The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2022-05-10 04:59:19

คู่มือนักศึกษา 65

คู่มือนักศึกษา 65

วิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย

Dansai Industrial and Community Education College

ค่มู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

ค่มู ือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

คมู่ ือนักเรยี น นักศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

คำนำ

คู่มือนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย ที่ได้จัดทำข้ึนในคร้ังนี้ ได้แก้ไขปรับปรุงตาม
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ด้วยการจดั การศกึ ษาตามหลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศักราช 2562
และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง
พทุ ธศกั ราช 2563 เพ่อื ให้นักเรยี น นักศึกษา ผูป้ กครอง ประชาชน และผทู้ ่ีสนใจท่ัวไปได้ศึกษา ทำความเขา้ ใจ
เก่ียวกับ การจัดการเรียนการสอน การลงทะเบียนเรียน สวัสดิการต่างๆ ตลอดจนการควบคุมติดตามดูแล
ความประพฤติ และพฤติกรรมของนักเรยี น นักศึกษา ให้เป็นผู้มีคุณธรรม นำความรู้ สามารถนำไปประกอบ
อาชพี และศกึ ษาตอ่ เป็นพลเมืองดีของชาตติ อ่ ไป

เอกสารคู่มอื นักเรียน นักศึกษา ฉบบั น้ีจงึ เป็นแนวทางในการชแ้ี นะแนวทาง ขณะท่ีศึกษาอยู่ใน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้ายจนกว่าจะจบการศึกษา รวมท้ังผู้ปกครองและประชาชนท่ัวไป ยังสามารถใช้
ประกอบการติดตามดูแลพฤติกรรมตลอดจนการเล่าเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่อยู่ในความปกครองดูแล
ของทา่ นอกี ทางหนง่ึ วิทยาลยั ฯ หวงั เป็นอย่างย่งิ ว่าเอกสารเลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ต่อท่านได้เป็นอย่างดี

วทิ ยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย
2 พฤษภาคม 2565

คูม่ อื นักเรยี น นักศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

สารบญั

เรอื่ ง หนา้

ขอ้ แนะนำสำหรบั นกั เรยี น 1
การลงทะเบยี นเรียนประจำภาคเรียน 1
การถอนรายวชิ า 1
3
การใหบ้ ริการ การฝึกงาน งานทวภิ าคี 4
การใช้บริการห้องพยาบาล 5
การรับบรกิ ารจากงานแนะแนว 5
บริการการทำประกนั อบุ ัตเิ หตุ 6
8
การลาของนกั เรียน – นกั ศึกษา 10
ระเบียบฯ การจัดการศึกษาและประเมินผลการเรยี นตามหลักสูตร (ปวช.) พ.ศ. 2562 11
การลาพักการเรียน 12
การสอบ 15
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการประเมนิ ผลการเรยี น พุทธศักราช 2562 16
17
การโอนผลการเรยี น
การพ้นสภาพและการกลับเขา้ เรยี นของผู้พ้นสภาพ 19
หลกั เกณฑ์การใช้หลกั สูตร ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สงู พุทธศกั ราช 2563 24
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ ว่าด้วยการจัดกิจกรรมในสถานศึกษาสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 26

พ.ศ 2532 28
ปรชั ญาของวทิ ยาลัย 31
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548 31
ระเบียบวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้ายวา่ ดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวิธตี ัดคะแนนความประพฤติ
นกั เรียนนกั ศึกษาพ.ศ. 2565 32
33
ระเบยี บวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย ว่าดว้ ยการเขา้ แถวเคารพธงชาติ พ.ศ. 2565
ระเบยี บวทิ ยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย ว่าด้วยการทำความเคารพครู-อาจารย์ พ.ศ. 2565 33
ระเบียบวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย วา่ ดว้ ยการปฏิบัติตนของนักเรยี นนกั ศกึ ษาโดยทวั่ ไป 35
ในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2565

ระเบยี บวทิ ยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย วา่ ด้วยการเรยี นภาคปฏิบตั ิของนกั ศึกษา
ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยเครอ่ื งแบบนักเรยี นและนักศึกษา ของสถานศกึ ษาในสงั กดั กรม
อาชวี ศกึ ษา(เดิม)
ระเบยี บวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย วา่ ดว้ ยการแต่งกายนักเรียน นกั ศึกษา พ.ศ. 2565

คู่มอื นักเรยี น นักศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

ประวตั ิการจดั ตงั้

วทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กรมอาชวี ศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร ประกาศจัดต้ังโดยกระทรวงศึกษาธกิ าร ตงั้ แตว่ ันท่ี 11 สิงหาคม 2536 โดนายสังข์ทอง
ศรีธเนศ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ประกาศ วิทยาลยั การอาชีพด่านซ้าย มีเนื้อท่ี 101 ไร่
ตั้งอยู่ที่ บ้านโคกงาม ตำบลโคกงาม อำเภอดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย และได้ดำเนินการกอ่ สร้างอาคารต่าง ๆ ดว้ ย
เงินงบประมาณแปรญัตติเพิ่มเติม พุทธศักราช 2536 – 2538 จำนวนเงิน 27,969,800 ( ยสี่ ิบเจ็ดลา้ นเก้า
แสนหกหมื่นเก้าพันแปดร้อยบาทถ้วน ) โดยนายวัชรินทร์ เกตะวันดี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจงั หวัดเลย
เขต 1 พรรคประชาธิปัตย์ เปน็ ผแู้ ปรญัตติ ซึง่ สญั ญาการกอ่ สร้างเริ่ม 19 มีนาคม 2537 สิ้นสุดสัญญา
31 กรกฎาคม 2538 วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้ายเปิดรับสมัครนักเรียน รุ่นท่ี 1 ในภาคเรียนท่ี 1 ปี
การศกึ ษา 2538 เป็นตน้ มา

สถานที่ต้งั

วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 231 หมู่ท่ี 1 ถนนเลย – ด่านซ้าย
บ้ าน โคก งาม ตำบ ลโคก งาม อ ำเภ อด่ าน ซ้ าย จั งห วัดเลย รหั ส ไป รษ ณี ย์ 4212 0
โทรศพั ท์ 0 – 4207 – 8123-4 โทรสาร 0 – 4207 – 8123-4 บนเนือ้ ท่ี 101 ไร่

คู่มือนกั เรียน นกั ศึกษา ปีการศึกษา 2565

คณะผ้บู รหิ าร

ว่าทร่ี ้อยเอก อเนก แสนมหาชัย
ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั การอาชีพด่านซ้าย

091 – 0622626

นายมณู ดีตรุษ นางสาวสธุ านี โสโท
รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร รองผู้อำนวยการฝ่ายพฒั นากิจการนักเรยี น นักศึกษา

ฝา่ ยวชิ าการ ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ
081-369-1753 087-222-7600

ข้าราชการ

นางสาวสายสุณี ศรวี ิเชยี ร นายสเุ มธ โยทุม ว่าที่รอ้ ยตรบี รรพต ไชยคีนี นางสุทธิษา สุคนธชาติ
091-865-3899 085-744-1923 088-540-1299 097-343-9586

นางสาวพรชนนั ปุระมงคล นายศราวุฒิ วงษ์เดือน น.ส.กมลทิพย์ อภิลกั ษณส์ นั ติ
095-605-4536
084-828-8678 083-264 1964

คมู่ อื นกั เรียน นกั ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565

พนักงานราชการ

นายสมโชค เพชรประสิทธ์ิ นายมานชิ โนรนิ ทรย์ า นายอภิชิต สงิ ห์สถติ ย์ นางพนมจนั ทร์ เพชรประสิทธ์ิ
085-465-8001 086-863-6771
086-223-7465 087-220-0799

นางสาวนติ ยา มาตย์คำ นางพมิ สมร สอนสภุ าพ นายอรณุ วงั นวล นายสุรยิ ะ ลาดเงิน
081-873-0715 080-064-5114 089-277-9323 090-846-8846

นายอนนั ต์ สุวรรณชาติ นายวชั รพล พาณชิ ย์
098-715-5858 083-085-4170

คู่มือนกั เรียน นักศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565
ครูพิเศษสอน

นางสาวบญุ ช่วย บวั ชื่น วา่ ทรี่ อ้ ยตรี หริน พงษส์ งิ ห์ นายศิลาวุฒิ ดอบุตร นายสรศกั ดิ์ โสประดษิ ฐ์
081-739-9909 091-837-3085 065-316-9643 099-948-1539

นางสาวสุวรรณา ฟักคำ นางสาวพมิ พ์พิไล ชาญภูผา นายพิษณุ โพธิ์หล้า นางบษุ ราคัม สงิ ห์สถติ
082-400-3895 099-023-6241 088-039-0108
081-056-4415

นางสาวปลิตา พรหมมาวนั นายโกวทิ ย์ ปัญญาใจ สิบเอกสุกฤษฎิ์ ศรธี รรมมา
092-699-8542 093-051-6091 098-796-0650

คูม่ อื นกั เรียน นักศกึ ษา ปีการศึกษา 2565

พนักงานบริการ

นายฉลอง นนทะโคตร นายจนิ ดา ปงเมืองแกว้ นายชาญชัย นนทการ นางพรทิพย์ อินปลดั
096-907-9873 082-862-1462 084-420-5508 082-856-2197

นายสมชาย อนิ ปลัด นายไพฑูรย์ หุมอาจ นางละเอยี ด พรมโสภา นางจันทร์โฮม รบบำรุง
081-059-9928 064-179-6881 092-508-3460 088-539-5305

คมู่ ือนักเรยี น นักศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

เจา้ หน้าท่ี

นางสาวมารณิ ี สีทาสังข์ นางสาวสายใจ ยศปัญญา นางสาวขนษิ ฐา ทองเล่ือน นางสาวนยิ ดา โสประดิษฐ์
089-570-4094
086-238-6675 080-187-5100 090-339-1783

นางประกายเพชร โยทุม นายทศพร แงวกดุ เรือ นางสาวพนิดา ครนุ นั ท์ น.ส.ปภาวรนิ ทร์ แงวกดุ เรือ
090-589-8348 097-730-1925 085-465-9287 095-662-5396

นายนฤเดช ไพศาลธรรม นางสาวหทัยรตั น์ วนั ทองสขุ นางสาวจริ าพร เชอ้ื บุญมี นางสาวรตั ติพร โสประดษิ ฐ

061-095-8424 097-945-6263 094-942-6974 080-189-9667

นางสาวสดุ ารัตน์ สงิ ห์สถติ ย์ นางสาวมัชนก แถวอุทุม น.ส.ณรชั ต์หทยั ธนภัทรช์ ญานนั ท์ นายจกั รพงษ์ อนิ ทรสวุ รรณ
081-688-4658
061-071-4617 098-936-4746 089-852-6576

นายฉลอง พระลักษณ์
098-796-0650

ค่มู ือนักเรยี น นักศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

ข้อแนะนำสำหรับนกั เรียน
ในการติดตอ่ กบั หน่วยงานของวิทยาลยั

การลงทะเบียนเรียนประจำภาคเรยี น

1. พบอาจารยท์ ่ีปรึกษาเพอื่ รับบัตรลงทะเบียนประจำภาคเรียน
2. กรอกรายละเอยี ดลงในชอ่ งว่างทีก่ ำหนดใหค้ รบถ้วนถกู ต้อง
3. นำบตั รลงทะเบยี นไปใหอ้ าจารยท์ ่ีปรกึ ษาเซ็นอนมุ ตั ิ
4. นำบัตรลงทะเบียนท่ีไดร้ ับอนมุ ัตแิ ล้วไปชำระเงินบำรุงการศกึ ษา (ถ้าลงทะเบียนต่างจากกลมุ่ เรยี น
ต้องให้เจ้าหนา้ ท่ที ะเบียนคิดเงนิ ใหม่)
5. นำบัตรลงทะเบยี นใบเสร็จเงินค่าบำรงุ การศกึ ษาไปเปน็ หลักฐานเพื่อชำระเงนิ คา่ ชมรมฯ ต่อไป
6. นำเอกสารตามขอ้ 5 ไปส่งท่งี านทะเบยี น เพอื่ แสดงการลงทะเบียนพร้อมรับหลักฐานการ
ลงทะเบียนในสว่ นของนักเรียน - นักศกึ ษาคืนและเกบ็ ไวเ้ ป็นหลักฐานในการเข้าช้ันเรยี น
7. นกั เรียน – นักศึกษา ทม่ี ีปญั หาเร่อื งเงินค่าลงทะเบียนให้นำผปู้ กครองทแ่ี ท้จริงมาพบหัวหน้างาน
ทะเบยี นเพ่ือทำสญั ญาขอผ่อนผันการชำระเงินกับทางวทิ ยาลยั โดยแบ่งชำระออกเป็น 2 งวด งวดแรกในวัน
ลงทะเบียน งวดท่ี 2 ภายในภาคเรยี นกอ่ นสอบปลายภาค

การลงทะเบยี นเพ่มิ วิชาเรียน

1. ตรวจสอบรายวชิ าและตารางสอนของรายวชิ าท่ีจะเรียนเพมิ่ กบั งานหลักสูตร
2. รบั บัตรลงทะเบยี นเพม่ิ จากงานทะเบียน
3. พบอาจารยท์ ่ีปรึกษา เพอื่ ใหเ้ ซ็นอนมุ ตั กิ ารลงทะเบียนเพิม่
4. พบหวั หนา้ งานหลักสูตรตรวจสอบตารางสอน (ต้องไมซ่ ้ำซอ้ นกันกับตารางเรียนเดมิ ของนกั เรยี น)
และลงรายวิชาเพิม่ ไม่เกินจำนวนตามที่งานหลักสูตรกำหนด
5. พบเจ้าหนา้ ทีท่ ะเบียน กำหนดจำนวนเงินค่าลงทะเบยี น
6. พบเจ้าหน้าที่การเงิน ชำระเงนิ ค่าลงทะเบียนรายวชิ า
7. ส่งบัตรลงทะเบียนเพ่มิ ทีง่ านทะเบียน และรบั หลักฐานการลงทะเบียนเพมิ่

การลงทะเบียนกจิ กรรม

ตามระเบยี บว่าดว้ ยการจดั กิจกรรมชมรมของกรมอาชีวศกึ ษา ในระหวา่ งท่ีกำลังศึกษาอยู่ นกั เรยี น –
นักศกึ ษา จะต้องชำระค่าลงทะเบียนชมรมทกุ ปกี ารศึกษา ปลี ะ 200 บาท และมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมชมรมไม่
น้อยกวา่ 60 % และตอ้ งมีผลการเรยี นผา่ นกิจกรรมชมรมทุกภาคเรียนจึงจะจบการศกึ ษาตามหลักสตู ร

การถอนรายวิชา

(ก.) ถอนรายวิชาในกำหนด ปฏบิ ตั ดิ งั นี้
1. ขอบัตรถอนรายวชิ าจากงานทะเบยี น
2. พบอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาเซ็นอนมุ ัตถิ อนรายวชิ า
3. พบอาจารยผ์ ู้สอนประจำวชิ า เซ็นรบั ทราบการถอนรายวชิ า
4. สง่ บัตรถอนรายวิชาท่ีงานทะเบียนและรับหลกั ฐานแสดงการถอนรายวิชา

(ข.) การถอนรายวิชาหลังกำหนด กระทำได้ในกรณที ีน่ ักเรียน – นักศึกษาเจ็บปว่ ยแพทย์สงั่ ให้พกั
รักษาตัวเป็นระยะเวลานาน หรอื เกดิ อุบัตเิ หตแุ กร่ ่างกายไมส่ ามารถเรียนไดใ้ นภาคเรยี นนั้น

1. พบอาจารย์ทป่ี รกึ ษา ทำคำร้องขอถอนรายวิชาชีพพร้อมท้งั แสดงหลักฐานต่าง ๆ (ใบรับรองแพทย์
หรอื อืน่ ๆ)

1

คมู่ ือนักเรยี น นักศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

2. สง่ หลกั ฐานตามข้อ 1 ที่งานทะเบียน งานทะเบียนจะเสนอเรื่องขออนุมตั จิ ากผอู้ ำนวยการ
3. คำร้องตามข้อ 1 ได้รับการอนมุ ตั ิแลว้ จงึ ทำบัตรขอถอนรายวชิ า
4. แจ้งอาจารยท์ ีป่ รึกษา อาจารยผ์ ู้สอนรายวชิ า
5. สง่ บตั รถอนรายวิชาทีง่ านทะเบียน และรบั หลกั ฐานการถอนรายวิชา
การรกั ษาสภาพนกั เรยี น – นักศกึ ษา
1. มาตดิ ตอ่ งานทะเบียนภายใน 2 สปั ดาหห์ ลังเปดิ ภารเรยี น ขอรับใบคำร้องรักษาสภาพ
2. พบอาจารยท์ ป่ี รึกษา หวั หน้าแผนก งานทะเบียน เพ่อื ขออนุมตั ิ
3. ชำระเงนิ ค่าธรรมเนียมรกั ษาสภาพ กบั งานการเงิน
4. นำใบคำร้องพร้อมใบเสร็จรับเงินมามอบใหง้ านทะเบยี น และรับหลักฐานการรกั ษาสภาพประจำ
ภาคเรยี นนั้น ๆ (รักษาสภาพตดิ ต่อกันไม่เกนิ 2 ภาคเรยี น)
การขอกลับเข้าศึกษาต่อ (ออกไม่เกิน 1 ปี)
1. มาพบหวั หนา้ งานทะเบียน เพ่อื ทำคำรอ้ งของกลับเขา้ เรยี น
2. คำร้องจะนำเสนอขอความเห็นชอบจากงานทะเบียนและแผนกวิชา งานทะเบียนเสนอขออนุมัติ
ผอู้ ำนวยการ
3. คำร้องขอตามข้อ 2 ได้รับอนุมัติแล้วให้นักเรียนพาผู้ปก ครองมาทำสัญญาการเป็นนักเรียน
นกั ศกึ ษา 2 ฉบบั ทีง่ านทะเบียนและแผนกวชิ า
4. ลงทะเบยี นเรยี นในภาคเรียนปกติ
การขอเลอื่ นสอบปลายภาค
นักเรยี น – นักศกึ ษา ที่มีเหตจุ ำเป็นเจบ็ ปว่ ยเกิดอบุ ัติเหตรุ ะหวา่ งสอบปลายภาค ไม่สามารถสอบได้ ให้
ผปู้ กครองนำหลักฐาน เช่น ใบรับรองแพทยม์ าติดต่อกบั ประธานกรรมการสอบปลายภาค ณ วิทยาลัยฯ ภายใน
วนั สอบ เพื่อทำหลกั ฐานและเม่ือได้รับอนมุ ัตแิ ลว้ จงึ จะเลื่อนการสอบได้ (มิฉะน้ันต้องเรยี นใหม)่
การสอบทดแทนหรือทำรายวิชาใหส้ มบูรณ์ (มส.)
1. ตรวจสอบรายช่อื ว่าไดร้ ับอนุมัตใิ ห้เลอื่ นสอบหรือทำรายวชิ าให้สมบรู ณท์ ง่ี านวัดผล
2. ขอใบคำรอ้ ง มส. จากงานวดั ผล
3. พบอาจารย์ผูส้ อนกำหนดวัดสอบ
4. พบงานทะเบียนกำหนดวงเงนิ ท่ีตอ้ งชำระ
5. พบเจา้ หนา้ ทีก่ ารเงินเพื่อชำระเงิน
6. นำใบคำรอ้ งเข้าสอบตามกำหนดของอาจารย์ผู้สอนและมอบใบคำร้องแก่อาจารย์ผู้สอนทำการสอบ
ใหร้ ะดบั คะแนน
7. อาจารย์ผู้สอนนำใบคำร้องเสนอหวั หนา้ แผนก หัวหนา้ งานวดั ผลดำเนินการตามระเบียบ
การสอบแก้ตวั (เฉพาะระดับ ปวช.)
1. ขอใบคำร้องสอบแกต้ ัวท่ีงานทะเบียน ภายในกำหนดของวทิ ยาลัยฯ
2. พบอาจารย์ผสู้ อนเซ็นอนุมตั แิ ละกำหนดวันสอบ
3. พบเจา้ หน้าท่ีทะเบียน กำหนดคา่ ธรรมเนยี มสอบแกต้ ัว
4. ชำระเงินกับเจ้าหน้าทีก่ ารเงิน
5. นำใบคำรอ้ งทช่ี ำระเงินแล้ว เขา้ สอบและมอบใหแ้ ก่อาจารยผ์ ู้สอน
การเปลยี่ นช่ือตวั ช่ือสกุล ฯลฯ
1. เขียนคำร้องขอเปลย่ี นชือ่ ตัว ชอ่ื สกุล ฯลฯ ใหช้ ดั เจน

