The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายสันติ คงฟัก, 2020-08-11 06:58:51

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา

ปลอ่ ยให้เนิ่นชา้ ต่อไปได้ใหค้ ณะกรรมการเฉพาะเร่ืองหรือคณะกรรมการเสนอเรอื่ งให้นายกรัฐมนตรีพจิ ารณาออก
คาส่ังตามความในหมวดนี้ได้โดยไม่ต้องมหี นังสือแจง้ หรือรอให้ครบกาหนดเกา้ สิบวันตามเงอื่ นไขใน (๑) ในกรณีที่
กฎหมายดังกล่าวมิไดม้ บี ทบญั ญัติให้อานาจแก่เจา้ หนา้ ที่ผู้มีอานาจตามกฎหมายออกคาสั่งเกยี่ วกบั การคุ้มครอง
ผู้บรโิ ภคตามท่ีบญั ญัตใิ นหมวดนี้ ใหค้ ณะกรรมการเฉพาะเร่อื งมีอานาจออกคาส่งั ตามความในหมวดนี้ เว้นแตใ่ นกรณี
ทก่ี ฎหมายดังกลา่ วมีเจ้าหนา้ ทผี่ มู้ ีอานาจตามกฎหมายอยแู่ ลว้ คณะกรรมการอาจมอบอานาจให้เจ้าหน้าทผ่ี ู้มีอานาจ
ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการน้ันๆ ใชอ้ านาจตามพระราชบัญญัติน้แี ทนคณะกรรมการเฉพาะเรื่องได้การมอบอานาจให้
เจา้ หน้าทผ่ี มู้ อี านาจตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนัน้ ๆ ตามวรรคสอง ให้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

ส่วนที่ ๑
การคมุ้ ครองผ้บู ริโภคในด้านการโฆษณา
มาตรา ๒๒ การโฆษณาจะต้องไมใ่ ช้ข้อความท่เี ปน็ การไม่เป็นธรรมต่อผบู้ ริโภคหรือใช้ข้อความท่อี าจ
ก่อใหเ้ กิดผลเสยี ต่อสังคมเป็นส่วนรวม ท้งั นี้ ไมว่ า่ ขอ้ ความดังกล่าวน้ันจะเป็นข้อความท่เี ก่ียวกับแหล่งกาเนดิ สภาพ
คณุ ภาพหรือลักษณะของสินค้าหรือบริการ ตลอดจนการสง่ มอบ การจัดหา หรอื การใช้สนิ คา้ หรือบรกิ าร ข้อความ
ดังต่อไปน้ี ถือว่าเปน็ ขอ้ ความท่ีเปน็ การไมเ่ ปน็ ธรรมต่อผบู้ รโิ ภคหรือเปน็ ข้อความท่ีอาจก่อให้เกิดผลเสยี ต่อสังคมเปน็
ส่วนรวม (๑) ขอ้ ความที่เปน็ เทจ็ หรือเกนิ ความจริง (๒) ขอ้ ความที่จะก่อใหเ้ กิดความเข้าใจผดิ ในสาระสาคัญเกย่ี วกับ
สินคา้ หรือบริการไมว่ ่าจะกระทาโดยใชห้ รืออ้างองิ รายงานทางวชิ าการสถติ ิ หรือส่ิงใดสง่ิ หนงึ่ อนั ไมเ่ ปน็ ความจริงหรือ
เกนิ ความจรงิ หรือไม่ก็ตาม (๓) ขอ้ ความทเ่ี ป็นการสนบั สนุนโดยตรงหรอื โดยออ้ มใหม้ ีการกระทาผดิ กฎหมายหรือ
ศลี ธรรม หรอื นาไปสคู่ วามเสือ่ มเสียในวฒั นธรรมของชาติ (๔) ข้อความที่จะทาให้เกิดความแตกแยกหรอื เสื่อมเสยี
ความสามคั คีในหมู่ประชาชน (๕) ขอ้ ความอย่างอื่นตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง ขอ้ ความที่ใชใ้ นการโฆษณาทีบ่ ุคคล
ทว่ั ไปสามารถรู้ได้วา่ เป็นข้อความท่ีไม่อาจเป็นความจรงิ ได้โดยแน่แท้ ไมเ่ ปน็ ข้อความท่ีต้องห้ามในการโฆษณาตาม
(๑)
มาตรา ๒๓ การโฆษณาจะต้องไม่กระทาดว้ ยวธิ กี ารอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร่างกายหรอื จิตใจ หรือ
อนั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความราคาญแก่ผูบ้ รโิ ภค ท้งั น้ี ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๔ ในกรณีท่ีคณะกรรมการว่าดว้ ยการโฆษณาเห็นวา่ สนิ คา้ ใดอาจเปน็ อันตรายแก่ผูบ้ ริโภคและ
คณะกรรมการวา่ ด้วยฉลากได้กาหนดให้สินค้านัน้ เปน็ สนิ ค้าทีค่ วบคมุ ฉลากตามมาตรา ๓๐ ใหค้ ณะกรรมการว่าด้วย
การโฆษณามอี านาจออกคาสั่งดังต่อไปน้ี (๑) กาหนดใหก้ ารโฆษณานน้ั ต้องกระทาไปพร้อมกบั คาแนะนาหรือคา
เตอื นเกย่ี วกับวธิ ใี ช้หรอื อนั ตราย ตามเงื่อนไขท่คี ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณากาหนด ทั้งนี้ โดยคณะกรรมการวา่
ดว้ ยการโฆษณาจะกาหนดเง่ือนไขใหแ้ ตกต่างกันสาหรบั การโฆษณาที่ใช้ส่ือโฆษณาตา่ งกันกไ็ ด้ (๒) จากดั การใช้สื่อ
โฆษณาสาหรบั สนิ คา้ นน้ั (๓) ห้ามการโฆษณาสนิ คา้ นั้น ความใน (๒) และ (๓) ให้นามาใชบ้ ังคบั แก่การโฆษณาท่ี
คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเห็นว่าการใช้หรอื ประโยชน์ของสนิ ค้านนั้ ขัดต่อนโยบายทางสังคมศลี ธรรมหรอื
วัฒนธรรมของชาติด้วย
มาตรา ๒๕ ในกรณที ี่คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาเห็นวา่ สนิ ค้าหรือบริการใดผู้บริโภคจาเปน็ ตอ้ งทราบ
ข้อเท็จจริงเกย่ี วกับสภาพ ฐานะ และรายละเอยี ดอยา่ งอ่ืนเกยี่ วกบั ผ้ปู ระกอบธรุ กิจดว้ ย คณะกรรมการว่าด้วยการ
โฆษณามีอานาจกาหนดใหก้ ารโฆษณาสนิ ค้าหรือบรกิ ารน้ันต้องให้ข้อเท็จจรงิ ดงั กล่าวตามท่ี

คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณากาหนดได้
มาตรา ๒๖ ในกรณีท่ีคณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณาเห็นวา่ ขอ้ ความในการโฆษณาโดยทางส่ือโฆษณาใด

สมควรแจ้งให้ผบู้ ริโภคทราบวา่ ข้อความนั้นเปน็ ข้อความท่มี ีความมุ่งหมายเพื่อการโฆษณา คณะกรรมการว่าดว้ ยการ
โฆษณามีอานาจกาหนดใหก้ ารโฆษณาโดยทางส่ือโฆษณาน้ันต้องมีถ้อยคาชีแ้ จงกากับให้ประชาชนทราบวา่ ข้อความ
ดังกลา่ วเป็นการโฆษณาได้ ทง้ั น้ี คณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณาจะกาหนดเงื่อนไขอย่างใดใหต้ ้องปฏบิ ตั ิดว้ ยก็ได้

มาตรา ๒๗ ในกรณที ี่คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาเหน็ วา่ การโฆษณาใดฝา่ ฝืนมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓
มาตรา ๒๔ (๑) หรอื มาตรา ๒๕ ใหค้ ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณามีอานาจออกคาสัง่ อย่างใดอยา่ งหน่ึงหรือหลาย
อย่างดงั ต่อไปน้ี (๑) ใหแ้ กไ้ ขข้อความหรือวิธกี ารในการโฆษณา (๒) ห้ามการใชข้ ้อความบางอย่างทปี่ รากฏในการ
โฆษณา (๓) ห้ามการโฆษณาหรือหา้ มใช้วธิ กี ารน้นั ในการโฆษณา (๔) ใหโ้ ฆษณาเพ่ือแกไ้ ขความเข้าใจผดิ ของผูบ้ รโิ ภค
ที่อาจเกดิ ขน้ึ แลว้ ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการที่คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณากาหนด ในการออกคาส่งั ตาม (๔) ให้
คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณากาหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการ โดยคานึงถงึ ประโยชนข์ องผู้บริโภคประกอบกับความ
สจุ ริตใจในการกระทาของผูก้ ระทาการโฆษณา

มาตรา ๒๘ ในกรณีท่ีคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณามเี หตอุ ันควรสงสัยวา่ ข้อความใดท่ีใช้ในการโฆษณา
เป็นเท็จหรือเกินความจริงตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๑) ใหค้ ณะกรรมการว่าดว้ ยการโฆษณามีอานาจออกคาสงั่ ให้
ผกู้ ระทาการโฆษณาพิสจู น์เพ่ือแสดงความจรงิ ได้ ในกรณีท่ีผูก้ ระทาการโฆษณาอ้างรายงานทางวิชาการ ผลการวิจัย
สถิติการรับรองของสถาบันหรือบคุ คลอ่ืนใด หรือยนื ยนั ข้อเท็จจรงิ อนั ใดอันหนง่ึ ในการโฆษณา ถา้ ผูก้ ระทาการ
โฆษณาไมส่ ามารถพิสูจนไ์ ด้ว่าขอ้ ความที่ใช้ในการโฆษณาเป็นความจริงตามทกี่ ลา่ วอา้ ง ใหค้ ณะกรรมการว่าด้วยการ
โฆษณามีอานาจออกคาสัง่ ตามมาตรา ๒๗ ได้ และใหถ้ ือว่าผกู้ ระทาการโฆษณารหู้ รือควรได้รวู้ ่าขอ้ ความนนั้ เปน็
ความเท็จ

