The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phitchayanin.butaek, 2022-11-20 09:28:00

อาณาจักรพืช

อาณาจักรพืช

ความหลากหลายของพืช

วิวัฒนาการของพืชบกแบง่ เป็น 4 กลุ่มใหญ่
1. กลุม่ ไบรโอไฟต์ (bryophytes)
2. เทอริโดไฟต์ (pteridophytes)
3. จมิ ในสเปิร์ม (gymnosperms)
4. แองจโิ อสเปิรม์ (angiosperms)
ไบรโอไฟต์ส่วนใหญค่ ือ พวกมอสส์ (mosses) ซ่งึ ไม่มีท่อลาเลยี ง (nonvascular)
อีก 3 กลุ่มใหญ่ทเ่ี หลือมีทอ่ ลาเลียงจึงเรียกว่า กลมุ่ พืชมที ่อลาเลียง(vascular plant) ซ่งึ มพี วกเฟินและเทอริโดไฟต์
อื่น ๆ เป็นพวกพชื ไม่มีเมล็ด ส่วนจิมโนสเปิรม์ และแองจโิ อสเปิรม์ จดั เป็นพืชมเี มล็ด

กลุ่มพืชทีไ่ ม่มีท่อลาเลยี งหรือไบรโอไฟต์ (Nonvascular plants หรือ Bryophytes) ได้แก่
1. ไฟลัมเฮพาโทไฟตา (Hepatophyta) ไดแ้ ก่ ลเิ วอร์เวิรท์
2. ไฟลมั แอนโทเซอไรไฟตา (Anthocerophyta) ไดแ้ ก่ ฮอร์นเวิรท์
3. ไฟลมั ไบรโอไฟตา (Bryophyta) ได้แก่ มอสส์ กลุ่มพืชมที ่อลาเลยี ง (Vascular plants)
แบง่ เป็นพืชที่มที อ่ ลาเลยี งท่ไี ม่มีเมล็ดหรือเทอริโดไฟต์ (Seedless vascular plant หรือ Pteridophytes)
4. ไฟลมั ไลโคไฟตา (Lycophyta) ได้แก่ ไลโคโพเดียมซแี ลกจิเนลลา
5. ไฟลัมเทอโรไฟตา (Pterophyta) ได้แก่ เฟินหญ้าถอดปล้องหวายทะนอย
6. ไฟลมั กงิ โกไฟตา (Ginkgophyta) ไดแ้ ก่ แปะก๊วย
7. ไฟลัมไซแคโดไฟตา (Cycadophyta) ไดแ้ ก่ ปรง
8. ไฟลัมนโี ทไฟตา (Gnetophyta) ได้แก่ มะเม่ือย
9. ไฟลมั โคนเิ ฟอโรไฟตา (Coniferophyta) ไดแ้ ก่ สนภูเขา
10. ไฟลมั แอนโทไฟตา (Anthophyta) ไดแ้ ก่ พืชดอก

พืชไมม่ ที ่อลาเลยี ง (Nonvascular plants) หรือพวกไบรโอไฟต์ (Bryophytes)

พืชไมม่ ีทอ่ ลาเลยี งจะมีระยะแกมโี ทไฟต์เป็นระยะเด่นเห็นอยทู่ ั่วไป แตร่ ะยะสปอโรไฟต์มีขนาดเลก็ กวา่
และมีเพียงชว่ งหน่งึ ของวัฏจกั รชีวิตและเจริญอยบู่ นตน้ แกมโี ทไฟต์ พชื ไม่มีท่อลาเลยี งพบอยูใ่ นบริเวณท่ีมี
ความช้นื สูง จะยึดกบั ดิน ดูดน้าและสารอาหารโดยโครงสร้างคลา้ ยรากเรียกวา่ ไรซอยด์ (rhizoid) สว่ นที่เป็น
แผน่ คลา้ ยใบมีชัน้ ควิ ทเิ คลิ บางมากปกคลุมเรียกว่า ฟิลลิเดยี ม (phyllidium) การปฏสิ นธติ อ้ งอาศยั น้าเป็นตัวกลาง
ให้สเปิรม์ เคลอื่ นท่ีไปผสมกบั เซลล์ไขภ่ ายในโครงสรา้ งเซลล์สืบพนั ธุ์เพศเมียของแกมีโทไฟต์ โครงสร้างของ
สว่ นที่คลา้ ยตน้ เรียกว่า ทัลลสั (thallus) การเจริญของสปอโรไฟตต์ ้องอาศยั อาหารจากแกมีโทไฟต์และมีอายุส้นั
ดังน้นั จะพบสปอโรไฟตอ์ าศยั อยู่บนแกมโี ทไฟตเ์ สมอ