2

คมู่ อื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

2. ถ่ายสำเนาเอกสารหลักฐานประกอบคำร้องทกุ ครงั้
การขอใบรับรองการเป็นนักเรียน - นกั ศกึ ษา

1. เขียนคำร้องทง่ี านทะเบยี น
2. ถ่ายสำเนาเอกสารหลกั ฐานประกอบคำรอ้ งทุกครัง้
3. ตดิ ตอ่ ขอใบรบั รองภายหลังสง่ คำรอ้ งประมาณ 3 วนั ทำการ
การขอเอกสารรบั รองผลการศกึ ษา (รบ.1)
1. เขียนคำรอ้ งขอ รบ.1
2. ชำระคา่ ธรรมเนียม ฉบบั ละ 10 บาท (ทัง้ สำเร็จแล้วและกำลังเรียน)
3. สง่ รูปถา่ ย ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 1 รูป
4. ตดิ ตามเอกสารและขอรบั ภายใน 3 วนั หลังจากส่งคำรอ้ ง
การทำบตั รนกั เรียน – นักศกึ ษา
1. เขียนคำร้องทำบัตรใหม่ (กรณีหาย หรือชำรุด)
2. ชำระค่าธรรมเนียม 100 บาท
3. ติดตามขอรับบตั รภายหลงั สง่ คำร้อง 7 วันทำการ
การขอดูผลการเรียนบางรายวชิ า
1. พบเจา้ หน้าที่งานทะเบียน ตามสายงานแผนภูมิ (แสดงไวห้ นา้ ห้อง)
(กรณมี ปี ัญหากำหนดนดั วันเวลากับอาจารยป์ ระจำสายงานก่อน)
2. ถ้าตอ้ งการหลกั ฐานต้องชำระคา่ ถา่ ยเอกสารเฉพาะเร่ือง
การขอรับประกาศนียบัตร
1. เขียนแบบฟอรม์ แจ้งจบ
2. นำรูปถ่าย ขนาด 1 น้ิว ระดบั ปวช. จำนวน 4 รปู ระดับ ปวส. จำนวน 2 รปู
3. ใบร่วมกจิ กรรมชมรม

การลาออก (ระหวา่ งศึกษา)
1. เขยี นใบคำรอ้ งขอลาออก โดยผปู้ กครองเซ็นชือ่ รว่ มกบั นักเรียน - นักศึกษา
2. ผา่ นความเหน็ ชอบของอาจารย์ท่ปี รกึ ษา หัวหน้าแผนก งานห้องสมดุ งานการเงิน งานทะเบียน

ผูช้ ่วยผู้อำนวยการ ผอู้ ำนวยการ
3. นำรปู ถ่าย ขนาด 1 นิว้ จำนวน 2 รูป มามอบให้งานทะเบียน
4. ใบรว่ มกิจกรรมชมรม
5. ติดต่อขอรบั หลกั ฐาน สำเนา รบ.1 หลักจากสง่ มอบหลักฐานครบถว้ นประมาณ 5 วนั ทำการ

การให้บริการ การฝกึ งาน งานทวภิ าคี
วิทยาลัยฯ ได้กำหนดใหม้ กี ารฝกึ งานตามหลกั สูตร ในระดับ ปวช. และ ปวส. ดังน้ี

ระดบั ปวช. ฝึกงานระหว่างภาคการศกึ ษา หมนุ เวียนเขา้ ฝกึ งานในหนว่ ยงานหรือสถานประกอบการที่นักเรยี น
นกั ศึกษาต้องการหรือแผนกวิชาไดก้ ำหนด
ระดับ ปวส. ฝึกงานระหวา่ งภาคการศกึ ษา หมนุ เวียนเข้าฝึกงานในหน่วยงานหรอื สถานประกอบการท่ีนักเรยี น
นักศึกษาต้องการหรือแผนกวิชาได้กำหนด

วธิ เี ข้ารบั บริการ
1. เขียนคำรอ้ งฝกึ งานทงี่ านทวภิ าคีแจง้ ชื่อ แผนก และสถานทท่ี ี่นักเรยี น – นกั ศกึ ษา จะเข้ารับบริการ
ฝกึ งาน

3

ค่มู ือนักเรยี น นกั ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

2. ดำเนนิ เรือ่ งขอคำรอ้ งฝกึ งานผา่ นความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาและแผนกวชิ า

3. งานทวภิ าคีออกหนังสอื ขออนุเคราะหฝ์ ึกงานไปยงั สถานประกอบการ

4. เม่อื ได้รับคำตอบอนุญาตใหเ้ ข้าฝึกงานไดง้ านทวภิ าคีจะออกหนังสอื ส่งตัวเข้ารบั การฝึกงาน และเขา้

รับการฝึกงานตามกำหนด

การสมัครเป็นนักศึกษาวิชาทหาร (รด.)

1. ผู้สมคั รกำลังศึกษาอยใู่ นระดับ ปวช.1และปวส1

2. มคี ะแนนเฉลย่ี (จาก รบ.ม.3 ไมน่ อ้ ยกวา่ 2.00 หรือเคยผ่านวิชาลกู เสือสามัญมาไมน่ ้อยกว่า 8 วิชา)

3. อายุไม่เกนิ 22 ปี

4. สขุ ภาพแขง็ แรง

5. ไดร้ บั คำยินยอมจากบดิ า – มารดา หรือผูป้ กครอง

6. มีขนาดรอบตัว – น้ำหนัก และความสงู สัมพนั ธก์ นั (แจง้ ภายหลัง)

การรบั สมคั รและหลกั ฐานการสมคั ร

ยน่ื คำรอ้ งขอสมัครท่งี านนักศึกษาวชิ าทหาร ฝา่ ยกิจกรรมนักศึกษาโดยมีหลกั ฐาน ดังนี้

1. ใบสมัคร (ทบ.349 –001 รด.) ของแผนกการฝกึ งานกำลงั สำรอง จทบ.รบ.

2. รปู ถ่าย ขนาด 3 x 4 เซนติเมตร หนา้ ตรงแตง่ เครอื่ งแบบนักเรยี น

3. ใหบ้ ิดา – มารดา หรือผปู้ กครองเซน็ อนุญาต

4. สำเนาทะเบยี นบ้าน 1 ฉบบั

5. หลกั ฐานการใช้สิทธล์ิ กู เสือสามญั รุ่นใหญ่ สอบไดว้ ชิ าพเิ ศษ 8 วชิ า

6. หลกั ฐานการศึกษา ช้ัน ม.3 จำนวน 1 ฉบับ

7. หลกั ฐานการเปล่ียนช่ือตวั ชือ่ สกลุ ของผู้สมคั ร หรือบิดา - มาดาผ้สู มคั ร

8. ใหห้ ัวหนา้ สถานศึกษาหรือผูแ้ ทนลงนามรับรองตามช่องทก่ี ำหนด

การใช้บริการห้องพยาบาล

การใหบ้ ริการปฐมพยาบาลแกน่ กั เรยี น – นักศกึ ษา ทบี่ าดเจบ็ จากอบุ ัตเิ หตุ และบรรเทาอาการเจ็บปวด

ทั่ว ๆ ไป เช่น

- ปวดศีรษะ ปวดท้อง - ปวดแผล

- ฝี - ตาเจบ็

- ลมพษิ ผนื่ คนั - แมลงกดั ตอ่ ย ฯลฯ

เม่ือมปี ญั หาเก่ยี วกบั สุขภาพอนามยั โดยจา่ ยยาและเวชภณั ฑท์ างการแพทย์ตามสมควร นักเรียน

นกั ศกึ ษา ควรเข้ารับบริการดว้ ยตนเอง เพ่อื ประโยชน์ในการพยาบาลเบ้ืองต้นและการรกั ษาที่ถูกต้อง

การรบั จดหมาย ธนาณตั ิ โทรเลขและพัสดุไปรษณีย์

1. จดหมายท่ัว ๆ ไป รบั ไดท้ ่งี านประชาสมั พนั ธ์

2. จดหมายลงทะเบยี น ธนาณตั ิ โทรเลข พสั ดุไปรษณยี ์ วทิ ยาลัยฯ จะประกาศรายชือ่ ทงี่ าน

ประชาสัมพนั ธ์ นกั เรยี น – นักศกึ ษา ต้องนำหลักฐาน เช่น บัตรประจำตวั ไปติดตอ่ ขอรบั ที่งานประชาสัมพันธ์

ระเบยี บการใช้ห้องสมดุ

1. ทำบัตรสมาชกิ โดยใชร้ ูปถา่ ย ขนาด 1 นิว้ จำนวน 2 รูป ค่าธรรมเนียม 5 บาท หลกั ฐาน

ใบเสรจ็ รับเงินบำรงุ การศกึ ษาในภาคเรียนน้ัน ๆ

2. การยมื หนังสือ ยมื ได้ 3 เลม่ ต่อสัปดาห์ หนังสอื เร่ืองเดยี วกนั ยืมได้คร้ังละ 1 เลม่ ไมเ่ กนิ 2 คร้งั

หนังสอื ที่ยมื ไม่ได้คอื หนงั สืออ้างอิงทกุ ประเภท นติ ยสาร หนงั สอื พิมพ์โสตทัศนวสั ดุ

4

คู่มอื นกั เรยี น นักศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

3. อัตราค่าปรบั หนังสือทั่วไป วนั ละ 1 บาท ต่อ 1 เล่ม
4. กรณีทำหนังสือหาย ใหแ้ จ้งทางหอ้ งสมดุ ทราบภายใน 7 วัน ผยู้ ืมตอ้ งหาหนังสอื อยา่ งเดียวกับท่ีหา
มาทดแทน หรือชดใช้เป็นเงนิ 2 เท่า ของราคาหนงั สอื
5. ผู้ทีไ่ มส่ ่งคืนหนังสอื ตามกำหนดสง่ เมอ่ื สิ้นภาคเรียน ทางห้องสมุดจะเสนอช่ือใหท้ างวทิ ยาลยั ฯ
ดำเนินการต่อไป
6. ข้อปฏิบัตใิ นการเข้าใชบ้ ริหารหอ้ งสมุด

6.1 นักเรยี น – นกั ศึกษา ตอ้ งนำกระเปา๋ แฟ้มหนังสือ ตลอดจนสิง่ ของตา่ ง ๆ ไวน้ อก
หอ้ งสมดุ (จัดที่ไว้แล้ว หากกลวั หายให้นำมาฝากกับเจา้ หน้าทหี่ ้องสมดุ ) กรณที ี่จะนำสมุดหนังสือ เข้ามาทำ
รายงานให้ขออนุญาตจากเจา้ หน้าทีเ่ ปน็ ราย ๆ ไป

6.2 แต่งกายสภุ าพเรียบรอ้ ย และสำรวมกิรยิ า ไมก่ ระทำการรบกวนผอู้ ่ืน
6.3 หา้ มนำขนม ส่ิงขบเค้ียวตา่ ง ๆ มารับประทาน
7. หา้ มฉีกหรือตัด ตลอดจนการขโมยหนงั สอื ถอื เปน็ การทำลายทรัพย์สนิ ของวทิ ยาลยั ผกู้ ระทำจะ
ไดร้ ับโทษทั้งจากหอ้ งสมุดและจากวทิ ยาลัยฯ
การรบั บรกิ ารจากงานแนะแนว
1. บริการสำรวจและศึกษาขอ้ มูล ให้บริการปรึกษาปญั หาดว้ ยการเรียน สังคมครอบครัวสุขภาพ
ทดสอบทางจิตวทิ ยา สำรวจตนเอง
2. บริการสนเทศ ใหบ้ รกิ ารข้อมูลด้านการศึกษาต่อ จัดหางาน การปรบั ปรงุ บคุ ลิกภาพจัดวารสาร
แนะแนว ฯ
3. บรกิ ารให้คำปรึกษา ใหบ้ รกิ ารแนะแนวและให้คำปรกึ ษาตา่ ง ๆ ทัง้ เรื่องส่วนตัว ครอบครัว เพื่อน
การเรียน ปัญหาหวั ใจ คับข้องใจ พบพูดคุยเล่าใหก้ ันฟงั อาจารยแ์ นะแนวทกุ คนจะมาประจำที่ห้องแนะแนว
เมือ่ ว่างจากงานสอนหรือจะพบพดู คยุ ได้ทแี่ ผนกสอนก็ได้
4. บริการจัดหาทุน ให้บริการจัดหาทนุ การศึกษาให้นกั เรยี นนักศึกษาที่ยากจนขาดแคลนทนุ ทรพั ย์
มที ุนการศึกษาจัดใหน้ กั ศึกษาปลี ะประมาณ 100 - 150 ทุน
5. บริการจดั สรรโควตาเข้าศกึ ษาต่อในระดบั สูงข้นึ ใหบ้ ริการจดั สรรโควตาในระดับ ปวส. และ
ระดับปริญญาตรี สำหรับผูม้ ีผลการเรียนดี (2.5 ข้นึ ไป) เขา้ ศกึ ษาต่อ โดยไม่ตอ้ งสอบเขา้ ในสถานศกึ ษาของ
รฐั บาล 6. บรกิ ารติดตามหลังจบการศกึ ษา เมือ่ นักเรียนนักศกึ ษาเรยี นจบไปแลว้ จะตดิ ตามสอบถามเก่ียวกับ
นักเรยี นนกั ศึกษา เรื่องการศกึ ษาต่อ งานทที่ ำปัจจุบัน ต้องการงานหรือไม่
บริการการทำประกันอุบตั ิเหตุ
ด้วยวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย มกี ารเรียนการสอนลกั ษณะช่างอตุ สาหกรรมเป็นส่วนใหญ่มโี อกาสเกิด
อบุ ตั ิเหตุได้มาก และตามระเบยี บกรมอาชีวศกึ ษา กำหนดใหว้ ทิ ยาลยั ทำประกนั อบุ ัติเหตุกับบรษิ ัทประกันภยั ที่
ให้ประโยชน์สูงสดุ กับนักเรียนนักศกึ ษาทุกคน โดยเสยี เบ้ียประกันคนละ 200 บาท ในระยะเวลา 1 ปี ใหค้ วาม
คมุ้ ครองการบาดเจบ็ จากอุบัตเิ หตุตลอด 24 ช่ัวโมง ทกุ หนทุกแห่งท่วั โลก ไม่ว่าขณะเรียน เล่นกฬี า เข้ารว่ ม
กิจกรรมของวทิ ยาลัย ทง้ั ในและนอกสถานที่ กจิ กรรมอ่ืน ๆ ทีบ่ า้ นและรวมถงึ ความคุ้มครองการขับขี่ หรือ
โดยสารรถจกั รยานยนต์
ข้อยกเว้นของกรมธรรม์
การบาดเจบ็ ของร่างกายอนั เกดิ จากขณะโดยสารอยใู่ นอากาศยานที่มใิ ช่สายการพาณชิ ยข์ ณะอยู่ใต้ฤทธ์ิ
ของสรุ า ยาเสพตดิ การฆา่ ตัวตาย การทำร้ายรา่ งกายตนเอง การไดร้ ับเช้ือโรค การแท้งลกู การเข้ารว่ มทะเลาะ
วิวาท การก่ออาชญากรรม การถูกฆาตกรรม หรือถูกรอบทำร้าย