มาตรา ๒๙ ผปู้ ระกอบธรุ กิจผใู้ ดสงสัยว่าการโฆษณาของตนจะเปน็ การฝ่าฝืนหรือไมเ่ ปน็ ไปตาม
พระราชบัญญตั ิน้ี ผ้ปู ระกอบธุรกิจผนู้ ้ันอาจขอใหค้ ณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณาพิจารณาให้ความเห็นในเรอ่ื งน้นั
กอ่ นทาการโฆษณาได้ ในกรณีนคี้ ณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาจะตอ้ งใหค้ วามเห็นและแจง้ ใหผ้ ูข้ อทราบภายใน
สามสิบวนั นบั แต่วนั ท่ีคณะกรรมการวา่ ดว้ ยการโฆษณาไดร้ ับคาขอ ถา้ ไม่แจง้ ภายในกาหนดระยะเวลาดังกลา่ ว ให้ถอื
วา่ คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาใหค้ วามเห็นชอบแลว้ การขอความเหน็ และค่าป่วยการในการใหค้ วามเหน็ ให้
เป็นไปตามระเบียบท่ีคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณากาหนด คา่ ป่วยการท่ีไดร้ บั ใหน้ าส่งคลงั เป็นรายได้แผ่นดนิ การ
ใหค้ วามเหน็ ของคณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาตามวรรคหน่ึง ไมถ่ ือว่าเปน็ การตัดอานาจของคณะกรรมการวา่
ดว้ ยการโฆษณาที่จะพิจารณาวินจิ ฉัยใหมเ่ ปน็ อยา่ งอ่ืนเมอื่ มีเหตอุ นั สมควรการใดที่ได้กระทาไปตามความเห็นของ
คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาทีใ่ ห้ตามวรรคหนึง่ มิใหถ้ ือว่าการกระทานนั้ เปน็ ความผิดทางอาญา

สว่ นท่ี ๒
การค้มุ ครองผู้บรโิ ภคในด้านฉลาก
มาตรา ๓๐ ใหส้ นิ ค้าทผี่ ลิตเพื่อขายโดยโรงงานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงงานและสินคา้ ทีส่ ั่งหรือนาเขา้ มาใน
ราชอาณาจกั รเพื่อขายเปน็ สนิ ค้าท่ีควบคุมฉลาก ความในวรรคหน่ึงไม่ใช้บงั คับกับสนิ คา้ ท่ีคณะกรรมการวา่ ดว้ ยฉลาก
กาหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษาในกรณีท่ีปรากฏว่ามสี ินค้าท่ีอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สขุ ภาพ ร่างกาย หรือ

จติ ใจ เน่อื งในการใชส้ นิ ค้าหรือโดยสภาพของสินคา้ นน้ั หรอื มสี นิ ค้าทปี่ ระชาชนทัว่ ไปใช้เปน็ ประจา ซงึ่ การกาหนด
ฉลากของสินคา้ น้ันจะเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผ้บู รโิ ภคในการท่จี ะทราบข้อเท็จจริงในสาระสาคัญเกยี่ วกับสนิ ค้านั้นแตส่ นิ คา้
ดังกล่าวไมเ่ ป็นสินค้าท่ีควบคุมฉลากตามวรรคหนงึ่ ให้คณะกรรมการวา่ ดว้ ยฉลากมีอานาจกาหนดให้สนิ คา้ นั้นเปน็
สนิ ค้าทคี่ วบคุมฉลากได้ โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา ๓๑ ฉลากของสินค้าท่ีควบคุมฉลาก จะต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนี้ (๑) ใช้ข้อความที่ตรงตอ่ ความจรงิ
และไม่มีข้อความทอ่ี าจก่อใหเ้ กิดความเข้าใจผดิ ในสาระสาคัญเกย่ี วกับสินคา้ (๒) ต้องระบุขอ้ ความดงั ต่อไปนี้ (ก) ชอื่
หรือเครอื่ งหมายการคา้ ของผู้ผลติ หรือของผนู้ าเขา้ เพือ่ ขายแลว้ แตก่ รณี (ข) สถานทีผ่ ลิตหรือสถานทป่ี ระกอบธุรกจิ
นาเข้า แล้วแตก่ รณี (ค) ระบุข้อความที่แสดงใหเ้ ข้าใจได้วา่ สนิ คา้ นน้ั คืออะไร ในกรณที ี่เปน็ สินค้านาเข้าให้ระบชุ ือ่
ประเทศท่ีผลิตด้วย (๓) ต้องระบขุ ้อความอนั จาเป็น ได้แก่ ราคา ปริมาณ วิธีใช้ ข้อแนะนา คาเตอื น วนั เดือน ปีท่ี
หมดอายใุ นกรณเี ปน็ สนิ ค้าท่หี มดอายุได้ หรือกรณีอนื่ เพื่อคุ้มครองสิทธขิ องผู้บรโิ ภค ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑ์และ
เงื่อนไขท่ีคณะกรรมการว่าดว้ ยฉลากกาหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ใหผ้ ูป้ ระกอบธุรกิจซงึ่ เป็นผู้ผลติ เพ่ือ
ขายหรอื ผูส้ ัง่ หรือผนู้ าเข้ามาในราชอาณาจกั ร เพื่อขายซ่งึ สินค้าทค่ี วบคุมฉลาก แลว้ แต่กรณี เปน็ ผู้จดั ทาฉลากกอ่ น
ขายและฉลากน้ันต้องมีข้อความดงั กลา่ วในวรรคหนง่ึ ในการนี้ ขอ้ ความตามวรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) ต้องจดั ทาตาม
หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารทคี่ ณะกรรมการวา่ ดว้ ยฉลากกาหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓๒ การกาหนดขอ้ ความของฉลากตามมาตรา ๓๐ ต้องไมเ่ ป็นการบงั คบั ใหผ้ ู้ประกอบธรุ กิจต้อง
เปิดเผยความลับทางการผลติ เว้นแต่ข้อความดงั กล่าวจะเป็นสง่ิ จาเปน็ ทเี่ กี่ยวกบั สุขภาพอนามยั และความปลอดภยั
ของผ้บู ริโภค

มาตรา ๓๓ เมอื่ คณะกรรมการวา่ ด้วยฉลากเห็นวา่ ฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา ๓๑ คณะกรรมการว่าดว้ ย
ฉลากมีอานาจส่ังให้ผู้ประกอบธุรกจิ เลิกใช้ฉลากดังกลา่ วหรือดาเนินการแก้ไขฉลากน้นั ให้ถกู ต้อง

มาตรา ๓๔ ผู้ประกอบธรุ กิจผู้ใดสงสัยว่าฉลากของตนจะเป็นการฝา่ ฝนื หรือไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรา ๓๑ ผู้
ประกอบธรุ กจิ ผู้นั้นอาจขอใหค้ ณะกรรมการวา่ ดว้ ยฉลากพิจารณาให้ความเหน็ ในฉลากน้ันก่อนได้ ในกรณีนี้ใหน้ า
มาตรา ๒๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๓๕ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมและการตรวจสอบการประกอบธุรกจิ เกี่ยวกับสินคา้ ทค่ี วบคุมฉลาก
รัฐมนตรีมีอานาจประกาศในราชกจิ จานเุ บกษากาหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจในสินค้าดังกล่าวต้องจัดทาและเกบ็ รักษา
บญั ชเี อกสารและหลักฐานเพื่อให้นักงานเจ้าหนา้ ท่ีทาการตรวจสอบได้ วธิ ีจัดทาและเกบ็ รักษาบัญชี เอกสารและ
หลักฐานตามวรรคหนงึ่ ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง

สว่ นท่ี ๒
ทวิ การค้มุ ครองผบู้ รโิ ภคในดา้ นสญั ญา
มาตรา ๓๕ ทวิ ในการประกอบธรุ กิจขายสินค้าหรือใหบ้ ริการใด ถ้าสัญญาซอ้ื ขายหรอื สัญญาใหบ้ ริการนั้น
มกี ฎหมายกาหนดใหต้ ้องทาเป็นหนงั สือ หรือทีต่ ามปกตปิ ระเพณที าเป็นหนงั สือ คณะกรรมการว่าด้วยสัญญามี
อานาจกาหนดให้การประกอบธุรกจิ ขายสินคา้ หรอื ให้บริการน้นั เป็นธุรกิจท่คี วบคมุ สญั ญาได้ ในการประกอบธรุ กิจที่
ควบคมุ สญั ญา สญั ญาทผี่ ู้ประกอบธรุ กจิ ทากับผบู้ ริโภคจะต้องมลี ักษณะดังต่อไปนี้ (๑) ใชข้ ้อสญั ญาที่จาเป็นซงึ่ หาก
มไิ ด้ใชข้ ้อสญั ญาเช่นนนั้ จะทาใหผ้ บู้ รโิ ภคเสียเปรียบผปู้ ระกอบธรุ กจิ เกนิ สมควร (๒) หา้ มใช้ขอ้ สญั ญาที่ไมเ่ ปน็ ธรรม

