The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาท้องถิ่น ทมชย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เทศบาลเมืองชัยภูมิ, 2019-11-06 03:19:03

แผนพัฒนาท้องถิ่น ทมชย

แผนพัฒนาท้องถิ่น ทมชย

สารบัญ

เรือ่ ง หนา
สวนที่ 1 ขอ มูลทว่ั ไป
1. สภาพทวั่ ไปและขอมลู พืน้ ฐาน 1
1
1.1 สภาพอาณาเขต 1
1.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศ 1
1.3 ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 2
1.4 ลักษณะของดิน 2
1.5 ลักษณะของแหลงน้ํา 2
1.6 ลกั ษณะของไมและปาไม 3
2. ดานการเมืองการปกครอง 3
2.1 เขตปกครอง 3
2.2 การเลือกตัง้ 3
3. ประชากร 4
3.1 ขอมูลเกย่ี วกบั ประชากร 4
3.2 ชวงอายแุ ละจาํ นวนประชากร 4

สารบัญ หนา
4
เรื่อง 4
4. สภาพทางสังคม 5
5
4.1 การศึกษา 5
4.2 สาธารณสขุ 7
4.3 ยาเสพติด 7
4.4 การสังคมสงเคราะห 7
5. ระบบการบริการพืน้ ฐาน 7
5.1 การคมนาคมขนสง 8
5.2 การไฟฟา 8
5.3 การประปา 8
5.4 โทรศพั ท 8
5.5 ไปรษณยี หรอื การสื่อสารหรือการขนสง วสั ดุ ครุภัณฑ 9
6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การทอ งเที่ยว
6.2 เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

สารบญั หนา
9
เรื่อง 9
7. ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม 10
11
7.1 การนบั ถอื ศาสนา 11
7.2 ประเพณี
7.3 วัฒนธรรม 12
8. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม 12
สวนท่ี 2 สรปุ ผลการพัฒนาทอ งถิ่นตามแผนพฒั นาทองถ่ิน (พ.ศ.2557 - 2560) 12
1. สรุปผลการดําเนิน งานตามงบประมาณทไี่ ดรบั และการเบิก จายงบประมาณ ในปง บประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 16
1.1 สรุปสถานการณก ารพัฒนา การตง้ั งบประมาณ การเบกิ จา ยงบประมาณ
1.2 การประเมินผลการนาํ แผนพฒั นาทองถน่ิ ไปปฏบิ ตั ิในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ 20
สวนที่ 3 ยุทธศาสตรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 20
1. ความสัมพันธร ะหวา งแผนพฒั นาระดบั มหภาค 20
1.1 แผนยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป 22
1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 12 24
1.3 ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนากลมุ จังหวดั นครชยั บุรนิ ทร/ยทุ ธศาสตรการพัฒนาจงั หวดั ชยั ภูมิ 39
1.4 ประเดน็ ยุทธศาสตรก ารพฒั นาขององคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ จงั หวดั ชัยภูมิ

สารบัญ หนา
49
เร่อื ง 57
1.5 ยทุ ธศาสตรและแนวทางการพัฒนาเทศบาลเมอื งชัยภูมิ 58
61
สว นท่ี 4 การนําแผนพัฒนาทอ งถน่ิ ส่ีปไปสูการปฏบิ ัติ 247
1. บญั ชีสรุปโครงการพัฒนา 275
2. บัญชโี ครงการพัฒนาทอ งถิน่ 275
3. บัญชคี รภุ ัณฑ 279
284
สวนที่ 5 การติดตามและประเมนิ ผล 284
1. การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร
2. การติดตามและประเมินผลโครงการ
3. สรปุ ผลการพัฒนาทอ งถิ่นในภาพรวม
4. ขอ เสนอแนะในการจดั ทําแผนพัฒนาทอ งถิน่ ในอนาคต

1

สว่ นที่ 1

ข้อมูลทั่วไป

1. สภาพท่ัวไปและขอ้ มลู พืน้ ฐาน

1.1 อาณาเขต

เทศบาลเมืองชัยภูมิ ต้ังอยู่ในเขตอาเภอเมือง จังชัยภูมิ เป็นศูนย์กลางความเจริญของจังหวัด โดยมีหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน
สถานศึกษาในระดับต่างๆ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลและเป็นศูนย์กลางการคมนาคมระหว่างภูมิภาค ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 332 กิโลเมตร มีพื้นที่
ประมาณ 19,237 ไร่ หรอื คิดเป็นพืน้ ที่ 30.78 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอ่ ดังน้ี

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านเล่า
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั องคก์ ารบริหารส่วนตาบลหนองนาแซง อบต. บุ่งคล้า

ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กับ องค์การบริหารส่วนตาบลโพนทอง
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับ องค์การบริหารส่วนตาบลรอบเมอื ง

1.2 ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศโดยรวมของเขตเทศบาลต้ังอยู่บนที่ราบลุ่มทางทิศใต้เทือกเขาภูแลนคาโดยมีเนินเขาทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ทาให้พนื้ ที่ในเขตเทศบาลเปน็ แอง่ กระทะเอยี งลาดไปทางทิศใต้ของเทศบาล

2

1.3 ลักษณะภูมิอากาศ

จงั หวดั ชยั ภูมิ อยู่ในภมู ิอากาศแบบมรสุมเขตรอ้ นมฤี ดูกาล 3 ฤดู คือ

ฤดูหนาว (ประมาณเดือน พฤศจกิ ายน-กุมภาพนั ธ์) มีอากาศหนาวจดั ในฤดหู นาว

ฤดรู อ้ น (ประมาณเดือน มิถุนายน-พฤษภาคม) ในฤดรู ้อนอากาศค่อนข้างรอ้ นมากและแห้งแล้ง

ฤดูฝน (ประมาณเดือน มิถนุ ายน –ตุลาคม) มีฝนตกไม่แน่นอนและไม่เป็นไปตามฤดูกาลโดยในช่วงฝนจะมีฝนตกสลบั กบั แห้งแล้ง

1.4 ลักษณะของดิน

ดินภายในเขตเทศบาลจะเป็นดินร่วน และดินเหนียว อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นที่ตั้งของชุมชนราษฎร์เจริญสุข ชุมชนคลองเรียง

ชมุ ชนขเี้ หลก็ น้อยปรางคก์ ู่ ชมุ ชนเมืองเก่า ซึ่งชมุ ชนเหล่านีจ้ ะใช้พ้ืนทีเ่ พือ่ การเกษตรกรรมเป็นส่วน

1.5 ลกั ษณะของแหลง่ นา้

ภายในเขตเทศบาลเมอื งชัยภมู ิ ต้งั อยู่บนพื้นทีร่ าบลุ่มไม่มีพ้ืนที่ที่เป็นเขาและพื้นที่ที่เป็นสภาพปุา มีแต่ลาห้วย คลองและหนองน้าที่เกิดขึ้น

เองตามธรรมชาติ ได้แก่ ลาห้วยปะทาว คลองแล้ง หนองใหญ่หนองลาดควาย หนองปลาเฒ่า หนองหนอด หนองระเริง ถือได้ว่าแหล่งน้าตามธรรมชาติ

เหล่านี้มีความสาคัญต่อพื้นที่เทศบาลเมืองชัยภูมิมากเพราะเม่ือเกิดฝนตกหนักหรือเกิดอุทกภัยน้าเหล่านี้จะเป็นที่รองรับน้า และระบายน้าโดยเส้นทาง

ธรรมชาติ คลอง ลาห้วยสาธารณะเขตเทศบาลในเขตเทศบาลเมืองชัยภูมิมีแหล่งน้าธรรมชาติ เพื่อเก็บกักน้าเมือเกิดฝนตก และเป็นแหล่งน้าเพื่อการ

ดับเพลิงทีส่ าคัญ ดังตอ่ ไปนี้

1. หนองปลาเฒา่ เนือ้ ที่ประมาณ 120 ไร่

2. หนองหลอด เนือ้ ที่ประมาณ 80 ไร่

3. หนองใหญ่ เนือ้ ที่ประมาณ 85 ไร่

4. หนองลาดควาย เนือ้ ที่ประมาณ 40 ไร่

5. หนองระเริง เนือ้ ที่ประมาณ 65 ไร่

6 หนองตาดา เนือ้ ที่ประมาณ 309 ไร่

1.5.1 แหล่งน้าใต้ดิน พื้นที่มีน้าใต้ดิน จะอยู่พื้นที่ตอนล่างบางส่วนของเขตเทศบาล โดย ร้อยละ 80 ของบ่อเป็นน้าคุณภาพดี แต่จะมี
ปัญญาหาน้าเคม็

1.5.2 ลาห้วยกุดแคน-หว้ ยเสว ยาวประมาณ 6 กิโลเมตร ไหลผา่ นด้านทิศเหนอื -สู่หนองตาดาทางทิศใต้เทศบาล

3

1.6 ลักษณะของไมแ้ ละปา่ ไม้

ในเขตเทศบาลเมอื งชัยภมู ิไมม่ ีพ้ืนที่ปุาธรรมชาติ มีเฉพาะปุาซึ่งอยู่นอกพืน้ ที่เขตเทศบาลเมอื งชยั ภูมิ พืน้ ที่ปุาไม้ทีม่ ีอยู่ของจงั หวัดชยั ภมู ิก็อยู่
ในความรับผิดชอบของกรมปุาไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ปุาและพันธุ์พืชประกอบด้วย ปุาสงวนแห่งชาติ 11 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 6 แห่งเขตรักษา
พันธุ์สัตว์ปุา 2 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ 1 แห่ง ปัจจุบันพื้นที่ปุาไม้ได้ถูกทาลายเปลี่ยนสภาพเป็นปุาเสื่อมโทรม และใช้เป็นพื้นที่ทากินของราษฎร
โดยเฉพาะพืน้ ทีท่ างตอนลา่ งของจังหวดั ในบริเวณปุาสงวนแห่งชาติ

2. ด้านการเมือง/การปกครอง

2.1 เขตการปกครอง

เทศบาลเมืองชัยภมู ิมีพ้ืนที่ประมาณ 19,237 ไร่ หรอื คิดเปน็ พืน้ ที่ 30.78 ตารางกิโลเมตร มีท้ังหมด 25 ชุมชน

2.2การเลอื กต้ัง

การบริหารเทศบาลเมอื งชัยภูมิ แบ่งออกเปน็ ฝุายนิติบัญญตั ิและฝุายบริหาร

ฝา่ ยนิติบัญญัติประกอบด้วย สมาชิกสภาเทศบาลแบ่งเป็น 3 เขตเลือกตั้ง จานวน 18 คน

ฝ่ายบริหาร ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี จานวน 1 คน รองนายกเทศมนตรี จานวน 2 คน

องคก์ ารเทศบาลเมืองชัยภูมิ ประกอบด้วย

(1) สภาเทศบาล ทาหนา้ ที่นติ ิบัญญัติ และควบคุมฝาุ ยบริหารประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกต้ังโดยตรงของ

ประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น จานวน 18 คน อยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี สภาเทศบาลมี

ประธานสภาคนหน่งึ และรองประธานสภาคนหนง่ึ ซึ่งผวู้ ่าราชการจังหวัดแตง่ ต้ังจากสมาชิกสภาเทศบาลตามมตขิ องสภาเทศบาล

(2) นายกเทศมนตรี ทาหนา้ ทีบ่ ริหารราชการของเทศบาลใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คบั เทศบัญญตั ิ และนโยบายซึง่

นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น และรอง

นายกเทศมนตรี จานวน 2 คน เลขานุการนายกเทศมนตรี 2 คน และยังมีที่ปรึกษานายกเทศมนตรีอกี 2 คน ซึง่ มาจากการแตง่ ตงั้ จากนายกเทศมนตรี

ทั้งนี้ มีปลดั เทศบาล เป็นผู้บังคับบัญชาพนกั งานเทศบาล และลกู จา้ งเทศบาล รองจากนายกเทศมนตรี และรบั ผดิ ชอบควบคุมดแู ล

ราชการประจาของเทศบาลใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบาย

4

3. ประชากร

3.1 ข้อมลู เกีย่ วกับจา้ นวนประชากร

จากการสารวจข้อมูลจากการทาสามะโนประชากร โดยมีการสารวจครั้งล่าสุด เม่ือวันที่ 30 พฤษภาคม 2556 พบว่าภายในเขต

เทศบาลเมือง

ชัยภูมิ มจี านวนประชากรท้ังสิน้ 36,558 คน แยกเปน็ ชาย 17,469 คน เปน็ หญิง 19,089 คน จานวนครัวเรือน 18,405 ครวั เรือน

3.2 ช่วงอายุและจ้านวนประชากร

อายุ ปี 1-3 4-15 16-20 21-30 31-40 41-50 51-60 61-70 71-80 81-90 91-99 100 100ปีข้ึนไป

จานวน(คน) 1,115 5,835 2,789 4,955 5,308 6,015 5,148 2,948 1,731 627 76 3 8

4. สภาพทางสังคม

4.1 การศึกษา

โรงเรียนในสังกัดเทศบาลมที ้ังหมด 4 โรงเรียนกบั ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ อีก 2 แหง่

โรงเรียน / สถานศกึ ษาในสังกดั เทศบาลเมืองชยั ภูมิ

ที่ ช่อื โรงเรียน อนุบาล ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม จ า น ว น ค รู /

ห้องเรียน พนักงานจ้าง

1 ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ เทศบาลเมอื งชัยภมู ิ 236 - - - - - - - - - - 8 9