5

คู่มอื นกั เรยี น นักศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

ข้อปฏบิ ัตใิ นการเรียกร้องสนิ ไหมกรณปี ระสบอุบัติเหตุ
ต้องทำการรกั ษาพยาบาล
1. กรอกรายละเอยี ดการเกิดอบุ ัตเิ หตใุ นใบแจ้งอบุ ัตทิ ี่งานสวัสดิการพยาบาลและหอพกั
2. แนบใบเสรจ็ คา่ รกั ษาพยาบาลต้นฉบับจากโรงพยาบาลของรัฐหรือเอกชน ตลอดจน คลินกิ
เอกชน ใบเสรจ็ รบั เงินทกุ ใบจะตอ้ งมคี ำวา่ “อบุ ตั เิ หตุ”
3. แนบใบรับรองแพทย์ ควบคู่ใบเสรจ็ รับเงินทกุ ใบ การจา่ ยเงนิ จ่ายจริงตามใบเสรจ็ ท่เี รียกร้องจนกว่า
การรกั ษาส้ินสุด แต่ไม่เกิน 5,000 บาท ต่อการบาดเจบ็ 1 คร้งั ใน 1 ปี จะบาดเจ็บก่ีครง้ั กไ็ ดร้ ับการคุ้มครองทุก
ครงั้
กรณปี ระสบอุบัตเิ หตเุ สียชวี ติ
จะต้องแจง้ ให้วิทยาลยั ทราบ ท่งี านสวสั ดิการพยาบาล เพอื่ ติดตอ่ กบั บริษทั ประกนั และขอรับทราบ
รายละเอียดเกย่ี วกบั หลักฐานการเอาประกัน
- กรณีเสียชีวติ จากอบุ ัติเหตุทางรถจักยานยนต์ จะได้รับค่าสินไหมทดแทน 50,000 บาท
- กรณเี สียชีวิตทางรถยนต์ จะไดร้ บั ค่าสินไหมทดแทน 100,000 บาท
- กรณีได้รับบาดเจบ็ เบิกไดต้ ามใบเสร็จรบั เงิน แต่ไมเ่ กินวงเงิน 5,000 บาท/ครง้ั
เอกสารทใ่ี ช้ประกอบการขอสินไหมทดแทนกรณีเสียชวี ติ
1. แบบเรยี กรอ้ งค่าสินไหมทดแทน (แบบฟอร์มของบริษทั )
2. บันทกึ ประจำวันตำรวจ
3. สำเนาการชันสูตรพลกิ ศพของเจ้าหน้าท่ีตำรวจ
4. สำเนาใบมรณะบตั ร
5. สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียชีวิต
6. สำเนาทะเบยี นบ้านผ้เู สียชวี ิต
7. สำเนาทะเบียนบ้านผรู้ ับผลประโยชน์
8. สำเนาทะเบียนบ้านค่สู มรส (ของผ้รู ับผลประโยชน์)
เอกสารที่ใชป้ ระกอบการขอสนิ ไหมทดแทนกรณบี าดเจบ็
1. แบบฟอร์มเรยี กรอ้ งคา่ สินไหม
2. ใบเสร็จรับเงนิ
3. ใบรบั รองแพทย์
การลาของนกั เรยี น – นกั ศึกษา
นกั เรียน นกั ศึกษา ถ้ามเี หตุจำเป็นไม่สามารถมาเรยี นได้เนอ่ื งจากการเจ็บปว่ ย หรอื มภี ารกิจทจี่ ำเปน็
ให้เขยี นใบลาให้เรียบร้อยแล้วมอบให้หวั หนา้ ชน้ั เรียนเพื่อหัวหน้าช้ันเรียนจะได้นำใบลาส่งให้อาจารย์ผสู้ อน
รายวชิ ารับทราบ เม่ือครบทุกรายวิชา แล้วนำไปสง่ มอบอาจารย์ที่ปรึกษาเกบ็ ไวเ้ ป็นหลักฐาน
กรณีท่ีสง่ ใบลาภายหลังจะตอ้ งนำสง่ ในวันแรกท่ีมาเรยี น โดยใหท้ ัง้ ครูทีป่ รึกษาและอาจารยผ์ ู้สอนทราบ

6

คมู่ อื นกั เรยี น นักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

ตวั อยา่ งใบลา
แบบลาป่วย ลากิจส่วนตัว

เขยี นที่ วทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย
ถนนเลย – ดา่ นซ้าย ตำบล โคกงาม
อำเภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย 42120

วันท่ี………….. เดือน …………..………... พ.ศ. …..…..
เร่อื ง ขออนญุ าตลา...................................................

เรยี น ครผู สู้ อนทุกรายวชิ า

ด้วย ขา้ พเจ้า ( นาย/นางสาว )………………….……………………….. แผนกวิชา……………...............................
สาขางาน...................................นักเรยี น – นักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย ขอลา ( ) ปว่ ย ( )ลากิจ
สว่ นตัว เน่อื งจาก....................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
ต้งั แต่วันท.่ี ..................................................ถึงวันท.ี่ .......................................................มกี ำหนด.....................วัน
ในระหว่างลา สามารถตดิ ตอ่ ข้าพเจ้าได้ที่
................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
.

ดว้ ยความเคารพอย่างสงู

ลงชือ่ ……………………………………
(……………………….……...........….)

แจง้ ครผู ู้สอน ความคิดเหน็ ของครทู ี่ปรกึ ษา
1....................................................................... ....................................................
2.......................................................................
3....................................................................... ลงชอ่ื ...............................................ครทู ่ี
(................................................)
ปรกึ ษา4.......................................................................
5....................................................................... .........../........../………..
6.......................................................................
7.......................................................................
8.......................................................................

7

คู่มอื นักเรยี น นกั ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

กรณีทน่ี ักเรยี น – นักศกึ ษาลาปว่ ยเปน็ เวลานานเนือ่ งจากอุบัติเหตหุ รืออนื่ ๆ
นักเรยี น – นกั ศกึ ษาท่ีไมอ่ ยใู่ นสภาพท่ีสามารถมาเรยี นตามปกตไิ ด้ เม่อื ลงทะเบียนไว้แลว้ ตอ้ งการรักษา

สภาพการเป็นนักเรยี น – นกั ศึกษาในภาคเรยี นต่อไปเมอ่ื หายป่วยแล้วจะกลบั เขา้ มาเรยี นอีก ให้ดำเนนิ การดงั นี้
1. จัดทำบนั ทกึ ขอ้ ความชีแ้ จงเหตผุ ลและความจำเป็นพรอ้ มแนบใบรับรองแพทยอ์ าจารย์ทป่ี รึกษาถอน

รายวชิ า/รกั ษาสภาพกรณีพิเศษ
2. อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาผ่านหัวหน้าแผนก งานทะเบียนและผูช้ ่วยผู้อำนวยการตามสายงานนำเสนอ

ผอู้ ำนวยการอนุญาตเป็นราย ๆ ไป
3. เม่ือผ้อู ำนวยการพิจารณาอนุญาตแลว้ ใหแ้ จง้ ไปยังอาจารย์ท่ปี รึกษาและผู้สอนเพ่ือรบั ทราบตอ่ ไป

ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ การจดั การศึกษาและประเมนิ ผลการเรยี น
ตามหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. 2562

เรือ่ งท่ี 1 การรับนกั เรียน

1. พืน้ ความรู้ สอบได้ไมต่ ่ำกวา่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของกระทรวงศึกษาธกิ ารหรือเทียบเท่า
2. คุณสมบตั ิ

1. ความประพฤตเิ รียบรอ้ ย
2. รา่ งกายแข็งแรง
3. ไมเ่ ปน็ โรคสงั คมรังเกยี จหรือติดยาเสพติดชนดิ รา้ ยแรง
4. ถ้าเคยถกู ลงโทษให้ออกเพราะความผดิ รา้ ยแรง จะสมัครเขา้ เรียนใหม่ได้หลงั จากพ้นสภาพมาแลว้
ไม่น้อยกว่า 1 ปี (ปฏทิ ิน)
5. ผา่ นการคดั เลือกหรอื สอบคัดเลอื ก
6. มีผู้ปกครองมาทำใบมอบตัว ผ้บู รรลุนิติภาวะให้สถานศึกษาพิจารณา
7. มีภมู ิลำเนาเป็นหลกั แหล่ง (มที ะเบียนบา้ นมาแสดง)
8. เคารพ เลื่อมใส ศรัทธาต่อ ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั รยิ ์
9. มเี จตคตทิ ่ีดีต่อการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยทมี่ พี ระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมขุ
10. ไม่เป็นนักเรยี น ปวช. ของสถานศกึ ษาอ่นื
3. การเป็นนักเรียน
1. ตอ้ งข้ึนทะเบยี นด้วยตนเอง ตามวนั เวลาทสี่ ถานศึกษากำหนดพร้อมชำระเงินตามระเบียบ ฯ
2. ตอ้ งมีบตั รประจำตัวทีต่ ิดรูปถา่ ยมีลายเซ็นหวั หนา้ สถานศึกษาและประทบั ตราสถานศึกษา
3. ต้องมีอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา

เร่อื งท่ี 2 การเรยี น

1. กำหนดเปิด - ปดิ
1. กำหนดไว้ในหลักเกณฑก์ ารใช้หลกั สูตร
2. ถ้าจะเปิด – ปดิ แตกตา่ งจากที่กำหนดต้องขออนุญาตต้นสังกดั
3. การเปดิ ภาคฤดรู อ้ น ปฏบิ ัติตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร

2. การลงทะเบยี นรายวชิ า
1. ต้องใหเ้ สรจ็ กอ่ นปิดภาคเรยี น
2. ต้องใหอ้ าจารยท์ ่ีปรกึ ษาเห็นชอบ

8

คูม่ อื นักเรยี น นกั ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

3. ต้องมาลงทะเบยี นดว้ ยตนเอง ถ้าจะให้คนอ่ืนแทนตอ้ งขออนญุ าตสถานศกึ ษาเป็นราย ๆ ไป
4. ตอ้ งชำระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มตา่ ง ๆ ตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร
3. การผ่อนชำระ
1. ขอผอ่ นชำระได้เฉพาะคา่ ลงทะเบยี นรายวชิ า
2. ผอ่ นชำระได้ 2 งวด งวดสดุ ท้าย ต้องชำระก่อนวนั สอบปลายภาค เพอ่ื สิทธิในการเข้าสอบ
3. ตอ้ งในหวั หนา้ สถานศึกษาพิจารณาอนญุ าตเป็นราย ๆ ไป
4. สถานศึกษาจะให้นักเรยี นมาลงทะเบยี น หลังวนั กำหนดการปดิ การลงทะเบียนปกติไดโ้ ดยมเี งื่อนไขดังนี้
4.1 สถานศึกษากำหนดวันสนิ้ สุดการลงทะเบยี นหลงั การลงทะเบียนปกติตามทเ่ี ห็นสมควรแต่ต้องไม่
เกิน 7 วัน (วันทำการ) นบั แตว่ ันปิดภาคเรยี นตามปกตหิ รือ 5 วัน (ทำการ) นับแต่วันเปิดภาคเรยี นฤดูร้อน
4.2 นักเรยี นต้องเสยี คา่ ปรับตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร
5. เงอื่ นไขของการลงทะเบยี น
5.1 ลงทะเบยี นเรยี น + ลงทะเบยี นสอบเทียบฯ ต้องไมเ่ กนิ สัปดาห์ละ 38 คาบเรยี น เวลาสำหรับ
กิจกรรมไมน่ ้อยกว่า 2 คาบเรยี น นอกเหนือน้ีต้องขออนุญาตเป็นราย ๆ ไป
5.2 ตลอดหลกั สูตรลงทะเบียนเรยี นไมต่ ่ำกวา่ 100 – 110 หนว่ ยกิต
5.3 รายวิชาต่อเนอ่ื งกันเปน็ ลำดบั (ระบุไว้ในหลักสูตร) ตอ้ งลงรายวชิ าตน้ ก่อน จึงลงรายวิชาถัดไปได้
ถา้ ตกรายวชิ าตน้ 2 รายวิชา จะลงรายวชิ าถดั ไปได้ดงั ต้องให้สถานศกึ ษาพิจารณาอนญุ าต
6. ถ้านักเรียนไม่ได้ลงทะเบียนภายในเวลาท่กี ำหนด ต้องรักษาสภาพการเป็นนกั เรยี นโดยตอ้ งตดิ ตอ่ ลาพัก
การเรียน ภายใน 7 วัน นับจากวันปิดการลงทะเบยี นพร้อมชำระเงนิ ค่ารกั ษาสภาพหากพน้ กำหนดและไม่มี
เหตุผลอนั ควรต้องพ้นสภาพการเป็นนกั เรียน
การถอนและการเพ่ิมรายวิชา
การเพ่ิมรายวิชา
1. ต้องกระทำภายใน 7 วัน นับแต่วนั เปิดภาคเรยี นปกตหิ รอื ภายใน 5 วนั นับแตว่ ันเปดิ ภาคเรียนฤดู
รอ้ น
2. อาจารยผ์ ู้สอนและอาจารย์ที่ปรกึ ษาเห็นชอบ
การถอน
1. ต้องกระทำภายใน 15 วนั นบั แตว่ ันเปดิ ภาคเรียนปกตหิ รอื ภายใน 10 วัน นบั แต่วนั เปิดภาคเรยี น

ฤดรู ้อน
2. อาจารยผ์ ู้สอนและอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาเห็นชอบ
3. การถอนรายวิชาหลงั กำหนดขอ้ 1 สามารถทำได้ถ้าสถานศึกษาอนุญาต
4. การลง รบ. ถา้ ถอนภายในกำหนดขอ้ 1 หรอื ได้รับอนญุ าตตามขอ้ 3 บนั ทึก “ ถ.น.” แต่ถ้าถอน
หลงั กำหนดข้อ 1 หรือสถานศกึ ษาไม่อนญุ าต บันทกึ “ถ.ล.”
4. การเรียนโดยไม่นับจำนวนหนว่ ยกิตมารวมเป็นผลการสอบ
ขอ้ กำหนด
1. ตอ้ งลงทะเบยี นเรียน
2. ปฏิบัติเชน่ เดยี วกับการเรียนปกติ
3. ถา้ ประเมินผลได้ระดับผลการเรยี น 1 ขึน้ ไป บันทึก “ม.ก.” ใน ร.บ. ถา้ ประเมินผลเป็น 0 หรือไมไ่ ด้
ประเมินผลบันทึก “ม.ผ.” ใน ร.บ.
4. ไมม่ ีการให้สอบแก้ตวั

9

คู่มือนกั เรยี น นกั ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

5. การเรียนเพ่ือปรับคา่ ระดบั คะแนนเฉล่ยี สะสมให้สงู ขึ้น
ข้อกำหนด

1. เฉพาะรายวชิ าทีไ่ ด้ระดบั ผลการเรียน 1
2. ถ้าเป็นรายวิชาในหมวดวิชาเลอื ก จะเรยี นซำ้ หรอื เลือกเรียนรายวิชาอื่นแทนก็ได้ถ้าเป็นรายวชิ า
บังคบั ตอ้ งเรียนซำ้ ในรายวชิ าเดิม
3. เรยี นภายในเวลาทส่ี ถานศึกษาเห็นสมควร
4. ถา้ ได้ระดบั ผลการเรยี น 0 ถอื วา่ ได้ 1 ตามเดมิ ยกเว้นกรณีปรับตกเพราะทุจริตท้งั รายวิชา
5. การคำนวณคา่ ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมจะทำเมอื่ ได้ระดบั ผลการเรยี นตงั้ แต่ 2 ขน้ึ ไปและนับจำนวน
หน่วยกติ มาเปน็ ตัวหารเพยี งครง้ั เดียว สำหรับรายวชิ าท่ีเรียนแทนใหน้ บั จำนวนหนว่ ยกติ ของรายวชิ าทีเ่ รยี น
แทนมาเปน็ ตวั หาร
6. การพักการเรยี น
1. การลาพักการเรียน
กรณีท่ขี อลาพกั การเรยี นได้

1. ไดร้ ับทุนการศกึ ษาให้ไปศึกษาหรือดูงาน หรอื เป็นตวั แทนของสถานศกึ ษา ไปรว่ มประชมุ
หรอื กรณอี ื่น ๆ อนั ควรแกก่ ารส่งเสรมิ

2. เจ็บปว่ ยต้องพกั รักษาตัว
3. เหตจุ ำเป็นอยา่ งอ่ืนที่สถานศึกษาเห็นสมควร
วิธกี าร
1. ยนื่ คำขอเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมผี ู้ปกครองรับรอง (สำหรบั ผู้บรรลุนิตภิ าวะจะมหี รอื ไมก่ ็
ได้)
2. ตอ้ งชำระเงนิ ค่ารกั ษาสภาพนักเรยี นแตถ่ ้าไดช้ ำระเงินค่าธรรมเนียมสำหรบั ภาคเรยี นนั้น
แลว้ ไมต่ อ้ งชำระเงินคา่ รักษาสภาพสำหรับภาคเรยี นน้ัน
ขอ้ กำหนด
1. ตอ้ งใหส้ ถานศึกษาอนญุ าตกอ่ นจึงจะพักการเรียนได้ มิฉะนั้นจะถือว่าขาดเรยี นเว้นแตเ่ หตุ
สุดวิสยั เมอ่ื สถานศกึ ษาอนญุ าตใหท้ ำหลักฐานแจง้ ผู้ปกครองเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
2. เม่ือครบกำหนดลาพกั นกั เรยี นต้องยื่นคำขอกลับเขา้ เรียนพร้อมหลักฐานการอนุญาต
ภายใน 7 วนั นับแตว่ ันถดั จากวันครบกำหนด เมื่อไดร้ บั อนุญาตจึงเข้าเรยี นได้ หากพน้ กำหนด ถอื วา่ พน้ สภาพ
นักเรียนเว้นแตเ่ หตสุ ดุ วสิ ยั
2. การส่ังพักการเรยี น
เง่อื นไข สถานศึกษาสง่ั ให้นักเรยี นพักการเรียนได้ โดยปฏิบตั ิตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร ว่าด้วย

การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาหรอื ตามระเบียบของสถานศกึ ษา
วธิ ีการ ให้สถานศึกษาทำหลกั ฐานเป็นลายลกั ษณ์อักษรแจ้งใหผ้ ปู้ กครองทราบสำหรับผู้บรรลุนิตภิ าวะ

จะแจ้งให้ผปู้ กครองทราบหรือไม่ก็ได้
ข้อกำหนด เม่ือครบกำหนดถูกสง่ั พัก ให้นักเรยี นย่ืนคำขอกลับเขา้ เรยี นพร้อมหลกั ฐานการถูกสั่งพักการ

เรียนภายใน 7 วัน นบั แต่วันถดั จากวันครบกำหนดเมื่อได้รับอนญุ าตจงึ กลับเขา้ เรยี นได้
หากพ้น

กำหนดถือว่าพน้ สภาพนักเรียนเว้นแตเ่ หตสุ ุดวิสยั

10

คมู่ อื นักเรยี น นักศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

เรอ่ื งท่ี 3 การสอบ

1. การนับเวลาเพ่ือการสอบ
ข้อกำหนด
1. ต้องมีเวลาเรียนไม่ตำ่ กว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเปดิ เรยี นเต็มสำหรับรายวิชาน้ัน ๆ จงึ จะมสี ทิ ธ์เิ ข้า

สอบ ยกเว้นเหตุจำเป็นเหตสุ ดุ วสิ ยั ให้สถานศึกษาพจิ ารณาผ่อนผันเปน็ ราย ๆ ไป
2. เวลาเปิดเรยี นเตม็ ตามปกติ ไม่น้อยกว่าภาคเรียนละ 18 สปั ดาห์

การนบั เวลาเรียนในกรณพี เิ ศษ
1. ถา้ มีการยา้ ยสถานศกึ ษาระหวา่ งภาคเรียนใหน้ ำเวลาเรียนจากท้ังสองแห่งมารวมกัน
2. ถา้ มีการลาออกแลว้ ได้รบั อนญุ าตใหก้ ลบั เขา้ เรยี นใหมใ่ นภาคเดียวกันนับเวลาเรยี นท่ีเรียนทง้ั หมด