ตอ่ ผบู้ ริโภค ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และรายละเอยี ดทคี่ ณะกรรมการว่าดว้ ยสญั ญากาหนด และเพ่อื ประโยชน์
ของผูบ้ รโิ ภคเปน็ ส่วนรวม คณะกรรมการว่าดว้ ยสญั ญาจะให้ผู้ประกอบธุรกิจจดั ทาสญั ญาตามแบบท่ีคณะกรรมการ
วา่ ดว้ ยสัญญากาหนดก็ได้ การกาหนดตามวรรคหน่งึ และวรรคสอง ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่กี าหนดโดย
พระราชกฤษฎีกา มาตรา ๓๕ ตรี เมอ่ื คณะกรรมการว่าด้วยสญั ญากาหนดใหส้ ัญญาของการประกอบธรุ กจิ ที่ควบคุม
สญั ญาต้องใช้ข้อสัญญาใด หรอื ต้องใช้ขอ้ สัญญาใดโดยมเี งือ่ นไขในการใช้ข้อสญั ญาน้ันดว้ ยตามมาตรา ๓๕ ทวิ แลว้
ถ้าสัญญาน้ันไมใ่ ช้ข้อสัญญาดังกลา่ วหรือใชข้ ้อสัญญาดังกล่าวแตไ่ ม่เปน็ ไปตามเงือ่ นไข ใหถ้ ือว่าสัญญานัน้ ใช้ข้อสญั ญา
ดงั กล่าวหรือใช้ข้อสัญญาดังกล่าวตามเงอื่ นไขน้ัน แลว้ แต่กรณี มาตรา ๓๕ จตั วา เม่ือคณะกรรมการวา่ ด้วยสญั ญา
กาหนดใหส้ ญั ญาของการประกอบธุรกจิ ท่ีควบคมุ สัญญาต้องไมใ่ ชข้ ้อสญั ญาใดตามมาตรา ๓๕ ทวิ แลว้ ถ้าสญั ญานนั้
ใช้ขอ้ สญั ญาดังกลา่ ว ให้ถือว่าสญั ญานน้ั ไม่มขี ้อสญั ญาเชน่ วา่ นั้น มาตรา ๓๕ เบญจ คณะกรรมการวา่ ดว้ ยสญั ญามี
อานาจกาหนดให้การประกอบธรุ กิจขายสนิ คา้ หรือให้บรกิ ารอย่างใดอย่างหนงึ่ เปน็ ธรุ กิจทค่ี วบคมุ รายการใน
หลักฐานการรับเงินได้ในการประกอบธุรกจิ ท่ีควบคุมรายการในหลกั ฐานการรับเงนิ หลกั ฐานการรับเงินจะต้องมี
ลักษณะ ดังต่อไปน้ี
(๑) มีรายการและใช้ข้อความทีจ่ าเป็น ซงึ่ หากมไิ ด้มรี ายการหรือมไิ ด้ใช้ขอ้ ความเช่นนนั้ จะทาใหผ้ ูบ้ ริโภคเสียเปรยี บผู้
ประกอบธุรกิจเกนิ สมควร (๒) หา้ มใช้ข้อความท่ีไมเ่ ปน็ ธรรมตอ่ ผบู้ ริโภค ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ เงอื่ นไข และ
รายละเอยี ดทค่ี ณะกรรมการว่าดว้ ยสัญญากาหนด การกาหนดตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์
และวธิ ีการที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎกี า มาตรา ๓๕ ฉ เม่ือคณะกรรมการวา่ ดว้ ยสญั ญากาหนดให้หลกั ฐานการรับ
เงินของการประกอบธุรกจิ ท่ีควบคมุ รายการในหลักฐานการรับเงินตอ้ งใช้ขอ้ ความใด หรือต้องใชข้ ้อความใด โดยมี
เงือ่ นไขในการใชข้ ้อความน้นั ด้วย หรือต้องไม่ใชข้ ้อความใดตามมาตรา ๓๕ เบญจ แลว้ ให้นามาตรา ๓๕ ตรี และ
มาตรา ๓๕ จัตวา มาใชบ้ ังคบั แก่หลักฐานการรบั เงนิ ดงั กลา่ วโดยอนุโลม มาตรา ๓๕ สตั ต ในกรณีท่ีผปู้ ระกอบธรุ กจิ
ขายสนิ ค้าหรอื ใหบ้ ริการโดยให้คามัน่ ว่าจะทาสัญญารับประกนั ใหไ้ ว้แกผ่ ู้บริโภค สญั ญาดงั กล่าวตอ้ งทาเป็นหนงั สือลง
ลายมือชื่อของผ้ปู ระกอบธุรกิจหรือผู้แทน และตอ้ งสง่ มอบสญั ญานัน้ แกผ่ ูบ้ ริโภคพร้อมกับการสง่ มอบสินคา้ หรือ
ให้บริการ ถ้าสญั ญาตามวรรคหนึง่ ทาเป็นภาษาตา่ งประเทศตอ้ งมีคาแปลภาษาไทยกากับไวด้ ้วย มาตรา ๓๕ อัฏฐ ผู้
ประกอบธุรกิจมหี นา้ ทส่ี ง่ มอบสัญญาท่มี ขี ้อสญั ญาหรือมีขอ้ สัญญาและแบบถกู ต้องตามมาตรา ๓๕ ทวิ หรือสง่ มอบ
หลักฐานการรบั เงินที่มรี ายการและข้อความถกู ต้องตามมาตรา ๓๕ เบญจ ใหแ้ กผ่ ู้บรโิ ภคภายในระยะเวลาทเี่ ปน็ ทาง
ปฏิบตั ิตามปกติสาหรบั การประกอบธุรกิจประเภทน้ัน ๆ หรอื ภายในระยะเวลาท่ีคณะกรรมการว่าดว้ ยสญั ญากาหนด
โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา สดุ แต่ระยะเวลาใดจะถึงก่อน มาตรา ๓๕ นว ผปู้ ระกอบธุรกจิ ผ้ใู ดสงสัยวา่ แบบ
สญั ญาหรือแบบหลกั ฐานการรับเงนิ ของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามพระราชบัญญตั ิน้ี ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ผู้
นั้นอาจขอให้คณะกรรมการวา่ ดว้ ยสญั ญาใหค้ วามเหน็ ในแบบสญั ญาหรอื แบบหลักฐานการรับเงินนนั้ ก่อนได้ ในกรณี
น้ีให้นามาตรา ๒๙ มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม

สว่ นท่ี ๓
การคุ้มครองผ้บู ริโภคโดยประการอน่ื
มาตรา ๓๖ เมอื่ มีเหตุอนั ควรสงสัยวา่ สนิ ค้าใด อาจเป็นอันตรายแก่ผู้บรโิ ภค คณะกรรมการอาจสัง่ ใหผ้ ปู้ ระกอบธุรกิจ
ดาเนินการทดสอบหรือพิสจู น์สินค้านนั้ ได้ ถ้าผู้ประกอบธุรกิจไมด่ าเนินการทดสอบหรอื พิสจู นส์ นิ ค้าหรอื ดาเนินการ