2 ศนู ยเ์ ด็กเลก็ วดั ชัยภูมวิ นาราม 9 ----- - - - - - 3 7

3 โรงเรียนเทศบาล 1 (วทิ ยานารี) 232 76 79 74 74 80 78 - - - 693 20 23

4 โรงเรียนเทศบาล 2 (เมอื งเก่าวิทยา) 39 14 12 11 25 29 17 23 19 59 263 12 9
5 โรงเรียนเทศบาล 3 (ปรางค์กู่วทิ ยาคาร) 51 15 10 11 13 21 12 - - - 133 9 14
6 โรงเรียนเทศบาล 4 (อมร สะเพียรชัย 140 57 60 43 74 64 56 105 79 74 748 33 35

อุทิศ)

รวม 707 162 161 139 186 194 163 128 98 133 1837 74 97

(ทีม่ า กองการศกึ ษา มิถุนายน 2558)

5

4.2 สาธารณสุข
สถานพยาบาลที่ให้บริการด้านสขุ ภาพในเขตเทศบาลเมืองชยั ภูมิ มีโรงพยาบาล 3 แห่ง เป็นโรงพยาบาลของรฐั 1 แห่ง คือ โรงพยาบาล

ชยั ภมู ิและโรงพยาบาลเอกชนอีก 2 แหง่ คือ โรงพยาบาลชัยภูมิราม โรงพยาบาลบวั ใหญ่รวมแพทย์ และมีศูนย์บริการสาธารณสุขที่อยู่ในความรบั ผิดชอบ
ของเทศบาลเมืองชยั ภูมิอีก 3 ศูนย์ คือ ศูนย์บริการสาธารณสุขแหง่ ที่ 1 บ้านเมืองน้อย ต้ังอยู่ทีบ่ ้านเมืองน้อย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ชยั ภมู ิ
โทร 044-051544, ศนู ย์บริการสาธารณสขุ แหง่ ที่ 2 ศูนย์บ้านหนองบวั ตั้งอยู่ที่บ้านหนองบวั เมืองเก่า ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ โทร 044-816010,
ศนู ย์บริการสาธารณสุขแหง่ ที่ 3 ศนู ย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองชยั ภูมิ ต้ังอยู่ทีเ่ ทศบาลเมอื งชัยภูมิ ต.ในเมอื ง อ.เมือง จ.ชยั ภูมิ โทร 044-818005

4.3 ยาเสพติด
ปัญหาการแพรร่ ะบาดของยาเสพติด เป็นปญั หาที่สง่ ผลกระทบอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นด้านตวั บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม

ตลอดจนด้านความม่นั คงของประเทศและประชาคมโลก โดยกลุ่มประชากรผู้ติด ยาเสพติดส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเด็กและเยาวชน ทั้งในสถานศึกษาและนอก
สถานศึกษา เทศบาลเมืองชัยภูมิ ได้ตระหนักถึงความรุนแรงของปัญหายาเสพติด จึงได้กาหนดให้การปูองกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด โดยกาหนด
กรอบการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาคน สังคม คณุ ภาพชวี ิต เพื่อขบั เคลือ่ นงานยาเสพติด

4.4 การสังคมสงเคราะห์
จานวนผสู้ ูงอายุ / ผพู้ ิการ / ผปู้ ุวยเอดส์

ที่ ชื่อชมุ ชน ผสู้ ูงอายุ ผู้พิการ
1 โคกน้อย 25 4
2 เมืองนอ้ ยเหนอื 101 16
3 เมืองน้อยใต้ 308 79
4 โนนสมอ 134 31
5 หนองบ่อ 129 24
7 โนนสาทร 204 45
8 ราษฎรเ์ จริญสขุ 32 6
9 ใหม่พัฒนา 67 10

6

ที่ ชื่อชมุ ชน ผู้สงู อายุ ผู้พิการ
10 ขีเ้ หลก็ น้อย – ปรางค์กู่ 64 12
11 คลองเรียง 134 21
12 หนองบัว 109 15
13 เมืองเก่า 373 70
14 โนนไฮ 101 17
15 ตลาด 287 19
16 หนิ ตั้ง – โพนงาม 196 18
17 โนนตาปาน 103 7
18 ทานตะวนั 146 21
19 หนองสงั ข์ 231 29
20 หนองหลอด 291 40
21 หนองปลาเฒา่ 138 24
22 ขีเ้ หลก็ น้อย – มิตรภาพ 47 4
23 คลองลี่ 58 21
24 ขีเ้ หล็กใหญ่ 395 71
25 สนามบิน 27 8
รวม 3,783 628

7

5. ระบบการบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนสง่

เขตเทศบาลเมืองชัยภูมิ เป็นศูนย์กลางความเจริญของจังหวัดและเป็นศูนย์กลางความเจริญของจังหวัด และเป็นศูนย์กลางของการ
คมนาคมระหว่างเมอื งและภูมิภาค มีเส้นทางคมนาคมสายสาคญั คือ

- ทางหลวงหมายเลข 201 ชัยภูมิ – กรงุ เทพ เป็นเส้นทางเชือ่ มระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
- ทางหลวงหมายเลข 202 ชยั ภูมิ – บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา
- ทางหลวงหมายเลข 205 ชยั ภมู ิ – นครสวรรค์ เปน็ เส้นทางเชื่อมระหว่างภาคเหนือตอนลา่ งกับภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง
โดยมีเส้นทางเดินรถประจาทางที่ติดจงั หวดั ชัยภมู แิ ละจงั หวัดใกล้เคียงอีก 25 สาย ถนน / ตรอก / ซอย ในเขตเทศบาลมปี ระมาณ 696 สาย
การจราจรภายในเขตเทศบาลจะเป็นการสัญจร โดยทางรถยนต์ทั้งสิ้น เพราะไม่มีทางรถไฟ หรือแม่น้าลาคลองให้สัญจรทางน้า โดยถนน
สายหลักเช่น ถนนหฤทัย ถนนบรรณาการ ถนนราชทัณฑ์ ถนนยุติธรรม ถนนชัยประสิทธิ์ ถนนโนนม่วง และถนนสนามบิน ในช่วงช่ัวโมงเร่งด่วน และวัน
เวลาราชการ ปริมาณการจราจรค่อนข้างหนาแน่นแต่จะไม่ถึงกับการจราจรติดขนาดหนัก ยกเว้นในฤดูฝนและช่วงฝนตกถนนหฤทัยและถนนบรรณาการ
จะมีปริมาณน้าบนพืน้ ที่ผวิ จราจรทาให้รถเคลื่อนตัวได้ช้า

5.2 การไฟฟ้า

เทศบาลเมืองชัยภูมิ ใช้บริการไฟฟูาสาธารณะของการไฟฟูาส่วนภูมิภาคจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งกระแสไฟฟูาได้จากโรงงานไฟฟูาพลังน้าจาก
เข่ือนจุฬาภรณ์ อาเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ มีกาลังการผลิต 40,000 กิโลวัตต์ นอกจากนี้ยังรับกระแสไฟฟูาจากสถานีไฟฟูาย่อยอาเภอพล จังหวัด
ขอนแก่น และสถานีย่อยจงั หวดั นครราชสีมา เทศบาลมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดหาอุปกรณ์ไฟฟูาสาธารณะเพื่อติดต้ังแสงสว่าง ซึ่งมีครัวเรือนในการใช้
ไฟฟูา จานวน 15,015 คิดเปน็ รอ้ ยละ 95.59

5.3 การประปา

เทศบาลเมืองชัยภูมิ ใช้บริการจากสานักงานการประปาชัยภูมิ โดยแหล่งน้าเพื่อผลิตน้าประปาเพื่อใช้ในพื้นที่ภายในเขตเทศบาลได้มาจากแหล่งน้าผิวดิน
ได้แก่ ลาชี ลาปะทาว และห้วยซีลอง โดยจะอยู่ในเขตการให้บริการและความรับผิดชอบของการประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดชัยภูมิ เทศบาลขอขยายเขต
การประปาตามทีป่ ระชาชนรอ้ งขอโดยจ่ายเป็นเงินอดุ หนนุ การขยายเขตประปา

8

5.4 โทรศัพท์

ภายในเขตเทศบาลมหี นว่ ยงานใหบ้ ริการด้านโทรศัพท์ซึ่งดาเนนิ การโดย องค์การโทรศพั ท์แหง่ ประเทศไทย

- สถานีบริการโทรคมนาคม จานวน 1 แห่ง

- สานักงานบริการโทรศพั ท์ชยั ภมู ิ จานวน 2 แห่ง

5.5 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภณั ฑ์

1.โทรทัศน์ สามารถรบั ภาพของสถานีโทรทัศนท์ ้ังหมด 5 ช่อง คือ จากช่อง 3, 5, 7, 9,NBT และ TPBS ได้อย่างชัดเจน

2.หนงั สอื พมิ พ์ ด้านสิง่ พิมพ์ มีหนังสอื พิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ และนติ ยสารต่าง ๆ เชน่ เดียวกบั กรุงเทพมหานคร

3.ไปรษณีย์ชัยภูมิ

6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การท่องเทีย่ ว
แหล่งท่องเท่ยี วและโบราณสถานในเขตเทศบาล ไดแ้ ก่

6.2.1 ปรางค์กู่ เป็นโบราณสถานทีส่ าคญั ของจงั หวดั ชัยภมู ิ ก่อสร้างดว้ ยศิลาแลง สันนิฐานว่าจะเปน็ สมัยทวาราวดี ข้างในปรางค์กู่มี
พระพุทธรูปสมัยทวาราวดี ประดิษฐานอยู่ ชาวชัยภูมิถือว่าเป็นสถานที่สาคัญและศักดิ์สิทธิ์ มีงานเทศบาลสรงน้าพระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ในพระ
ปรางค์เปน็ ประจาทุก ๆ ปี กาหนดงานวันเพ็ญเดือน 5

6.2.2 ศาลเจ้าพอ่ พญาแล เป็นสถานที่พระยาภกั ดีชุมพล (แล) ผกู้ ่อตั้งเมืองคนแรกได้เสียชวี ิตในปี พ.ศ. 2369 ณ บริเวณต้นมะขาม
หนองปลาเฒ่าอยู่ห่างจากตัวเมืองไปตามเส้นทางจังหวัดชยั ภูมิ-บ้านเขว้า 3 กม. ภายในบริเวณศาลเจ้าพ่อมีศาลาบวงสรวงไว้เป็นทีส่ กั การบชู า เปน็ ที่
พกั ผอ่ นหย่อนใจของประชาชน งานบวงสรวงดวงวญิ ญาณเจ้าพ่อพญาแล เรียกว่า งานประเพณีบญุ เดือนหก ซึ่งจะจัดขึ้นเปน็ ประจาทุกปี

6.2.3 อนสุ าวรยี เ์ จ้าพอ่ พญาแล ประดิษฐานอยู่ตรงวงเวียน ถนนบรรณาการ ปากทางเข้าเมืองชัยภูมิ ชาวชัยภูมไิ ด้ก่อสรา้ งเมอ่ื ปี
พ.ศ. 2508 เพือ่ เป็นที่ระลึกถึงพระยาภกั ดีชมุ พล (แล) เจ้าเมืองคนแรก

9

6.2 เศรษฐกิจและอตุ สาหกรรม

ในเขตเทศบาลเมืองเปน็ ศูนย์รวมทางด้านเศรษฐกิจของจงั หวัด ซึ่งมีสถานประกอบการค้าและบริการประเภททะเบียนพาณชิ ย์เฉพาะในเขต
อาเภอเมือง

สถานประกอบการทางดา้ นการพาณิชย์กรรมและบริการทีส่ าคญั

3.1 สถานประกอบการทางด้านการพาณิชย์

- ตลาดสดเทศบาล จานวน 2 แหง่
6 แห่ง
- ศูนย์การค้า / หา้ งสรรพสินค้า/บริษทั ห้างร้าน จานวน 864 ราย

- สถานประกอบการค้า / ใบอนญุ าต จานวน 2 แหง่
1 แห่ง
3.2 สถานประกอบการเทศพาณิชย์
8 แหง่
- สถานธนานบุ าล (โรงรับจานา) จานวน 12 แห่ง
8 แหง่
- โรงฆ่าสัตว์ จานวน 2 แห่ง
3 แหง่
3.3 สถานประกอบการด้านบริการ

- โรงแรม จานวน

- ธนาคารของรฐั / เอกชน จานวน

- สถานีบริการน้ามัน จานวน

- สถานีขนส่งรถยนต์ จานวน

- โรงภาพยนตร์ จานวน

7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
7.1 การนบั ถือศาสนา

1. ผนู้ บั ถือศาสนาพทุ ธ ร้อยละ 97.41 ของประชากรท้ังหมดในเขตเทศบาล จานวน 15 วดั
2. ผนู้ บั ถือศาสนาครสิ ต์ ร้อยละ 1.89 ของประชากรท้ังหมดในเขตเทศบาล จานวนโบสถ์ 1 แห่ง ในชมุ ชนโนนสาทร
(ข้อมลู จากการสัมภาษณ์ผนบั ถือศาสนาครสิ ต์)

10

3. ผนู้ ับถือศาสนาอสิ ราม ร้อยละ 0.70 ของประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาล จานวน มสั ยิด 1 แห่ง ในชมุ ชนทานตะวนั
(ข้อมูลจากการสมั ภาษณ์ผู้นบั ถือศาสนาอสิ ลาม)