มารวมกัน
3. ถา้ มีการลาพักหรอื ถูกส่ังให้พักในระหวา่ งภาคเรียนให้นบั เวลาเรยี นก่อนและหลังลาพักหรือถกู สั่งพกั

มารวมกัน
4. รายวิชาทมี่ ีผสู้ อนต้ังแต่ 2 คนขึน้ ไป ใหน้ ับเวลาเรียนรวมกัน
5. ถา้ มีการเปล่ียนหรือเพิ่มรายวชิ า ใหน้ บั เวลาเรียนตัง้ แตเ่ ริ่มเรยี นรายวชิ าใหม่

การขออนญุ าตเลอื่ นสอบ
กรณีท่ีขอเล่ือนสอบได้

1. ประสบอุบัติเหตหุ รือเจบ็ ป่วยระหวา่ งสอบหรอื ก่อนสอบ
2. ถูกควบคุมตัวโดยพนักงานเจา้ หน้าที่ตามกฎหมาย
3. เป็นตัวแทนเขา้ รว่ มประชมุ หรือกิจกรรมอ่ืนโดยสถานศึกษายินยอม
4. สถานศึกษาพจิ ารณาเห็นว่ามีความจำเปน็ อย่างแทจ้ ริง
ระยะเวลา เล่ือนสอบไดไ้ ม่เกินวันกำหนดสอบปลายภาคเรียนถดั ไป

วธิ กี าร
1. ยน่ื คำรอ้ งพร้อมหลกั ฐานก่อนการสอบอยา่ งน้อย 3 วัน ถ้าทำไมไ่ ด้ให้สถานศึกษาพจิ ารณาเปน็ ราย

ๆ ไป
2. การอนญุ าตจะตอ้ งทำเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรแจ้งใหน้ กั เรยี นทราบโดยกำหนดวันสอบไว้ดว้ ย (ถ้า

สามารถทำได้)
การเข้าสอบ

1. นกั เรยี นต้องย่นื คำรอ้ งเพ่อื ขอเข้าสอบ พร้อมหลกั ฐานการอนญุ าตใหเ้ ลื่อนการสอบเพอื่ ขอเขา้ สอบ
ตามวันเวลาท่ีสถานศกึ ษากำหนดหรือตามวันเวลาทีเ่ หน็ สมควร (ถ้าสถานศึกษาไม่ไดก้ ำหนดวันไว้ในหนังสือ
อนญุ าตแต่ต้องไมเ่ กินวันกำหนดสอบปลายภาคเรียนถัดไป)

2. กรณถี ูกควบคุมตวั จะใหส้ อบไดเ้ ม่อื มีการตดั สินแล้ววา่ ไมม่ ีความผิด หรอื เปน็ ความผิดลหุโทษ หรอื
ให้ประกนั ทณั ฑ์บนไว้ หรือรอการกำหนดโทษ หรอื รอการลงโทษ
การตัดสนิ ผล

1. เช่นเดียวกบั การตดั สินในกรณีปกติ
2. ถา้ ไม่ไดเ้ ขา้ สอบภายในวันกำหนดปลายภาคเรยี นถดั ไป ให้ถือว่าขาดสอบให้สถานศกึ ษาทำการ
ประเมินตดั สินผลการเรียน
- ถ้าเปน็ การสอบปลายภาค ได้ระดบั ผลการเรยี น เปน็ ข.ส.

11

คู่มอื นักเรยี น นกั ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

- ถ้าเปน็ การสอบย่อย ไดค้ ะแนน 0 ในคร้ังนั้น
3. การสอบเทียบความรู้ประสบการณ์
เงอื่ นไข เฉพาะรายวิชาในหมวดวิชาชพี และหมวดวชิ าเลือก
วธิ ีปฏิบัติ นกั เรียน

1. ลงทะเบียนแจง้ ความจำนง (พร้อมลงทะเบียนรายวิชา)
- ตามวนั เวลาท่กี ำหนด โดยชำระเงินคา่ ลงทะเบยี น
- โดยความสมัครใจ และได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษา
- รายวชิ าทีล่ งทะเบียนสอบเทยี บไมอ่ นญุ าตใหเ้ ขา้ เรยี น
- ลงทะเบยี นสอบเทยี บรวมกับลงทะเบียนเรียนไมเ่ กินสัปดาห์ละ 38 คาบ เว้นแต่ได้รบั อนญุ าตจาก

สถานศึกษา
2. ลงทะเบียนสอบ
- นำใบรบั รองท่ีเชื่อถือได้วา่ ผา่ นการศึกษาอบรมหรอื ฝกึ งานหรอื ทำงาน
- ชำระเงนิ ค่าลงทะเบยี นสอบ
3. ทดสอบ
- ตามวันเวลาท่กี ำหนด
- สอบตกขอสอบเทยี บฯ หรอื ลงทะเบยี นเรียนในภาคเรียนนั้นไมไ่ ด้

สถานศึกษา
1. แต่งต้ังกรรมการจัดทำขอ้ สอบพร้อมเฉลย
- ผู้สอน – ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมายไมน่ ้อยกวา่ 2 คน
- ข้อสอบต้องครอบคลุมจุดประสงคแ์ ละเนื้อหาทสี่ ำคัญ
2. ดำเนนิ การสอบ
- กำหนด วัน เวลา สถานทส่ี อบ แจง้ ใหน้ ักเรียนทราบล่วงหน้า
- เวลาในการสอบ เป็น 2 เทา่ ของเวลาท่ใี ช้ในการเรยี นต่อสปั ดาห์
- ตอ้ งสอบไม่ตำ่ กว่า 3 คร้งั
- สอบแตล่ ะครงั้ ติดตอ่ ไมเ่ กิน 4 คาบเรยี น
- ถ้าสอบวนั ละ 2 คร้งั หรือมากวา่ ต้องมเี วลาหยดุ พักระหวา่ งครั้งไม่นอ้ ยกว่า 1 คาบเรียน
- สอบไดว้ ันละไมเ่ กิน 8 คาบเรยี น
- สัปดาห์ละไมเ่ กิน 6 วัน
3. การตดั สนิ ผลการสอบใช้เกณฑ์อยา่ งเดยี วกบั การประเมินผลการเรียนรายวิชา
4. การบันทกึ ผลการเรยี นลงในระเบยี นให้แสดงหมายเหตวุ า่ เปน็ รายวชิ าทีส่ อบเทียบประสบการณห์ รือ
สอบเทยี บความรู้

เรอ่ื งที่ 4 ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการว่าด้วยการประเมินผลการเรียน พุทธศักราช 2562
วิธกี ารประเมินผลการเรียน

ข้อ 1. การประเมินผลการเรียนเปน็ รายวชิ า ใหด้ ำเนินการประเมินตามสภาพจรงิ ต่อเนื่องตลอดภาค
เรียนด้านความรู้ ความสามารถและเจตคตจิ ากกจิ กรรมการเรียนการสอนและการปฏิบัติงานที่มอบหมาย ซึ่ง
ครอบคลุมจุดประสงค์และเน้อื หาวชิ าโดยใชเ้ ครอ่ื งมือและวธิ กี ารหลากหลายตามความเหมาะสม

12

คู่มือนักเรยี น นกั ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

ใหม้ กี ารประเมนิ เพอ่ื พัฒนาและการประเมินสรปุ ผลการเรยี นโดยพจิ ารณาจากการประเมิน แต่ละ
กิจกรรม และงานทมี่ อบหมายในอัตราส่วนตามความสำคัญของแต่ละกิจกรรมหรืองานท่ีมอบหมาย

ขอ้ 2. ใหใ้ ช้ตวั เลขแสดงระดับผลการเรียนในแต่ละวิชา ดังต่อไปน้ี
4.0 หมายถึง ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑด์ เี ย่ียม
3.5 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ดีมาก
3.0 หมายถงึ ผลการเรียนอยูใ่ นเกณฑ์ดี
2.5 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดีพอใช้
2.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑพ์ อใช้
1.5 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ออ่ น
1.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑอ์ อ่ นมาก
0 หมายถึง ผลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ข้ันตำ่

ขอ้ 3. รายวิชาใดทแ่ี สดงระดบั ผลการเรียนตามข้อ 2. ไมไ่ ด้ ให้ใชต้ วั อกั ษรตอ่ ไปน้ี
ข.ร. หมายถงึ ขาดเรยี น ไม่มีสิทธเิ์ ข้ารับการประเมนิ สรุปผลการเรียน เนอื่ งจากมเี วลา

เรยี นต่ำกวา่ ร้อยละ 80 โดยสถานศึกษาพจิ ารณาแลว้ เห็นวา่ ไมใ่ ชเ่ หตุสุดวิสยั
ข.ป. หมายถึง ขาดการปฏบิ ตั ิงาน หรือปฏิบตั ิงานไมค่ รบ โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแล้ว

เห็นว่าไมม่ ีเหตุผลสมควร
ข.ส. หมายถึง ขาดการประเมนิ สรุปผลการเรียน โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไมม่ ี

เหตุผลสมควร
ถ.ล. หมายถงึ ถอนรายวิชาภายหลงั กำหนด โดยสถานศกึ ษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไมม่ ี

เหตผุ ลสมควร
ถ.น. หมายถึง ถอนรายวิชาภายในกำหนด
ถ.พ. หมายถงึ ถกู ส่ังพกั การเรยี นในระหวา่ งทมี่ ีการประเมนิ สรปุ ผลการเรยี น
ท. หมายถงึ ทุจรติ ในการสอบหรืองานท่ีมอบหมายใหท้ ำ
ม.ส. หมายถงึ ไม่สมบรู ณ์ เนอ่ื งจากไม่สามารถเขา้ รบั การประเมินครบทุกครั้ง และหรอื ไม่

สง่ งานอันเป็นส่วนประกอบของการเรียนรายวชิ าตามทกี่ ำหนดด้วยเหตุจำเป็นอันสดุ วิสยั
ม.ท. หมายถงึ ไมส่ ามารถเข้ารับการประเมนิ ทดแทนการประเมินสว่ นทข่ี าดของรายวิชาที่

ไม่สมบูรณภ์ ายในภาคเรียนถดั ไป
ผ. หมายถึง ได้เขา้ ร่วมกิจกรรมตามกำหนด และผลการประเมินผ่าน

ม.ผ. หมายถงึ ไมเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม หรือผลการประเมนิ ไม่ผ่าน
ม.ก. หมายถึง การเรียนโดยไมน่ ับจำนวนหน่วยกติ มารวมเพ่ือการสำเร็จการศึกษาตาม
หลักสตู ร และผลการประเมินผา่ น
ขอ้ 4. ในกรณีต่อไปนใ้ี ห้ตัดสินผลการเรยี นเป็นระดบั 0 (ศูนย)์ เฉพาะรายวิชา
(1) มผี ลการเรียนต่ำกว่าเกณฑข์ ้นั ต่ำ (ไม่ผา่ น)
(2) ได้ ข.ร.
(3) ได้ ข.ป.
(4) ได้ ข.ส.
(5) ได้ ถ.ล.
(6) ได้ ถ.พ.

13

คมู่ อื นักเรยี น นักศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

(7) ได้ ท.
(8) ได้ ม.ท.
ข้อ 5. นักศึกษาที่ทำการทุจริตหรอื สอ่ เจตนาทุจริตในการสอบ หรืองานทีม่ อบหมายใหท้ ำในรายวิชาใด
ใหพ้ ิจารณาโทษตามสถานความผดิ ดังน้ี
(1) ให้ได้คะแนน 0 (ศูนย)์ เฉพาะคร้งั นั้น หรือ
(2) ใหไ้ ด้ระดบั ผลการเรยี นเป็น 0 (ศูนย์) ในรายวิชาน้ัน หรอื
(3) ให้ไดร้ ะดบั ผลการเรียนเป็น 0 (ศูนย์) ในรายวิชาน้ัน และตัดคะแนนความประพฤตติ าม
ระเบยี บว่าด้วยการตดั คะแนนความประพฤตทิ ่ีสถานศกึ ษากำหนด
ขอ้ 6. การคำนวณคา่ ระดบั คะแนนเฉลีย่ ให้ปฏบิ ัตดิ งั นี้
(1) ใหค้ ำนวณคา่ ระดบั คะแนนเฉล่ยี ดังน้ี

การหาค่าระดบั คะแนนเฉลี่ย
การคำนวณ
1. ค่าระดบั คะแนนเฉล่ีย ผลบวก (หน่วยกติ x ระดับผลการเรียน)

ผลของหน่วยกติ
= ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ไมป่ ัดเศษ
2. จากรายวชิ าท่ไี ดร้ ะดบั ผลการเรยี น 4,3.5, 3,2.5, 2,1.5, 1 และ 0
3. รายวชิ าท่เี รยี นซ้ำ เรียนแทน นบั จำนวนหน่วยกิตเป็นตวั หารเพียงครงั้ เดียว
(ก) ค่าระดบั คะแนนเฉลีย่ ประจำภาคเรยี น คำนวณจากรายวชิ าทีไ่ ดร้ ะดับผลการเรยี นตาม (2) เฉพาะ
ในภาคเรยี นหนงึ่ ๆ
(ข) ค่าระดับคะแนนเฉลย่ี สะสม คำนวณจากรายวิชาทเี่ รียนมาท้ังหมดและได้ระดับผลการเรียนตาม (2)
ตั้งแต่สองภาคเรียนข้ึนไป
ข้อ 7. ผ้ทู ไ่ี ด้ ม.ส. เนอ่ื งจากไม่สามารถเขา้ รับการประเมินครบทุกครั้ง ต้องรับการประเมนิ ทดแทนสว่ น
ท่ขี าดภายใน 10 วัน นบั แต่วันประกาศผลการเรยี นรายวิชา หากพน้ กำหนดนี้ใหถ้ อื ว่าไม่สามารถเขา้ รับการ
ประเมนิ ทดแทน (ม.ท.) ยกเว้นมเี หตุจำเป็นอนั สุดวสิ ยั ให้สถานศึกษาหรือสถานประกอบการพิจารณาเป็นรายๆ
ไป ทง้ั น้ี ใหป้ ระเมนิ ทดแทนในรายวชิ าทไี่ ม่สมบูรณ์ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในภาคเรยี นถัดไป
ผู้ท่ีได้ ม.ส. เนือ่ งจากไม่สามารถสง่ งานอันเป็นสว่ นประกอบของการเรยี นรายวิชาตามกำหนดสง่ งานน้ัน
ใหส้ มบูรณภ์ ายใน 10 วัน นบั แต่วันประกาศผลการเรยี นรายวชิ า หากพ้นกำหนดใหส้ ถานศึกษา หรือสถาน
ประกอบการพจิ ารณาเปน็ รายๆ ไป
ข้อที่ 8. นักเรยี นต้องรบั การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เมอ่ื นักเรยี นได้ลงทะเบยี นเรียนครบทุกรายวชิ า
ตามโครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษาแต่ละประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน หรอื ตามระยะเวลาท่ี
คณะกรรมการประเมนิ มาตรฐานวิชาชีพเปน็ สมควร
ขอ้ ที่ 9. ให้ระดับผลการประเมนิ ในการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ดังน้ี
ผา่ น หมายถึง ผลการประเมินผา่ นเกณฑ์
ไมผ่ า่ น หมายถึง ผลการประเมินไมผ่ ่านเกณฑ์
ข้อท่ี 10. การตดั สินผลการเรยี นใหเ้ ปน็ ไปตามนยั ดังน้ี
(1) ตัดสินผลการเรยี นเป็นรายวิชา
(2) รายวชิ าทม่ี ีผลการเรยี นตง้ั แต่ระดับ 1 ขึ้นไป ถอื วา่ ประเมนิ ผ่านและใหน้ ับจำนวน
หน่วยกิตของรายวชิ าน้ันเป็นจำนวนหนว่ ยกิตสะสม

14

คู่มอื นักเรยี น นักศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

(3) เมอื่ ได้ประเมนิ ผลการเรียนแลว้ นักเรยี นที่มีผลการเรียนระดับศูนย์ (0) ตามข้อ 4 (1) ให้

รับการประเมินใหมไ่ ด้ 1 คร้งั ภายในเวลาท่ีสถานศกึ ษาหรอื สถานประกอบการกำหนดไมเ่ กิน 10 วัน นับแต่วัน

ประกาศผลการเรียนรายวชิ า เว้นแตม่ ีเหตจุ ำเปน็ อันสดุ วสิ ัย หากประเมนิ ใหม่ไม่ผา่ น ถ้าเป็นรายวิชาบังคบั ท่ี

กำหนดให้เรียนในแต่ละประเภทวิชา สาขาวชิ า และสาขางาน ให้เรยี นซ้ำ รายวชิ านัน้ ถ้าเป็นรายวิชาเลอื ก จะ

เรยี นซำ้ หรอื เรยี นรายวชิ าอื่นแทนก็ได้

(4) การประเมินใหม่ ใหร้ ะดบั ผลการเรยี นไดไ้ มเ่ กิน 1

(5) เม่อื ไดป้ ระเมินผลการเรยี นแล้ว นกั เรียนท่มี ีผลการเรียนระดับ 0 (ศูนย์) ตามท่กี ำหนดไว้ใน

ข้อ 4 (2) ถึง 4 (8) ข้อ 5 (3) ถา้ เป็นรายวิชาบงั คบั ทกี่ ำหนดให้เรียนในแตล่ ะประเภทวชิ า สาขาวชิ า และสาขา

งาน ให้เรยี นซำ้ รายวิชานั้น ถา้ เปน็ รายวิชาเลือกจะเรยี นซำ้ หรือเรียนรายวิชาอื่นแทนก็ได้

ขอ้ 11. การตดั สนิ ผลการเรยี นเพ่ือสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศักราช

2545 ให้ถือตามเกณฑ์ตอ่ ไปน้ี

(1) ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวชิ าสามญั หมวดวิชาชพี และหมวดวชิ าเลอื กเสรีครบตาม

กำหนดไว้ในหลกั สูตรสถานศกึ ษาแตล่ ะประเภทวิชา สาขาวชิ า และสาขางาน

(2) ได้จำนวนหน่วยกติ สะสมครบถ้วนตามโครงสรา้ ง ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศกึ ษาแตล่ ะ

ประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน

(3) ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ ำ่ กวา่ 2.00

(4) ได้เข้าร่วมกิจกรรมในสถานศกึ ษาไม่นอ้ ยกว่า 2 ชัว่ โมงต่อสปั ดาห์ ครบ 5 ภาคเรียน โดยมี

เวลาเข้ารว่ มปฏบิ ตั ิกิจกรรมไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาท่จี ดั กจิ กรรมในแต่ละภาคเรยี น และตอ้ งผา่ น

จดุ ประสงค์สำคัญของกจิ กรรม

หากนักเรยี นมเี วลาเข้าร่วมปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่ำกวา่ รอ้ ยละ 60 ของเวลาทีจ่ ดั กจิ กรรม ในภาคเรยี นใดโดย

เหตสุ ุดวิสยั ให้สถานศึกษาพิจารณาผ่อนผนั เป็นรายๆ ไป

เรอ่ื งที่ 5 การโอนผลการเรียน

เงื่อนไขการรับโอนผลการเรยี นบางรายวชิ า

1. รับโอนทุกรายวชิ า ท่ีมผี ลการเรียน 2 ขึ้นไป

2. ถ้ามกี ารทดสอบใหม่ ระดับผลการเรียนให้เป็นไปตามท่ีได้จากการทดสอบ แต่ต้องไม่สูงไปกว่าเดมิ

การอนุญาตให้ไปเรยี นทอี่ ่ืน

ข้อกำหนด เปน็ รายวชิ าเลือกหรอื รายวิชาท่ีสอบตกและไม่เปิดสอนในภาคเรยี นนั้น ๆ

เง่อื นไขการอนุญาต

หลักสูตรเดียวกัน สถานศกึ ษาทงั้ สองแหง่ ทำความตกลงกันในการสอนและรบั โอน

หลักสตู รอ่ืน 1. สถานศกึ ษาพิจารณาเน้ือหาของหลกั สูตรใหใ้ กล้เคียงกัน

2. คาบเรียนจะต้องไม่นอ้ ยกว่ารายวชิ าทต่ี ้องเรียนในหลกั สูตร ปวช.

