจิ ยั และนวตั กรรม

กลยุทธ์ : 1.ขับเคล่อื นการนางานวิจัยให้ตพี ิมพ์ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ

2. ยกระดับผลงานวจิ ยั องคค์ วามร้แู ละนวตั กรรมสกู่ ารใช้ประโยชน์เพ่ือแก้ปัญหา
และพัฒนาชุมชน/ท้องถ่นิ

กจิ กรรมดาเนินการจดั การความรู้

1.จัดประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ เพ่ือกาหนดประเดน็ ความรู้ ความสาคัญ กจิ กรรมหลัก องค์ความรู้ใหม่ การ
ประยุกต์ใช้องคค์ วามรู้ใหม่

2. เสาะแสวงหาความรู้ โดยวิธกี ารจากเอกสาร จากตัวบุคคลท่มี ีความรู้ โดยกาหนดประเดน็ ความรู้
ความรู้แลกเปล่ียนเรียนรู้ คอื เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพ่ือตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ฐาน TCI

3. การสร้างองคค์ วามรู้ จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ตามประเดน็ ท่กี าหนดไว้ โดยผู้เช่ียวชาญมาเป็นผู้ให้ความรู้ พร้อม
แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกนั

4. จากกจิ กรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้จะเกดิ องค์ความรู้ใหม่ ท่แี ต่ละผู้วิจัยและสาขาจะนาไปประยุกตใ์ ช้และเขียนบทความ
วิจัยเพ่ือเผยแพร่ในวารสาร ฐาน TCI

5. ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ เผยแพร่องค์ความรู้ นวัตกรรมท่เี กดิ จากงานวิจัย ลงส่ชู ุมชนและหน่วยงานต่างๆ ท่นี าไปใช้
ประโยชน์เกดิ การมีส่วนร่วมในชุมชน ท้องถ่ิน

การจดั การความรู้ด้านการวิจัย : การเขยี นบทความ

อ่านเง่อื นไขข้อตกลงและวัตถุประสงค์ของวารสาร : เน้ือหางานวิจัยในเร่ืองน้ันๆจะต้องสอดคล้องกบั
เง่อื นไขข้อตกลงการจัดพิมพ์วารสารน้ัน
ส่งบทความและรับคาแนะนาสาหรับผู้เขยี นบทความและผู้ทรงคุณวุฒิของวารสาร
พิจารณาแนวทางการประเมนิ คุณภาพของบทความ ในลักษณะของบทความ งานวิจัยท่ดี ี ด้านคุณค่า
ความรู้ความใหม่ ส่ิงทนี ่าสนใจ และความถูกต้องของข้อมูล เป็นต้น

1

หลกั การเขียนบทความวิจยั ทีม่ คี ุณภาพ

ในการเขยี นบทความวจิ ยั ทต่ี อ้ งการเผยแพรใ่ นวารสาร/สง่ิ พมิ พท์ างวชิ าการ โดยทวั่ ไปพบว่า
ปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ ส่วนใหญ่ จะเป็นปัญหาในดา้ นการขาดประสบการณ์ในการเขยี นงานวจิ ยั ประเภท
บทความ ดงั นนั้ เมอ่ื ตอ้ งเขยี นบทความวจิ ยั จากงานวจิ ยั กบั รายงานการวจิ ยั จงึ ไมส่ ามารถเขยี นไดอ้ ย่าง
มคี ณุ ภาพและถูกตอ้ ง เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวปฏบิ ตั ิ สาหรบั ผทู้ ส่ี นใจและผทู้ อ่ี ยใู่ นกลุม่ ทม่ี ตี ้องจดั ทาบทความ
วจิ ยั ดงั น้ี

1. ศกึ ษาแนวทาง ค่มู อื ขอ้ กาหนด และคาแนะนาในการจดั ทาบทความของวารสารนนั้ ๆ ซง่ึ
อาจมขี อ้ แตกต่างและลกั ษณะเฉพาะ และปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาหนด

2. ในการเลอื กวารสารทจ่ี ะตพี มิ พ์ ควรพจิ ารณาวา่ เป็นวารสารทส่ี อดคลอ้ งกบั สาขาวชิ า หรอื เป็น
วารสารทม่ี กี ารรบั รองคุณภาพ เชน่ อยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI หรอื วารสารทม่ี ี Impact Factor ซง่ึ สามารถ
สบื คน้ ไดจ้ ากฐานขอ้ มลู อนิ เทอรเ์ น็ต เพราะเป็นวารสารทม่ี คี วามน่าเชอ่ื ถอื และสามารถประกนั คณุ ภาพ
ของผลงานได้

3. การเขยี นบทความควรระวงั การใชภ้ าษาใหม้ คี วามเป็นมาตรฐาน มคี วามเป็นวชิ าการใชภ้ าษา
ทถ่ี ูกตอ้ ง โดยตรวจสอบจากพจนานุกรมศพั ทบ์ ญั ญตั ขิ องราชบณั ฑติ ยสถาน

4. การใชค้ าศพั ทค์ วรเลอื กใชค้ าศพั ทท์ เ่ี ป็นไปตามศพั ทบ์ ญั ญตั ถิ า้ เป็นภาษาต่างประเทศควรมี
วงเลบ็ กากบั ในกรณคี าศพั ทภ์ าษาองั กฤษ ถา้ ไมแ่ ปลกค็ วรใชท้ บั ศพั ท์ แต่ถา้ แปลกต็ อ้ งแปลใหห้ มด
ขอ้ ความหรอื คาในเน้อื หา หลกี เลย่ี งการใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษสลบั ไปมา นอกจากน้คี วร
หลกี เลย่ี ง การใชภ้ าษาองั กฤษใหน้ ้อยทส่ี ุด โดยเฉพาะการใชภ้ าษาองั กฤษในวงเลบ็ ของคาศพั ทเ์ ฉพาะ
ควรเขยี น คาศพั ทใ์ นวงเลบ็ เฉพาะคาแรกเทา่ นนั้

5. ควรลาดบั เน้อื หาใหเ้ ป็นไปตามรปู แบบ และเขยี นใหม้ คี วามต่อเน่อื งกนั การเขยี นขอ้ ความ
ควรเป็นประโยคทส่ี มบรู ณ์ ประโยคสนั้ และระวงั การใชเ้ ครอ่ื งหมายวรรคตอน

6. ควรมกี ารนาเสนอกรอบแนวคดิ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู หรอื หลกั ฐานอ่นื ๆ ทน่ี ่าสนใจ ดว้ ย
การใชก้ ราฟิกประเภทต่าง ๆ เพ่อื ชว่ ยในการทาความเขา้ ใจไดง้ า่ ย แต่ควรระวงั การใชร้ ปู แบบ สี และ
พน้ื ผวิ ของกราฟิก เน่อื งจากวารสารวชิ าการสว่ นใหญ่จะพมิ พด์ ว้ ยระบบสขี าว-ดา จงึ ควรจดั ทาตน้ ฉบบั
เพอ่ื การพมิ พท์ ส่ี ามารถแสดงรายละเอยี ดไดช้ ดั เจนดว้ ย

7. ควรวางแผนในเรอ่ื งระยะเวลา เมอ่ื ตอ้ งการสง่ บทความไปยงั กองบรรณาธกิ ารของวารสาร
เน่อื งจากการประเมนิ คณุ ภาพของบทความมกี ระบวนการทต่ี อ้ งใชเ้ วลาในการดาเนินการ ผสู้ ง่ บทความ
ตอ้ งเตรยี มพรอ้ มสาหรบั การแกไ้ ขตามขนั้ ตอนของการจดั พมิ พ์ จนกว่าจะไดห้ นงั สอื รบั รองจากกอง
บรรณาธกิ ารและวารสารทต่ี พี มิ พเ์ รยี บรอ้ ย ซง่ึ แสดงวา่ ผลงานไดม้ กี ารเผยแพรแ่ ลว้ ตามวตั ถุประสงคข์ อง
ผเู้ ขยี นบทความวจิ ยั นนั้ ๆ