7.2 ประเพณี
- งานประจ้าปีฉลองอนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล) จัดขึ้นเพื่อลาลึกถึงคุณงามความดีของเจ้าพ่อพญาแลผู้สร้างเมืองชัยภูมิ
คนแรก โดยมีขบวนสักการะเจ้าพ่อพญาแล พิธีถวายช้างขบวนแห่ของส่วนราชการต่าง ๆ ภายใน ซึ่งจัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่และสวยงาม มีการแสดงสินค้า
พืน้ เมืองและงานกาชาดจังหวัดชัยภมู ิ
- งานประเพณีบุญเดือนหก ท่ีบริเวณศาลหนองปลาเฒ่า จัดขึ้นระหว่างวันเพ็ญเดือนหก ของทุกปี ประชาชนจะไปเคารพสักการะ
ดวงวิญญาณของเจ้าพ่อพญาแลเป็นจานวนมาก ซึง่ ในงานจะมีมหรสพต่าง ๆ มากมาย
- งานวันขึ้นปีใหม่ จะจัดขึ้นในวันที่ 1 มกราคม ของทุกปีมีการทาบุญตักบาตร ปล่อยนก ปล่อยปลา เพื่อความเป็นสิริมงคลกับชีวิต
และเริ่มตน้ ในสิ่งที่ดีๆใหแ้ ก่ชีวติ ในปีใหม่
- งานประเพณีวันสงกรานต์ จะจัดขึ้นในวันที่ 13 – 15 เมษายนของทุกปี จัดประกวดนางสงกรานต์ และจัดประกวดขบวนเทพี
สงกรานต์ ของชุมชนในเขตเทศบาลที่ประดับตกแต่งอย่างสวยงามและการแข่งขันกีฬาพื้นเมือง เพื่ออนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของ
ท้องถิน่
- งานประเพณีแห่เทียนพรรษา วันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 (ประมาณเดือนกรกฎาคม) มีการประกวดเทียนพรรษา ประดิษฐ์อย่าง
สวยงามและจัดขบวนแห่เป็นงานที่ประชาชนให้ความสนใจจานวนมาก
- งานประเพณีลอยกระทง จัดขึ้นในเดือน 12 ขึ้น 15 ค่า ของทุกปี มีการประกวดกระทงและประกวดนางนพมาศ ซึ่งได้รับความสนใจ
จากประชาชนเป็นอนั มาก
7.3 วฒั นธรรม
- งานประจ้าปีฉลองอนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล) จัดขึ้นเพื่อลาลึกถึงคุณงามความดีของเจ้าพ่อพญาแลผู้สร้างเมืองชัยภูมิ
คนแรกโดยมีขบวนสักการะเจ้าพ่อพญาแล พิธีถวายช้างขบวนแห่ของส่วนราชการต่าง ๆ ภายใน ซึ่งจัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่และสวยงาม มีการแสดงสินค้า
พืน้ เมืองและงานกาชาดจังหวัดชยั ภูมิ
- งานประเพณีบุญเดือนหก ท่ีบริเวณศาลหนองปลาเฒ่า จัดขึ้นระหว่างวันเพ็ญเดือนหก ของทุกปี ประชาชนจะไปเคารพสักการะ
ดวงวิญญาณของเจ้าพ่อพญาแลเปน็ จานวนมาก ซึ่งในงานจะมีมหรสพต่าง ๆ มากมาย

11

- งานวันขึ้นปีใหม่ จะจัดขึ้นในวันที่ 1 มกราคม ของทุกปีมีการทาบุญตักบาตร ปล่อยนก ปล่อยปลา เพื่อความเป็นสิริมงคลกับชีวิต
และเริม่ ตน้ ในสิ่งทีด่ ีๆใหแ้ ก่ชีวติ ในปีใหม่

- งานประเพณีวันสงกรานต์ จะจัดขึ้นในวันที่ 13 – 15 เมษายนของทุกปี จัดประกวดนางสงกรานต์ และจัดประกวดขบวนเทพี
สงกรานต์ ของชุมชนในเขตเทศบาลที่ประดับตกแต่งอย่างสวยงามและการแข่งขันกีฬาพื้นเมือง เพื่ออนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของ
ท้องถิน่

- งานประเพณีแห่เทียนพรรษา วันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 (ประมาณเดือนกรกฎาคม) มีการประกวดเทียนพรรษา ประดิษฐ์อย่าง
สวยงามและจดั ขบวนแห่เป็นงานทีป่ ระชาชนให้ความสนใจจานวนมาก

- งานประเพณีลอยกระทง จัดขึ้นในเดือน 12 ขึ้น 15 ค่า ของทุกปี มีการประกวดกระทงและประกวดนางนพมาศ ซึ่งได้รับความสนใจ
จากประชาชนเป็นอนั มาก

8. ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

ในเขตเทศบาลเมอื งชัยภูมิมีแหล่งน้าธรรมชาติ เพื่อเกบ็ กักน้าเมือเกิดฝนตก และเปน็ แหล่งน้าเพื่อการดับเพลิงที่สาคัญ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. หนองปลาเฒา่ เนือ้ ทีป่ ระมาณ 120 ไร่

2. หนองหลอด เนือ้ ทีป่ ระมาณ 80 ไร่

3. หนองใหญ่ เนือ้ ที่ประมาณ 85 ไร่

4. หนองลาดควาย เนือ้ ทีป่ ระมาณ 40 ไร่

5. หนองระเริง เนือ้ ทีป่ ระมาณ 65 ไร่

6 หนองตาดา เนือ้ ที่ประมาณ 309 ไร่

คลอง ลา้ หว้ ย สาธารณะ
1. ลาห้วยกุดแคน-หว้ ยเสว ยาวประมาณ 6 กิโลเมตร ไหลผา่ นด้านทิศเหนอื -สู่หนองตาดาทางทิศใต้เทศบาล
2. ลาห้วยปะทาว-คลองสิงห์ทอง-คลองแล้ง ความยาวประมาณ 7 ก.ม. ไหลผ่านจากทางด้านทิศเหนือเขตเทศบาล ผ่านชุมชนลงสู่

หว้ ยดินแดงทางทิศใต้นอกเขตเทศบาล

12

สว่ นที่ 2

สรุปผลการพฒั นาท้องถิ่นตามแผนพฒั นาทอ้ งถิน่ (พ.ศ.2557-2560)

1. สรปุ ผลการดาเนินงานตามงบประมาณท่ไี ด้รับ และการเบิกจา่ ยงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 - 2560

1.1 สรุปสถานการณก์ ารพฒั นา การต้งั งบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณ

ปีงบประมาณ พ.ศ.2557

รายรบั จริงทงั้ หมด 376,502,723.91 บาท
หมวดภาษีอากร 148,967,471.07 บาท
หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต 5,484,595.50 บาท
หมวดรายได้จากทรัพย์สิน 11,299,765.94 บาท
หมวดรายได้จากสาธารณปู โภคและการพาณิชย์ บาท
หมวดรายได้เบด็ เตล็ด 5,363,612.22 บาท
หมวดเงินอดุ หนนุ ทวั่ ไป 1,164,688.57 บาท
เงินอดุ หนุนเฉพาะกิจ 139,419,995.00 บาท
64,802,595.61

รวมรายรับจริงทั้งหมด 376,502,723.91 บาท

รายจา่ ยจริง จา้ นวน 342,074,831.61 บาท
งบกลาง 64,932,082.09 บาท
เงินเดอื น ค่าจา้ งประจา 131,306,993.31 บาท
ค่าตอบแทนใช้สอยฯ 86,130,383.86 บาท
ค่าสาธารณปู โภค 3,566,352.50 บาท
เงินอดุ หนนุ 32,377,479.85 บาท
ค่าครุภณั ฑ์ ทีด่ ินและสิง่ ก่อสร้าง 23,761,540.00 บาท

รวมรายจา่ ยจริงท้งั หมด 342,074,831.61 บาท

13

ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 394,913,402.19 บาท
รายรับจริงทัง้ หมด 153,792,414.82 บาท
บาท
หมวดภาษีอากร 7,200,766.91 บาท
หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนญุ าต 12,232,161.47 บาท
หมวดรายได้จากทรัพย์สิน 4,784,711.06 บาท
หมวดรายได้จากสาธารณปู โภคและการพาณิชย์ 1,803,183.75 บาท
หมวดรายได้เบด็ เตลด็ 133,457,962.22 บาท
หมวดเงินอุดหนนุ ทวั่ ไป 16,115,851.26 บาท
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 65,526,350.70 บาท
เงินอดุ หนุนทว่ั ไปไม่ระบุวัตถปุ ระสงค์ 394,913,402.19 บาท
รวมรายรบั จริงทง้ั หมด 342,074,831.61 บาท
รายจ่ายจรงิ จานวน 68,345,897.75 บาท
งบกลาง 138,601,511.48 บาท
เงินเดอื น ค่าจา้ งประจา 82,791,141.62 บาท
ค่าตอบแทนใช้สอยฯ 3,456,806.13 บาท
ค่าสาธารณปู โภค 34,085,108.56 บาท
เงนิ อุดหนนุ 46,503,950.00 บาท
ค่าครภุ ัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 342,074,831.61
รวมรายจ่ายจริงท้ังหมด

14

ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 394,913,402.19 บาท
รายรบั จริงทั้งหมด 153,792,414.82 บาท
บาท
หมวดภาษีอากร 7,200,766.91 บาท
หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต 12,232,161.47 บาท
หมวดรายได้จากทรัพย์สิน 4,784,711.06 บาท
หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ 1,803,183.75 บาท
หมวดรายได้เบด็ เตล็ด 133,457,962.22 บาท
หมวดเงินอุดหนนุ ทั่วไป 16,115,851.26 บาท
เงินอดุ หนนุ เฉพาะกิจ 65,526,350.70 บาท
เงินอุดหนนุ ทั่วไปไม่ระบุวตั ถปุ ระสงค์ 394,913,402.19 บาท
รวมรายรับจริงทงั้ หมด 342,074,831.61 บาท
รายจ่ายจริง จ้านวน 68,345,897.75 บาท
งบกลาง 138,601,511.48 บาท
เงินเดอื น ค่าจา้ งประจา 82,791,141.62 บาท
ค่าตอบแทนใช้สอยฯ 3,456,806.13 บาท
ค่าสาธารณูปโภค 34,085,108.56 บาท
เงินอุดหนนุ 46,503,950.00 บาท
ค่าครุภณั ฑ์ ทีด่ ินและสิ่งก่อสร้าง 342,074,831.61
รวมรายจ่ายจริงท้ังหมด

15

ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 382,761,483.72 บาท
รายรบั จริงท้ังหมด 165,425,254.63 บาท
บาท
หมวดภาษีอากร 11,226,791.05 บาท
หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนญุ าต 12,652,788.01 บาท
หมวดรายได้จากทรพั ย์สิน 5,495,306.93 บาท
หมวดรายได้จากสาธารณปู โภคและการพาณิชย์ บาท
หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด 509,595.50 บาท
หมวดเงินอุดหนนุ ทัว่ ไป 169,593,056.00 บาท
เงินอดุ หนนุ เฉพาะกิจ บาท
เงินอุดหนนุ ทว่ั ไปไม่ระบวุ ตั ถปุ ระสงค์ 15,630,391.60 บาท
รวมรายรับจริงท้งั หมด 2,228,300.00 บาท
รายจ่ายจริง จ้านวน 382,761,483.72 บาท
งบกลาง 374,406,905.82 บาท
เงินเดอื น ค่าจา้ งประจา 88,828,685.23 บาท
ค่าตอบแทนใช้สอยฯ 145,054,262.29 บาท
ค่าสาธารณูปโภค 56,431,407.65 บาท
เงินอุดหนนุ 4,374,971.48 บาท
ค่าครุภณั ฑ์ ทีด่ ินและสิง่ ก่อสร้าง 19,231,043.42
รวมรายจ่ายจริงท้ังหมด 60,486,535.75
342,074,831.61

16

1.2 การประเมินผลการนา้ แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ ไปปฏิบตั ิในเชิงปรมิ าณและเชิงคุณภาพ
1.2.1 การประเมินผลการนาแผนพัฒนาท้องถิ่นไปปฏิบัติในเชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เทศบาลเมอื งชัยภมู ิ ได้กาหนดโครงการทีจ่ ะดาเนนิ การตามแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2557-2559) ดังน้ี

ยทุ ธศาสตร์ 2557 2558 2559
จา้ นวน งบประมาณ จา้ นวน งบประมาณ จ้านวน งบประมาณ

1. ยุท ธ ศาสตร์ การพัฒนา

โครงสรา้ ง 31 36,675,100 11 9,727,100 6 5,177,100

พืน้ ฐาน

2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง

- 167 81,875,408 49 24,350,868 48 24,480,868

การบริหารจัดการ

3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคน

สังคมและ 112 57,065,332 106 50,016,840 105 49,946,840

คุณภาพชวี ิต

4 . ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร พั ฒ น า

สิง่ แวดล้อม 14 3,480,000 14 4,330,000 14 5,280,000
แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร

ทรพั ยากรธรรมชาติ

5 . ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร พั ฒ น า 9 3,234,800 8 2,934,800 9 3,184,800
เศรษฐกิจ

รวม 333 182,330,640 188 91,359,608 182 88,069,608

17

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เทศบาลเมอื งชัยภูมิ ได้กาหนดโครงการทีจ่ ะดาเนนิ การ

ตามแผนพฒั นาสามปี (พ.ศ. 2558-2560) ดงั น้ี

ยทุ ธศาสตร์ 2558 2559 2560

จ้านวน งบประมาณ จา้ นวน งบประมาณ จา้ นวน งบประมาณ

1. ยุ ท ธศา สตร์ การ พัฒน า

โครงสรา้ ง 16 16,128,940 12 12,931,500 7 10,235,000

พืน้ ฐาน

2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง

- 155 70,139,916 52 31,149,416 42 14,242,916

การบริหารจดั การ

3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคน

สงั คมและ 101 94,451,500 86 56,532,615 87 56,603,000

คณุ ภาพชวี ิต

4 . ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร พั ฒ น า

สิ่งแวดล้อม 7 2,985,804 7 2,715,804 7 2,715,804
แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร

ทรพั ยากรธรรมชาติ

5 . ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร พั ฒ น า 10 3,475,000 7 1,825,000 8 1,875,000
เศรษฐกิจ

รวม 289 187,181,160 164 105,154,335 151 85,671,720

18

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เทศบาลเมืองชยั ภมู ิ ได้กาหนดโครงการที่จะดาเนนิ การ

ตามแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2559-2561) ดงั นี้

ยุทธศาสตร์ 2559 2560 2561
จา้ นวน งบประมาณ จ้านวน งบประมาณ จา้ นวน งบประมาณ

1. ยุทธศาสตร์ การพัฒนา

โครงสรา้ ง 20 71,050,920 16 53,353,400 12 102,650,000

พืน้ ฐาน

2. ยุทธศาสตร์การพัฒนา

เมือง - 135 47,678,200 55 22,366,200 47 24,499,200

การบริหารจัดการ

3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคน

สังคมและ 86 103,046,140 82 97,781,380 84 99,326,380

คณุ ภาพชวี ิต

4. ยุทธศาสตร์การพัฒนา

สิ่งแวดล้อม 6 5,228,640 6 5,278,640 6 5,428,640
แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร

ทรพั ยากรธรรมชาติ

5. ยุทธศาสตร์การพัฒนา 9 4,723,710 7 1,695,710 7 1,695,710
เศรษฐกิจ

รวม 256 231,727,610 166 180,475,330 156 233,599,930

19

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เทศบาลเมอื งชัยภูมิ ได้กาหนดโครงการที่จะดาเนนิ การ

ตามแผนพฒั นาสามปี (พ.ศ. 2560-2562) ดงั นี้

ยุทธศาสตร์ 2560 2561 2562

จา้ นวน งบประมาณ จา้ นวน งบประมาณ จ้านวน งบประมาณ

1. ยุทธศาสตร์ การพัฒนา

โครงสรา้ ง 24 84,807,020 5 89,800,000 3 3,800,000

พืน้ ฐาน

2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง

- 6 610,900 2 1,650,000 2 1,650,000

การบริหารจดั การ

3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคน

สังคมและ 1 1,500,000 1 1,500,000 1 1,500,000

คุณภาพชวี ิต

4. ยุท ธศาสตร์การพัฒนา

สิง่ แวดล้อม 1 1,500,000 1 1,500,000 1 1,500,000
แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร

ทรพั ยากรธรรมชาติ

5. ยุทธศาสตร์การพัฒนา 4 6,500,000 3 6,200,000 3 6,200,000
เศรษฐกิจ

รวม 36 100,416,020 14 100,650,000 10 14,650,000

20

สว่ นที่ 3

ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

1. ความสมั พันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับมหภาค
1.1 แผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี
การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีของเทศบาลมคี วามสมั พนั ธ์กับแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี โดยมุ่งเน้นเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปสู่ความ

ม่ันคง ม่ังค่ังและยั่งยืน โดยแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทยกาลังอยู่ระหว่างการเสนอร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติต่อที่ประชุมคณะกรรมการ
จัดทายุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการดาเนินการปรับปรุงร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติตามมิติที่ประชุมคณะกรรมการจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติ
โดยร่างกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) มีสาระสาคญั สรปุ ได้ดงั นี้

วิสยั ทศั น์
วิสัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความมน่ั คง มัง่ ค่ัง ย่งั ยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”หรือ
เป็นคติพจนป์ ระจาชาติวา่ “มั่นคง มัง่ ค่งั ยงั่ ยืน” ท้ังนวี้ ิสยั ทศั นด์ ังกล่าวจะต้องสนองตอบต่อผลประโยชน์แหง่ ชาติ อันได้แก่การมีเอกราชอธิปไตยและบูรณ
ภาพแหง่ เขตอานาจรฐั การดารงอยู่อย่างม่นั คง ย่ังยืนของสถาบันหลักของชาติ การดารงอยู่อย่างม่ันคงของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ
การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุขเป็นปึกแผ่นมีความม่ันคงทางสังคมท่ามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความ
เจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความย่ังยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางพลังงาน
และอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ประสานสอดคล้องกนั ด้านความม่นั คงในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรีไม่เป็นภาระของโลกและสามารถเกื้อกูลประเทศ
ที่มศี ักยภาพทางเศรษฐกิจทีด่ อ้ ยกว่า
ยทุ ธศาสตรช์ าติ
ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน์และทาให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์นั้น จาเป็นจะต้องมีการวางแผนและกาหนดยุทธศาสตร์การ
พัฒนาในระยะยาว และกาหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น จึงจาเป็นจะต้องกาหนดยุทธศาสตร์ชาติใน
ระยะยาว เพื่อถ่ายทอดแนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละช่วงเวลาอย่างต่อเนื่องและมีการบูรณาการ และสร้างความเข้าใจถึงอนาคตของประเทศ
ไทยร่วมกัน และเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคมท้ังประชาชน เอกชน ประชาสังคมในการขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อการสร้างและรักษาไว้ซึ่ง
ผลประโยชน์แห่งชาติและบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืนเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง”หรอื คติพจนป์ ระจาชาติ “มั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน” เพื่อให้ประเทศมขี ีดความสามารถในการแข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว คนไทย

21

มีความสุข อยู่ดี กินดี สังคมมีความม่ันคงเสมอภาคและเป็นธรรม ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปีต่อจากนี้ไป
จะประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่

(1) ยทุ ธศาสตรด์ ้านความมัน่ คง
(2) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
(3) ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน
(4) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
(5) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม
(6) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
โดยมีสาระสาคญั ของแต่ละยทุ ธศาสตร์ สรปุ ได้ ดังน้ี
1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง มีเปูาหมายท้ังในการสร้างเสถียรภาพภายในประเทศและช่วยลดและปูองกันภัยคุกคามจากภายนอก รวมท้ัง
สร้างความเช่อื ม่นั ในกลุ่มประเทศอาเซียนและประชาคมโลกที่มตี ่อประเทศไทย
2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งจาเป็นต้อง
ยกระดับผลิตภาพการผลิตและการใช้นวัตกรรมในการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างยั่งยืนท้ังในสาขาอุตสาหกรรม เกษตรและ
บริการ การสร้างความมั่นคงและปลอดภัยด้านอาหาร การเพิ่มขีดความสามารถทางการค้าและการเป็นผู้ประกอบการ รวมทั้งการพัฒนาฐานเศรษฐกิจ
แหง่ อนาคต ทั้งนภี้ ายใต้กรอบการปฏิรปู และพฒั นาปัจจัยเชิงยุทธศาสตรท์ ุกด้าน อนั ได้แก่โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม การพัฒนาทุนมนุษย์ และการบริหารจัดการท้ังในภาครฐั และภาคธรุ กิจเอกชน
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เพื่อพัฒนาคนและสังคมไทยให้เป็นรากฐานที่แข็งแกร่งของประเทศมีความพร้อมทาง
กาย ใจ สติปัญญา มีความเป็นสากล มีทกั ษะการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย มีคุณธรรมจริยธรรม รู้คุณค่าความเป็นไทย
มีครอบครัวทีม่ ัน่ คง
4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม เพื่อเร่งกระจายโอกาสการพัฒนาและสร้างความมั่นคงให้
ท่ัวถึง ลดความเหลือ่ มล้าไปสู่สงั คมทีเ่ สมอภาคและเป็นธรรม
5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเร่งอนุรักษ์ฟื้นฟูและสร้างความมั่นคงของฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติ และมีความม่ันคงด้านน้า รวมท้ังมีความสามารถในการปูองกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัย
พิบตั ิธรรมชาติ และพฒั นามุ่งสู่การเปน็ สังคมสีเขียว

22

6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ
มีสมรรถนะสูง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระจายบทบาทภารกิจไปสู่ท้องถิ่นอย่างเหมาะสม มีธรรมาภบิ าล

1.2 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
วิสยั ทศั น์
จากสถานะของประเทศและบริบทการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ประเทศกาลังประสบอยู่ ทาให้การกาหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยังคงมีความ
ต่อเนอ่ื งจากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และกรอบหลักการของการวางแผนที่น้อมนาและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็น
ศนู ย์กลางของการพฒั นาอย่างมสี ่วนรว่ ม การพฒั นาที่ยึดหลักสมดุล ยงั่ ยืน โดยวิสัยทัศนข์ องการพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องให้ความสาคัญกับ
การกาหนดทิศทางการพัฒนาที่มงุ่ สกู่ ารเปลี่ยนผา่ นประเทศไทยจากประเทศทีม่ รี ายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และย่ังยืน สังคม
อยู่ร่วมกันอย่างมคี วามสุขและนาไปสู่การบรรลวุ ิสยั ทศั นร์ ะยะยาว “มัน่ คง ม่งั ค่ัง ยั่งยืน” ของประเทศ

เปูาหมายการพฒั นาประเทศ
1. การหลุดพ้นจากกบั ดักประเทศรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง

(1) เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 5.0
(2) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (GDP Per Capita) และรายได้ประชาชาติต่อหัว (GNP Per Capita) ณ สิ้นแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ในปี 2564 เพิม่ ขนึ้ เปน็ 317,051 บาท (9,325 ดอลลาร์ สรอ.) และ 301,199 บาท (8,859 ดอลลาร์ สรอ.) ต่อคนตอ่ ปี
(3) ผลติ ภาพการผลิตเพิ่มข้ึนไม่ต่ากว่าเฉลีย่ ร้อยละ 2.5 ต่อปี
(4) การลงทุนรวมขยายตัวไม่ต่ากว่าเฉลี่ยร้อยละ 8.0 (การขยายตัวของการลงทุนภาครัฐไม่ต่ากว่าร้อยละ 10.0 และการลงทุนของ
ภาคเอกชนขยายตวั ไม่ต่ากว่าเฉลีย่ ร้อยละ 7.5 ในขณะที่ปริมาณการส่งออกขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 4.0 ต่อปี)
2. การพัฒนาศักยภาพคนใหส้ นบั สนุนการเจรญิ เติบโตของประเทศและการสร้างสงั คมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
(1) ประชาชนทกุ ช่วงวัยมีความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจและสงั คม (Socioeconomic Security) และมีคุณภาพชวี ิตทีด่ ีข้ึน
(2) การศกึ ษาและการเรียนรไู้ ด้รับการพฒั นาคุณภาพ
(3) สถาบันทางสังคมมีความเข้มแขง็ เป็นฐานรากที่เอ้ือตอ่ การพฒั นาคน

23

3. การลดความเหลอ่ื มล้าในสงั คม
(1) การกระจายรายได้มคี วามเท่าเทียมกนั มากขึ้น
(2) บริการทางสังคมมีคุณภาพและมีการกระจายอย่างท่ัวถึง

4. การสรา้ งการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมทีเ่ ป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม
(1) รักษาความมัน่ คงของฐานทรัพยากร สร้างสมดุลระหว่างการอนรุ ักษ์และการใชป้ ระโยชน์

อย่างย่งั ยืนและเป็นธรรม
(2) ขบั เคลือ่ นประเทศสู่เศรษฐกิจและสงั คมทีเ่ ป็นมติ รตอ่ สิง่ แวดล้อม
(3) เพิม่ ขีดความสามารถในการรับมอื ภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(4) เพิ่มประสิทธิภาพและเสรมิ สร้างธรรมาภบิ าลในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม
(5) มีการบริหารจดั การน้าให้สมดลุ ระหว่างการอุปสงค์และอปุ ทานของน้า

5. การบริหารราชการแผ่นดนิ ที่มีประสทิ ธิภาพ
(1) การบริหารงานภาครฐั ทีโ่ ปร่งใส เป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และมีสว่ นร่วม
(2) ขจดั การทจุ รติ คอร์รัปชัน่
(3) มีการกระจายอานาจที่เหมาะสม

กรอบยุทธศาสตรแ์ ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตรห์ ลกั ดังน้ี
1. ยุทธศาสตรก์ ารเสริมสร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์
2. ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งความเปน็ ธรรม ลดความเหลื่อมล้าในสงั คม
3. ยุทธศาสตรก์ ารสรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างย่งั ยืน
4. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการเติบโตที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมเพือ่ การพัฒนาอย่างยง่ั ยืน
5. ยทุ ธศาสตรด์ ้านความมั่นคง
6. ยุทธศาสตรด์ ้านการเพิ่มประสทิ ธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ
7. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและระบบโลจสิ ติกส์

24

8. ยุทธศาสตรด์ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และนวตั กรรม
9. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาคเมือง และพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจ
10.ยุทธศาสตรด์ ้านการตา่ งประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมภิ าค
1.3 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจงั หวดั นครชัยบุรนิ ทร/์ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจงั หวัดชัยภูมิ

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) รอบใหม่ ฉบับนี้ ได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 ในคราวประชุม คร้ังที่ 5/2559 เม่ือวันที่ 13 กันยายน
2559 ทั้งนี้ ได้นาแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดฯ ไปร่วมประชาคมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของทุกภาคส่วนราชการ เสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยสรุปประเด็นสาคัญ
ดังน้ี

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ (Strategics Issues)
1) การพัฒนาขดี ความสามารถในการแข่งขันเกษตรอุตสาหกรรมและแปรรูป
2) การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อสนบั สนุนการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม และผลติ ภณั ฑ์ไหม
3) การส่งเสริมและพัฒนาการค้าการลงทนุ และการค้าชายแดน