เง่ือนไขการรับโอน

หลกั สูตรเดยี วกนั ขึ้นอยกู่ ับขอ้ ตกลงของสถานศกึ ษาทั้งสองแหง่

หลักสตู รอื่น ให้สถานศกึ ษาแจง้ ให้นักเรยี นทราบกอ่ นอนุญาตให้ไปเรียนวา่ จะรบั โอนตามข้อใดคอื

1. รบั โอนเฉพาะรายวิชาที่มีผลการเรียนตัง้ แต่ 2 ขึ้นไป

2. รายวชิ าทีไ่ ดร้ ะดบั ผลการเรยี น 1 จะทำการทดสอบก่อนจะรับโอน

3. รบั โอนรายวชิ าท่ีมีผลการเรียนตงั้ แต่ 1 ข้ึนไป

การบนั ทึกผล ให้ใชร้ หสั รายวิชา ปวช. ระบวุ ่าโอนมาจากสถานศกึ ษาแห่งอ่ืน รหัสวชิ าใด

15

คู่มอื นักเรยี น นักศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

เร่ืองที่ 6 การพน้ สภาพและการกลบั เข้าเรียนของผูพ้ ้นสภาพ
การพ้นสภาพไปเอง
สาเหตุ 1. จบหลักสูตร

2. ลาออก
3. ถงึ แก่กรรม
สถานศกึ ษาสัง่ ให้พน้ สภาพ
สาเหตุ 1. ขาดเรยี นติดต่อกนั 15 วนั โดยไมม่ ีเหตุผลสมควร หรือพฤติกรรมแสดงวา่ ไมต่ ง้ั ใจเรยี น
2. ไมม่ าตดิ ต่อรักษาสภาพ
3. ครบกำหนดลาพกั หรอื ถูกส่งั พักการเรยี นแล้ว ไมย่ นื่ คำขอกลบั เข้าเรียนภายใน 7 วนั สถานศึกษา
เห็นควรให้พ้นสภาพ
4. ประพฤตฝิ า่ ฝนื ระเบียบของสถานศึกษาหรือราชการ ประพฤติผิดศีลธรรมอย่างรา้ ยแรงทำให้เสีย
ชื่อเสยี งสถานศึกษา ประพฤตเิ ป็นภยั ต่อความสงบ
5. ต้องโทษคดีอาญาถึงจำคุก เว้นความผดิ ลหโุ ทษหรอื กระทำโดยประมาท
6. ขาดคณุ สมบัตขิ องผเู้ ขา้ เรียน
การกลับขา้ เรยี น
กรณีท่ี 1 นักเรียนที่ลาออก ถูกสั่งให้พ้นสภาพเพราะขาดเรียน ไม่รักษาสภาพครบกำหนดลาพกั หรอื ถูกส่ังพกั ไม่
ยืน่ คำขอกลบั เข้าเรียน ถ้าตอ้ งการกลบั เขา้ เรียนในสถานศกึ ษาเดิมต้องยื่นคำรอ้ งขอตอ่ สถานศึกษาภายใน 1 ปี
นบั ต้งั แต่วันถัดจากวันพ้นสภาพ เม่ือสถานศกึ ษาอนญุ าตให้กลบั เข้าเรียนได้
เงอื่ นไข 1. ต้องเข้าเรียนภายในสปั ดาห์แรกของภาคเรียน เวน้ แต่ในภาคเรยี นเดียวกัน
2. เรียนตามหลกั สูตรขณะน้ัน
3. นำคาบเรียนรายวิชาที่สอบไดไ้ ว้และยงั มอี ยหู่ ลักสตู รมานบั รวมได้
กรณที ี่ 2 พ้นสภาพมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี จงึ จะมีสิทธ์ิสมัครสอบเข้าเรยี น
เง่ือนไข ตอ้ งพ้นสภาพมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี จงึ จะมีสิทธ์ิสมคั รสอบเขา้ เรียน
เรื่องทกี่ ำหนดให้หัวหนา้ สถานศึกษาเปน็ ผู้พิจารณา
1. การขอกลับเข้าเรียนเนื่องจากลาออก, เมอ่ื ครบกำหนดเวลาพกั การเรียนหรอื ถูกสั่งใหพ้ ักการเรียน
2. การขอผอ่ นผนั ชำระเงินค่าลงทะเบยี น
3. รับทราบเรอื่ งการแก้ ม.ส.
4. การอนุมัตผิ ลการเรียนและการจบหลักสูตร
เรื่องที่ 7 หน้าท่ขี องสถานศึกษาในการจดั ทำหลักฐานและออกเอกสารเกยี่ วกบั การเรยี น
เอกสารและหลกั ฐานที่ตอ้ งจดั ทำ
1. รบ.1 ปวส. ตามแบบท่กี ำหนดท้ายระเบียบ และเก็บรกั ษาไว้ตลอดไป
2. รบ.2 ปวส. ตามแบบที่กำหนดท้ายระเบยี บ และเกบ็ รักษาสำเนาไวต้ ลอดไป
3. สมุดประเมนิ ผลรายวชิ า และหลกั ฐานเก่ยี วกับการประเมนิ การเรียนในรูปแบบหน่ึงนอกเหนอื จาก
ร.บ.ปวส.
4. ใบรบั รองสภาพการเป็นนักเรยี นและใบรับรองผลการเรียน ตามแบบทา้ ยระเบียบ
5. แบบรายงานผลการเรยี น สถานศึกษาจัดทำเอง
6. ประกาศนียบตั ร ตามแบบทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด

16

คมู่ อื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

การรายงานผลการเรยี น
1. ต้องรายงานผลการเรยี นใหน้ กั ศกึ ษา และผปู้ กครองทราบทุกภาคเรยี น (ควรมีคำชีแ้ จงถงึ การให้

ระดบั ผลการเรยี นและส่งทางไปรษณยี ์ลงทะเบียน)
2. แบบรายงานผลการเรยี นของผู้ที่จบหลักสตู ร (รบ.2 ปวส.) ส่งกรมเจ้าสงั กัด

ลกั ษณะการออกใบรบั รองผลการเรยี น
ให้ใชส้ ำเนาแสดงผลการเรียน (รบ.1) เป็นเอกสารรับรองผลการเรียนแทนใบสุทธแิ ละใบรับรอง

ใบรบั รอง รบ. 1 ปวส
1. จะเขยี นข้นึ ใหม่ หรอื ถา่ ยเอกสารก็ได้
2. หัวหน้าสถานศกึ ษาเปน็ ผู้ลงลายมือชื่อในตน้ ฉบบั และสำเนาของ รบ. 1 ปวส.
- รบั รองการจบหลักสูตร
- มุมใดมมุ หน่งึ ของรปู ถ่าย โดยติดท่ีรปู ถ่ายบางสว่ น (ถ้านักเรียนมาขอสำเนา รบ.1 ปวส. เม่ือมกี าร
เปลีย่ นหวั หนา้ สถานศกึ ษาใหมใ่ หห้ วั หน้าสถานศึกษาลงลายมือชือ่ ที่รูปถา่ ย
3. ให้ประทบั ตราดนุ ที่รูปถ่าย และตรงลายมอื ชื่อของหัวหนา้ สถานศกึ ษา
4. ใหห้ ัวหน้างานทะเบียนหรอื ผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมายให้ทำการแทนลงลายมือชอื่ รบั รอง สำเนา พรอ้ มท้ัง
วนั เดอื น ปี ทอี่ อกสำนา

ใบรับรองสภาพการเปน็ นักศึกษา
หรือใบรับรองผลการเรียน ใหแ้ ทน รบ.1 ได้ ในกรณีที่จัดทำโดยไม่ทัน ใบรบั รองท้งั 2 ใบ กำหนดให้มี

อายุ 60 วัน ดงั นี้ ให้กำหนดวันหมดอายุไว้ด้วย
การออกประกาศนยี บัตร

ใหป้ ฏบิ ัติตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร
ใบรบั รองพืน้ ฐานความรู้เดมิ

สถานศกึ ษาจะถา่ ยสำเนา รบ.1 ปวช. และรบั รองสำเนาให้ไปกไ็ ด้
หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตร

ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สงู พุทธศักราช 2563
1. การเรยี นการสอน

1.1 การเรยี นการสอนตามหลกั สูตรนี้ ผูเ้ รียนสามารถลงทะเบียนเรยี นไดท้ ุกวิธเี รียนที่กำหนดและนำ
ผลการเรียนแตล่ ะวธิ มี าประเมินผลรว่ มกันได้ สามารถถ่ายโอนผลการเรียน และขอเทียบความรแู้ ละ
ประสบการณ์

1.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏบิ ตั ิจรงิ โดยนำรายวชิ าไปจดั ฝกึ ในสถานประกอบการไม่น้อย
กว่า 1 ภาคเรยี น
2. เวลาเรียน

2.1 ในปกี ารศึกษาหนึ่ง ๆ ให้แบง่ ภาคเรียนออกเป็น 2 ภาคเรียนปกติ ภาคเรียนละ 18 สัปดาห์ โดยมี
เวลาเรียนและจำนวนหน่วยกิต ตามท่ีกำหนด และสถานศึกษาอาจเปิดสอนภาคเรียนฤดูร้อนได้อีกตามท่ี
เหน็ สมควร อยา่ งน้อย 5 สัปดาห์

2.2 การเรียนในระบบช้ันเรยี น ให้สถานศกึ ษาเปิดทำการสอนสัปดาห์ละ 5 วัน คาบละ 60 นาที
(1 ชัว่ โมง)

2.3 เวลาเรียนตามปกติ สำหรบั ผ้สู ำเรจ็ การศกึ ษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) หรอื
เทียบเทา่ ในประเภทวชิ าและสาขาวชิ าที่กำหนด 2 ปี สำหรบั ผู้สำเรจ็ การศึกษาในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

17

คูม่ ือนักเรยี น นกั ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

หรอื เทียบเทา่ ผสู้ ำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ตา่ งประเภทวิชา / สาขาวชิ าทก่ี ำหนด

ประมาณ 3 ปี

3. หนว่ ยกิต

ให้มีจำนวนหน่ วย กิตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 8 3 หน่วย กิต และไม่เกิน 90 ห น่วย กิต

การคิดหน่วยกิตถอื เกณฑ์ดงั น้ี

3.1 รายวชิ าภาคทฤษฎี 1 ชวั่ โมงตอ่ สัปดาห์ ตลอดภาคเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 18 ชวั่ โมง รวมกบั เวลาของ

การวัดผล มคี ่า 1 หนว่ ยกิต

3.2 รายวชิ าปฏิบัติทใ่ี ชเ้ วลาในการทดลองหรือฝกึ ปฏบิ ัตใิ นหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 ชัว่ โมงตอ่

ภาคเรยี น รวมกบั เวลาของการวัดผล มีคา่ 1 หนว่ ยกติ

3.3 รายวชิ าปฏิบัติทใ่ี ช้เวลาในการฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นโรงฝึกงานหรือภาคสนาม ไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมงเทา่ กบั

1 หนว่ ยกติ

3.4 การฝึกอาชพี ในการศึกษาระบบวิภาคี ที่ใชเ้ วลาฝกึ ไม่น้อยกว่า 54 ชวั่ โมงเท่ากบั 1 หนว่ ยกติ

3.5 การฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวชิ าชีพในสถานประกอบการ หรือแหล่งวิทยากรไมน่ อ้ ยกว่า 320

ชั่วโมงเท่ากบั 4 หน่วยกติ

3.6 การทำโครงงานพัฒนาทกั ษะวิชาชพี ไมน่ อ้ ยกว่า 54 ชัว่ โมง เท่ากบั 1 หนว่ ยกติ

4. โครงสร้าง

โครงสรา้ งของหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันสงู พทุ ธศักราช 2557 แบ่งเปน็ 3 หมวดวิชา

ฝกึ งานและกจิ การเสริมหลักสูตร ดงั นี้

4.1 หมวดวิชาทักษะชวี ติ รวมไม่นอ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกิต

4.2 หมวดวิชาทักษะวิชาชพี รวมไม่นอ้ ยกว่า 56 หน่วยกิต ประกอบดว้ ย 5 กลุ่มดังน้ี

4.2.1 กล่มุ ทกั ษะวชิ าชพี พื้นฐาน ไม่นอ้ ยกว่า 15 หนว่ ยกิต

4.2.2 กลุ่มทกั ษะวชิ าชีพเฉพาะ ไม่นอ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกิต

4.2.3 กลมุ่ ทักษะวชิ าชพี เลือก ไม่นอ้ ยกว่า 12 หน่วยกิต

4.2.4 ฝึกประสบการณ์ทกั ษะวิชาชีพ จำนวน 4 หนว่ ยกิต

4.2.5 โครงงานพฒั นาทักษะวิชาชีพ จำนวน 4 หนว่ ยกิต

4.3 หมวดวชิ าเลือกเสรี ประกอบด้วยรายวชิ าจากหมวดวิชาทักษะชีวติ หรือหมวดวชิ าทักษะวชิ าชีพ

เพือ่ เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ เพ่ือการประกอบอาชพี หรือการศึกษาต่อ รวม

ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต

4.4 กิจกรรมเสริมหลักสตู ร เปน็ สว่ นท่สี ง่ เสรมิ การพัฒนาทักษะชีวติ หรือหมวดวชิ าทักษะวิชาชพี

ผูเ้ รียน

ทุกคนต้องเขา้ รว่ มกิจกรรมอยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 2 ชว่ั โมงทกุ ภาคเรยี น กิจกรรมเสริมหลกั สูตรน้ีไม่นบั หน่วยกิต

5. การเข้าเรยี น
ผเู้ ข้าเรียนต้องมพี ้ืนความรู้และคณุ สมบัติ ดงั น้ี
5.1 พ้ืนฐานความรู้
สำเร็จการศกึ ษาระดับประกาศนียบตั ร (ปวช.) หรอื เทียบเท่า หรือสำเร็จศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน

ปลายหรือเทยี บเท่า

18

คูม่ อื นักเรยี น นกั ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

ผู้เข้าเรยี นทีส่ ำเร็จการศึกษาในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทยี บเทา่ และผ้สู ำเรจ็ การศึกษา
ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ต่างประเภทและสาขาวชิ าที่กำหนด ตอ้ งเรียนรายวิชาปรับพ้ืนฐานวชิ าชีพให้ครบ
ตามทรี่ ะบไุ ว้ในหลกั สูตรแต่ละประเภทวชิ าและสาขาวิชา

การเรยี นรายวชิ าปรับพนื้ ฐานวชิ าชพี ให้เปน็ ไปตามขอ้ กำหนดที่ระบไุ ว้ในแตล่ ะสาขาวิชา
5.2 คณุ สมบัติ
ให้เปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนียบตั ร
วิชาชพี ชัน้ สูง พุทธศักราช 2563
6. การประเมินผลการเรียน ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยการประเมินผลการเรยี น
ตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง พทุ ธศกั ราช 2563
7. กิจกรรมเสริมหลกั สูตร
สถานศึกษาต้องจัดให้มีกจิ กรรมเพื่อปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม ระเบยี บวินยั ของตนเอง การ
สนั ทนาการ และการสง่ เสริมการทำงานโดยใช้กระบวนการกลมุ่ ในการทำประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน ทำนุบำรงุ
ขนบธรรมเนียมประเพณอี ันดีงาม ซ่ึงประกอบด้วยการวางแผน ลงมือปฏิบัติ ประเมินผล และปรบั ปรงุ การ
ทำงาน ไมน่ ้อยกว่า 120 ชว่ั โมง
9. การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
9.1 ประเมินผา่ นรายวิชาในหมวดวิชาสามัญและหมวดวิชาชีพ ตามมาตรฐานท่กี ำหนดไว้ใน
หลักสูตรแตล่ ะประเภทวิชาและสาขาวชิ า
9.2 ไดจ้ ำนวนหนว่ ยกิตครบตามโครงสรา้ งของหลักสูตรประเภทวิชาและสาขาวชิ า
9.3 ได้ค่าระดับคะแนนเฉลย่ี สะสมไม่ตำ่ กว่า 2.00
9.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมเสริมหลกั สูตรและผา่ นการประเมนิ ตามทกี่ ำหนด
9.5 ประเมินผา่ นมาตรฐานวิชาชพี สาขาวชิ า

19

คูม่ ือนกั เรยี น นักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร
วา่ ดว้ ยการจัดกิจกรรมในสถานศึกสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2532

เน่ืองจากรฐั บาลมีนโยบายหลกั ทจ่ี ะปลูกฝงั เยาวชนของไทยใหม้ ีคณุ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ัย ความ
จงรักภกั ดีต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และเล่ือมใสในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มี
พระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ การดำรงส่งเสริมเอกลกั ษณ์และวัฒนธรรมไทย ตลอดจนความเป็นเอกราชความ
มั่นคงของชาติ เพือ่ เปน็ การสนองนโยบายของรัฐบาลใหส้ อดคลอ้ งกับความมงุ่ หมายของการศึกษา

ฉะน้ัน อาศยั อำนาจตามความในข้อ 23 แห่งประกาศของคณะปฏวิ ัติ ฉบบั ที่ 216 ลงวนั ท่ี 29
กันยายน พ.ศ. 2515 กระทรวงศึกษาธิการจงึ วางระเบยี บไวด้ งั ต่อไปน้ี