ไบรโอไฟต์ประกอบดว้ ย 3 ไฟลัม คือ

1. ไฟลมั เฮพาโทไฟตา (Phylum Hepatophyta) ได้แก่ ลิเวอรเ์ วิร์ท (liverwort) ระยะแกมโี ทไฟต์มีลักษณะตา่ ง
จากมอสส์ตรงท่ี ลิเวอร์เวิร์ทมีลกั ษณะเป็นแผน่ ใหญ่กว่าและบริเวณขอบมีแฉกหรือหยกั แต่บางพวกของลเิ วอร์
เวิรท์ มีลักษณะคลา้ ยมอสส์ แผน่ ทมี่ ีลักษณะคล้ายใบเรียกว่า ทัลลัส ด้านล่างมรี ากเทยี ม (rhizoids) ดูดน้าและใช้
ยึดเกาะกบั พืน้ ส่วนทีส่ ร้างเซลล์สืบพันธุท์ ั้งอารค์ โี กเนียม (archegonium) และแอนเทอริเดียม (antheridium) ซู
สูงข้นึ ส่วนท่ีชอู วยั วะเพศเมยี เรียกว่า อารค์ ีโกนโิ อฟอร์ (archegoniophore) สว่ นทชี่ อู วัยวะเพศผู้เรียกว่า แอนเท
อริดโิ อฟอร์ (antheridiophore) บางพวกสามารถสืบพันธ์โุ ดยไม่ใชเ้ พศดว้ ยการสรา้ งเจมมาคัพ (gemma cup) ซ่งึ มี
เซลลท์ ่จี ะงอกเป็นแกมีโทไฟต์ตน้ ใหม่อยู่ภายใน บางพวกอาจอย่ใู นน้า
ตัวอย่างของลิเวอรเ์ วิรท์ ไดแ้ ก่ ริกเซีย (Riccia sp.)
2. ไฟลมั เอนโทเซอโรไฟตา (Phylum Anthocerophyta) ได้แก่ พวกฮอรน์ เวริ ท์ (hornwort) พวกน้ตี ่างจากมอสส์
และลเิ วอร์เวิรท์ ตรงที่แผน่ แกมโี ทไฟตเ์ ป็นแผ่นหยกั ๆ ส่วนต้นสปอโรไฟตต์ ้งั ตรงงอกจากตน้ แกมีโทไฟต์ สปอ
โรไฟตอ์ ยู่บนแกมีโทไฟตต์ ลอดชีวติ โดยรบั อาหารแร่ธาตุและน้าผ่านตน้ แกมีโทไฟต์ พวกน้ีมีความทนทานต่อ
ภมู อิ ากาศได้หลายสภาพ สามารถเจริญเป็นทลั ลสั ใหมจ่ ากทัลลัสเดิมทหี่ ักออก
ตัวอยา่ งได้แก่แอนโธเซอรอส (Anthoceros sp.) ฟีโอเซอรอส (Phaeoceros sp.)
3. ไฟลมั ไบรโอไฟตา (Phylum Bryophyta) ได้แก่ มอสส์ชนิดตา่ ง ๆ มีสว่ นคลา้ ยลาตน้ คล้ายราก และคล้ายใบ
สว่ นที่คล้ายลาต้นของมอสส์ไม่มที ่อลาเลยี งสว่ นคล้ายลาตน้ น้งี อกจากส่วนท่เี ป็นท่อน ๆ เรียกว่าโปรโตนีมา
(protonema) ซ่งึ เจริญมาจากสว่ นของสปอร์ทป่ี ลวิ ไปตกบริเวณทีเ่ หมาะสมต่อไปเริ่มมีลักษณะคล้ายใบงอก
ออกมา พร้อมกนั น้นั สว่ นท่คี ล้ายตน้ (caulidium) งอกสงู ข้นึ โดยมีส่วนคลา้ ยรากยึดกับดินหรื อซอกหินแฉะ ๆ
เอาไว้ จากน้นั ต้นตัวผจู้ ะสรา้ งอวยั วะสบื พันธ์ุท่ีเรียกวา่ แอนเทอริเดียม (antheridium) สรา้ งสเปิรม์ ซ่งึ มแี ฟล
เจลลา (flagella) ใชส้ าหรบั ว่ายน้า
ต้นตัวเมียจะสรา้ งอวยั วะสบื พันธุเ์ พศเมียทีเ่ รียกวา่ อารค์ โี กเนยี ม (archegonium) ภายในมีไข่ (egg) สเปิร์มจะวา่ ย