ล่าช้าโดยไม่มเี หตผุ ลอนั สมควร คณะกรรมการจะจดั ให้มกี ารพิสูจน์โดยผู้ประกอบธุรกิจเป็นผูเ้ สยี คา่ ใช้จา่ ยกไ็ ด้ ถ้าผล
จากการทดสอบหรือพิสจู นป์ รากฏว่าสนิ คา้ นน้ั อาจเป็นอันตรายแกผ่ บู้ รโิ ภค และกรณไี ม่อาจปอ้ งกนั อันตรายที่จะเกิด
จากสินค้าน้ันได้โดยการกาหนดฉลากตามมาตรา ๓๐ หรือตามกฎหมายอืน่ ใหค้ ณะกรรมการมีอานาจสัง่ ห้ามขาย
สนิ ค้าน้นั และถา้ เหน็ สมควรจะสง่ั ให้ผปู้ ระกอบธุรกจิ เปลีย่ นแปลงสินคา้ นั้นภายใต้เง่ือนไขตามทค่ี ณะกรรมการ
กาหนดก็ได้ ในกรณที ่ีสินคา้ นั้นไม่สามารถเปลีย่ นแปลงได้หรือเปน็ ที่สงสยั ว่าผ้ปู ระกอบธรุ กิจจะเก็บสินคา้ นัน้ ไว้เพือ่
ขายตอ่ ไป คณะกรรมการมีอานาจสั่งให้ผ้ปู ระกอบธุรกจิ ทาลายหรอื จะจัดให้มีการทาลายโดยผปู้ ระกอบธรุ กิจเปน็ ผู้
เสยี ค่าใชจ้ ่ายกไ็ ด้ ในกรณีจาเป็นและเรง่ ด่วน ถา้ คณะกรรมการมเี หตทุ น่ี า่ เชอ่ื ว่าสินค้าใดอาจเปน็ อันตรายแกผ่ ู้บริโภค
ให้คณะกรรมการมีอานาจส่งั หา้ มขายสินคา้ น้นั เป็นการช่ัวคราวจนกว่าจะไดม้ กี ารทดสอบหรือพิสูจน์สินคา้ ตามวรรค
หนึ่งหรอื วรรคสอง การสง่ั ห้ามขายสนิ คา้ ตามวรรคสองและวรรคสาม ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓๗ (ยกเลกิ โดยพระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองผู้บริโภค (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑)
มาตรา ๓๘ (ยกเลิกโดยพระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผบู้ รโิ ภค (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑)
มาตรา ๓๙ ในกรณที ี่คณะกรรมการเหน็ สมควรเข้าดาเนินคดเี ก่ยี วกบั การละเมิดสิทธขิ องผู้บริโภค หรอื เม่ือ
ได้รบั คาร้องขอจากผ้บู ริโภคทถ่ี กู ละเมิดสิทธิ ซงึ่ คณะกรรมการเห็นวา่ การดาเนนิ คดีน้ันจะเป็นประโยชน์แกผ่ บู้ รโิ ภค
เปน็ สว่ นรวม คณะกรรมการมีอานาจแต่งต้งั พนักงานอยั การโดยความเห็นชอบของอธบิ ดีกรมอัยการ หรอื ข้าราชการ
ในสานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคซงึ่ มีคุณวฒุ ิไม่ตา่ กวา่ ปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ เปน็ เจ้าหน้าทคี่ มุ้ ครอง
ผบู้ รโิ ภคเพอื่ ใหม้ ีหนา้ ท่ีดาเนินคดแี พ่งและคดีอาญาแกผ่ กู้ ระทาการละเมิดสทิ ธขิ องผ้บู รโิ ภคในศาล และเม่ือ
คณะกรรมการได้แจง้ ไปยังกระทรวงยุติธรรมเพ่ือแจง้ ใหศ้ าลทราบแลว้ ให้เจา้ หนา้ ที่คมุ้ ครองผบู้ ริโภคมีอานาจ
ดาเนินคดีตามท่ีคณะกรรมการมอบหมายได้ ในการดาเนินคดีในศาล ให้เจา้ หนา้ ทีค่ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภคมีอานาจฟ้อง
เรยี กทรพั ยส์ ิน หรอื ค่าเสยี หายใหแ้ กผ่ บู้ ริโภคทีร่ อ้ งขอได้ดว้ ย และในการน้ีใหไ้ ดร้ ับยกเวน้ ค่าฤชาธรรมเนยี มท้ังปวง
มาตรา ๔๐ สมาคมใดมวี ัตถปุ ระสงคใ์ นการคมุ้ ครองผู้บริโภคหรือต่อต้านการแขง่ ขันอันไมเ่ ปน็ ธรรมทาง
การค้า และข้อบังคับของสมาคมดังกล่าวในส่วนทเ่ี ก่ียวกบั คณะกรรมการ สมาชิก และวิธีการดาเนินการของสมาคม
เป็นไปตามเง่ือนไขท่กี าหนดในกฎกระทรวง สมาคมนน้ั อาจย่ืนคาขอใหค้ ณะกรรมการรับรองเพ่ือให้สมาคมนั้นมีสทิ ธิ
และอานาจฟ้องตามมาตรา ๔๑ ได้ การย่ืนคาขอตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่กี าหนดใน
กฎกระทรวง การรบั รองสมาคมตามวรรคหนึ่ง ใหป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา ๔๑ ในการดาเนินคดีท่ีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผ้บู รโิ ภคใหส้ มาคมท่ีคณะกรรมการรบั รองตาม
มาตรา ๔๐ มสี ิทธใิ นการฟ้องคดีแพ่ง คดีอาญาหรือดาเนนิ กระบวนพจิ ารณาใดๆ ในคดีเพือ่ คุ้มครองผูบ้ ริโภคได้ และ
ใหม้ ีอานาจฟ้องเรียกคา่ เสยี หายแทนสมาชกิ ของสมาคมได้ ถ้ามหี นังสอื มอบหมายใหเ้ รียกคา่ เสยี หายแทนจากสมาชิก
ของสมาคม ในการดาเนนิ คดีตามวรรคหนึ่ง มใิ หส้ มาคมถอนฟ้อง เวน้ แต่ศาลจะอนุญาตเม่ือศาลเหน็ วา่ การถอนฟ้อง
นั้นไมเ่ ป็นผลเสียต่อการคุ้มครองผู้บรโิ ภคเปน็ ส่วนรวมสาหรับคดีแพ่งเก่ียวกับการเรียกคา่ เสยี หายแทนสมาชิกของ
สมาคมการถอนฟ้อง หรือ การพพิ ากษาในกรณีที่คู่ความตกลง หรอื ประนปี ระนอมยอมความกัน จะต้องมีหนงั สือ
แสดงความยนิ ยอมของสมาชิกผมู้ อบหมายให้เรยี กคา่ เสียหายแทนมาแสดงตอ่ ศาลดว้ ย
มาตรา ๔๒ นอกจากต้องปฏบิ ัตติ ามบทบญั ญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยแ์ ละกฎหมายอ่นื แล้ว
สมาคมที่คณะกรรมการรบั รองตามมาตรา ๔๐ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บทีค่ ณะกรรมการกาหนดเม่อื ปรากฏวา่ สมาคม
ทคี่ ณะกรรมการรบั รองตามมาตรา ๔๐ สมาคมใดไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการกาหนด หรอื เม่ือมี

พฤติการณ์ปรากฏวา่ สมาคมน้ันดาเนินการเพือ่ ฟอ้ งคดีโดยไม่สจุ รติ ให้คณะกรรมการมีอานาจเพิกถอนการรับรอง
สมาคมน้ันได้ การเพกิ ถอนการรบั รองสมาคมใดตามมาตราน้ี ใหป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ในกรณที ี่สมาคมซ่ึง
ถูกเพิกถอนการรบั รองตามมาตรานไ้ี ด้ฟ้องคดใี ดไวต้ ่อศาลและคดีนั้นยงั ค้างอยู่ในการพจิ ารณาของศาล ให้ศาลส่งั
จาหนา่ ยคดนี ั้นเสยี

หมวด ๓
การอุทธรณ์
มาตรา ๔๓ ในกรณที ี่ผู้ไดร้ ับคาสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรอ่ื งตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘ วรรคสอง
ไมพ่ อใจคาส่ังดังกลา่ ว ให้มีสิทธอิ ุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้
มาตรา ๔๔ การอทุ ธรณ์ตามมาตรา ๔๓ ให้ยืน่ ตอ่ คณะกรรมการภายในสิบวันนับแต่วนั ที่ผูอ้ ุทธรณไ์ ด้
รบั ทราบคาสง่ั ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารยื่นอทุ ธรณ์ และวิธีพิจารณาอทุ ธรณ์ ให้เป็นไป
ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง การอุทธรณ์คาส่ังตามวรรคหนึ่ง ยอ่ มไม่เปน็ การทเุ ลาการบังคบั ตามคาส่งั ของ
คณะกรรมการเฉพาะเร่ือง เวน้ แต่คณะกรรมการจะสัง่ เป็นอยา่ งอื่นเปน็ การชวั่ คราวก่อนการวินจิ ฉยั อุทธรณ์ คา
วินิจฉัยของคณะกรรมการใหเ้ ปน็ ทส่ี ดุ

หมวด ๔
บทกาหนดโทษ
มาตรา ๔๕ ผใู้ ดขดั ขวางหรือไม่อานวยความสะดวก ไม่ใหถ้ ้อยคา หรอื ไม่ส่งเอกสาร หรือหลักฐานแก่
พนักงานเจ้าหน้าทซ่ี ง่ึ ปฏบิ ตั ิการตามมาตรา ๕ ต้องระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ หนึ่งเดือน หรอื ปรบั ไมเ่ กินหนึ่งหม่ืนบาท
หรอื ทั้งจาท้ังปรบั
มาตรา ๔๖ ผ้ใู ดไมป่ ฏิบตั ติ ามคาสงั่ ของคณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเร่ืองตามมาตรา ๑๗ ตอ้ ง
ระวางโทษจาคุกไมเ่ กินหนงึ่ เดือน หรือปรบั ไมเ่ กนิ หนึ่งหมืน่ บาท หรอื ทงั้ จาทั้งปรับ
มาตรา ๔๗ ผใู้ ดโดยเจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผดิ ในแหลง่ กาเนิด สภาพ คุณภาพ ปริมาณ หรือ
สาระสาคัญประการอน่ื อนั เก่ียวกบั สินค้าหรือบริการ ไม่ว่าจะเปน็ ของตนเองหรือผู้อืน่ โฆษณาหรือใชฉ้ ลากที่มี
ข้อความอนั เป็นเทจ็ หรอื ข้อความที่รหู้ รือควรรอู้ ยู่แล้วว่าอาจกอ่ ให้เกดิ ความเข้าใจผิดเช่นวา่ นั้น ตอ้ งระวางโทษจาคกุ
ไม่เกนิ หกเดือน หรอื ปรับไมเ่ กินหา้ หมน่ื บาท หรอื ท้ังจาท้งั ปรบั ถ้าผ้กู ระทาความผิดตามวรรคหนึ่งกระทา
ผิดซา้ อีก ผกู้ ระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรอื ปรับไม่เกนิ หน่ึงแสนบาท หรอื ท้งั จาท้งั ปรับ
มาตรา ๔๘ ผู้ใดโฆษณาโดยใช้ข้อความตามมาตรา ๒๒ (๓) หรือ (๔) หรือข้อความตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวงท่อี อกตามมาตรา ๒๒ (๕) หรอื ฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏิบัตติ ามมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ หรือมาตรา
๒๖ ต้องระวางโทษจาคุกไมเ่ กินสามเดือน หรือปรบั ไม่เกินสามหม่นื บาท หรอื ทงั้ จาทงั้ ปรับ
มาตรา ๔๙ ผูใ้ ดไมป่ ฏบิ ตั ิตามคาส่ังของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาซงึ่ ส่ังตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา
๒๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรอื ปรับไม่เกนิ ห้าหมน่ื บาท หรอื ท้งั จาท้งั ปรับ
มาตรา ๕๐ ถ้าการกระทาตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ หรอื มาตรา ๔๙ เปน็ การกระทาของเจ้าของส่อื
โฆษณา หรอื ผ้ปู ระกอบกิจการโฆษณา ผูก้ ระทาต้องระวางโทษเพียงกงึ่ หนง่ึ ของโทษท่ีบัญญตั ิไวส้ าหรับความผิดน้นั

มาตรา ๕๑ ถ้าการกระทาความผดิ ตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ หรือมาตรา ๕๐ เปน็ ความผดิ
ตอ่ เน่อื ง ผู้กระทาต้องระวางโทษปรับวนั ละไม่เกนิ หนง่ึ หมืน่ บาทหรอื ไม่เกนิ สองเท่าของค่าใชจ้ ่ายท่ใี ชส้ าหรบั การ
โฆษณานั้น ตลอดระยะเวลาท่ียังฝ่าฝืนหรือไมป่ ฏบิ ตั ิตาม