กลยุทธ์ (Strategy)
1) การพัฒนาขดี ความสามารถในการแข่งขันเกษตรอุตสาหกรรมและแปรรปู อาหาร
1.1 พัฒนาและบริหารจดั การน้าเพือ่ การเกษตร
1.2 สง่ เสริมและพัฒนาระบบโลจสิ ติกส์และการกระจายสินค้าในภมู ิภาค
1.3 ส่งเสริมการบริหารจัดการพ้ืนทีเ่ กษตรกรรมให้เหมาะสม
1.4 ยกระดับสินค้าเกษตรเข้าสู่ระบบมาตรฐาน
1.5 ส่งเสริมและพัฒนาตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.6 ส่งเสริมอาชีพการเลยี้ งสตั ว์คณุ ภาพสูง
1.7 ส่งเสริมกระบวนการแปรรูปผลผลติ เพือ่ สร้างมลู ค่าเพิ่ม
1.8 สนับสนนุ ให้มกี ารรวมกลุ่มการผลิตและจาหน่าย
1.9 ยกระดบั ความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาดสินค้าเกษตร

25

2) การยกระดับอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว และผลติ ภณั ฑ์ไหม
2.1 พฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและสิง่ อานวยความสะดวก
2.2 พัฒนาและฟืน้ ฟแู หล่งท่องเที่ยว
2.3 พัฒนาสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว
2.4 พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว
2.5 สรา้ งความเชอ่ื มั่นและความปลอดภัยใหน้ กั ท่องเทีย่ ว
2.6 พฒั นาระบบบริหารจดั การการท่องเที่ยว ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมให้ยงั่ ยืน
2.7 เพิ่มประสทิ ธิภาพกระบวนการผลิตไหมให้มีคุณภาพ
2.8 พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ไหมให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
2.9 ส่งเสริมการตลาดและการประชาสัมพนั ธ์การท่องเที่ยวและผลติ ภณั ฑ์ไหม

3) การส่งเสริมและพฒั นาการค้าการลงทนุ และการค้าชายแดน
3.1 ส่งเสริมและพฒั นาการค้าชายแดน และการลงทนุ ในประเทศ
3.2 พัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและโลจสิ ติกส์

การจดั ทาแผนพัฒนาจังหวัดชยั ภูมิ พ.ศ. 2561 - 2564 ได้นาข้อมูลพ้ืนฐานทีส่ าคญั ซึง่ เป็นข้อมูลสภาพทั่วไปในหลายด้าน โดยมีข้อมูล
บ่งชี้ที่สาคัญ ผลการพัฒนาช่วงครึ่งแผนพัฒนาที่ผ่านมา การวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ ม ปัญหา
ความตอ้ งการของประชาชน ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์อาเซียน ข้อมูล
ตัวช้วี ัดการพัฒนาระดบั จงั หวัดของ สศช. และการประเมนิ สภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนา โอกาสในการพัฒนาในอนาคตของจังหวัด การวิเคราะห์
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจากัด เม่ือนาข้อมูลทั้งหมดที่กล่าวแล้วข้างต้นมาวิเคราะห์ร่วมแล้ว จึงได้มีการจัดประชุมหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด
ท้ังส่วนกลาง สว่ นภมู ภิ าคในจงั หวัดชยั ภมู ิ ส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน ชมุ ชน เพือ่ ระดมความคดิ เห็นในการทบทวนแผนพฒั นาจังหวัดชัยภูมิ และได้มี
ความคิดเห็นร่วมกันในการกาหนดวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เปูาประสงค์หลัก ตัวชี้วัด/ค่าเปูาหมาย และกลยุทธ์แนวทางการพัฒนาในช่วง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2564 ดังน้ี

26

1. ตา้ แหน่งการพัฒนา (Positioning) ของจังหวัดชัยภูมิ
1.1 เป็นฐานการผลิตและศนู ย์กลางสนิ ค้าเกษตรที่เข้มแข็งและยงั่ ยืน
1.2 เปน็ ศนู ย์กลางการท่องเทีย่ วเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีชอ่ื เสียง
1.3 เป็นเมืองแหง่ ความสมบรู ณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทีด่ ี
1.4 เป็นเมืองทีส่ งั คมมีคณุ ภาพม่ันคงและปลอดภยั

2. วิสัยทศั น์จังหวัดชัยภูมิ
“เศรษฐกิจก้าวหน้า สังคมและสิง่ แวดลอ้ ม มีคุณภาพอยา่ งย่งั ยืน”
3. พนั ธกิจ

3.1 พฒั นาระบบเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจมหภาค
3.2 ส่งเสริมพัฒนาการท่องเทีย่ วเชงิ ธรรมชาติและวัฒนธรรม
3.3 อนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟู พัฒนาทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อม
3.4 พัฒนาสังคม คุณภาพชีวติ ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. เป้าประสงค์รวม
4.1 ประชาชนมรี ายได้เพิ่มข้นึ และกระจายอย่างเหมาะสม
4.2 สถานทีท่ ่องเที่ยวมีความสมบรู ณ์และมีมาตรฐาน
4.3 การรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมให้สมดุลกับการพัฒนา
4.4 ประชาชนดารงชีวติ อย่างมคี ณุ ภาพ มั่นคงและปลอดภัย
5. ตัวชี้วัดและคา่ เปา้ หมายการพฒั นา (KPI)
5.1 อตั ราการขยายตวั ของ GPP เพิม่ ขนึ้
5.2 ร้อยละที่เพิ่มข้ึนของผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ภาคการเกษตร
5.3 รอ้ ยละทีเ่ พิ่มข้นึ ของผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ภาคอุตสาหกรรม
5.4 รอ้ ยละทีเ่ พิม่ ข้นึ ของรายได้จากการท่องเที่ยว

27

5.5 รายได้จากการจาหนา่ ยผลิตภัณฑช์ ุมชนเพิ่มขนึ้
5.6 จานวนชมุ ชนทีด่ าเนินการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5.7 สมั ประสิทธิก์ ารกระจายรายได้ลดลง
5.8 จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิม่ ข้นึ
5.9 ค่าเฉลีย่ O-Net ทุกระดับเพิ่มข้ึน
5.10 ร้อยละของประชากรที่อยู่ใต้เส้นความยากจนลดลง
5.11 ร้อยละผอู้ ยู่ในระบบประกนั สังคมต่อกาลงั แรงงานเพิม่ ขึ้น
5.12 อัตราการเปลี่ยนแปลงของพืน้ ที่ปุาไม้ในจังหวดั ลดลง
5.13 สัดส่วนการใชพ้ ลงั งานทดแทนในจังหวัดชยั ภมู ิเพิ่มข้ึน

6. ประเดน็ ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวดั ชยั ภมู ิ
6.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 การสร้างความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจฐานรากและแข่งขนั ได้อยา่ งยั่งยืน

เป้าประสงค์
ประชาชนมรี ายได้เพิ่มข้นึ และกระจายอย่างเหมาะสม

ตัวชี้วดั /ค่าเปา้ หมาย
1. รอ้ ยละทีเ่ พิ่มข้นึ ของผลติ ภัณฑ์มวลรวม
2. อตั ราการขยายตัวของ GPP ภาคการเกษตรเพิ่มข้ึน
3. อตั ราการขยายตัวของ GPP ภาคอุตสาหกรรมเพิม่ ข้นึ
4. รายได้ของครวั เรือนทีผ่ า่ นเกณฑ์ จปฐ. เพิ่มข้นึ

กลยทุ ธ์
1. การพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานการผลิตและบริการ
2. การส่งเสริมอาชีพและรายได้แก่ประชาชน
3. การเพิ่มมลู ค่าสินค้าเกษตรและบริการ
4. การส่งเสริมการตลาดสนิ ค้าเกษตรและบริการ

28

แนวทางการด้าเนินงาน
1.การพฒั นาทรัพยากรการเกษตรให้เข้มแขง็ และยงั่ ยืน
1.1 อนุรกั ษ์และฟื้นฟูทรัพยากรการเกษตรให้เหมาะสมกบั สภาพพื้นที่ เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด

ได้อย่างยง่ั ยืน
1.2 บริหารจดั การน้าอย่างบรู ณาการ เพื่อเพิ่มพืน้ ทีช่ ลประทานโดยการก่อสร้างระบบชลประทานขนาดใหญ่ กลางและเล็ก เพื่อบรรเทา

อทุ กภยั ภยั แล้งและเพิม่ ประสิทธิภาพการกระจายน้า
1.3 การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้นา้ ภาคเกษตร เพื่อสนับสนนุ การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต

2. พัฒนาผลิตภาพการผลิตสินค้าการเกษตร ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง อ้อยโรงงาน พริก ยางพารา ตลอดห่วงโซ่อุปทานเชื่อมโยง
การตลาด และเครือขา่ ยสินค้าเกษตร

2.1 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ เพื่อลดต้นทุนการผลิตโดย
ส่งเสริมการใช้ปัจจัยผลติ ทางการเกษตรที่เหมาะสม รวมทั้งพัฒนาระบบการจัดการด้านการตลาด

2.2 เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตสนิ ค้าปศุสัตว์และประมง
2.3 ส่งเสริมและพฒั นาการปลกู หม่อนเลีย้ งไหมเพือ่ ใหไ้ ด้ผลิตภัณฑไ์ หมทีม่ คี ุณภาพ
2.4 สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ เพื่อลดต้นทุนการผลิตโดยส่งเสริมการใช้ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่
เหมาะสม รวมท้ังพัฒนาระบบการจัดการด้านการตลาด
2.5 พัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานการเกษตร การกระจายทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรในระดับชุมชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ในการผลิตสินคา้ เกษตร
2.6 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีด้านการเกษตรที่เหมาะสมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดต้นทุนการผลิต
พฒั นาคณุ ภาพผลผลิต และรองรบั การเปลี่ยนแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ
2.7 ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ โดยการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้และพัฒนาองค์ความรู้ให้ชุมชน สนับสนุนการผลิตและใช้ปุ๋ย
อินทรีย์เพือ่ พฒั นาคุณภาพมาตรฐานความปลอดภัยของสนิ ค้าเกษตรและอาหาร
2.8 สนับสนุนการบริหารจัดการสินค้าเกษตรแบบกลุ่มการผลิต และส่งเสริมสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปที่มีมูลค่าเพิ่มสูง
และมีโอกาสทางการตลาด

29

2.9 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีพลงั งานทดแทนและปลูกพืชพลงั งานทดแทน
2.10 พัฒนาด้านการวางแผนพัฒนาการเกษตรและระบบสารสนเทศทางการเกษตร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนการ
ผลติ และการจาหนา่ ยผลผลิต
2.11 ส่งเสริมการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตในพืน้ ทีท่ ีเ่ หมาะสมและปรบั เปลี่ยนการผลติ ในพื้นที่ไม่เหมาะสม
3. พัฒนาเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และวิสาหกิจชมุ ชน
3.1 สนบั สนนุ บทบาทของเกษตรกร สถาบันเกษตรกร สภาเกษตรกรแห่งชาติ และเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการพฒั นาเกษตรกร
3.2 ส่งเสริมการทาการเกษตรตามแนวพระราชดาริ เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ และการทาเกษตรยั่งยืน และลดการใช้
สารเคมีในการผลิตสนิ ค้าเกษตรและการปรบั ปรุงคุณภาพดิน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบั เกษตรกร
3.3 เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และการบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกร และพัฒนาการดาเนินงานขององค์กร
เกษตรกรโดยการมสี ่วนรว่ มของชุมชน เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า

4. พัฒนาพ้ืนทีก่ ารเกษตร และการถือครองทีด่ นิ
4.1 วางระบบการถือครองที่ดนิ การจดั ทีด่ นิ ทากินและกระจายสิทธิ โดยเร่งรัดการออกโฉนดที่ดนิ ให้ท่วั ถึงและเป็นธรรม
4.2 เร่งรัดการออกเอกสารสิทธิ์/จัดสรรที่ดินทากินให้แก่เกษตรกรผู้ไร้ที่ทากิน และประชาชนที่ยากจนให้มีที่ดินเป็นของตนเอง

อย่างเป็นธรรม
4.3 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากที่ดิน โดยกาหนดแนวเขตการใช้ที่ดินอย่างเหมาะสม ท้ังเขตเกษตรเศรษฐกิจและการจัดทาผัง

เมือง และผังชมุ ชน
5. พฒั นาอตุ สาหกรรม และอตุ สาหกรรมแปรรูปผลผลิตการเกษตร
5.1 พัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิต (Productivity) ของภาคอุตสาหกรรม
5.2 ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่และโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมเพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพของจังหวัด เช่น

อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและพลังงาน อตุ สาหกรรมสิง่ ทอ และอุตสาหกรรมต่อเนอ่ื งจากแร่โปแตช

30

5.3 ส่งเสริมการสรา้ งคณุ ค่าสินค้าอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการเกษตรจากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมิปัญญา
ท้องถิ่น

5.4 ส่งเสริมการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาการผลิต การขนส่งสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าอื่น ๆ อย่าง
เปน็ ระบบ

5.5 ส่งเสริมและพัฒนาให้มีการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมหรือกลุ่มสินค้า (Cluster และ Supply Chain) เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ
แขง่ ขัน

5.6 พัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรม เพื่อยกระดับความสามารถด้านการบริหารจัดการรวมท้ังเสริมสร้างความเป็น
บรรษัทภิบาลให้แก่ผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงรุก และอยู่ร่วมกับชุมชนอย่าง
ยง่ั ยืน

5.7 ส่งเสริมการวจิ ัยและพัฒนายกระดับความสามารถในการแข่งขนั ของภาคอุตสาหกรรม เพือ่ รองรับผลกระทบจากการเปิดเสรี
ทางการคา้