น้าจากแอนเทอริเดียมเข้าผสมกบั ไข่ ไขจ่ ะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ (embryo) แลว้ เป็นสปอโรไฟต์อยู่บนแกมีโท
ไฟตน์ ่นั เอง ส่วนของสปอโรไฟต์ประกอบด้วย ฟุต (foot) ซ่งึ ยึดตดิ กบั แกมโี ทไฟต์ของตน้ ตัวเมยี กา้ นชูอบั สปอร์
(stalk หรือ seta) และอบั สปอร์ (sporangium) หรือเรียกวา่ แคปซูล (capsule) ภายในอับสปอรม์ ีการสร้างสปอร์
โดยการแบง่ เซลล์แบบลดโครโมโซมลงคร่ึงหน่งึ หรือเรียกวา่ แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis) เมื่อได้สปอรม์ ี
โครโมโซม n สปอร์น้นั จะปลวิ ไปตกบนพนื้ ทมี่ สี ภาพแวดลอ้ มเหมาะสมจงึ จะงอกเป็นตน้ แกมีโทไฟต์

พืชมที ่อลาเลยี งที่ไม่มีเมล็ดหรือเทอริโดไฟต์ (Pteridophytes)

พืชมีท่อลาเลยี งกลุ่มแรกเริ่มมวี ิวัฒนาการเมื่อราว 400 ลา้ นปีมาแล้วเนอื่ งจากการพบซากดึกดาบรรพ์
ของพืชช่ือ คุกโซเนีย (Cooksonia) ในหนิ ยุคซลิ เู รียน จึงสนั นิษฐานวา่ พชื มที ่อลาเลยี งกลุ่มแรกน้ไี ดว้ ิวัฒนาการ

ต่อมาจนกลายเป็นพืชมที ่อลาเลียงอน่ื ๆ เทอริโดไฟตจ์ ะมรี าก ลาตน้ และใบที่แทจ้ ริง และมที ่อลาเลยี งน้า
แร่ธาตุ และอาหาร ในวฏั จกั รชวี ติ แบบสลับของเทอริโดไฟต์ จะมีต้นแกมโี ทไฟตแ์ ละต้นสปอโรไฟต์
เจริญแยกตน้ กนั หรืออยูร่ วมกันในชว่ งส้นั ๆ โดยต้นแกมโี ทไฟตม์ ีชว่ งชีวติ ส้นั กว่าตน้ สปอโรไฟต์

พชื มีทอ่ ลาเลยี งท่ไี มม่ เี มล็ดหรอื เทอรโิ ดไฟตใ์ นปัจจบุ ันแบง่ เป็ น 2 ไฟลมั คือ

4. ไฟลมั ไลโคไฟตา (Phylum Lycophyta) บางกล่มุ สูญพนั ธไ์ุ ปแลว้ ส่วนพวกทเ่ี หลืออยใู่ นปัจจุบนั เป็นพืชตน้
เล็ก ๆ และเป็นไมเ้ น้ือออ่ น เป็นพชื ทม่ี ีลาตน้ และใบทีแ่ ทจ้ ริง ลาตน้ ส่วนทอี่ ยู่ใตด้ ินเรียกวา่ ไรโซม (rhizome)
และมีรากที่แทจ้ ริง สว่ นที่ชูข้นึ มาเหนือดินอาจมที ง้ั ชนดิ ตัง้ ตรงและชนดิ เลื้อยไปตามผวิ หน้าดินหรืออาจเป็นพวก
ทีข่ ้นึ บนต้นไมอ้ นื่ เรียกว่า เอพไิ ฟต์ (epiphyte) ใบขนาดเล็กเรียกว่า ไมโครฟิลล์ (microphyll) มเี ส้นใบ 1 เสน้ ที่
ไม่แตกแขนง เป็นใบท่ีแท้จริง เรียงตวั กันเป็นเกลียวรอบตน้ หรือรอบกง่ิ ทัง้ รากและก่ิงมกี ารแตกแขนงแบบได
โคโตมสั (dichotomous) พชื ในไฟลมั น้มี ีหลายสปีชีส์ ได้แก่ ไลโคโพเดยี ม (Lycopodium sp.)
5. ไฟลมั เทอโรไฟตา (Phylum Pterophyta) ประกอบด้วย หวายทะนอย (whisk fern, Psilotum)
เดมิ นกั พฤกษศาสตร์คดิ วา่ หวายทะนอยเป็นฟอสซลิ ทีย่ งั มีชีวติ อยู่ (living fossil) เพราะมีลกั ษณะคล้ายซากดึกดา
บรรพ์ (fossil) ของพืชคอื ไมม่ รี ากและใบทแ่ี ทจ้ ริงแตค่ วามจริงเป็นเพราะเกิดวิวฒั นาการคร้งั ท่ีสองหรือเกิด
ววิ ัฒนาการภายหลงั จงึ ทาใหไ้ ม่มีรากและใบท่ีแท้จริง