มาตรา ๕๒ ผใู้ ดขายสนิ ค้าท่ีควบคุมฉลากตามมาตรา ๓๐ โดยไม่มีฉลากหรือมีฉลากแตฉ่ ลากหรือการแสดง
ฉลากน้นั ไมถ่ ูกต้อง หรือขายสินคา้ ทม่ี ฉี ลากท่ีคณะกรรมการวา่ ด้วยฉลากส่งั เลิกใช้ตามมาตรา ๓๓ ท้ังนี้ โดยรหู้ รือ
ควรรูอ้ ย่แู ล้ววา่ การไมม่ ฉี ลากหรือการแสดงฉลากดงั กลา่ วนั้นไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหก
เดือน หรือปรบั ไมเ่ กนิ หา้ หมนื่ บาท หรือทั้งจาทัง้ ปรับ ถา้ การกระทาตามวรรคหนงึ่ เปน็ การกระทาของผู้ผลิตเพื่อขาย
หรือผ้สู ั่งหรือนาเข้ามาในราชอาณาจักรเพ่ือขาย ผูก้ ระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หน่งึ ปี หรือปรับไมเ่ กนิ หนง่ึ แสน
บาท หรือทั้งจาทั้งปรบั

มาตรา ๕๓ ผู้ประกอบธรุ กิจผใู้ ดไม่ปฏิบตั ติ ามคาสง่ั ของคณะกรรมการว่าดว้ ยฉลากซ่ึงสงั่ ตามมาตรา ๓๓
ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หกเดือน หรอื ปรบั ไม่เกนิ หา้ หมื่นบาท หรือทัง้ จาทง้ั ปรบั

มาตรา ๕๔ ผูใ้ ดรบั จ้างทาฉลากท่ีไมถ่ ูกตอ้ งตามกฎหมาย หรือรับจ้างตดิ ตรงึ ฉลากท่ีไม่ถูกตอ้ งตามกฎหมาย
กับสนิ คา้ โดยรหู้ รอื ควรร้อู ย่แู ลว้ ว่าฉลากดังกลา่ วนั้นไม่ถกู ต้องตามกฎหมาย ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กนิ สองหมืน่ บาท

มาตรา ๕๕ ผู้ประกอบธุรกจิ ผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ิตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๓๕ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ
หน่งึ หมืน่ บาท

มาตรา ๕๖ ผู้ประกอบธุรกจิ ผใู้ ด ขายสินคา้ ที่คณะกรรมการสง่ั ห้ามขายเพราะสนิ ค้านั้นอาจเปน็ อันตรายแก่
ผ้บู รโิ ภคตามมาตรา ๓๖ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดอื นหรอื ปรับไมเ่ กนิ หา้ หมืน่ บาท หรอื ท้งั จาทงั้ ปรับ ถา้ ผู้
ประกอบธุรกิจนนั้ เป็นผผู้ ลิตเพอ่ื ขายหรือเปน็ ผู้ส่งั หรือนาเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อขาย ผู้กระทาต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินหา้ ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ ห้าแสนบาท หรอื ทัง้ จาทั้งปรับ

มาตรา ๕๗ ผูป้ ระกอบธุรกิจผูใ้ ดไม่ส่งมอบสัญญาท่ีมีข้อสญั ญาหรอื มีข้อสัญญาและแบบถูกต้องตามมาตรา
๓๕ ทวิ หรอื ไม่ส่งมอบหลักฐานการรบั เงนิ ท่ีมรี ายการและข้อความถกู ต้องตามมาตรา ๓๕ เบญจ ใหแ้ ก่ผ้บู ริโภค
ภายในระยะเวลาตามมาตรา ๓๕ อฏั ฐ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หนงึ่ ปี หรือปรับไมเ่ กินหนึง่
แสนบาท หรือทั้งจาทงั้ ปรับ ผ้ปู ระกอบธุรกิจผ้ใู ด ส่งมอบหลักฐานการรบั เงนิ โดยลงจานวนเงินมากกวา่ ทีผ่ ู้บรโิ ภค
จะตอ้ งชาระและได้รับเงินจานวนน้ันไปจากผ้บู รโิ ภคแล้วต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่งึ เดอื น หรอื ปรบั ตง้ั แตห่ า้ ร้อย
บาทถึงหนง่ึ หมน่ื บาทหรือทัง้ จาทั้งปรบั เว้นแต่ จะพสิ ูจนไ์ ด้วา่ ตนได้ใชค้ วามระมัดระวังตามสมควรในการประกอบ
ธรุ กจิ เชน่ นัน้ แลว้ มาตรา ๕๗ ทวิ ผู้ประกอบธุรกจิ ผูใ้ ดฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๓๕ สัตต ตอ้ งระวางโทษ
จาคุกไมเ่ กนิ หนง่ึ ปี หรือปรับไมเ่ กินหนงึ่ แสนบาทหรอื ท้ังจาทัง้ ปรับ

มาตรา ๕๘ ผู้ใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญตั ิน้ีภายในสถานที่ประกอบธรุ กจิ ของผูป้ ระกอบธรุ กิจ
และการกระทานน้ั เป็นไปเพ่ือประโยชนข์ องผู้ประกอบธรุ กิจ ให้สันนษิ ฐานว่าผปู้ ระกอบธุรกจิ เปน็ ผกู้ ระทาผิดรว่ ม
ด้วยเว้นแตจ่ ะพสิ จู น์ไดว้ า่ ตนไมส่ ามารถคาดหมายไดว้ า่ บคุ คลน้นั จะกระทาความผดิ แมจ้ ะใชค้ วามระมดั ระวงั ตาม
สมควรแล้ว

มาตรา ๕๙ ในกรณีท่ผี ู้กระทาความผดิ ซึ่งต้องรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้เปน็ นิติบุคคล กรรมการหรือ
ผู้จัดการหรอื ผูร้ บั ผิดชอบในการดาเนินการของนิติบุคคลน้ันต้องรบั โทษตามท่ีกฎหมายกาหนดสาหรบั ความผิดน้ัน ๆ
ดว้ ยเว้นแตจ่ ะพิสจู น์ได้วา่ ตนมิได้มสี ่วนในการกระทาความผิดของนิติบคุ คลนัน้

มาตรา ๖๐ ผู้ใดโดยเจตนาทุจริตใช้จ้างวานยุยงหรอื ดาเนินการใหส้ มาคมท่ีคณะกรรมการรับรองตามมาตรา
๔๐ ฟอ้ งรอ้ งผ้ปู ระกอบธรุ กจิ คนใดเปน็ คดีแพ่งหรือคดอี าญาตอ่ ศาล เพือ่ กลั่นแกล้งผปู้ ระกอบธุรกิจนน้ั ให้ไดร้ บั ความ
เสียหาย ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หกเดือน หรอื ปรับไมเ่ กินหา้ หม่นื บาท หรือทง้ั จาท้งั ปรับ

มาตรา ๖๑ ผใู้ ดเปดิ เผยขอ้ เท็จจรงิ ใดเกย่ี วกับกจิ การของผู้ประกอบธุรกิจอนั เป็นข้อเท็จจรงิ ท่ีตามปกตวิ สิ ัย
ของผ้ปู ระกอบธรุ กิจจะพงึ สงวนไว้ไม่เปดิ เผย ซ่ึงตนได้มาหรือลว่ งรเู้ น่อื งจากการปฏบิ ตั ิการ พระราชบัญญตั ินี้ต้อง
ระวางโทษจาคุกไมเ่ กินหนึ่งปี หรอื ปรบั ไม่เกินหนงึ่ แสนบาท หรอื ทงั้ จาทง้ั ปรับ เว้นแตเ่ ปน็ การเปิดเผยในการปฏิบัติ
ราชการหรอื เพื่อประโยชน์ในการสอบสวน หรอื การพจิ ารณาคดผี ใู้ ดไดม้ า ลว่ งรขู้ อ้ เทจ็ จรงิ ใดจากบคุ คลตามวรรค
หนงึ่ เนื่องในการปฏิบตั ิราชการหรือการสอบสวนหรือการพิจารณาคดี แลว้ เปิดเผยข้อเท็จจริงนนั้ ในประการทนี่ ่าจะ
เสยี หายแกผ่ ้หู น่งึ ผใู้ ดต้องระวางโทษเชน่ เดียวกัน

มาตรา ๖๒ บรรดาความผิดตามพระราชบญั ญัติน้ี คณะกรรมการมีอานาจเปรยี บเทียบได้ และในการน้ีให้
คณะกรรมการมีอานาจมอบหมายให้คณะกรรมการเฉพาะเรอ่ื งหรือคณะอนุกรรมการพนักงานสอบสวนหรอื
พนกั งานเจ้าหน้าที่ ดาเนนิ การเปรียบเทียบไดโ้ ดยจะกาหนดหลักเกณฑใ์ นการเปรยี บเทยี บหรือเง่อื นไขประการใดๆ
ให้แกผ่ ไู้ ด้รับมอบหมายตามท่ีเห็นสมควรดว้ ยก็ได้ ภายใต้บังคับของบทบญั ญตั ิตามวรรคหน่งึ ในการสอบสวนถ้า
พนักงานสอบสวนพบว่าบุคคลใดกระทาความผิดตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ และบุคคลนั้นยนิ ยอมใหเ้ ปรยี บเทียบ ให้
พนกั งานสอบสวนส่งเร่อื งมายังคณะกรรมการหรือผซู้ ่ึงคณะกรรมการมอบหมายให้มีอานาจเปรยี บเทยี บตามวรรค
หน่ึงภายในเจ็ดวัน นบั แตว่ ันท่ีผนู้ ้นั แสดงความยินยอมให้เปรยี บเทียบเม่ือผู้กระทาความผิดได้เสยี คา่ ปรบั ตามที่
เปรียบเทียบแล้ว ใหถ้ ือว่าคดีเลกิ กันตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา

ใบงานที่ 4
เร่ือง เศรษฐศาสตร์

1. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเร่อื ง สถานการณ์เศรษฐกิจไทยปัจจบุ ันเป็นอย่างไร มีจุดอ่อน จุดแข็ง อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เพ่ือป้องกนั ถูกเอาเปรียบใชส้ นิ คา้ หรอื รับบรกิ ารท่านมวี ิธีป้องกันหรอื แก้ไขอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. พระราชบญั ญัติคุ้มครองผู้บริโภคฉบบั ปัจจบุ ัน คือ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เพราะเหตใุ ดผู้ผลติ ท้งั ภาคเกษตรกรรม ภาคอตุ สาหกรรม และภาคบรกิ ารจึงต้องใหค้ วามสาคัญกับการบรหิ าร
ทรพั ยากร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบการเรียนรดู้ ้วย
สาระการพัฒนาสังคม ระ
จานวน 3

คร้งั ที่ หัวเรือ่ ง ตวั ชี้วัด เนอ้ื หา

ภูมศิ าสตร์กายภาพ 4. มีความรู้ ความเข้าใจ 4. สภาพภูมศิ าสตรก์ ายภาพ
ทวปี เอเชยี
เก่ียวกบั ความสมั พนั ธข์ อง ของไทยทีส่ ง่ ผลต่อทรัพยากร

สภาพภูมศิ าสตร์กายภาพทม่ี ี ตา่ งๆ และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ

ตอ่ การเกิด คือ สภาพป่าไม้ ดนิ หนิ แร่

ทรัพยากรธรรมชาติและ แมน่ า้ ภเู ขา ลาคลอง หนอง

สง่ิ แวดลอ้ มในทวีปเอเชีย บึง ทะเล ชายฝ่ัง สตั วป์ า่ สตั ว

ทะเล สตั ว์น้าจืด เปลือกหอย

แนวปะการัง และอ่นื ๆ

ยตนเอง (กรต.) วิชาสงั คมศกึ ษา สค21001
ะดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
หนว่ ยกติ

กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดผล/
ประเมนิ ผล
ขั้นท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรียนรู้ - หนงั สอื เรียน - การสังเกต
1.ครูศกึ ษาเนือ้ หาจัดทาปฏทิ ินและแผนการ - ใบงาน - ใบงาน
เรียนรู้ในแต่ละสปั ดาห์หลักฐานการเรียนรู้ - Internet
พรอ้ มแจกแบบเรียน
2.ครูติดตามให้คาปรึกษาแนะนาทบทวน
ว์ หลักฐานการเรยี นรู้ที่ต้องส่ง
ย ขน้ั ที่ 2 ขนั้ แสวงหาข้อมลู และจัดการ
เรียนรู้
1. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาคน้ คว้า
ข้อมลู ด้วยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้/
Internet/หนงั สอื เรียน
2. ครูให้นกั ศึกษาจดบันทกึ ข้อมูลเปน็
รายงาน เอกสาร
3. ครูกาหนดให้นักศกึ ษาไปศึกษาเรยี นรู้
ด้วยตนเองในเรื่ององคป์ ระกอบของ
ภูมศิ าสตรก์ ายภาพของผู้เรียนในแตล่ ะ
ภูมิภาค ดังน้ี



1. ลกั ษณะภมู ิประเทศ
2. ลักษณะภมู ิอากาศ
3. ทรพั ยากรธรรมชาติ
4. นักศึกษาคิดว่าประเทศไทยมีทรัพยากร
อะไรทม่ี ากท่ีสดุ บอกมา 5 ชนิด แต่ละชนดิ
สง่ ผลตอ่ การดาเนินชีวิตของประชากร
อย่างไรบ้าง
5.ปัจจยั ท่มี ีผลกระทบตอ่
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
6. ครูให้ผู้เรียนนาผลงานทีไ่ ด้จากการศึกษา
ค้นควา้ มานาเสนอในการพบกลุ่มคร้ังตอ่ ไป
ข้นั ที่ 3 การปฏบิ ตั ิและการนาไปใช้
1.นกั ศึกษาสรปุ การศกึ ษาคน้ ควา้ จาก
ใบความรู้ หนงั สือเรียนที่ครกู าหนดใหศ้ กึ ษา
และส่งงานตามกาหนด
2.จดบันทกึ ข้อมลู เปน็ รายงาน เอกสาร/
ใบงาน
ข้นั ท่ี 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้
1.ครปู ระเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี น
จากผลงานเอกสารรายงาน ใบงาน
ตามสภาพความเป็นจริง

ใบงานท่ี 4
เร่อื ง ภมู ศิ าสตร์กายภาพทวปี เอเชยี

คาสัง่ ให้ผ้เู รียนไปศึกษาเรื่องต่อไปน้ีและบนั ทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
1. ให้ผูเ้ รยี นไปศึกษาเรยี นรูด้ ้วยตนเองในเร่ืององค์ประกอบของภมู ิศาสตร์กายภาพของผู้เรยี นในแตล่ ะภมู ภิ าค ดังนี้
1. ลักษณะภูมปิ ระเทศ
...................................................................................................................................................... .................................
.................................................................................................. .....................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
2. ลกั ษณะภูมิอากาศ
............................................................................................................................. ..........................................................
..................................................................................................................................................................... ..................
................................................................................................................. ......................................................................
3.ทรพั ยากรธรรมชาติ
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.................................................................................................................................................................................... ...
4. ผู้เรยี นคิดวา่ ประเทศไทยมีทรัพยากรใดมากท่สี ดุ บอกมา 5 ประเภท แต่ละประเภทส่งผลต่อการดาเนินชวี ติ ของ
ประชากรอย่างไร
......................................................................................................................................... ..............................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................................................................ ...........
....................................................................................................................... ................................................................
5.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
....................................................................................................................................................... ................................
................................................................................................... ....................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................

6. ให้ผู้เรียนอธบิ ายว่าการเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง จะส่งผลกระทบต่อประชากรและส่ิงแวดล้อมอย่างไรบา้ ง
............................................................................................................................. ..........................................................
......................................................................................................................................................... ..............................
..................................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................
7.ให้บอกความแตกตา่ งและผลกระทบที่เกิดต่อประชากรและสง่ิ แวดล้อมของพายฝุ นฟา้ คะนอง พายุหมุนเขตร้อน
และพายุทอร์นาโด
.................................................................................................................................................... ...................................
................................................................................................ .......................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
8.คลื่นสนึ ามกิ ับผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ มมากมายหลายอย่าง ในความคิดเหน็ ของผูเ้ รยี นผลกระทบด้านใดทเี่ สียหาย
มากทสี่ ุด พร้อมใหเ้ หตุผลประกอบ
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................................................... ........................
.......................................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบการเรยี นรดู้ ้วย
สาระการพฒั นาสังคม ระ
จานวน 3

ครั้งท่ี หัวเรื่อง ตวั ชีว้ ัด เน้อื หา

ภมู ศิ าสตร์กายภาพ 5. สามารถนาความรู้ 5.1 ความสาคญั ในการ
ทวีปเอเชยี
เกี่ยวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ดารงชวี ิตให้สอดคล้องกับสภา

ของประเทศไทยและทวีป ทรัพยากรในประเทศไทย แล

เอเชียมาปรบั ใชใ้ นการ ประเทศตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชยี

ดารงชีวติ และความมัน่ คง 5.2 กรณีตัวอยา่ งการปรบั ตัว

ของชาติ การดารงชีวิตที่สอดคล้องกบั

สภาพทรพั ยากรในประเทศไท

และประเทศตา่ ง ๆ ในทวปี

เอเชีย

ยตนเอง (กรต.) วิชาสังคมศึกษา สค21001
ะดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หนว่ ยกิต

กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดผล/
ประเมนิ ผล
ขัน้ ท่ี 1 กาหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ - หนังสือเรยี น - การสังเกต
าพ 1.ครศู ึกษาเน้อื หาจดั ทาปฏิทินและแผนการ - ใบงาน - ใบงาน
ละ เรยี นรใู้ นแต่ละสัปดาห์หลกั ฐานการเรียนรู้ - Internet

พรอ้ มแจกแบบเรียน
วใน 2.ครตู ดิ ตามให้คาปรกึ ษาแนะนาทบทวน

หลกั ฐานการเรียนรทู้ ต่ี ้องส่ง
ทย ขน้ั ท่ี 2 ข้ันแสวงหาข้อมลู และจดั การ

เรยี นรู้
1. ครใู หน้ กั ศึกษาศึกษาคน้ คว้า
ข้อมูลดว้ ยตนเอง จากแหลง่ เรียนรู้/
Internet/หนังสอื
2. จดบันทึกข้อมลู เปน็ รายงาน เอกสาร
3. ครูกาหนดให้นักศกึ ษาไปศึกษาเรยี นรู้
ดว้ ยตนเองในเร่ืองความสาคัญในการ
ดารงชีวติ ให้สอดคล้องกบั สภาพทรัพยากร
ในประเทศไทย และประเทศต่างๆในทวปี
เอเชยี และกรณตี วั อย่างการปรับตัวในการ



ดารงชวี ติ ทีส่ อดคล้องกับสภาพทรพั ยากรใน
ประเทศไทยและประเทศต่างๆในทวปี เอเชีย
4. ครูให้ผู้เรียนนาผลงานทไี่ ด้จากการศึกษา
ค้นคว้ามานาเสนอในการพบกลมุ่ ครง้ั ต่อไป
ขน้ั ที่ 3 การปฏิบัติและการนาไปใช้
1.นักศกึ ษาสรุปการศึกษาค้นควา้ จาก
ใบความรู้ หนงั สือเรียนและสง่ งานตาม
กาหนด
2.จดบนั ทึกข้อมูลเปน็ รายงาน เอกสาร/
ใบงาน
ขน้ั ที่ 4 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1.ครปู ระเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี น
จากผลงานเอกสารรายงาน ใบงาน
ตามสภาพความเป็นจริง