2

แนวคิดการเขียนบทความวิจยั เพอื่ ตีพมิ พเ์ ป็ นวารสาร

1. บทความวจิ ยั เป็นการนาเสนอผลการวจิ ยั โดยสรปุ ลงในวารสารหรอื ตพี มิ พ์ เป็น Proceeding ซง่ึ
แตกต่างจากบทความทางวชิ าการ

2. ลกั ษณะแบบฟอรม์ การนาเสนอของแต่ละวารสาร อาจจะแตกต่างกนั
3. ความยาวของบทความโดย ปกตอิ ยรู่ ะหว่าง 8 – 12 หน้า
4. บทความวจิ ยั ก่อนตพี มิ พจ์ ะตอ้ งผ่านการตรวจสอบของผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นสาขาวชิ านนั้ ๆ คอื

พชิ ญพจิ ารณ์ (Peer, Review) ซง่ึ ใช้ 1 – 3 คน
5. องคป์ ระกอบหวั ขอ้ บทความของวารสารสว่ นใหญ่จะคลา้ ยคลงึ กนั
6. วารสารทล่ี งนาไปตพี มิ พจ์ าเป็นตอ้ งมี Impact Factor ทเ่ี ป็นทย่ี อมรบั ในวชิ าชพี เช่น Thailand

Citation Index กล่มุ ท่ี 1 หรอื กลุม่ ท่ี 2
7. เป้าประสงคข์ องบทความวจิ ยั อาจมไี ดด้ งั น้ี

7.1 แสดงการสาเรจ็ การศกึ ษา
7.2 ใชป้ ระกอบการขอตาแหน่งทางวชิ าการของคณาจารยใ์ นสถาบนั อุดมศกึ ษา
7.3 เป็นการเผยแพรง่ านวจิ ยั ใหเ้ กดิ ประโยชน์ทางวชิ าการนาไปต่อยอดต่อสงั คม ชมุ ชน

การหาแหล่งเผยแพร่ผลงานวิจยั

1. แหล่งเผยแพรบ่ ทความวจิ ยั ไดแ้ ก่ วารสารวจิ ยั ทอ่ี ย่บู นฐาน TCI ซง่ึ ควรเป็นทย่ี อมรบั ของ
นกั วชิ าการในสาขานนั้ ๆ

2. บทความวจิ ยั ทจ่ี ะเผยแพรต่ ้องเป็นบทความวจิ ยั ทใ่ี หม่ ไมเ่ คยตพี มิ พว์ ารสารใดมาก่อน ควร
ตพี มิ พค์ รงั้ เดยี ว

3. องคค์ วามรขู้ องผวู้ จิ ยั ทจ่ี ะตพี มิ พเ์ ผยแพรต่ อ้ งมคี วามลกึ ซง้ึ ในเรอ่ื งนนั้ เกดิ คุณคา่ ในความรู้
4. เลอื กวารสารเป้าหมายตามวตั ถุประสงค์ วารสารทต่ี อ้ งการ ความสอดคลอ้ ง ศาสตรท์ ท่ี าวจิ ยั
5. หาบคุ คลทช่ี ่วยเหลอื ใหค้ าปรกึ ษา แนะนา นาไปส่ชู อ่ งทางของวารสารไดถ้ กู ตอ้ งตามขนั้ ตอน
6. สรา้ งเครอื ขา่ ยสาหรบั นกั วจิ ยั ในศาสตรเ์ ดยี วกนั เพอ่ื มพี น้ื ทใ่ี นการตพี มิ พบ์ ทความวจิ ยั ใน

วารสารและรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารตลอดเวลา

3

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version