6. พัฒนาฝมี อื แรงงานและบริหารจดั การแรงงานอย่างเป็นระบบ
6.1 สนบั สนุนการฝึกอบรมแรงงานให้มคี วามรแู้ ละพัฒนาทักษะฝีมือที่ได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน

เพื่อเตรียมการรองรับการเปิดการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีภายใต้ประชาคมอาเซียน รวมท้ังฝึกอาชีพอิสระให้กับคนหางานตามความต้องการของ
ตลาดแรงงาน

6.2 ส่งเสริมให้กลุ่มบคุ คลพิเศษมีโอกาสและทางเลือกในการทางานภาคอตุ สาหกรรม และมีความเสมอภาคในการจ้างงาน
6.3 สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกาหนดมาตรฐานแรงงาน การคุ้มครองแรงงานให้ได้รับสิทธิตาม
มาตรฐานแรงงาน ส่งเสริมการคุ้มครองแรงงานนอกระบบให้ครอบคลุมมากขึ้น
6.4 พัฒนาระบบสารสนเทศบริหารจัดการดา้ นแรงงานให้มปี ระสิทธิภาพและมีการพัฒนาระบบค่าจา้ ง
6.5 ส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน แรงงานสมั พนั ธ์ มีสวัสดิการแรงงานและมีหลกั ประกันความม่นั คงในการดารงชีวติ
6.6 จัดระเบียบบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวอย่างเป็นระบบ จัดระบบแรงงานต่างด้าวให้เหมาะสมกับความต้องการของ
ภาคเอกชน และการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมนั่ คงภายในประเทศ
6.7 ส่งเสริมแรงงานให้เข้าสู่ระบบประกนั สังคม

31

7. พัฒนาและสง่ เสริมการทาเหมอื งแร่โปแตช และอตุ สาหกรรมต่อเนอ่ื ง
7.1 ผลักดันอตุ สาหกรรมเหมอื งแร่โปแตชของจังหวดั ไปสู่นโยบายระดบั ชาติ
7.2 ส่งเสริมและสนบั สนุนการศกึ ษาวิจยั เพือ่ รองรับการเกิดอุตสาหกรรมต่อเนอ่ื งจากแร่โปแตช

8. พัฒนาผลติ ภัณฑ์ไหมและผลิตภัณฑช์ มุ ชนและท้องถิน่ ให้มีคุณภาพ
8.1 เสริมสร้างศักยภาพองค์กรวิสาหกิจชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง พัฒนาบุคลากรและผู้ประกอบการให้มีความคิดในเชิง

สร้างสรรค์ สามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของภาคการผลติ และบริการ
8.2 ส่งเสริมการดาเนินงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยใช้ทรัพยากรและภูมิ

ปัญญาท้องถิ่นควบคู่กบั องค์ความรสู้ มัยใหม่ ส่งเสริมกิจกรรมการประกวดแขง่ ขัน การประยุกต์ใช้ความคิดสรา้ งสรรคใ์ นกลุ่มเยาวชนและผู้ประกอบการ
8.3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชน สนับสนุนให้มีศูนย์กระจายและแสดงสินค้า และพัฒนาช่องทาง

การตลาดทั้งในและตา่ งประเทศ
8.4 เสริมสร้างชุมชนให้มีการใช้ความคิดสร้างสรรค์ผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์ความรู้ เอกลักษณ์ วัฒนธรรมในการสร้าง

คณุ ค่าและมลู ค่าเพิ่มของสินค้า มีการรวมกลุ่มผู้ผลิตเชิงธุรกิจพึ่งพาตนเองได้
9. พัฒนาผู้ประกอบการและเครือขา่ ยด้านการตลาด
9.1 พัฒนาองค์ความรู้ด้านการตลาดโดยเพิ่มบทบาทศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการให้ครอบคลุมสินค้าและบริการ เพื่อให้

ผปู้ ระกอบการสามารถแข่งขันได้ ตลอดจนเสริมสรา้ งองค์กรวิสาหกิจชมุ ชน (SMEs) ให้เกิดความเข้มแขง็ และเข้าถึงแหล่งเงินทนุ ได้
9.2 สร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ประกอบการท้ังในระดับจังหวัด และภูมิภาคเพื่อเพิ่มช่องทางทางการค้า และกระจายผลผลิต

จากแหล่งผลติ ถึงผู้บริโภคให้มคี วามรวดเร็วและทัว่ ถึง รวมท้ังเชอ่ื มโยงเครือขา่ ยการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน
9.3 จัดต้ังศูนย์ประสานการลงทุนด้านอุตสาหกรรมและพาณิชกรรมในระดับจังหวัดเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรี

ทางการคา้

6.2 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การบริหารจดั การ การท่องเทย่ี วสู่มาตรฐานสากล
เป้าประสงค์

1. สินค้าและบริการด้านการท่องเทีย่ วมีมลู ค่าเพิม่ ขึน้
2. สถานที่ท่องเทีย่ วมีความสมบูรณ์และมีมาตรฐาน

32

ตัวชี้วัด
1. ร้อยละทีเ่ พิ่มข้ึนของจานวนนกั ท่องเที่ยว
2. ร้อยละที่เพิม่ ข้ึนของรายได้จากสินคา้ และบริการการท่องเที่ยว
3. จานวนแหลง่ ท่องเที่ยวทีไ่ ด้รับการพฒั นาให้มคี ุณภาพได้มาตรฐาน
4. ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วเพิม่ ข้นึ

กลยทุ ธ์
1. พฒั นาคุณภาพของแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการ
2. พฒั นาและยกระดบั บคุ ลากรด้านการท่องเที่ยว
3. สง่ เสริมการตลาดและการประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเทีย่ ว

แนวทางการดา้ เนินงาน
1. พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเดิม และส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวใหม่ที่มีศักยภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการ

ของตลาดเพื่อใหเ้ ป็นจงั หวดั ท่องเที่ยวชนั้ นาของภาคอีสาน
2. พฒั นาและปรบั ปรงุ โครงสร้างพืน้ ฐานที่สนับสนุนการท่องเที่ยว ปรับปรุงมาตรฐานสิ่งอานวยความสะดวก ความปลอดภัย และสุขอนามัย ตลอดจน

ใหค้ วามสาคัญกับการเข้าถึงแหล่งท่องเทีย่ วของผพู้ ิการและผสู้ ูงอายุ
3. พฒั นาแหล่งท่องเทีย่ วแบบครบวงจรและท่องเที่ยวได้ตลอดปีและทุกฤดกู าล
4. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่กิจกรรมการตลาดของแหล่งท่องเทีย่ วที่มศี ักยภาพไปยังตลาดการท่องเทีย่ วกลุ่มเปูาหมาย
5. ส่งเสริมธรุ กิจการท่องเที่ยวและสนบั สนนุ กิจกรรมและรูปแบบการท่องเทีย่ วเพือ่ สร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มทางการท่องเทีย่ ว
6. พฒั นาบคุ ลากรด้านการท่องเที่ยว และบริการให้มคี ณุ ภาพและปริมาณทีเ่ พียงพอ
7. พัฒนายกระดับมาตรฐานสินค้าชุมชน และบริการ เพื่อพัฒนาสินค้าการท่องเที่ยวที่สร้างสรรค์จากเอกลักษณ์และวัฒนธรรมท้องถิ่น

โดยใช้ความรแู้ ละนวัตกรรมในการสรา้ งมูลค่าเพิ่ม
8. พัฒนาและปรบั ปรุงศูนย์สารสนเทศด้านการท่องเที่ยวอย่างเปน็ ระบบและเชือ่ มโยงข้อมูลการท่องเทีย่ วระดบั จังหวดั เข้ากับการท่องเทีย่ วในระดับชาติ เพื่อ

อานวยการความสะดวกใหก้ ับนกั ท่องเทีย่ วท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศ
9. เสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และวิสาหกิจชุมชน ให้เข้ามามีบทบาทในการบริหารจัดการการ

ท่องเทีย่ วที่บรู ณาการเชอ่ื มโยงกับวิถีชีวติ วฒั นธรรม และทรัพยากรธรรมชาติที่เปน็ มติ รตอ่ สิง่ แวดล้อม เพือ่ พัฒนาการท่องเทีย่ วสู่ความยงั่ ยืน

33

ส่วนรว่ ม 10. สนบั สนุน พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ โดยสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนเข้ามามี

11. สนับสนนุ ชมุ ชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใหม้ ีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวในพื้นทีเ่ พื่อใหเ้ กิดความยั่งยืน
12.ส่งเสริมให้มีการจัดตง้ั ศนู ย์จาหนา่ ยสินค้าชุมชนเพือ่ การท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มทางเลอื กในการประกอบอาชีพให้กับประชาชนในท้องถิ่น
13. การดูแลรักษาความปลอดภยั และใหบ้ ริการอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ

6.3 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอยา่ งย่ังยืน
เป้าประสงค์

ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมมคี วามอุดมสมบูรณ์และสมดุลกบั การพัฒนา
ตวั ชีว้ ดั /คา่ เปา้ หมาย

1. ทรพั ยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มข้ึนอย่างย่ังยืน
2. ระดบั ความสาเร็จของการบริหารจดั การสิ่งแวดล้อมอย่างมสี ่วนร่วม
3. ระดับความสาเร็จในการผลิตและการบริหารจัดการพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นอย่างมีส่วนร่วม
4. ระดับความสาเรจ็ ในการบริหารจดั การภยั พิบตั ิทีเ่ กิดจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ
กลยุทธ์
1. บริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมแบบบูรณาการ
2. อนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอย่างย่ังยืน
3. การรับมือภยั ธรรมชาติ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศอย่างมปี ระสิทธิภาพ

แนวทางการด้าเนินงาน
1. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และทุกภาคส่วน ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา และใช้ประโยชน์

จากทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ
2. การบริหารจดั การทีด่ ินของรัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม รวมทั้งแก้ปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ และลดข้อ

พิพาทเกี่ยวกับแนวเขตทีด่ นิ ของรัฐ
3. ควบคมุ การใชป้ ระโยชน์พ้ืนที่ตน้ น้าและการใชส้ ารเคมีการเกษตรในพื้นที่ตน้ น้าอย่างเข้มงวด

34

4. พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพดิน การแก้ไขปัญหาดินเค็ม ดินขาดอินทรียวัตถุ และการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ด้วยเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมที่เหมาะสม เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตการเกษตร

5. เสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรลุ่มน้าและองค์กรท้องถิ่นในการจัดการน้า และการจัดทาแผนบริหารจัดการน้าในแต่ละลุ่มน้า
อย่างบรู ณาการที่เชือ่ มโยงกับแผนพฒั นาท้องถิน่ อาเภอ และจังหวดั /กลุ่มจังหวัด เพื่อให้เกิดประสทิ ธิภาพการจดั การน้า

6. พฒั นาชมุ ชนใหเ้ ข้มแข็ง และส่งเสริมสิทธิชมุ ชนในการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน ตลอดจนสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมและพัฒนาศักยภาพของท้องถิ่นและชุมชนเพื่อให้เกิดความเป็นหุ้นส่วนใน
การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม

7. ส่งเสริมให้ชุมชน ท้องถิ่น และองค์กรภาคเอกชนเกิดการรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม เพือ่ ให้เกิดความตระหนักและทศั นคตทิ ี่เปน็ มิตรกบั ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

8. เพิ่มขีดความสามารถขององค์กรปกครองท้องถิน่ ในการกาจดั ขยะมลู ฝอยและการจัดการนา้ เสียชมุ ชน
9. ส่งเสริมบทบาทของชุมชนในการกาหนดเขตและการจัดการเชิงพื้นที่อย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่อนุรักษ์ที่มีความสาคัญในการรักษาสมดุล
ของระบบนิเวศ ให้คนกับปุาอยู่ร่วมกนั อย่างยั่งยืน
10. พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การจัดการองค์ความรู้ เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการวางแผนและพัฒนา
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
11. การสรา้ งรายได้จากการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพโดยการอนุรักษ์ การวิจัยและพัฒนาพันธุกรรม
ท้องถิ่นและพืชพืน้ บ้าน เพือ่ สร้างนวตั กรรมในการผลิตสนิ ค้าและบริการที่มีมูลค่าเพิม่ ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์
12. ส่งเสริมเกษตรกร ชุมชน และท้องถิ่นวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับท้องถิ่นในการใชพ้ ลงั งานทดแทน การผลิตพืชพลังงาน
ทดแทน การปลูกพืชพลงั งานทดแทนในที่ดินรกร้าง เพื่อสร้างรายได้ และลดรายจา่ ยด้านพลงั งาน
13. การจดั ทาแผนที่เพื่อบ่งชีพ้ ืน้ ที่เสีย่ งภยั ท้ังในระดับหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ และจังหวัด โดยจัดลาดับความสาคัญพื้นที่เสี่ยง เพื่อกาหนด
แนวทางเฝูาระวงั และแนวทางบรรเทาและปูองกันผลกระทบ
14. พฒั นาการจดั การภยั พิบตั ิให้มปี ระสิทธิภาพ สามารถรองรบั การเกิดภยั พิบตั ิทีร่ ุนแรงในอนาคต โดยใหค้ วามสาคัญกับการบูรณาการ
และสร้างเอกภาพในการบริหารจดั การ
15. พฒั นาระบบงานอาสาสมคั ร โดยการวางระบบเพือ่ ส่งเสริมการดาเนินงานของภาคส่วนต่างๆ ให้มมี าตรฐานตามหลักสากล
16. สนบั สนนุ ภาคเอกชน สถานประกอบการ โรงเรียน และท้องถิน่ ให้มีการเตรียมความพรอ้ ม จัดทาแผนปฏิบัติการรองรับภัยพิบัติ และ
การซกั ซ้อมรบั มอื ภัยพิบัติอย่างสมา่ เสมอ