ใบงานท่ี 5
เรอ่ื ง ภมู ิศาสตรก์ ายภาพทวปี เอเชีย

คาสง่ั ให้ผ้เู รียนไปศึกษาเรื่องต่อไปน้ีและบันทึกลงในแฟม้ สะสมงาน
1. ผเู้ รยี นคดิ วา่ ภาคใดของไทยทส่ี ามารถสร้างรายไดจ้ ากการท่องเท่ยี วมากท่ีสดุ พร้อมให้เหตุผล และสถานที่
ทอ่ งเท่ยี วดังกลา่ ว คืออะไรบ้าง พรอ้ มยกตัวอย่าง
............................................................................................................................. ..........................................................
................................................................................................................................ .......................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
................................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ........................................................................
2. ผเู้ รียนคดิ ว่าปัจจัยใดท่ีทาใหม้ ปี ระชากรอพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทยมากขึน้
........................................................................................ ...............................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
................................................................................................................................................................................ .......
........................................................................................................................... ............................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................... .............................................
...................................................................................... .................................................................................................
3. ทวีปใดท่ีกลา่ ววา่ เปน็ ทวีป “แหล่งอารยธรรม” เพราะเหตใุ ดจึงกล่าวเชน่ นน้ั
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................................................................. ..........
........................................................................................................................ ...............................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
....................................................................................................................................... ................................................
.......................................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบการเรียนร้ดู ้วย
สาระการพัฒนาสังคม ระ
จานวน 3

คร้ังท่ี หวั เรื่อง ตวั ช้ีวัด เนอ้ื หา

ประวตั ศิ าสตร์ 1. อธิบายความเปน็ มาของ 1.ประวตั ิศาสตรส์ ังเขปของ
ทวีปเอเชยี
ประวัตศิ าสตรป์ ระเทศใน ประเทศในทวีปเอเชยี

ทวีปเอเชีย - จนี

2. สามารถนาเหตุการณ์ใน - อนิ เดยี

ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ - เขมร

ใหเ้ ห็นความเปลยี่ นแปลงที่ - ลาว

เกดิ ขน้ึ กับประเทศไทย และ - มาเลเซยี

ประเทศในทวีปเอเชีย - พมา่

- อินโดนเี ซยี

- ฟิลิปปินส์

- ญ่ีปนุ่ ฯลฯ

2. เหตุการณส์ าคัญทาง

ประวัตศิ าสตรท์ เ่ี กดิ ข้ึนใน

ประเทศไทยและประเทศใน

ทวปี เอเชีย

- ยุคลา่ อาณานิคม

- ยคุ สงครามเยน็ ฯลฯ

ยตนเอง (กรต.) วิชาสงั คมศึกษา สค21001
ะดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หนว่ ยกิต

กจิ กรรมการเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ การวัดผล/
ประเมนิ ผล
ขนั้ ท่ี 1 กาหนดสภาพปัญหา - หนังสือเรยี น - การสังเกต
การเรยี นรู้ - ใบงาน - ใบงาน
1.ครศู ึกษาเน้ือหาจดั ทาปฏิทิน - Internet
และแผนการเรยี นรู้ในแต่ละสัปดาห์
หลกั ฐานการเรยี นร้พู ร้อมแจกแบบเรยี น
2.ครูตดิ ตามให้คาปรึกษาแนะนาทบทวน
หลักฐานการเรยี นรู้ทีต่ ้องสง่
ข้นั ท่ี 2 ข้ันแสวงหาข้อมูลและจดั การ
เรยี นรู้
1. ครูใหน้ กั เรยี นศึกษาค้นควา้
ขอ้ มูลดว้ ยตนเอง จากแหลง่ เรียนรู้/
Internet/หนังสือเรยี น
2. ครใู ห้นักศึกษาจดบันทกึ ข้อมลู เป็น
รายงาน เอกสาร
3. ครกู าหนดให้นกั ศกึ ษาไปศึกษาเรียนรู้
ดว้ ยตนเองในเร่ืองประวัตศิ าสตร์สงั เขป
ของประเทศในทวีปเอเชยี ดงั น้ี



- จนี
- อนิ เดยี
- เขมร
- ลาว
- มาเลเซีย
- พมา่
- อนิ โดนเี ซยี
- ฟลิ ิปปินส์
- ญีป่ ุ่น
5. ครใู หผ้ ู้เรียนนาผลงานทไ่ี ด้จากการศึกษา
ค้นคว้ามานาเสนอในการพบกล่มุ คร้ังตอ่ ไป
ขนั้ ที่ 3 การปฏบิ ตั แิ ละการนาไปใช้
1.นักศึกษาสรุปการศึกษาคน้ คว้าจาก
ใบความรู้ หนงั สอื เรียนและส่งงานตาม
กาหนด
2.จดบนั ทกึ ข้อมลู เป็นรายงาน เอกสาร/
ใบงาน
ขน้ั ท่ี 4 การประเมินผลการเรียนรู้
1.ครปู ระเมินผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี น จาก
ผลงานเอกสารรายงาน ใบงาน
ตามสภาพความเปน็ จริง

ใบงานที่ 6
เร่ือง ประวตั ศิ าสตร์ทวปี เอเชยี

คาสั่ง ให้ผเู้ รียนไปศึกษาเร่ืองต่อไปน้ีและบนั ทึกลงในแฟม้ สะสมงาน
1. ผเู้ รยี นศึกษาประวัตศิ าสตร์ของแตล่ ะประเทศในทวปี เอเชียและสรปุ ย่อๆของแตล่ ะประเทศที่กาหนด ดงั นี้
- จนี
............................................................................................................................. ..........................................................
................................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
- อนิ เดีย
.................................................................................................................................. .....................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
- เขมร
............................................................................................................................................................. ..........................
......................................................................................................... ..............................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
- ลาว
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.................................................................................................................................................... ...................................
- มาเลเซีย
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
........................................................................................................................................................................... ............
- พมา่
.............................................................................................................. .........................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................

- อนิ โดนีเซีย
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.................................................................................................................................................. .....................................
.............................................................................................. .........................................................................................
- ฟลิ ิปปินส์
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
...................................................................................................................................................................... .................
.................................................................................................................. .....................................................................
- ญ่ีป่นุ
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
2. ผู้เรียนศกึ ษาเร่ืองชนชาติตา่ งๆในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตร้ ะบวุ ่า “ ชาวไทย ชาวอินโดนเี ซยี ชาวเวยี ดนามชาว
ฟิลิปปนิ ส์ มบี รรพบรุ ษุ ดง้ั เดมิ เปน็ พวกเดียวกนั ” นกั ศึกษาเห็นด้วยหรอื ไม่กบั แนวคดิ ดังกล่าว พร้อมระบุเหตผุ ล
ประกอบ
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................................................ ...........................
........................................................................................................ ...............................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบการเรียนรดู้ ้วย
สาระการพัฒนาสังคม ระ
จานวน 3

ครงั้ ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวช้วี ดั เนอ้ื หา
เศรษฐศาสตร์
1.เข้าใจความหมาย 1.1 ความหมาย ความสาคญั

ความสาคญั ของศรษฐศาสตร์ ของเศรษฐศาสตร์มหภาคและ

และระบบเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาค

2.เขา้ ใจหลักการ และวิธกี าร 1.2 ความหมาย ความสาคัญ

ตดั สนิ ใจเลอื กใช้ทรพั ยากร และหลักการของเศรษฐกจิ

เพอ่ื การผลิตสนิ ค้า และ สร้างสรรคแ์ ละทรัพยส์ ิน

บริการ ทางปัญญา

1.3 ระบบเศรษฐกิจใน

ประเทศไทย

ยตนเอง (กรต.) วิชาสังคมศึกษา สค21001
ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หน่วยกติ

กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การวดั ผล/
ประเมินผล
ขน้ั ที่ 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรยี นรู้ - หนงั สือเรียน - การสังเกต
ะ 1.ครูศกึ ษาเน้ือหาจัดทาปฏทิ ินและแผนการ - ใบงาน - ใบงาน

เรยี นรใู้ นแตล่ ะสัปดาหห์ ลักฐานการเรียนรู้ - Internet
พรอ้ มแจกแบบเรยี น
2.ครตู ดิ ตามให้คาปรกึ ษาแนะนาทบทวน
หลกั ฐานการเรียนร้ทู ี่ต้องส่ง
ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ แสวงหาขอ้ มูลและจดั การ
เรียนรู้
1. ครใู ห้นักเรียนศึกษาคน้ คว้า
ข้อมูลดว้ ยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้/
Internet/หนงั สอื เรยี น
2. ครูให้นักศึกษาจดบนั ทึกข้อมลู เปน็
รายงาน เอกสาร
3. ครกู าหนดให้นักศึกษาไปศึกษาเรยี นรู้
ดว้ ยตนเองในเร่ือง
- ความหมาย ความสาคัญ ของ
เศรษฐศาสตรม์ หภาคและเศรษฐศาสตร์



จุลภาค
- ความหมาย ความสาคญั และหลักการของ
เศรษฐกจิ สรา้ งสรรคแ์ ละทรัพย์สิน
ทางปัญญา
- ระบบเศรษฐกิจในประเทศไทยหลกั การ
4. ครูใหผ้ ้เู รยี นนาผลงานที่ได้จากการศึกษา
คน้ คว้ามานาเสนอในการพบกล่มุ คร้งั ตอ่ ไป
ข้นั ท่ี 3 การปฏบิ ตั แิ ละการนาไปใช้
1.นกั ศึกษาสรปุ การศกึ ษาคน้ คว้าจาก
ใบความรู้ หนงั สือเรยี นและสง่ งานตาม
กาหนด
2.จดบนั ทึกข้อมูลเปน็ รายงาน เอกสาร/
ใบงาน
ข้ันที่ 4 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1.ครปู ระเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี น
จากผลงานเอกสารรายงาน ใบงาน
ตามสภาพความเป็นจรงิ