ขอ้ 1. ระเบยี บนเี้ รียกว่า “ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยการจดั กจิ กรรมในสถานศกึ ษาสงั กดั
กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2532”

ขอ้ 2. ระเบยี บน้ีใหบ้ งั คับตงั้ แต่ปกี ารศึกษา 2532 เป็นต้นไป
ข้อ 3. ใหย้ กเลิกระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยการจัดกิจกรรมในสถานศกึ ษาสงั กดั
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2520
บรรดาระเบยี บ ข้อบงั คบั หรอื คำสั่งอื่นใด ท่ีได้กำหนดไวแ้ ล้วในระเบยี บนี้ หรือซ่งึ ขดั หรือแยง้ กับ
ระเบยี บน้ี ใหใ้ ชร้ ะเบียบนแ้ี ทน
ขอ้ 4. หลักเกณฑ์การจดั กิจกรรมในสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

4.1 จะต้องเปน็ ไปตามนโยบายหลกั ของรัฐบาล ในการดำเนินงานพัฒนาการศึกษาเพ่อื
ส่งเสริมความเจรญิ และความมั่นคงของชาติ

4.2 จะต้องไปเพือ่ วางรากฐานการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริยเ์ ป็น
ประมขุ

4.3 จะตอ้ งเปน็ ไปเพื่อส่งเสริมนักเรยี นใหม้ ีระเบียบวินยั ในตนเอง
4.4 จะต้องเป็นไปเพือ่ สง่ เสรมิ ความสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งนักเรยี นและครู
4.5 จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ
4.6 จะตอ้ งมโี ครงการและระเบียบขอ้ บังคับของกิจกรรม โครงการและระเบียบขอ้ บังคับ
จะตอ้ งเป็นของสถานศึกษา
4.7 ทุกกจิ กรรมจะต้องมคี รู อาจารยใ์ นโรงเรียนเข้าร่วมรบั ผดิ ชอบดำเนินการ
4.8 บคุ ลากรท่เี กี่ยวขอ้ งกับการจัดกิจกรรมจะต้องเปน็ บุคคลที่ปัจจบุ ันอยู่ในสถานศกึ ษาน้ัน
เว้นแต่วิทยากรให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหนา้ สถานศึกษา
4.9 การจัดให้กจิ กรรมเลือกใด ๆ หรอื ไม่ ให้อยใู่ นดุลพนิ จิ ของหัวหน้าสถานศึกษานั้น ๆ
4.10 ให้สถานศกึ ษาควบคุมเรื่องการจา่ ยเงินหรอื พสั ดขุ องอื่น ๆ ให้เป็นการประหยัดและ
เปน็ ไปตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธกิ าร เพอื่ ความมนั่ คงและปลอดภัยของชาติ
4.11 ในกรณีท่หี วั หนา้ สถานศกึ ษาพิจารณาเห็นว่ากจิ กรรมใด ๆ ไม่เหมาะสมมีการกระทำหรือ
อาจนำมาซง่ึ ภยนั ตรายตอ่ ความมัน่ คงของชาติ ใหห้ ัวหนา้ สถานศึกษาสง่ั ยกเลกิ กิจกรรมน้ัน ๆ เสยี
ข้อ 5. ให้อธิบดกี รมเจา้ สังกดั สถานศกึ ษานั้น ๆ เปน็ ผ้รู ักษาการตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ท่ี 29 ธนั วาคม พ.ศ. 2532

20

คู่มอื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

กจิ กรรมที่กำหนดในโครงสรา้ งของหลักสตู ร ปวช. และ ปวส.

หมายถึง การปฏิบตั ิงานรว่ มกนั ของผู้เรียนเป็นกลุ่ม ๆ ตามความสนใจและความถนัด มิใช่กิจกรรมท่ีครู

จัดขึ้นเพอ่ื ผูเ้ รยี นในกาเรียนวชิ าตา่ ง ๆ ซึง่ ผเู้ รียนจะตอ้ งเรียนและสอบให้ผ่านตามเกณฑ์ทกี่ ำหนดว่าเปน็ การ

ประกอบกจิ กรรมร่วมกันโดยผู้เรียนชว่ ยกนั คิด ช่วยกนั ทำ และชว่ ยกนั แก้ปัญหาอนั จะเปน็ การปลกู ฝงั ลกั ษณะ

นิสัยที่ดีในการอยรู่ ว่ มกันในสงั คมประชาธปิ ไตย

ภารกจิ หลกั ของโรงเรียน คือ การประสทิ ธิป์ ระสาทวชิ าความรตู้ ่าง ๆ เพื่อเปน็ พื้นฐานในการพัฒนา

สตปิ ัญญาลกั ษณะนิสยั อันดงี ามแกผ่ เู้ รียน เพอ่ื การเป็นพลเมอื งดีของประเทศชาติสืบไปในภายภาคหน้า

นอกจากเปน็ แหล่งให้ความรูแ้ ล้ว โรงเรยี นยงั เปน็ ที่รวมของเด็กในวันทตี่ ้องการเป็นส่วนหนึง่ ของหม่คู ณะ เดก็ ท่ี

กำลังฝึกท่ีจะเปน็ สมาชกิ ท่ีดขี องสงั คม มคี วามตอ้ งการ ต้องการเป็นสว่ นหนงึ่ ของหมคู่ ณะ เด็กที่กำลังฝกึ ท่ีจะ

เปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสังคม มีความตอ้ งการเพื่อที่จะรวมกล่มุ และทำตามกลุ่ม โรงเรียนจึงต้องสนองความตอ้ งการ

น้ี และใชโ้ อกาสนห้ี ล่อหลอมปรงุ แต่งเดก็ ให้เป็นไปในทางท่ีถกู ท่ีควร

เนอื่ งจากผ้เู รียนมีธรรมชาตทิ ี่ตอ้ งการจะรวมกลุ่มกนั อยู่แลว้ และกลมุ่ นัน้ มกั จะประกอบด้วยสมาชิกซง่ึ มี

ความสนใจท่ีใกลเ้ คยี งกัน วิทยาลยั จงึ ควรใช้การรวมกลุ่มและพลงั จากการรวมกลุ่มไปในทางสรา้ งสรรคแ์ ละมี

จดุ หมาย โดยอาศัยกิจกรรมเปน็ เครอื่ งมือ การจดั กิจกรรมที่สนใจร่วมกันจะทำให้เกิดประโยชนแ์ กผ่ เู้ รยี นหลาย

ประการ เช่น

1. ไดค้ ้นพบความสนใจและความถนดั ที่แทจ้ ริงของตนเอง ซง่ึ ทำให้เกดิ ความม่นั ใจในตนเอง

2. ไดค้ น้ พบว่าเหมาะสมกับบทบาทใดในกลุ่ม และยอมรบั ในบทบาทน้ัน

3. ทำให้รกั และผกู พันกับวทิ ยาลยั รู้จกั ชว่ ยเหลือเกอื้ กลู ซ่ึงกนั และกนั

4. ฝึกนสิ ยั ทีด่ ีของการอยู่ในสังคม เชน่ การยอมรบั ผู้อื่น ความอดทน การถนอมน้ำใจกันเป็นตน้

ในระดับ ปวช. และ ปวส. หลกั สูตรได้กำหนดให้ผูเ้ รียนเข้ารว่ มกจิ กรรมดังนี้

4.1 กจิ กรรมตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยการจัดกจิ กรรมในสถานศึกษาสังกัด

กระทรวงศกึ ษา 2 ช่ัวโมงตอ่ สัปดาห์

4.2 กจิ กรรมแนะแนว และหรือกจิ กรรมแก้ปญั หา และหรอื กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ 1

ชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห์

4.3 กจิ กรรมอสิ ระของผู้อื่น

การจัดกิจกรรมในโรงเรียนมีจดุ ประสงค์ดังต่อไปนี้

1. เพื่อเสรมิ ความรู้และประสบการณเ์ พ่ิมเติมจากการเรียนวิชาตา่ ง ๆ

2. เพอื่ ใหร้ ู้จักและเขา้ ใจตนเอง สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดลอ้ มได้

3. เพอ่ื เสรมิ การพัฒนาบุคลิกภาพ ลกั ษณะนิสัย ใหม้ คี วามรบั ผดิ ชอบ มีความสามัคคี มรี ะเบยี บวินยั มี

ความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ รจู้ ักชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื ศาสนา พระมหากษัตริยแ์ ละเลือ่ มใสในการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมุข

ตอ่ ไปนี้เป็นกจิ กรรมท่ีวิทยาลยั อาจเสนอแนะตอ่ ผู้เรยี น

1. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ

เป็นกิจกรรมทมี่ มุ่ จัดขนึ้ เพือ่ เสริมประสบการณเ์ กยี่ วกับอาชีพโดยอาจเน้นอาชพี อสิ ระท่ีมีอย่ใู น

ท้องถนิ่ เพื่อให้ผ้เู รียนไดร้ ูข้ ั้นตอนกระบวนการประกอบอาชีพ จากการศกึ ษาค้นควา้ และจากประสบการณ์ตรง

ท้งั น้ี ควรได้ทดลองปฏบิ ัติดว้ ย

21

คูม่ อื นักเรยี น นกั ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

2. กจิ กรรมส่งเสริมการเกษตร
เป็นกิจกรรมทม่ี งุ่ เสริมความรู้ความเข้าใจเรือ่ งการเกษตร และการนำเทคนิควธิ กี ารมาใชใ้ ห้

เหมาะสมกับการปฏบิ ัตงิ านทางการเกษตร เพือ่ พัฒนาผลผลิตทางการเกษตรใหด้ ขี ้ึน
3. กิจกรรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
เปน็ กจิ กรรมที่ม่งุ ส่งเสริมการนำระบบสหกรณ์ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์อยา่ งเต็มท่ีท้งั แก่ตนเองและ

สงั คม
4. กจิ กรรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม
เปน็ กจิ กรรมทม่ี ุ่งเสริมความร้แู ละประสบการณใ์ นงานดา้ นอตุ สาหกรรม เพือ่ ให้ผูเ้ รียนสนใจในงาน

อาชีพทางดา้ นอุตสาหกรรม
5. กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศาสนา ศิลปะ และวัฒนาธรรม
เปน็ กจิ กรรมท่ีมุ่งเสรมิ ความรู้ ความเข้าใจ ความศรัทธาในศาสนา และให้พบเหน็ ศลิ ปะและ

วฒั นธรรมไทย เพื่อใหร้ ู้สึกชืน่ ชมและภาคภมู ิใจในเอกลักษณ์ไทย
6. กจิ กรรมส่งเสรมิ การใช้สนิ คา้ ไทย
เปน็ กจิ กรรมที่มุ่มเสริมให้รจู้ ักและใชส้ นิ ค้าไทย เพ่ือพัฒนาค่านิยมทถี่ ูกต้องในการใช้สนิ ค้าไทย
7. กิจกรรมการใชห้ ้องสมุด
เป็นกิจกรรมทม่ี งุ่ เสรมิ การใชห้ ้องสมุดให้ถูกต้องตามระบบสากล เพอ่ื ปลูกผงั ใหเ้ กดิ นิสัยรักการอ่าน

และการค้นควา้ หาข้อมูล
8. กจิ กรรมส่งเสริมวิชาต่าง ๆ ในหลกั สูตร
เป็นกจิ กรรมที่มุ่งเสริมความรู้ ความเขา้ ใจในรายวิชาต่าง ๆโดยเน้นการปฏบิ ัตเิ พ่อื ให้ผู้เรยี นได้รจู้ รงิ

มใิ ช่การสอนเนื้อหาเพ่ิมเตมิ จากบทเรียนในชั้นเรียน
9. กิจกรรมกฬี า
เปน็ กิจกรรมที่มุง่ เสรมิ ให้เล่นกฬี ารว่ มกัน เพอ่ื ความสามคั คี มนี ้ำใจนักกีฬาและรักการออกกำลงั

กายเพอ่ื สขุ ภาพ
10. กจิ กรรมนันทนาการ
เป็นกิจกรรมท่มี งุ่ เสริมการใชเ้ วลาให้เกิดประโยชนต์ ามความถนัดและความสนใจเพื่อความสนุก

เพลิดเพลนิ
11. กิจกรรมอนรุ ักษ์ศลิ ปกรรมและสิ่งแวดลอ้ ม
เป็นกจิ กรรมทม่ี ุง่ เสรมิ ความรู้ ความเขา้ ใจในศลิ ปกรรมและสิ่งแวดล้อม เพอ่ื ใหร้ ู้สึก หวงแหน และ

มสี ่วนรว่ มในการรักษาไว้ใหเ้ ป็นมรดกของชาติสืบไป
12. กจิ กรรมทัศนศึกษา
เป็นกจิ กรรมทีม่ งุ่ เสริมให้มกี ารศกึ ษานอกสถานที่ เพ่อื ให้มโี อกาสได้พบเห็นและสัมผสั กบั ธรรมชาติ

ศิลปะ โบราณสถาน และแหล่งวทิ ยาการตา่ ง ๆ
13. กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี ยุวกาชาด ผบู้ ำเพ็ญประโยชน์ และรกั ษาดินแดน
เป็นกจิ กรรมที่จดั ขึ้นเพือ่ ฝกึ อบรมบม่ นสิ ยั ใหเ้ ปน็ พลเมืองดตี ามจารตี ประเพณขี องชาติบ้านเมือง

และตามอุดมคติ อุดมการณ์ของลูกเสอื – เนตรนารี ยุวกาชาด ผบู้ ำเพ็ญประโยชน์และรักษาดินแดน โดย
ดำเนินการจดั กจิ กรรมใหเ้ ป็นไปตามข้อกำหนดของคณะกรรมการลกู เสือแหง่ ชาติกองยุวกาชาด สมาคมผู้
บำเพญ็ ประโยชน์ และกรรมการรักษาดินแดน

22

ค่มู ือนักเรยี น นักศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

นอกจากกิจกรรมต่าง ๆ ท่เี สนอแนะไว้ข้างต้น ผูเ้ รียนอาจเสนอกจิ กรรมอื่น ๆ ไดต้ ามความต้องการ
เชน่ กจิ กรรมทำหนังสอื รุ่น กิจกรรมทำหนงั สอื พมิ พโ์ รงเรยี น
แนวดำเนินการจดั กิจกรรม

โรงเรยี นควรจัดใหม้ ีกจิ กรรมหลากหลาย เพ่อื ให้ผูเ้ รียนไดม้ โี อกาสไดก้ ว้างขวางตามความถนดั และความ
สนใจของผู้เรยี นจริง ๆ ซึง่ จำเป็นต้องอาศัยปัจจัยหลายด้าน เชน่ บคุ ลากร สถานที่และงบประมาณ เปน็ ต้น ใน
การจดั ระบบงานใหม้ ีประสิทธิภาพ สิ่งสำคัญที่สดุ คือ บุคลากร ซ่งึ จะต้องประกอบดว้ ยหลายฝ่าย ไดแ้ ก่
ผบู้ ริหารโรงเรยี น หวั หนา้ หมวดกิจกรรม ครูทีป่ รกึ ษากิจกรรม และผเู้ รียนซ่งึ ต้องรว่ มมือกนั อย่างใกลช้ ดิ จึง
ควรมกี ารกำหนดหน้าทแ่ี ละความรับผดิ ชอบให้ชดั เจน

ต่อไปนเ้ี ป็นข้อเสนอแนะสำหรบั บุคลากรทเ่ี กีย่ วข้อง โรงเรียนจะสามารถนำไปปรับปรงุ และเลือก
ปฏิบัตไิ ด้ตามความเหมาะสมและความพร้อมของแตล่ ะโรงเรียน คอื

1. ผบู้ ริหาร
มีบทบาทและความรบั ผิดชอบในการจัดกิจกรรม ดังนี้
1) กำหนดระเบียบข้อบังคบั วา่ ดว้ ยการจดั กิจกรรมฯ
2) กำหนดกจิ กรรมใหอ้ ยู่ในสายงานวิชาการของวิทยาลัย และกำหนดใหค้ รทู ุกคนมีหน้าท่ี

รบั ผิดชอบเปน็ ทปี่ รกึ ษากิจกรรมคนละอย่างนอ้ ย 1 กิจกรรม
3) จัดสรรงบประมาณทเี่ หมาะสมให้
4) จัดอาคาร สถานท่ี ทเ่ี หมาะสมให้
5) ติดตาม ดูแลการจัดกจิ กรรมอย่างสม่ำเสมอ
6) ในกรณที ่ีมกี จิ กรรมรกั ษาดินแดน ใหค้ รูท่ีปรกึ ษาฝกึ นกั ศึกษาวชิ าทหารตามหลักสูตรของ

กรมการรักษาดินแดน
7) รายงานการจัดกจิ กรรมประเภทตา่ ง ๆ ในแตล่ ะภาคเรยี นให้เจ้าสังกัดทราบ
8) สนบั สนนุ การจัดประชมุ ปรึกษาหารือระหวา่ งครูทปี่ รึกษากิจกรรม เพอ่ื พฒั นาการจัดกิจกรรม

ใหบ้ รรลจุ ดุ ประสงค์ท่ีกำหนด
2. หวั หน้างานกิจกรรม
มีบทบาทและความรับผิดชอบในการจดั กิจกรรม ดงั นี้
1) สำรวจข้อมลู เก่ยี วกับจำนวนและความถนดั ของบุคลากร
2) สำรวจความตอ้ งการและจำนวนผู้เรียนท่ีจะเลือกกิจกรรมตา่ ง ๆ
3) ทำโครงการจดั กจิ กรรมตลอดภาคเรียน
4) เสนอแผนการจัดประชมุ สมั มนาครทู ีป่ รึกษากจิ กรรมเกีย่ วกับวิธกี ารจัด และแนวดำเนินการ

อยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครงั้
5) เสนอแผนในการจัดประชุมท่ีปรกึ ษากิจกรรมเพอ่ื ปรกึ ษาหารือในระหวา่ งการจัดกิจกรรมอย่าง

นอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครัง้
6) ประมาณการการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณในการจัดกิจกรรมตลอดปีการศึกษา
7) เสนอขออนมุ ัตโิ ครงการจดั กิจกรรม
8) แจง้ ใหค้ รทู ี่ปรกึ ษากิจกรรมและผเู้ รยี น ทราบถงึ รายการกจิ กรรมท่จี ะจัดในแต่ละภาคเรยี น
9) กำหนดระยะเวลา และสถานทสี่ ำหรับการสมคั รเขา้ ร่วมกิจกรรม
10) พิจารณาและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับแผนการจัดกิจกรรมซึง่ ครทู ป่ี รึกษากิจกรรมสง่ มาเพ่อื