35

17. พัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็งมีขีดความสามารถในการรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อให้สังคมมี
ภมู คิ ุ้มกัน

18. การถ่ายทอดองค์ความรเู้ กีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศให้ทุกภาคส่วนได้ทราบ เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนใน
การรว่ มกนั ดาเนินการแก้ไขและบรรเทาผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

19. สนับสนุนครัวเรือน ชุมชนตลอดจนส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วมในการผลิต การใช้
พลงั งานทดแทน

20. ส่งเสริมให้เกิดการลงทนุ ด้านพลังงานทดแทนอย่างเหมาะสมแก่ผผู้ ลิตและผใู้ ช้ท้ังในและต่างประเทศ
21. สง่ เสริมการลดต้นทนุ การผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพธรุ กิจพลังงานทดแทน
22. พัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ บริหารจัดการฐานข้อมลู ด้านพลังงานทดแทน
23. เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ขอ้ มลู ข่าวสาร องค์ความรแู้ ละข้อมูลสถิตพิ ลังงานทดแทน
24. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจด้านพลังงานทดแทน เพื่อสร้างความสามารถในการใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนท้ัง
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ
25. พัฒนาเครือขา่ ยด้านพลังงานทดแทนที่เกี่ยวข้องและสนบั สนนุ การมสี ่วนรว่ มของเครือขา่ ยท้ังในระดบั ประเทศและในระดับนานาชาติ

6.4 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การพัฒนาสงั คมและคุณภาพชวี ิตใหม้ ่ันคงตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เปา้ ประสงค์

ประชาชนดารงชีวติ อย่างมคี ณุ ภาพ มน่ั คง และปลอดภัย
ตัวชีว้ ดั /คา่ เป้าหมาย

1. สัมประสิทธิก์ ารกระจายรายได้ลดลง
2. จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มข้นึ
3. ค่าเฉลีย่ O-Net ทกุ ระดับเพิ่มข้ึน
4. สดั ส่วนคนจนลดลง
5. ร้อยละของผู้อยู่ในระบบประกันสังคมต่อกาลงั แรงงานเพิ่มขนึ้
6. จานวนองค์ความรภู้ มู ปิ ัญญาท้องถิน่ ไทยเฉลีย่ ต่อหมู่บ้านเพิ่มขนึ้
7. ร้อยละทีล่ ดลงของการเกิดคดีอาชญากรรมในพื้นที่

36

กลยทุ ธ์
1. การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
2. การสรา้ งภมู ิคมุ้ กันทางสงั คม
3. การพัฒนาความมน่ั คงและความปลอดภัยของสังคม

แนวทางการด้าเนินงาน
1. เพิ่มศักยภาพและส่งเสริมให้ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม มีบทบาทนาในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ประชาชน รวมทั้งร่วมกับ

ครอบครัว ชุมชน และสถาบนั การศึกษา ในการสร้างค่านิยมครอบครัวอบอุ่น และการพัฒนาเดก็ และเยาวชนใหเ้ ป็นคนดี มีคณุ ธรรมนาความรู้
2. สร้างเครือข่ายชุมชน/ท้องถิ่น และทุกภาคส่วน เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม เฝูาระวังทางวัฒนธรรมที่มีผลกระทบ

ต่อการเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรมและพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน และฟื้นฟูเผยแพร่สืบสานคุณค่าของวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม ซึ่งเป็นวิถีชีวิตที่ดี
งาม

3. สร้างโอกาสให้เด็กและเยาวชน และประชาชนผู้มีความรู้ความสามารถด้านวัฒนธรรมได้มีเวทีแสดงออก เผยแพร่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง
กลุ่มวฒั นธรรมต่างๆ ท้ังในระดบั ชมุ ชนและระดับท้องถิน่ อย่างต่อเนอ่ื ง

4. พฒั นาศกั ยภาพของเดก็ และเยาวชนให้มีขีดความสามารถที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาความรู้ทางวิชาการและสติปัญญาทาง
อารมณท์ ี่เข้มแขง็ รู้เท่าทันการเปลีย่ นแปลง เพือ่ ปูองกนั และแก้ไขปญั หาสงั คม

5. เสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่โดยส่งเสริมให้ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับชุมชน สามารถวางและจัดทาผังเมือง
การจัดบริการข้ันพื้นฐาน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่และความต้องการของ
ประชาชน ควบคู่กบั การบงั คับใช้กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับความปลอดภัยสาธารณะ และสิง่ แวดล้อมอย่างเคร่งครัด

6. ส่งเสริมสนบั สนนุ การดาเนินงานวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนจากสภาวฒั นธรรมหมู่บ้านสู่สภาวัฒนธรรมตาบล
7. ส่งเสริมให้เดก็ เยาวชนและประชาชนได้ปฏิบัติตามหลกั ธรรมทางศาสนา มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมหลัก 12 ประการ
8. ขยายโอกาสการมีงานทาและเพิม่ ทางเลือกในการประกอบอาชีพสาหรับประชาชนทุกกลุ่ม
9. ส่งเสริมและสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพโดยการจัดกิจกรรมและเพิ่มช่องทางให้ประชาชน
เข้าถึงกีฬาและนนั ทนาการ
10. ส่งเสริมและพฒั นากีฬาสู่ความเปน็ เลิศและกีฬาอาชีพโดยการพัฒนาและนาวิทยาศาสตรท์ างการกีฬามาใช้อย่างจริงจัง
11. ส่งเสริมให้ประชาชนทกุ กลุ่มวัยมีการออกกาลงั กายและเล่นกีฬาเป็นประจาเพื่อเสริมสร้างสขุ ภาพและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ

37

12. ส่งเสริมให้ประชาชนได้รบั การคุ้มครองการการประกนั สังคมอย่างทั่วถึง
13. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับสู่มาตรฐานสากล ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อการมีงานทาให้
สอดคล้องกับความตอ้ งการของท้องถิ่นในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยการมสี ่วนรว่ มของประชาชน ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสานึก
ค่านิยมหลัก 12 ประการ คุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
14. สร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษาสาหรับประชาชนให้เข้าถึงบริการการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ตลอดจนสร้างปัจจัยและ
สภาพแวดล้อมเพือ่ เอือ้ ต่อการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างตอ่ เนื่องให้กบั คนทุกช่วงวัย
15. ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษามุ่งสู่สากล พัฒนาระบบบริหาร
จดั การความรู้ เพือ่ การเรียนรใู้ ห้ทว่ั ถึงและเท่าเทียมกนั
16. สร้างความเสมอภาคและเพิม่ โอกาสเข้าถึงบริการการศึกษา และสร้างหลกั ประกันโอกาสทางการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากไร้และ
ผพู้ ิการ รวมทั้งพฒั นาเครือขา่ ยความร่วมมือในการให้บริการ และช่วยเหลือทางการศกึ ษาให้กบั ผยู้ ากไร้และผู้ดอ้ ยโอกาส
17. สนับสนุนการสร้างเครือข่ายร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน/วิสาหกิจชุมชน ในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ช่างท้องถิ่น ทักษะ
อาชีพสู่ชุมชน รวมท้ังการรับรองและตรวจสอบคณุ ภาพสินค้าชุมชน
18. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อรองรับการ
เปิดเสรีประชาคมอาเซียน
19. ส่งเสริมประชาชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข
สร้างกลไกชมุ ชนในการส่งเสริมประชาธิปไตยเพือ่ ให้เกิดความสมคั รสมานสามคั คีเป็นอนั หนง่ึ อันเดียวกนั
20. ส่งเสริมและสนับสนนุ องค์กรชุมชนและผนู้ าชมุ ชนให้มศี ักยภาพในการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสังคมของ
ชุมชน
21. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ในการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาชุมชน ผ่านกลไกการพัฒนาศักยภาพ
ของหมู่บ้านและชมุ ชน
22. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทุนชุมชนท้ัง 5 ด้าน ประกอบด้วย ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนธรรมชาติ และทุนการเงิน ให้มี
การบริหารจัดการที่ดี ตามหลักธรรมาภบิ าล
23. เพิ่มประสิทธิภาพของระบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้อย่างไม่เป็นอุปสรรค รวมท้ังพัฒนาระบบบริการ
สุขภาพใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐาน

38

24. พัฒนาระบบบริการ วิชาการและการบริหารจัดการทางการแพทย์และสาธารณสุข ให้มคี ณุ ภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
25. พัฒนาระบบเฝูาระวัง ปูองกันและควบคุมโรค รวมทั้งการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนโดยมุ่งเน้นการพัฒนาศัก ยภาพและความ
เข้มแขง็ ของเครือขา่ ย
26. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการประเมินความเสี่ยงและเตือนภัยสุขภาพ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพมาตรฐานประสิทธิภาพ และความ
ปลอดภัยของผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพ
27. สนับสนุนสร้างแรงจูงใจ ทักษะความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อรองรับการขยายภารกิจในการปฏิบัติงานด้านพฤติกรรม
สขุ ภาพและลดปัจจยั เสี่ยงต่อโรคเร้ือรงั โดยเชอ่ื มโยงการดาเนินการร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
28. พัฒนาคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานของรัฐแก่ประชาชน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเคร่ืองมืออันทันสมัยมาใช้ในการ
ให้บริการเชงิ รกุ เพือ่ อานวยความสะดวกใหแ้ ก่ประชาชน
29. พฒั นาสมรรถนะขา้ ราชการให้มีจิตสานึกสาธารณะ มาตรฐานด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ธรรมาภิบาล และทศั นคติ ทีเ่ อ้ือตอ่ การบริการประชาชน
30. สร้างจิตสานึกค่านิยม จรรยาบรรณ ของข้าราชการ ในการปฏิบัติราชการด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจน
ปูองกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบในวงราชการอย่างตอ่ เนื่อง
31. ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทาแผนพัฒนาในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังเสริมสร้างขีดความสามารถของอาเภอในการ
ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาในระดับชุมชน ตาบล และอาเภอ ให้สามารถเชื่อมโยงกับการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดเพื่อให้ระบบแผนและ
งบประมาณของจังหวัดสามารถแก้ไขปญั หาและพัฒนาพืน้ ที่ได้ตรงตามความต้องการของประชาชน
32. ส่งเสริมการพัฒนาหนว่ ยงานไปสู่องค์กรแหง่ การเรยี นรู้ พัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารทรัพยากรบุคคลไปสู่ระบบที่เป็นสากลและ
มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
33. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน/ประชาชนในการรักษาความสงบเรียบร้อยของหมู่บ้าน/ชุมชน การแก้ไขปัญหายาเสพติดในเชิงรุก
และพัฒนาระบบการเฝูาระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและคณะกรรมการ
หมบู่ ้าน (กม.)
34. เสริมสรา้ งสมรรถนะเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ในการแก้ไขปญั หาความขดั แย้งและระงับ
ข้อพิพาทเบื้องต้นรวมทั้งการรักษาความสงบเรียบร้อย เสริมสร้างความปลอดภัยและสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการปูองกันและปราบปราม
อาชญากรรมในพื้นที่

39

35. คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนและผู้บริโภคเชิงรุก เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการอานวยความยตุ ิธรรม

36. ส่งเสริมและสนับสนนุ การแก้ไขปญั หาในด้านต่างๆของประชาชนโดยศนู ย์ดารงธรรมจังหวัดและอาเภอ
37. สร้างภมู ิคมุ้ กนั ใหเ้ ดก็ และเยาวชนต่อการรองรบั สภาพปญั หายาเสพติดในสังคม
38. สร้างภมู ิคมุ้ กันและปูองกันในผู้ใหญ่และวัยแรงงาน
39. เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และผู้มีอิทธิพลในทุกๆ ด้าน ดาเนินการปูองกันมิให้กลุ่มเสี่ยงตกเป็นเหยื่อของยาเสพติด
ตลอดจนบาบัดฟื้นฟู ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดและติดตามช่วยเหลือให้สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของหมู่บ้าน/ ชุมชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาสังคม
40. สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในสังคมให้มามีส่วนร่วมในการปูองกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยให้สอดรับกับยุทธศาสตร์การปูองกัน
และแก้ไขปญั หายาเสพติดของรฐั บาล
41. บริหารจัดการอย่างบรู ณาการทุกภาคส่วนที่มปี ระสิทธิภาพ เอือ้ อานวยต่อการบาบัดฟืน้ ฟูสมรรถภาพโดยยึดผู้เสพเปน็ ศูนย์กลาง
42. สร้างและพฒั นาระบบรองรับสนับสนุนการคนื คนดีให้สงั คม

1.4 ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินจังหวดั ชัยภมู ิ
1. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา คนและสงั คมทม่ี ีคณุ ภาพ
พันธกิจ ส่งเสริมการพฒั นาการศกึ ษา ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม และภูมปิ ญั ญาท้องถิน่
เป้าประสงค์
1. เด็ก เยาวชน และประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รับการศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพมากขึ้น
2. ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม และภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ได้รับการสบื สานคุณค่า
ตวั ชี้วัดระดับเป้าประสงค์
1. ระดบั ผลการประเมินคณุ ภาพ การศกึ ษาของท้องถิ่น
2. ร้อยละของเด็กและเยาวชนทีไ่ ด้ศกึ ษาต่อในสถาบันการศกึ ษาที่มชี ื่อเสียงเพิ่มขนึ้
3. ร้อยละของสถานศึกษาในสังกดั อปท.ทีม่ ผี ลการประเมินคุณภาพได้ตามเกณฑม์ าตรฐาน
4. ระดับผลการประเมินความคงอยู่และการสบื สานคุณค่าด้านศาสนาศลิ ปวฒั นธรรมและภูมิปัญญาท้องถิน่