พชื มีเมลด็ มสี ปอร์ 2 แบบ (Heterosporous) คือ

1. เมกะสปอแรนเจยี มสร้างเมกะสปอร์ (Megaspore) ซ่ึงเจริญเป็นแกมีโทไฟตเ์ พศเมีย
2. ไมโครสปอแรนเจยี มสร้างไมโครสปอร์ (Microspore) ซ่งึ เจริญเป็นแกมโี ทไฟตเ์ พศผู้ และมเี นอ้ื เย่อื ของสปอ
โรไฟตท์ เ่ี รียกวา่ ผนงั ออวุล (Integument) มาลอ้ มรอบเมกะสปอรแ์ รนเกยี ม ทงั้ อนิ เทกิวเมนต์, เมกะสปอแรน
เจยี ม และเมกะสปอรร์ วมกันเป็นออวุล (Ovule) ภายในเมกะสปอร์จะสรา้ งไขซ่ ่งึ ถูกปฏิสนธโิ ดยสเปิ รม์
นวิ เคลียสได้ไซโกตและเจริญเป็นเอม็ บริโออยใู่ นต้นสปอโรไฟต์ออวุลจึงกลายเป็นเมล็ด (Seed) ซ่งึ มเี ปลือกห้มุ
เมล็ดเจริญจากอินเทกเมนตท์ าใหเ้ มล็ดทนทานต่อสภาพท่ีไม่เหมาะสมได้

6. ไฟลมั ไซแคโดไฟตา (Phylum Cycadophyta) พืชในไฟลมั น้ี เป็นพชื ท่มี กี ารกระจายพนั ธ์ุในบริเวณที่แห้งแลง้
ไดด้ ี ในประเทศไทยพบเพียง 10 สปีชสี ์ อยู่ในจนี สั Cycas sp. เช่น ปรง ปรงป่า ปรงญ่ีปุ่น

7. ไฟลมั กงิ โกไฟตา (Phylum Ginkgophyta) เป็นพืชโบราณท่มี ีววิ ฒั นาการนอ้ ยมากพบตามธรรมชาติในเขต
อบอนุ่ เชน่ ประเทศจีน เกาหลี ญี่ป่นุ ลักษณะทั่วไปของพืชในไฟลมั น้ี คือ มีลาตน้ ขนาดใหญ่ มใี บเดี่ยวคลา้ ยพดั
สเี ขียว และจะเปล่ียนเป็นสเี หลืองทองในฤดใู บไม้ร่วง ลาต้นขนาดใหญค่ ลา้ ยพชื ดอกใบเป็นแผน่ กว้างคลา้ ยพัดมี
รอยเวา้ ตรงกลางจงึ เห็นเป็น 2 หยกั (Lobe) ต้นเพศเมยี สร้างออวุลทีป่ ลายกิง่ พิเศษ โดยมีกา้ นชอู อวุลกา้ นหน่งึ มี 2
ออวุลแต่มีเพยี ง 1 ออวลุ ที่เจริญเป็นเมล็ด เมลด็ มอี าหารสะสมจึงนิยมนามารบั ประทาน เปลือกหมุ้ เมล็ดจะมีกล่นิ
เหม็น ปัจจบุ ันพบพชื ในไฟลัมน้เี พียงชนดิ เดียว คอื แปะก๊วย (Ginkgo biloba L.) สารสกดั จากแป๊ ะก๊วยมีสมบัติ
ช่วยปรบั ระบบหมุนเวยี นเลือดและช่วยลดอาการอักเสบ ชว่ ยเพมิ่ การทางานของระบบประสาทชว่ ยให้เลือด
ไหลเวยี นไปสมองไดด้ ีข้นึ และอาจช่วยเพิม่ ความจาในผ้ปู ่ วยชราจากโรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer 's disease) จึง
นยิ มใชแ้ ป๊ ะก๊วยเป็นสมนุ ไพรบาบัด นยิ มนามาปลกู เป็นไม้ประดบั ในเมืองใหญ่ เพราะทนทานต่อสภาพอากาศ
เสียได้ดี