ใบงานที่ 7
เรื่อง เศรษฐศาสตร์

คาสัง่ ใหผ้ เู้ รียนไปศกึ ษาเร่ืองต่อไปน้ีและบนั ทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
1. ผูเ้ รียนศึกษาและอธบิ ายความหมาย ความสาคัญของเศรษฐศาสตรม์ หภาคและจลุ ภาค
............................................................................................................................................................................. ..........
......................................................................................................................... ..............................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
........................................................................................................................................ ...............................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
........................................................................................................................................................................... ............
2. ผเู้ รยี นศึกษาความหมายของคาวา่ “ระบบเศรษฐกิจ”และอธบิ ายพร้อมยกตัวอย่างระบบเศรษฐกจิ ไทย
........................................................................................................................................................... ............................
....................................................................................................... ................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
......................................................................................................................................................... ..............................
3. นักศกึ ษาคิดว่าการท่ีเกิดภาวะเงินเฟ้อน้นั ย่อมจะทาใหเ้ กิดผลกระทบต่อประเทศอย่างไร
.............................................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... .............................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
................................................................................................................................................................................. ......
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................................ ...........................................

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบการเรียนรู้ดว้ ย
สาระการพฒั นาสงั คม ระ
จานวน 3

ครงั้ ที่ หัวเร่อื ง ตวั ช้วี ดั เนอ้ื หา
เศรษฐศาสตร์
3.เลือกวธิ กี ารทม่ี รี ะสทิ ธภิ าพ 2.หลกั การ และวธิ กี ารเลือกใ
มาใชใ้ นการผลติ สนิ ค้าและ ทรพั ยากรเพื่อการผลิต
บรกิ ารได้ 5.1 หนว่ ยงานท่ใี ห้ความ
5.บอกแหลง่ ขอ้ มลู การ คมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค
คุม้ ครองผ้บู ริโภค และ 5.2 การพทิ ักษส์ ทิ ธิ และ
กฎหมายคุ้มครองผ้บู รโิ ภค ผลประโยชนข์ องผ้บู รโิ ภค

ยตนเอง (กรต.) วิชาสังคมศึกษา สค21001
ะดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
หนว่ ยกิต

กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การวัดผล/
ประเมนิ ผล
ช้ ข้ันท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรยี นรู้ - หนงั สือเรยี น - การสังเกต
1.ครศู ึกษาเน้อื หาจัดทาปฏทิ ินและแผนการ - ใบงาน - ใบงาน
เรยี นรใู้ นแตล่ ะสปั ดาห์หลกั ฐานการเรียนรู้ - Internet
พร้อมแจกแบบเรยี น
2.ครตู ิดตามให้คาปรึกษาแนะนาทบทวน
หลกั ฐานการเรยี นรูท้ ีต่ ้องส่ง
ข้นั ท่ี 2 ข้นั แสวงหาข้อมูลและจดั การ
เรียนรู้
1. ครูใหน้ ักเรยี นศึกษาคน้ ควา้
ขอ้ มูลด้วยตนเอง จากแหลง่ เรียนรู้/
Internet/หนังสือเรียน
2. ครูให้นักศึกษาจดบันทกึ ข้อมลู เป็น
รายงาน เอกสาร
3. ครใู ห้ผเู้ รียนศกึ ษาคน้ ควา้ ในเรื่อง
- หลกั การ และวิธกี ารเลือกใช้ทรพั ยากร
เพื่อการผลติ
- หนว่ ยงานท่ีใหค้ วามคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค



- การพิทักษส์ ิทธิ และผลประโยชน์ของ
ผบู้ ริโภค
4. ครูใหผ้ เู้ รยี นนาผลงานที่ได้จากการศึกษา
คน้ คว้ามานาเสนอในการพบกลมุ่ ครั้งตอ่ ไป
ขั้นท่ี 3 การปฏบิ ัติและการนาไปใช้
1.นกั ศกึ ษาสรปุ การศกึ ษาค้นคว้าจาก
ใบความรู้ หนังสือเรยี นและสง่ งานตาม
กาหนด
2.จดบันทึกข้อมูลเป็นรายงาน เอกสาร/
ใบงาน
ขั้นท่ี 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้
1.ครปู ระเมินผลการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น
จากผลงานเอกสารรายงาน ใบงาน
ตามสภาพความเป็นจรงิ

ใบงานที่ 8
เร่อื ง เศรษฐศาสตร์

คาส่ัง ให้ผเู้ รยี นไปศกึ ษาเร่ืองต่อไปน้ีและบันทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
1. ให้ผู้เรยี นเขียนความตอ้ งการของตนเองว่ามีอะไรบ้าง
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................... ........................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.................................................................................................................................................................. .....................
.............................................................................................................. .........................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
2. ให้ผเู้ รียนไปศกึ ษาค้นคว้าหาความหมายของเร่ืองหลักการ และวิธกี ารเลือกใช้ทรพั ยากรเพ่อื การผลิต หน่วยงาน ท่ี
ให้ความคุ้มครองผ้บู รโิ ภคการพิทักษ์สิทธิ และผลประโยชน์ของผู้บริโภค
...................................................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
..................................................................................................................................... ..................................................
................................................................................. ......................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
........................................................................................................................................................................ ...............
.................................................................................................................... ...................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.................................................................................................................................. .....................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
..................................................................................................................................................................... ..................
................................................................................................................. ......................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบการเรยี นร้ดู ้วย
สาระการพัฒนาสงั คม ระ
จานวน 3

คร้งั ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวชี้วัด เน้ือหา

การเมืองการปกครอง 1.รูแ้ ละเขา้ ใจระบอบการเมือง 1.การปกครอง ระบอบ

การปกครองต่างๆ ที่ใชอ้ ยู่ ประชาธปิ ไตย และอื่นๆ

ในปัจจุบนั 2.เปรยี บเทยี บรูปแบบการเมือ

2.วเิ คราะห์ความแตกต่าง การปกครองระบอบ

ของรปู แบบการปกครอง ประชาธปิ ไตย และระบอบอนื่

ระบอบประชาธปิ ไตย และ ของประเทศตา่ งๆ

ระบอบอ่นื ๆ ในทวปี เอเชีย

3.ตระหนกั ในคณุ ค่าของการ

ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

ยตนเอง (กรต.) วิชาสงั คมศกึ ษา สค21001
ะดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หนว่ ยกติ

กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การวดั ผล/
ประเมนิ ผล
ขน้ั ท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรยี นรู้ - หนังสอื เรียน - การสงั เกต
1.ครูศึกษาเนอ้ื หาจัดทาปฏิทินและแผนการ - ใบงาน - ใบงาน
อง เรียนรใู้ นแตล่ ะสัปดาหห์ ลกั ฐานการเรียนรู้ - Internet
พร้อมแจกแบบเรยี น
นๆ 2.ครตู ดิ ตามให้คาปรึกษาแนะนาทบทวน
หลกั ฐานการเรียนรทู้ ่ีต้องส่ง
ขนั้ ท่ี 2 ขน้ั แสวงหาข้อมลู และจดั การ
เรียนรู้
1. ครูให้นกั เรียนศึกษาคน้ คว้า
ขอ้ มูลดว้ ยตนเอง จากแหลง่ เรียนรู้/
Internet/หนังสือเรยี น
2. ครูใหน้ ักศึกษาจดบนั ทึกข้อมูลเป็น
รายงาน เอกสาร
3. ครใู หน้ ักศึกษาศึกษาค้นคว้าในหัวต่อ
ต่อไปนี้
- การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย
และอืน่ ๆ



- เปรียบเทยี บรปู แบบการเมืองการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย และระบอบอื่น ๆ
ของ ประเทศตา่ งๆ ในทวปี เอเชยี
4. ครูให้ผู้เรียนนาผลงานท่ไี ด้จากการศึกษา
ค้นคว้ามานาเสนอในการพบกลุ่มครัง้ ตอ่ ไป
ขน้ั ท่ี 3 การปฏิบตั ิและการนาไปใช้
1.นกั ศกึ ษาสรุปการศึกษาคน้ ควา้ จาก
ใบความรู้ หนังสอื เรยี นและส่งงานตาม
กาหนด
2.จดบนั ทกึ ข้อมลู เปน็ รายงาน เอกสาร/
ใบงาน
ขนั้ ท่ี 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้
1.ครปู ระเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
จากผลงานเอกสารรายงาน ใบงาน
ตามสภาพความเปน็ จรงิ

ใบงานท่ี 9
การเมอื งการปกครอง

คาสงั่ ใหผ้ ูเ้ รยี นไปศึกษาเรื่องต่อไปนี้และบนั ทึกลงในแฟ้มสะสมงาน
1. ใหผ้ เู้ รยี นไปศกึ ษาคน้ คว้าการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย และอ่นื ๆ
....................................................................................................................................... ................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................... .............
...................................................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
..................................................................................................................................... ..................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
........................................................................................................................................................................ ...............
................................................................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.................................................................................................................................. .....................................................
.......................................................................................................................................................................................
2. ให้ผู้เรียนไปศึกษาคน้ คว้าเปรยี บเทยี บรูปแบบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย และระบอบอื่นๆ ของ
ประเทศตา่ งๆ ในทวีปเอเชยี
........................................................................................................................................................ ...............................
.................................................................................................... ...................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
...................................................................................................................................................... .................................
................................................................................................. ......................................................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
............................................................................................................................. ..........................................................
.......................................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version