อนุมัติ

23

คู่มือนักเรยี น นกั ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

11) ควบคุมการดำเนนิ การจัดกิจกรรมทกุ รายการใหอ้ ยู่ระเบียบขอ้ บังคับของโรงเรยี นหรอื
สถานศกึ ษา

12) รวบรวมผลการประเมนิ การจัดกจิ กรรมทุกรายการ เสนองานวดั ผลของวทิ ยาลยั
13) เป็นท่ปี รึกษาของครทู ี่ปรึกษากิจกรรมและจัดประชมุ ปรึกษาหารอื เป็นระยะ ๆ ตามความ
เหมาะสม

3. ครทู ี่ปรึกษากจิ กรรมและผเู้ รียน
ผเู้ รียนมีความพร้อมท่ีจะรวมกลุม่ กนั อยู่แลว้ ตามธรรมชาติ หากครสู ามารถจัดกจิ กรรมให้

เปน็ ไปตามธรรมชาตแิ ล้ว ผู้เรยี นจะมีความกระตอื รือรน้ ที่จะเข้าร่วมในกิจกรรมเป็นอย่างดี ดังน้ี ในการจัด
กจิ กรรมต่าง ๆ จงึ ควรระลึกถงึ หลักสำคัญ 3 ประการ คือ

1. ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนแสดงความคดิ เห็นอย่างมอี สิ ระในการจัดทำแผนการจดั กจิ กรรมร่วมกับ
ครูทีป่ รึกษากจิ กรรม และใหส้ ามารถจัดกจิ กรรมในลักษณะทผ่ี ูเ้ รยี นสนใจและตอ้ งการ

2. ใหผ้ ู้เรียนมีโอกาสเลอื กกิจกรรมในแต่ละภาคเรยี นไดห้ ลากหลาย นั่นคอื ให้เลอื กได้
มากกวา่ หนง่ึ กจิ กรรมและหากเปน็ ไปได้ไมค่ วรสง่ เสริมให้เลอื กกิจกรรมซำ้ กันมากเกนิ ไปและเมือ่ ตัดสินใจเลอื ก
กจิ กรรมใดแล้ว หากมคี วามประสงค์จะเปลีย่ นไปเขา้ ร่วมกจิ กรรมอื่น ควรหารือครูทีป่ รึกษากิจกรรม ถ้า
เห็นสมควรจะเปลย่ี นกจ็ ะไดด้ ำเนินการเปลีย่ นตามระเบียบที่โรงเรียนกำหนดขึ้น เชน่ ยื่นคำร้องตอ่ ผู้เกีย่ วข้อง
ท้ังนี้ ควรใหอ้ ยู่ภายในสัปดาหท์ ส่ี องของภาคเรยี นเพ่ือจะไดม้ ีเวลาปรับตวั ให้ทันกับกจิ กรรมใหม่

3. ให้ผเู้ รียนเลือกต้งั คณะกรรมการดำเนนิ การจัดกิจกรรม และสรุปผลงานหรือผลการเข้า
ร่วมกิจกรรมทกุ ภาคเรียน

รายละเอียดของการปฏบิ ัติงานของครทู ป่ี รึกษากิจกรรม อาจมีดงั น้ี
1. จดั ทำแผนการจัดกจิ กรรม เพือ่ ส่งให้หวั หน้างานกจิ กรรม
2. รว่ มประชมุ หรือเพอื่ พฒั นาการจัดกิจกรรมตามแผนงานทห่ี วั หน้าหมวดกิจกรรมกำหนด
3. ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ผเู้ รียนเข้าใจจุดมุ่งหมายและแนวการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรม
4. ดำเนินการรบั สมคั รสมาชิก
5. ปฐมนิเทศสมาชกิ เกีย่ วกับข้อปฏบิ ัตขิ องการเขา้ ร่วมกิจกรรม
6. จดั ใหม้ กี ารเลือกตงั้ คณะกรรมการดำเนินการ
7. วางแผนการจัดกจิ กรรมแต่ละกจิ กรรมร่วมกับสมาชกิ เพือ่ เสนอขออนุมัติต่อหัวหน้าหมวดกิจกรรม
8. เป็นท่ีปรกึ ษา ชว่ ยเหลอื และร่วมทำกิจกรรมกับสมาชกิ อยา่ งใกลช้ ดิ
9. บนั ทึกผลการประเมิน

การประเมินผล

ในระหวา่ งทำกจิ กรรม ครทู ่ปี รึกษาเป็นผปู้ ระเมนิ และบันทึกผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมของผเู้ รยี น ท้ังนี้
ให้เป็นไปตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยการประเมินผลการเรยี นฯ

ปรัชญากรมอาชีวศึกษา (เดิม)

ทกั ษะเย่ยี ม เป่ียมคณุ ธรรม
ลำ้ เลิศวชิ า ใชเ้ วลาใหเ้ กิดคณุ

24

ค่มู อื นักเรยี น นักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

คา่ นยิ มพ้ืนฐาน 5 ประการ
1. การพ่งึ ตนเอง ขยนั หมนั่ เพียร และมีความรับผิดชอบ
2. การประหยดั และอดออม
3. การมรี ะเบยี บวนิ ยั และเคารพกฎหมาย
4. การปฏิบัตติ ามคณุ ธรรม ของศาสนา
5. การรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

บญั ญัติ 10 ประการ
1. แสวงหาความรู้
2. เคารพครู-อาจารย์
3. รักการศกึ ษา
4. มีจรรยาเรียบร้อย
5. มักน้อยตามฐานะ
6. เสียสละเพอื่ สถาบัน
7. มุ้งมน่ั ประพฤตดิ ี
8. หลกี หนีสง่ิ ชวั่
9. ไมม่ ่ัวส่งิ เสพติด
10. รจู้ ักคิดใช้ปัญญา

25

คู่มอื นกั เรยี น นักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ
ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนนักศกึ ษา

พ.ศ. 2548
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ วางระเบยี บวา่ ด้วยการลงโทษนักเรยี นนักศึกษาไวด้ งั ต่อไปนี้
ขอ้ 1 ระเบียบนี้เรยี กวา่ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ยการลงโทษนักเรียนนักศึกษา พ.ศ.
2548
ข้อ 2 ระเบียบน้ีให้ใชบ้ ังคับต้ังแต่วันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป
ข้อ 3 ให้ยกเลกิ ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยการลงโทษนักเรยี นนักศกึ ษา พ.ศ. 2543
ขอ้ 4 ในระเบยี บน้ี
ผบู้ ริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หมายความวา่ ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำนวยการ อธิการบดี
หรือหวั หนา้ ของโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษา ตำแหนง่ ทีเ่ รยี กชอ่ื อย่างอน่ื ของโรงเรียนหรอื สถานศึกษาน้ัน
กระทำความผิด หมายความว่า การทนี่ กั ศกึ ษาประพฤตฝิ ่าฝนื ระเบยี บ ข้อบังคับของสถานศึกษา หรือ
ของกระทรวงศึกษาธกิ าร หรือกฎกระทรวงว่าดว้ ยความประพฤตขิ องนกั เรียนและนกั ศกึ ษา
การลงโทษ หมายความว่า การลงโทษนักเรยี นหรอื นกั ศกึ ษาท่กี ระทำความผิด โดยมีความมุ่งหมายเพ่ือ
การอบรมสง่ั สอน
ขอ้ 5 โทษที่จะลงโทษแกน่ กั เรยี นหรือนักศกึ ษาทก่ี ระทำความผิด มี 4 สถาน ดังนี้
1. วา่ กล่าวตักเตือน
2. ทำทณั ฑบ์ น
3. ตดั คะแนนความประพฤติ
4. ทำกจิ กรรมเพอ่ื ใหป้ รับเปลย่ี นพฤตกิ รรม
ข้อ 6 ห้ามลงโทษนักเรยี นและนกั ศกึ ษาด้วยวธิ ีการรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง ดว้ ยความโกรธ หรอื ด้วยความ
พยาบาท โดยให้คำนึงถงึ อายขุ องนักเรียนหรือนกั ศึกษา ความรา้ ยแรงของพฤตกิ ารณป์ ระกอบการลงโทษดว้ ย
การลงโทษนักเรยี นหรือนกั ศกึ ษาให้เปน็ ไปเพื่อเจตนาท่จี ะแก้นิสยั และความประพฤตไิ ม่ดีของนักเรยี น
หรอื นกั ศกึ ษาใหร้ ู้สำนึกในความผดิ และกลบั ประพฤติตนในทางที่ดีตอ่ ไป
ให้ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นหรือสถานศึกษา หรอื ผูท้ ี่ผ้บู รหิ ารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมายเปน็ ผู้มอี ำนาจ
ในการลงโทษนักเรียน นกั ศกึ ษา
ขอ้ 7 การว่ากล่าวตักเตอื น ใช้ในกรณนี ักเรยี นหรอื นักศึกษาการะทำความผดิ ไม่ร้ายแรง
ขอ้ 8 การทำทณั ฑ์บนใช้ในกรณนี กั เรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤตติ นไมเ่ หมาะสมกับสภาพนกั เรียนหรือ
นักศึกษา ตามกฎหมายกระทรวงว่าด้วยความประพฤตนิ ักเรียนและนกั ศึกษา หรือกรณีทำใหเ้ ส่ือมเสียชื่อเสียง
และเกียรติศกั ด์ิของสถานศึกษา หรือฝ่าฝนื ระเบียบของสถานศกึ ษา หรือได้รบั โทษว่ากล่าวตกั เตอื นแล้ว แตย่ ัง
ไม่เข็ดหลาบ
การทำทณั ฑ์บนให้ทำเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทกึ รับทราบความผิดและ
รบั รองการทำทัณฑบ์ นไวด้ ว้ ย
ข้อ 9 การตดั คะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบยี บปฏิบตั ิว่าดวั ยการตัดคะแนนความประพฤติ
นักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากำหนด และให้ทำบนั ทึกขอ้ มลู ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน
ขอ้ 10 ทำกิจกรรมเพ่ือให้ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทำความผิดที่
สมควรตอ้ งปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

26

คมู่ ือนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

การจัดกจิ กรรมใหเ้ ปน็ ไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
ข้อ 11 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ีและให้มีอำนาจตีความและ
วินิจฉยั ปญั หาเกย่ี วกับการปฏิบตั ิตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ 18 มกราคม พ.ศ.2548
อดิศัย โพธารามิก

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ

27

คมู่ อื นักเรยี น นักศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

ระเบยี บวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย
ว่าดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ตี ดั คะแนนความประพฤตินักเรยี นนักศกึ ษา พ.ศ. 2565

อาศัยระเบียบกระทรวงศึกษาว่าดว้ ยการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศกึ ษาพ.ศ. 2548 กฎกระทรวงกำหนด
ความประพฤตนิ ักเรียนนักศึกษาพ.ศ. 2548 กำหนดหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขในการจดั ระบบงานและ
กิจกรรมในการแนะแนว ให้คำปรึกษา ฝกึ อบรมแก่นักเรียน นักศึกษาและผปู้ กครอง พ.ศ. 2548 วทิ ยาลยั
การอาชพี ด่านซ้ายจงึ วางเกณฑ์และวิธีการตดั คะแนนความประพฤติของนักเรยี นนักศึกษาไว้ดังตอ่ ไปน้ี
การตัดคะแนนความประพฤติ

1. นกั เรียน หรือนักศึกษา ทุกคนจะมคี วามประพฤติในภาคเรียนหนงึ่ 30 คะแนน
2. นกั เรียน หรือนกั ศึกษาคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติรวม 10 คะแนนใหว้ า่ กล่าวตักเตือน เป็น
ลายลักษณ์อกั ษรและแจง้ ครทู ่ีปรกึ ษาทราบ
3. นักเรียนหรือนักศึกษาถูกตัดคะแนนความประพฤติ รวม 20 คะแนนให้แจ้งผปู้ กครองทราบแล้วทำ
ทณั ฑ์บน โดยมีครูที่ปรึกษาและผู้ปกครองลงนามเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร
4. นักเรียนหรือนักศึกษา ถูกตัดคะแนนความประพฤติ 30 คะแนนให้ทำกิจกรรมปรับเปล่ียน
พฤตกิ รรม 1 ภาคเรียน
1. ความผดิ ท่ีถกู ตดั คะแนนความประพฤติ 5 คะแนน
1.1 แตง่ กายไม่สภุ าพเข้ามาในสถานศกึ ษา
1.2 มอี ุปกรณ์การเล่นการพนนั ไว้ในครอบครอง
1.3 แต่งกายผิดระเบยี บไม่เรียบรอ้ ยท้ังในและนอกสถานศึกษาในวันและเวลาที่มีการเรียน
1.4 หลบหนีการเข้าแถวหรอื การประชุม
1.5 มาวทิ ยาลยั ฯสาย
1.6 เที่ยวเตร่ยามวกิ าล
1.7 แสดงกรยิ าทำนองชู้สาว
1.8 ทำใหอ้ าคารเรยี น โรงฝกึ งาน หรอื บรเิ วณสถานศึกษาสกปรก
1.9 ยแุ หย่ ให้แตกความสามัคคี
1.10 มภี าพหรอื ส่งิ พิมพ์หรือวัตถุอื่นใดที่ผดิ ศีลธรรม ลามก อย่ใู นครอบครอง

1.10.1 ลกั ษณะความผดิ อ่ืนๆ ในสถานเบา ตามทคี่ รเู หน็ สมควร
2. ความผิดทีถ่ ูกตดั คะแนนความประพฤติ 10 คะแนน

2.1 แสดงกริยา วาจา ไม่สุภาพเรยี บร้อยในสถานศกึ ษาท่ีสาธารณะ
2.2 ขดั คำสั่งทชี่ อบของครอู าจารย์
2.3 เขา้ ไปในบริเวณที่หวงห้าม หรือสถานท่ที ต่ี นไมม่ สี ิทธิ์ โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต
2.4 ขาดเรยี นติดต่อกนั เกิน 7 วนั โดยไม่แจ้งไห้สถานศกึ ษาทราบ
2.5 ใสร่ า้ ยผอู้ นื่ หรือทำใหผ้ ู้อื่นผิด ตอ้ งไดร้ ับโทษ
2.6 ทำใหท้ รพั ย์สนิ ผอู้ น่ื เสียหาย
2.7 ไม่รักษามารยาทในห้องเรียน
2.8 สูบบุหรี่
3. ความประพฤตทิ ตี่ ้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ 15 คะแนน
3.1 ก่อความเดือดร้อนแกผ่ ู้อื่น
3.2 ยุยง ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดความกระดา้ งกระเด่อื ง และฝ่าฝืนระเบียบของสถานศกึ ษา

28

ค่มู ือนักเรยี น นกั ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

3.3 ร่วมในวงสุราหรือของมนึ เมา หรือยาเสพติดใหโ้ ทษ
3.4 ร่วมอยู่ในวงเล่นการพนนั
3.5 มีอาวุธร้ายแรงไว้ครอบครอง
3.6 ทจุ รติ ในการสอบ
3.7 มีคดีในขอ้ หาเกีย่ วกบั ความประพฤติจนถูกลงโทษขนั้ สถานตี ำรวจ
3.8 พูดเท็จ หรอื ทำรายงาน หลกั ฐานเทจ็
3.9 หยิบฉวยทรพั ย์สินของผูอ้ ืน่ ไปใชโ้ ดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาตจากเจ้าของซ่งึ ไมม่ เี จตนาขโมย
3.10 เคลื่อนยา้ ยหรอื ใช้อุปกรณ์การสอน หรือทรัพยส์ ินอน่ื ใดของวิทยาลยั ฯทีจ่ ดั วางไวเ้ ป็นท่ีโดยไม่ได้รับ

อนญุ าต
4. ความประพฤตทิ ตี่ อ้ งลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ 20 คะแนน

เล่นการพนัน
ประพฤติตนไม่เหมาะสมกบั สภาพของนักเรียนหรอื นักศึกษา เช่น เข้าไปในสถานที่หญิงโสเภณี บ่อน
การพนัน สถานบิลเลียด สถานอาบ อบ นวด บาร์หรอื ไนต์คลบั
เสพสุราหรอื ของมึนเมา
กล่าววาจาแสดงถงึ กรยิ าไม่เคารพหรอื ลบหล่คู รู
แสดงพฤติกรรมทางชสู้ าวทีไ่ มเ่ หมาะสมในทีส่ าธารณะ
แต่งกายผิดระเบยี บจนถึงขน้ั ท่แี สดงใหเ้ ห็นว่าไม่เคารพ ยำเกรงต่อระเบยี บของสถานศึกษา
ทำให้ทรพั ยส์ ินของวิทยาลัยฯเสียหาย
เกิดการทะเลาะวิวาทชกตอ่ ย และกระทำใหเ้ กิดการแตกความสามคั คีโดยไม่ใช้อาวุธ
5. ความประพฤตผิ ดิ ท่ตี ้องลงโทษทำกิจกรรมเพอื่ ให้ปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม 1 ภาคเรยี น
เปน็ ผ้คู ้ายาเสพติดให้โทษหรือมอี าวุธไว้ในครอบครอง
เสพสารเสพติดประเภทผดิ กฎหมาย เช่น ยาบ้า สารระเหย ฝ่นิ มอร์ฟนี เฮโรอีน กัญชา ซ่องสมุ กอ่ กวน
ความไม่สงบเรียบร้อย กระทำตนเป็นอนั ธพาลเป็นผกู้ ่อการทะเลาะววิ าทเปน็ กลุ่ม
ก่อการทะเลาะววิ าทตัวต่อตัวโดยใช้อาวุธ
ฝา่ ฝืนระเบยี บของสถานศึกษาทำให้ช่ือเสยี งของสถานศกึ ษาเสยี หายอย่างร้ายแรง
แอบอ้างช่ือของสถานศึกษาไปดำเนินการอย่างใดอยา่ งหน่งึ โดยไม่ได้รับอนุญาตจนเกิดความเสียหายแก่
ชอื่ เสยี งของสถานศึกษา
ปลอมแปลงเอกสารลายมือชอ่ื ผู้อน่ื เพอ่ื ประโยชน์สว่ นตวั และผ้อู ื่น
ขโมยทรพั ยส์ นิ ของสถานศกึ ษาหรือผอู้ น่ื จนปรากฏหลกั ฐานแนช่ ัด
ทำลายทรัพยส์ ินของสถานศึกษาโดยเจตนาใหเ้ กิดความเสียหายอย่างรา้ ยแรง
5.10 ต้องหาคดอี าญาและถกู ตัดสนิ ลงโทษจำคุก
5.11 ประพฤตติ นเป็นภยั ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ยของบ้านเมือง
5.12 ประพฤตผิ ิดศลี ธรรมอย่างร้ายแรง
5.13 ขาดเรยี นติดต่อกันเกนิ 15 วัน โดยไม่แจง้ เหตผุ ลใหส้ ถานศึกษาทราบหรอื มีเหตุผลอนั สมควร
6. อำนาจการตัดคะแนนและบันทึก
6.1 ครั้งละไม่เกิน 10 คะแนน ครู-อาจารย์ แตล่ ะคนมีสทิ ธส์ งั่ ตัดคะแนนพรอ้ มทัง้ มหี ลกั ฐานประกอบ
6.2 คร้ังละ 15 คะแนนขึ้นไปเป็นอำนาจของคณะกรรมการพิจารณาตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน

นกั ศึกษา

29

คู่มอื นกั เรยี น นักศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

7. การพจิ ารณาตัดคะแนนแตล่ ะคร้ังให้จัดทำ 5 ฉบับ
7.1 ปิดประกาศให้นกั เรียนนักศึกษาทราบ 1 ฉบับ
7.2 แจง้ ผู้ปกครอง 1 ฉบบั

7.3 แจ้งหวั หนา้ สถานศกึ ษา 1 ฉบับ
7.4 แจง้ อาจารยป์ กครอง 1 ฉบบั
7.5 ให้สถานศกึ ษาเกบ็ 1 ฉบบั

30

ค่มู อื นกั เรยี น นกั ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

ระเบยี บวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย
ว่าดว้ ยการเขา้ แถวเคารพธงชาติ พ.ศ. 2565
นักเรียนนักศึกษาทุกคน ทีม่ ีตารางเรียนตั้งแต่ 08.30 น. เป็นต้นไป ให้มาถึงวิทยาลัยกอ่ น เวลา
07.40 น. และใหป้ ฏิบตั ติ ามเวลาดังนี้
06.00 น. -ซ้อื อาหารรบั ประทานได้
07.40 น. -นกั เรยี นนกั ศกึ ษาเตรียมตวั ออกมาเขา้ แถวเคารพธงชาตแิ ละแม่คา้ งดขายอาหารทุกชนิด
- นักเรียนนักศึกษาทุกคนเข้าแถวหน้าเสาธงเรยี บร้อย เคารพธงชาตเิ ชญิ ธงชาติขน้ึ สยู่ อดเสา
นกั เรียนนักศึกษาร่วมกันร้องเพลงชาติ นักเรียนนักศึกษาสวดมนต์ไหว้พระ สงบน่ิงและแผ่เมตตา พบ
อาจารย์ทปี่ รึกษา
08.30 น. -นกั ศึกษาเข้าเรียนตามตารางเรยี น
หากนักเรียนนักศึกษาผู้ใด ไม่ปฏิบัติหรือหลบหลีกการเข้าแถวเคารพ ธงชาติ ดังกล่าวข้างต้น
วิทยาลัยจะลงโทษตามระเบียบการลงโทษนักเรียนนักศึกษา ของวิท ยาลัยฯ ให้รองผู้อำนวยการฝ่าย
พัฒนานักศกึ ษา และหวั หน้างานปกครอง รบั ผดิ ชอบดำเนนิ การให้เปน็ ไปตามระเบยี บน้ี

ระเบยี บวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย
ว่าด้วยการทำความเคารพครู-อาจารย์ พ.ศ. 2565
เพื่อให้นักเรียนนักศึกษา เป็นผู้มีจรรยาบรรณมารยาทอันดีงาม เหมาะสมกับสภาพของนักเรียน
นักศกึ ษาและวัฒนธรรม จงึ ให้นักเรยี นนักศึกษา แสดงความเคารพครู-อาจารย์ ดงั นี้
1. ภายในห้องเรียน
1.1 เม่อื ครู - อาจารยเ์ ขา้ สอน ให้หวั หน้านักเรียนในช้นั เรียนบอก “นักเรียนตรง” ใหน้ ักเรียนยืน
ตรงพรอ้ มกับยกมือข้ึนไหว้ และกล่าวคำวา่ ‘สวัสดีครับ”หรือ “สวัสดีคะ” เมื่อได้รับคำสัง่ จากผู้ทำความ
เคารพให้น่งั จงึ นง่ั ลง
1.2 กรณีผตู้ รวจเยย่ี มหรือผู้ท่เี คารพอนื่ ๆ เขา้ มาในห้องเรยี น ให้ครผู ู้ควบคุมชัน้ อยู่ในขณะนัน้ เปน็ ผู้
บอกการทำความเคารพ
1.3 เม่ือครู - อาจารยส์ อนเสร็จ และจะออกจากห้องเรียนให้หัวหน้าหอ้ งบอก “นักเรียนตรง”เป็น
การทำความเคารพและกลา่ ววา่ “ขอบคณุ ครับ” “ขอบคณุ คะ่ ”
2. ภายนอกห้องเรียน
2.1 เวลาพบครูและเดินสวนทางครใู ห้ทำความเคารพดว้ ยการยนื ตรง หรอื คำนบั หรือยกมือไหว้
2.2 เม่อื เดนิ แซงออกหน้าครูให้พูด “ขออนุญาตครบั ” หรือ “ขออนุญาตคะ่ ” แลว้ เดินก้มเล็กน้อย
พองามผา่ นไป
2.3 ถ้าครูอยู่กบั ทใี่ หก้ ้มเล็กนอ้ ยพองาม เม่อื เวลาเดินผา่ นไป
2.4 ในกรณที ่ีพบผูต้ รวจเยย่ี ม หรือผู้ทเี่ คารพอนื่ ๆ กท็ ำเชน่ เดยี วกับท่ที ำความเคารพครู
3. ภายนอกบรเิ วณวิทยาลยั ฯ
เมือ่ พบครใู หท้ ำความเคารพยกมอื ไหว้ พรอ้ มกล่าวคำว่า “สวัสดคี รบั ” หรอื “สวสั ดีค่ะ”
4. การเขา้ พบครู-อาจารยป์ ฏิบัติดงั น้ี
4.1 นกั เรยี นนักศึกษาชาย ให้หยุดยนื ตรงห่างจากครู พอประมาณแล้วคำนับ
4.2 นักเรียนนกั ศกึ ษาหญิง ใหห้ ยุดยืนตรงห่างจากครู พอประมาณแลว้ ยกมือไหว้
ให้รองผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนานักศึกษา และหัวหน้างานปกครอง รับผิดชอบดำเนินการให้เป็นไป
ตามระเบยี บนี้ ทง้ั นีต้ ั้งแตบ่ ัดนเ้ี ป็นต้นไป

31

ค่มู อื นกั เรยี น นกั ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

ระเบียบวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย
วา่ ด้วยการปฏบิ ัติตนของนกั เรยี น นักศกึ ษาโดยท่วั ไป ในสถานศึกษา พ.ศ. 2565

เพ่ือความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ของสถานศึกษาและเพือ่ เป็นการฝึกอบรม ให้นกั เรียน
นักศกึ ษาเป็นคนทมี่ รี ะเบียบวนิ ัยและวัฒนธรรมอันดีงาม จึงประกาศใหท้ ราบโดยทั่วกันว่า
1. หา้ มทง้ิ สิ่งปฏิกลู ตา่ งๆ ลงบนพืน้ ทางเดิน ถนน พนื้ อาคาร ในบริเวณสถานศกึ ษาและให้ทิ้งในถังขยะ

ทีจ่ ดั ไว้
2. ห้ามขดี เขยี นขอ้ ความตา่ งๆ ตามผนังอาคารเรยี นในสถานศึกษาและตามทส่ี าธารณะ
3. ห้ามสูบบหุ รี่ภายในสถานศึกษา และเวลาอยูใ่ นเคร่อื งแบบ
4. ห้ามนำเครื่องดืม่ ขนม ผลไม้และอาหารทุกชนิด ขน้ึ ไปรับประทานในห้องเรียน
5. ห้ามเล่นการพนนั ทุกชนิดทั้งในและนอกสถานศึกษา
6. หา้ มดม่ื สรุ าและสารเสพตดิ ทุกชนดิ
7. ห้ามออกนอกบรเิ วณวิทยาลัยฯ ในระหว่างเรียน เวน้ แต่จะไดร้ บั อนุญาตจากอาจารย์ ผู้สอน อาจารย์

ทปี่ รึกษา หรือหวั หน้างานปกครองเท่าน้ัน
8. นกั เรียนนกั ศกึ ษาทุกคน ที่มาติดต่อกับวิทยาลยั ฯ ตอ้ งแต่งเครื่องแบบของวทิ ยาลัยฯ

นักเรยี นนักศกึ ษาผใู้ ด ไม่ปฏบิ ัติหรือฝา่ ฝืนระเบียบหรือข้อห้ามดงั กลา่ วข้างต้น วิทยาลยั ฯ จะ
ลงโทษตามระเบียบการลงโทษนักเรียนนักศึกษา พ.ศ. 2562 และใหร้ องผอู้ ำนวยการฝา่ ยพัฒนา
นักศกึ ษาและหวั หน้างานปกครองรับผิดชอบตามระเบียบนี้ ท้งั นตี้ ั้งแต่บัดน้เี ป็นต้นไป

32

คูม่ อื นกั เรยี น นกั ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

ระเบยี บวทิ ยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย
วา่ ดว้ ยการเรยี นภาคปฏบิ ัติของนักศึกษา
เพอ่ื ความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ในการเรียนปฏิบตั ิของนักเรียนนกั ศึกษา จึงใหน้ ักเรียนนกั ศึกษาทุก
คนทเ่ี รียนภาคปฏิบตั หิ รอื ปฏิบตั ใิ นสนาม ต้องปฏิบตั ิดังต่อไปน้ี
1. เครอื่ งแตง่ กาย
1.1 นักเรยี นนกั ศึกษา ต้องแตง่ เครื่องแบบของวทิ ยาลัย ตามที่วิทยาลยั กำหนดกอ่ นการเข้า
ฝกึ งานและทกุ คนตอ้ งเข้าแถวตรวจสอบรายชอื่ และจำนวน
1.2 ขณะท่ีปฏบิ ัตงิ านจะต้องสวมชุดฝึกงานทุกคน
1.2.1 ระดบั ปวช. ปวส. สวมเสื้อฝึกงานตามท่วี ทิ ยาลัยกำหนด
1.3 ห้ามถอดเสือ้ ฝกึ งานระหว่างปฏบิ ตั ิงานเดด็ ขาด
1.4 ถา้ ไมส่ วมเสื้อฝึกงานตามขา้ งบนน้ี หรอื ถอดเสื้อฝกึ งานจะถูกตัดคะแนน 10 คะแนน
จากคะแนนทไ่ี ดป้ ระจำวนั น้ัน
2. การเข้าฝึกงานชา้
2.1 มาเขา้ ฝกึ งานช้า 15 นาที ใหต้ ดั 1 ชม.
2.2 ตามข้อ 2.1 ให้ตดั คะแนนที่ได้จากการฝึกงานวันน้นั ๆ ดว้ ยดงั นี้
2.2.1 ให้ตัด 5 คะแนน/ชม. ถา้ เรียนวันละ 5 ชม. ให้ตดั 5 คะแนน/
ชม. ถ้าเรยี นวนั ละ 3 ชม. ให้ตัด 10 คะแนน/ชม
ให้รองผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนานักศึกษา และหัวหน้าแผนกวิชาแต่ละแผนกวิชา รับผิดชอบ
ดำเนินการใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บนี้

(สำเนา)
ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร
ว่าด้วยเครือ่ งแบบนักเรียนและนักศกึ ษา ของสถานศึกษาในสงั กดั กรมอาชีวศกึ ษา(เดิม)
โดยท่ีเป็นการสมควรปรบั ปรุงแกไ้ ข ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยเครื่องแบบนักเรยี นและ
นักศกึ ษาของสถานศกึ ษา สงั กัดกรมอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2520 และที่แกไ้ ขเพม่ิ เติม(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2521
ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพปัจจบุ ันยิง่ ขึน้
ฉะน้นั อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 6 แห่งพระราชบญั ญัติเคร่ืองแบบนกั เรียน
พทุ ธศกั ราช 2482 กระทรวงศึกษาธิการ จงึ วางระเบยี บไวด้ งั ต่อไปน้ี
ขอ้ 1 ระเบียบนีเ้ รียกวา่ “ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ ว่าด้วยเคร่ืองแบบนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา
ของสถานศกึ ษาสงั กดั กรมอาชวี ศึกษา (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2526”
ขอ้ 2 ให้ยกเลกิ ความในข้อ 3 แหง่ ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ ว่าดว้ ยเครื่องแบบนกั เรยี นและ
นกั ศึกษา ของสถานศึกษาในสงั กัดกรมอาชีวศึกษา พ.ศ. 2520 และให้ใชข้ ้อความต่อไปน้แี ทน
ข้อ 3 ระเบยี บนีใ้ ห้ใชก้ ับนักเรยี นนกั ศกึ ษา ในระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดบั
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี เทคนิค (ปวท.) และประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.) ของสถานศึกษาในสังกัด
กรมอาชวี ศกึ ษาทุกแห่ง
ข้อ 4 เครือ่ งแบบนักเรียนและศึกษาชาย ให้ใช้เครื่องแบบเหมือนกันทั้งระดับประกาศนียบัตร
วิชาชพี เทคนคิ (ปวช.) ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพเทคนิค (ปวท.) และระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี
ชั้นสงู (ปวส.)

33

คู่มือนักเรยี น นักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565

ขอ้ 5 เครื่องแบบนกั เรยี นหญงิ และนักศึกษาหญิงให้ใชเ้ คร่ืองแบบเหมอื นกันทงั้ ระดบั ประกาศนียบัตร
วชิ าชพี (ปวช.) ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพเทคนิค (ปวท.) และระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสงู
(ปวส.)

ข้อ 6 ให้ยกเลกิ ความในข้อ 7 แห่งระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยเครื่องแบบนักเรียนและ
นกั ศกึ ษาของสถานศกึ ษา พ.ศ. 2520 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2521 และให้ใชข้ ้อความ
ต่อไปนี้แทน

ข้อ 7 เคร่อื งแบบนักเรยี นและนักศกึ ษาหญงิ ประกอบดว้ ย
7.1 เสื้อแบบคอเชิต้ ผา้ ขาว เกลยี้ งไมบ่ างเกนิ สมควร ผา่ อกตลอด สาบทอี่ กเสอ้ื กวา้ ง 4 ซ.ม. มี
ดมุ โลหะขาวดุนเคร่ืองหมายของสถานศกึ ษาตวั อย่างทา้ ยระเบียบ 4 ดมุ มดี มุ โลหะขาวดุนเคร่ืองหมาย
สถานศึกษาตวั อย่างท้ายระเบยี บ 4 ดมุ แขนปลอ่ ยธรรมดาขาวเพยี งเหนอื ขอ้ ศอก สอดชายเส้ือไวใ้ น
กระโปรง ท่อี กเส้อื เบือ้ งขวาตดิ เขม็ กลดั มเี ครือ่ งดุนตราวทิ ยาลยั
7.2 เขม็ กลดั ตดิ เส้อื เปน็ โลหะขนาดผา่ ศนู ย์กลาง 1.8 เซนตเิ มตร มเี ครอื่ งหมายดุนตราวทิ ยาลยั
เช่นเดียวกบั หัวเข็มขดั ติดหนา้ อกเยอ้ื งตามตัวอยา่ งทา้ ยระเบยี บ
7.3 กระโปรงผา้ สกี รมทา่ หรือสีดำ ไมม่ ลี วดลาย แบบกระโปรงข้างธรรมดา เกลด็ เดียวกว้าง
15 ซ.ม. ไมส่ ูงกวา่ สะบ้าหัวเข่าเกิน 5 ซ.ม.

7.4 รองเทา้ สีดำแบบหุ้มสน้ ปลายเท้าหวั บน ไมม่ ลี วดลาย ส้นสงู ไมเ่ กิน 3 ซ.ม.
ไม่สวมถุงเทา้ ทุกชนิด

ขอ้ 6 ให้อธิบดกี รมอาชีวศึกษา รักษาการให้เป็นไปตามระเบยี บนี้
ขอ้ 7 ใหใ้ ช้ระเบยี บน้ี ตัง้ แตป่ ีการศกึ ษา 2526 เป็นต้นไป ยกเวน้ นกั เรียนและนักศึกษาทเ่ี ขา้
เรียนในสถานศึกษาก่อนปีการศกึ ษา 2526 ให้ใชเ้ คร่อื งแบบเกา่ ไปจนกวา่ จะสำเร็จการศึกษา
ประกาศ ณ วันท่ี 15 เมษายน พ.ศ. 2526

เกษม ศริ ิสมั พันธ์
(นายเกษม ศริ สิ ัมพนั ธ)์
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ

34

คมู่ อื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

35

คมู่ อื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

36

คู่มือนกั เรยี น นักศึกษา ปีการศกึ ษา 2565

ภาพเคร่ืองแบบนักศึกษา

37

คมู่ ือนักเรยี น นกั ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565

เสื้อฝึกงานหรือฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

39

คมู่ ือนักเรยี น นักศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565

หลักสูตรและแผนการเรียน ปวช.
ปวส.
ประเภทวิชาทเ่ี ปดิ สอนในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย ปวช.
วทิ ยาลยั จัดการศึกษา 2 ระดบั คือ ปวส.
1. ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) ปวช.
2. ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.) ปวส.
ปวช.
ประกอบดว้ ย 3 ประเภทวชิ า คือ ปวส.
ปวช.
1. ประเภทวชิ าชา่ งอุตสาหกรรม ปวส.
2. ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม
3. ประเภทวชิ าคหกรรม ปวช.
1. ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรมประกอบดว้ ย ปวส.
ปวช.
1.1 สาขางานยานยนต์ ปวส.
1.2 สาขางานเทคนิคยานยนต์
1.3 สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน ปวช.
1.4 สาขาวชิ าเทคนคิ การผลิต ปวส.
1.5 สาขางานเชอื่ มโลหะ

1.6 สาขางานเทคโนโลยีงานเชื่อมโครงสรา้ งโลหะ
1.7 สาขางานไฟฟ้ากำลัง
1.8 สาขางานไฟฟา้ กำลัง
1.9 สาขางานอิเลก็ ทรอนกิ ส์

1.10 สาขางานอิเลก็ อุตสาหกรรม
2. ประเภทวชิ าบริหารธุรกจิ

2.1 สาขาวชิ าการบัญชี
2.2 สาขาวิชาการบญั ชี
2.3 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ

2.4 สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล
3. ประเภทวชิ าคหกรรมศาสตร์

3.1 สาขางานอาหารและโภชนาการ
3.2 สาขาการบริหารจดั การการโรงแรม

40


Click to View FlipBook Version