8. ไฟลัมโคนเิ ฟอโรไฟตา (Phylum Coniferophyta) เป็นพชื เมลด็ เปลอื ยท่มี ีความหลากหลายมากทส่ี ุด มี
ลักษณะสาคญั คอื เป็นไมย้ นื ตน้ ขนาดใหญ่ รูปทรงของลาตน้ และใบคล้ายพีระมดิ ใบมีขนาดเลก็ คล้ายเขม็ (ซ่งึ
ต่างจากสนทะเลสนปฏิพัทธ์ซ่งึ เป็นพืชดอก) อยู่เป็นกลุ่มบนกิง่ ส้นั ๆ ลาต้นมกี ารแตกกิ่งกา้ นไดม้ าก ปลายยอดมี
เนอ้ื เยือ่ เจริญ (Apical Meristem) มกี ารสร้างเน้ือเย่อื ทุติยภมู จิ ากการแบ่งเซลล์ของแคมเบียม (cambium) และ
คอรก์ แคมเบยี ม (Cork Cambium) ไซเล็มไม่มเี วสเซล (Vessel) มีเฉพาะเทรคดี (tracheid) และในโฟลเอม็ ไม่มี
เซลลค์ อมพาเนยี น ยงั ไม่มดี อก ไมม่ รี ังไข่ มแี ตอ่ อวลุ (Ovule) ดังน้นั เมือ่ ไขถ่ ูกผสมออวุลจงึ กลายเป็นเมลด็ ทีไ่ มม่ ี
ผลหุ้ม อวยั วะสบื พนั ธแุ์ ทนที่จะเป็นดอกกลับเป็นแผน่ แข็ง ๆ สนี ้าตาลหรือใบทีเ่ รียก สปอโรฟิลล์ (sporophyll)
รวมกันเป็นกลุ่มเรียกว่า สตรอบลิ ัส (Strobilus) หรือโคน (Cone) ซ่งึ แยกออกเป็นโคนตวั ผู้ (staminate cone) ซ่งึ
ภายในมไี มโครสปอร์มาเทอรเ์ ซลล์ (Microspore mother cell ซ่งึ มี 2n) เม่ือแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซิสแล้วจะไดไ้ ม
โครสปอร์ (Microspore) 4 เซลล์ซ่งึ ต่อไปเจริญเป็นละอองเรณู (pollen grain) มปี ีก มเี จเนอเรทฟี เซลล์และทิวบ์
เซลล์ เวลาถา่ ยละอองเรณูน้ี จะปลวิ ไปเน่อื งจากมีปีก (wing) และจะไปตกลงบนแกมโี ทไฟตเ์ พศเมีย โดยโคน
เพศผ้แู ละโคนเพศเมยี อาจเกิดอยบู่ นต้นเดยี วกันหรือแยกตน้ กนั กไ็ ด้ พืชในไฟลัมโคนเิ ฟอโรไฟตามีประมาณ
550 ชนิด เช่น สนสองใบ (Pinus merkusii Jungh. & de Vriese) สนสามใบ (Pinus kesiya Royle ex Gordon) ซ่งึ
พบอยตู่ ามแหล่งทม่ี อี ากาศเย็นในประเทศไทยมีอยู่ตามภเู ขาสงู เช่น ดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ ดอยขุนตาน
จ.ลาพนู และ จ.ลาปาง ภกู ระดงึ จ.เลย วนอุทยานป่าสนหนองคู จ.สรุ ินทร์