40

กลยทุ ธ์/แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วดั ระดบั กลยุทธ์

กลยุทธ์/แนวทางการพฒั นา ตวั ชี้วดั ระดับกลยทุ ธ์

1. มีศนู ย์ความเป็นเลิศทางการศกึ ษาทีเ่ ทียบเคียงระดับประเทศ ระดับผลการประเมินคุณภาพ การศกึ ษาของท้องถิน่

2. สร้างแรงจูงใจให้ครูดี ครูเก่ง มาร่วมจัดการเรียนการสอนที่จังหวัด ร้อยละของสถานศึกษาในสังกดั อปท.ทีม่ ผี ลการประเมินคณุ ภาพได้ตาม

ชัยภูมิมากขึ้นและส่งเสริมขีดความสามารถของครูและบุคลากร เกณฑม์ าตรฐาน

ทางการศึกษาที่มอี ยู่ในปจั จุบนั

3. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ (ICT) ในการเชื่อมโยงการ ระดบั การเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ(ICT)

จัดการเรยี นการสอนที่มีคุณภาพเข้าสจู่ ังหวัดชยั ภมู ิ

4. ส่งเสริมและสนับสนุนการปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียน ร้อยละของเด็กและเยาวชนที่ได้ศกึ ษาต่อในสถาบันการศกึ ษาที่มีชื่อเสียง

การสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ เพิม่ ขึน้

5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น และปราชญ์ชาวบ้านใน ระดับผลการประเมินความคงอยู่และการสืบสานคุณค่าด้านศาสนา

การอนุรกั ษ์ศิลปวัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ศิลปวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ

6. ส่งเสริมการพัฒนาขีดความสามารถของเยาวชนและแรงงานฝีมือ ระดับผลการประเมินคณุ ภาพ การศกึ ษาของท้องถิน่

ในท้องถิ่นให้มีขีดความสามารถพร้อมรองรับการก้าวสู่ประชาคม

อาเซียน

หน่วยงานรบั ผิดชอบหลกั

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจงั หวดั ชยั ภูมิ

ความเชือ่ มโยง

ยุทธศาสตร์จงั หวดั ชยั ภูมิ : ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พัฒนาสังคมและคุณภาพชวี ิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

41

2. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและความเปน็ อยู่ของประชาชนให้เขม้ แข็งและยั่งยืน

พนั ธกิจ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน

เปา้ ประสงค์

1. ปัญหาการเจ็บปุวยด้วยโรคพืน้ ฐานทว่ั ไปของประชาชนในจงั หวัดลดลง

2. รายได้ตอ่ ครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น

3. ปัญหาดา้ นยาเสพติดและอาชญากรรมลดลง

ตัวชีว้ ดั ระดับเป้าประสงค์

1. ร้อยละของผู้เจบ็ ปุวยด้วยโรคสาคญั ที่เป็นปัญหาสาธารณสขุ ในพืน้ ทีล่ ดลง

2. ร้อยละของรายได้เฉลี่ยต่อเดอื นของครัวเรือนทีเ่ ข้าร่วมโครงการเพิม่ ข้นึ

3. ร้อยละของคดีความด้านยาเสพติดต่อปีลดลง

4. ร้อยละของคดีความด้านอาชญากรรมตอ่ ปีลดลง

กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา และตัวชีว้ ัดระดับกลยทุ ธ

กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา ตวั ชี้วัดระดับกลยุทธ์

1. ส่งเสริมการแก้ปัญหาสาคัญด้านสาธารณสุขพื้นฐานของจังหวัด ร้อยละของผู้เจ็บปุวยด้วยโรคสาคัญที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่

ชยั ภมู ิ ลดลง

2. ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจ ร้อยละของรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

สร้างสรรค์ เพิ่มขึน้

3. สร้างชุมชนเข้มแข็ง มีเอกภาพ และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ร้อยละของคดีความด้านยาเสพติดต่อปีลดลง

อาชญากรรมและยาเสพติดในพนื้ ที่

หน่วยงานรบั ผิดชอบหลัก

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวดั ชยั ภมู ิ

ความเชื่อมโยง

ยุทธศาสตรจ์ ังหวัดชยั ภูมิ : ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พัฒนาสงั คมและคณุ ภาพชวี ิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

42

3. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถดา้ นการเกษตร
พนั ธกิจ พัฒนาศกั ยภาพและขดี ความสามารถภาคการเกษตร
เปา้ ประสงค์

1. สินค้าการเกษตรหลักมีผลผลติ ต่อไร่สงู ขนึ้
2. สินค้าการเกษตรทีเ่ ปน็ ความหวังในอนาคตมผี ลผลิตตอ่ ไร่สูงข้นึ
3. รายได้ภาคเกษตรตอ่ ครัวเรือนเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการเพิม่ มากขึ้น
ตวั ชี้วดั ระดับเปา้ ประสงค์
1. ร้อยละของแปลงขา้ วหอมมะลิมาตรฐาน GAP เพิ่มขึน้
2. ร้อยละของผลผลิตมันสาปะหลงั ตอ่ ไร่เพิม่ ขึน้
3. ร้อยละของผลผลติ อ้อยโรงงานต่อไร่เพิม่ ขึน้
4. ร้อยละของผลผลติ พริกต่อไร่เพิ่มข้นึ
5. ร้อยละของผลผลติ ยางพาราต่อไร่เพิ่มข้นึ
6. จานวนเกษตรกรที่เลยี้ งโคเนือ้ พันธุ์โคราชวากิว
7. จานวนเกษตรกรทีเ่ ลยี้ งไก่บ้านโคราช
8. ร้อยละของรายได้เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการขา้ วหอมมะลิเพิ่มข้ึน
9. ร้อยละของรายได้เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการมันสาปะหลังเพิม่ ข้นึ
10.ร้อยละของรายได้เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการออ้ ยโรงงานเพิ่มขึ้น
11.ร้อยละของรายได้เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการพรกิ เพิ่มข้ึน
12.ร้อยละของรายได้เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการยางพาราเพิ่มขึน้
13.ร้อยละของรายได้เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการโคเนื้อพนั ธุ์โคราชวากิวเพิม่ ขนึ้
14.ร้อยละของรายได้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการไก่บ้านโคราชเพิม่ ขนึ้

43

กลยุทธ์/แนวทางการพฒั นา และตวั ชี้วดั ระดับกลยุทธ์

กลยทุ ธ์/แนวทางการพฒั นา ตวั ชีว้ ดั ระดบั กลยทุ ธ์

1. ส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่ในพืชหลัก ได้แก่ ร้อยละของผลผลติ ข้าว อ้อย และมันสาปะหลงั ตอ่ ไร่เพิม่ ขนึ้

ข้าว อ้อย และมันสาปะหลัง

2. ส่งเสริมการผลิตพชื และสัตว์เศรษฐกิจที่เปน็ ความหวังในอนาคต ได้แก่ จานวนเกษตรกรที่ผลิตพืชและสัตว์เศรษฐกิจที่เป็นความหวังใน

พริก ยางพารา โคเนือ้ โคราชวากิว และไก่บ้านโคราช อนาคตเพิม่ ข้นึ

3. สร้างโอกาสและเพิ่มมลู ค่าสินค้าเกษตรปลอดภยั ร้อยละของรายได้เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มข้นึ

หนว่ ยงานรบั ผิดชอบหลัก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจงั หวดั ชัยภูมิ
ความเชื่อมโยง
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยภูมิ : ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาขีดความสามารถในการผลิตการจัดการสินค้าและบริการ สร้างมูลค่าเพิ่มอย่างมี
ประสิทธิภาพ และยง่ั ยืน

4. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาศักยภาพการทอ่ งเที่ยว
พนั ธกิจ พัฒนาศกั ยภาพด้านการท่องเทีย่ ว
เปา้ ประสงค์
1. นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาสู่จงั หวัดชัยภูมิมากขึ้น
2. รายได้จากการท่องเทีย่ วเพิม่ สงู ขึน้
ตวั ชี้วัดระดบั เปา้ ประสงค์
1. ร้อยละนักท่องเที่ยวของจงั หวดั ชยั ภมู ิเพิ่มข้นึ
2. ร้อยละของเงนิ รายได้จากการท่องเที่ยวต่อปีเพิม่ ข้นึ
กลยทุ ธ์/แนวทางการพฒั นา และตัวชี้วัดระดับกลยทุ ธ์

44

กลยทุ ธ์/แนวทางการพัฒนา ตัวชีว้ ดั ระดบั กลยทุ ธ์

1. ส่งเสริมและเร่งรัดการประชาสัมพันธ์เชิงรุกด้านการท่องเที่ยว ร้อยละนักท่องเทีย่ วของจังหวัดชยั ภมู ิเพิ่มข้นึ

จงั หวัดชัยภูมิให้เป็นรปู ธรรม

2. ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวเดิม และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ให้ได้ ร้อยละนกั ท่องเที่ยวของจังหวัดชัยภมู ิเพิม่ ข้นึ

มาตรฐานมีความปลอดภัย และมีภมู ิทัศนท์ ีโ่ ดดเด่นเปน็ เอกลกั ษณ์

3. ปรับปรุงและพัฒนาตัวเมืองชยั ภมู ิใหน้ ่าอยู่ เกิดอัตลักษณ์ที่โดดเด่น ร้อยละนกั ท่องเที่ยวของจังหวัดชยั ภมู ิเพิม่ ข้นึ

และยงั คงความเปน็ แหล่งภมู ปิ ัญญาดั้งเดิมเพื่อดึงดูดนกั ท่องเทีย่ ว

4. พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม วิถีชีวิต ความ ร้อยละนกั ท่องเที่ยวของจังหวดั ชยั ภมู ิเพิม่ ข้นึ

เคารพและศรัทธาต่อเจา้ พ่อพระยาแล

5. พัฒนาจังหวัดชัยภูมิให้เป็นแหล่งปลูกไม้ดอก ไม้ประดับสาคัญของ ร้อยละนกั ท่องเทีย่ วของจังหวดั ชยั ภูมิเพิ่มข้นึ

ประเทศ

6. ส่งเสริมขีดความสามารถของบุคลากรด้านการท่องเที่ยวภาครัฐ ร้อยละของเงนิ รายได้จากการท่องเทีย่ วต่อปีเพิม่ ข้นึ

และภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่น

หน่วยงานรบั ผิดชอบหลัก

องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จงั หวดั ชัยภมู ิ

ความเชื่อมโยง

ยทุ ธศาสตร์จังหวดั ชยั ภูมิ : ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาการท่องเทีย่ วใหม้ ีคุณภาพได้มาตรฐาน

5. ยุทธศาสตร์การส่งเสรมิ การอนุรักษแ์ ละใชพ้ ลังงานอย่างมีคุณค่า
พันธกิจ ส่งเสริมการอนุรักษ์และใชพ้ ลงั งานอย่างมคี ุณค่า
เป้าประสงค์

45

1. ชุมชนพึ่งพาตนเองด้านพลงั งานทดแทนของชมุ ชนได้มากขึ้น
2. ท้องถิน่ มีรายได้จากการผลิตและจาหน่ายพลงั งานทดแทน
3. ชุมชนให้ความตระหนกั และร่วมมือกันใชพ้ ลังงานอย่างประหยดั และมีคุณค่า

ตวั ชีว้ ัดระดับเปา้ ประสงค์

1. จานวนวิสาหกิจชมุ ชนทีน่ าพลังงานสะอาดมาใช้

2. จานวนครวั เรือนที่นาพลังงานสะอาดมาใช้

3. ร้อยละของรายได้ทีเ่ กิดจากการผลิตและจาหน่ายพลงั งานทดแทนของชมุ ชนเพิ่มขึ้น

4. ระดับผลการประเมินชมุ ชนในด้านความตระหนักและใช้พลงั งานอย่างประหยัดและมีคณุ ค่าตามเกณฑท์ ีก่ าหนด

กลยทุ ธ์/แนวทางการพฒั นา และตัวชีว้ ดั ระดบั กลยทุ ธ

กลยุทธ์/แนวทางการพฒั นา ตวั ชี้วัดระดบั กลยุทธ

1. ส่งเสริมและสนบั สนนุ ชุมชนสร้างพลังงานเพือ่ เศรษฐกิจชุมชน จานวนวิสาหกิจชุมชนทีน่ าพลังงานสะอาดมาใช้

2. พัฒนาการบริหารจดั การพชื พลงั งานอย่างครบวงจร จานวนครัวเรือนที่นาพลังงานสะอาดมาใช้

3. ส่งเสริมและสนับสนุนการร่วมลงทุนกับภาคเอกชน ในการผลิต ร้อยละของรายได้ที่เกิดจากการผลิตและจาหน่ายพลังงานทดแทนของ

พลังงานทดแทน ชมุ ชนเพิม่ ขนึ้

4. ส่งเสริมการสรา้ งความตระหนกั ในการใชพ้ ลงั งานอย่างมีคณุ ค่า ระดับผลการประเมินชุมชนในด้านความตระหนักและใช้พลังงานอย่าง

ประหยดั และมีคุณค่าตามเกณฑท์ ี่กาหนด

หนว่ ยงานรับผิดชอบหลัก

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดชัยภูมิ

ความเชือ่ มโยง

ยุทธศาสตร์จงั หวัดชยั ภูมิ : ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมแบบมีสว่ นร่วมอย่างยงั่ ยืน

6. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพือ่ รองรับการเป็นศูนย์กลางทางการตลาด
และการเชือ่ มโยงสู่ประเทศในประชาคมอาเซียน


Click to View FlipBook Version