9. ไฟลมั นีโทไฟตา (Phylum Gnetophyta) นโี ทไฟตเ์ ป็นพืชที่มลี ักษณะพัฒนากวา่ พืชเมล็ดเปลือยกล่มุ อื่น ๆ คือ
มีเซลล์ลาเลียงน้าเรียกว่า เวสเซลอีลเี มนต์ (vessel element) อยใู่ นไซเล็ม นอกจากน้ยี งั มีลกั ษณะทคี่ ลา้ ยกับของ
พชื ดอก คอื การปฏสิ นธิกลา่ วคอื เม่ือสเปิร์มเซลลห์ น่งึ จากแกมีโทไฟต์เพศผู้เข้าปฏสิ นธิกบั ไข่แลว้ สเปิรม์ เซลล์ท่ี
สองจะเขา้ ปฏสิ นธิกบั อกี เซลล์หน่งึ ในแกมีโทไฟตเ์ พศเมียเดียวกนั จงึ เกิดการปฏสิ นธิซ้อนซ่งึ เป็นกระบวนการที่
เกิดในพชื ดอกแตก่ ารปฏสิ นธิของนีโทไฟต์จะไม่ไดเ้ อนโดสเปิรม์ และเซลล์ดพิ ลอยด์ท่เี กิดจากการปฏิสนธิของ
สเปิร์มเซลลท์ ี่สองจะสลายไป นีโทไฟตม์ ที ัง้ ตน้ ตวั ผแู้ ละตน้ ตัวเมีย จึงสรา้ งสตรอบิลสั เพศผู้และเพศเมียแยกกนั
พชื ในไฟลมั นโี ทไฟตาบางชนิดเป็นไมย้ นื ต้นหรือไมเ้ ถาขนาดใหญ่ทม่ี ีเนื้อไม้ ปจั จุบันเหลือเพียง 3 จนี ัส คือ
มะเมือ่ ย (Gnetum sp.) พบในป่าเขตร้อน บางชนิดเป็นไม้พุม่ เชน่ ม่ัวอ่งึ (Ephedra sp.) พบในทะเลทรายของ
อเมริกา ลกั ษณะลาตน้ คล้ายไมม่ ีใบเนอ่ื งจากใบเล็กมากและไม่ทาการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงคลา้ ยกับลาตน้ ของหญา้
ถอดปล้อง ในจนี ใช้เป็นสมุนไพรแก้ไอ แกห้ ืดหอบ หรือขับปัสาวะ ต่อมามกี ารศึกษาพบว่ารากและลาต้นมีสาร
อีเฟรดีน (ephedrine) ซ่งึ มฤี ทธ์ิตอ่ จติ และประสาท โดยกระตุ้นการทางานของหวั ใจและระบบประสาท ออกฤทธ์ิ
ตอ่ ระบบประสาทสว่ นกลางใหเ้ กิดความดันโลหิตสงู ระบบหวั ใจ และระบบประสาททางานผดิ ปกติ สามารทา
ให้เกิดอาการวิตกกังวล สัน่ ปวดศรี ษะ นอนไมห่ ลบั ความจาเส่อื ม ชัก หวั ใจวาย และถึงแก่ความตายได้ บาง
ชนิดพบเฉพาะในทะเลทรายของแอฟริกา เช่น ปีศาจทะเลทราย (Welwitschia sp.) เป็นพืชโบราณไร้ดอก เป็นไม้
ประหลาด เพราะมีแค่ 2 ใบตลอดชวี ติ และอาจมีอายถุ ึงพันปีหรือมากกวา่ น้นั จะอาศยั อยู่ตามชายทะเล และ
สามารถอย่ใู นที่แห้งแล้วทสี่ ดุ ได้ ในประเทศไทยพบจนี ัสเดยี ว คือ จีนสั นีตัม (Gnetum sp.)
เชน่ มะเมือ่ ย ผกั เหลียง

พืชดอก (Angiosperm) คือพืชมดี อกมีรังไขเ่ มอ่ื ออวลุ กลายเป็นเมลด็ จึงมผี ลหมุ้ เมล็ด ได้แก่

10. ไฟลัมแอนโทไฟตา (Phylum Anthophyta) (Gr. anthos = ดอกไม)้ ได้แก่ กล่มุ พืชดอกมอี ยใู่ นปริมาณ
มากกว่าพชื ทกุ ชนดิ รวมกนั ถึง 3 เท่าคอื ราว 250,000 ชนิด เป็นพชื ทีม่ ลี าต้น ราก ใบเจริญดีลักษณะเด่นของพืช
กลมุ่ น้คี อื มดี อก เมลด็ อยูภ่ ายในผลหรือเมล็ดมีรงั ไขห่ ุ้ม พชื ดอกบางชนดิ อาจเหน็ ดอกได้ยากหรือไม่เคยพบดอก
เลย เช่น ไขน่ ้า หรือผา ซ่ึงเป็นพชื ดอกขนาดเลก็ ท่สี ุด สนทะเล สาหร่ายหางกระรอก จอก แหน พลดู ่าง ตะไคร้


Click to View FlipBook Version