0
ชุดการเรยี นรู้ กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะอาชพี
เร่ือง 3 การเพาะเลยี้ งหมปู ุา
Wild Boar Farming
ตามแนวทางการจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น
สงั กดั สานกั งาน กศน.
1
ชุดการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพ
เรอ่ื ง 3 การเพาะเลย้ี งหมูปา่
Wild Boar Farming
ตามแนวทางการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สงั กดั สานักงาน กศน.
ชื่อ.....................................................................................รหสั นกั ศกึ ษา .....................................
กศน.ตาบล/ศรช. ....................................................................ช่ือครูท่ปี รกึ ษา.......................................
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองนครราชสีมา
สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
จงั หวดั นครราชสีมา
2
เรื่อง 3 การเพาะเลยี้ งหมปู ่า
Wild Boar Farming
เร่ือง รบั งานวันท่ี ลายมือชอ่ื ส่งงานวนั ท่ี ลายมือช่อื หมายเหตุ
เรื่องท่ี 1
ประวัตแิ ละความเป็นมาหมูปุา
เรื่องท่ี 2
โรงเรือนเล้ียงหรือคอก
เรือ่ งท่ี 3
การขยายพนั ธ์หุ มปู ุา
เรื่องท่ี 4
การเล้ยี งหมูปาุ อาชีพเสรมิ เพม่ิ รายได้
เรื่องที่ 5
อาหารและการใหอ้ าหารหมูปาุ
เรือ่ งที่ 6
เล้ยี งหมูปาุ เชงิ ธุรกิจ
เรื่องท่ี 7
ความเช่อื เร่ืองเข้ยี วหมูตัน
เร่ืองท่ี 8
โรคทีส่ าคัญของหมูปุา
3
คานา
ชดุ การเรยี นรู้ 3 การเพาะเลยี้ งหมปู ุา Wild Boar Farming สาหรับนักศึกษา กศน. คณะผู้จัดทาได้ศึกษา
วิเคราะห์สภาพปัญหาปัจจุบันจากการสารวจความต้องการของนักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยออกแบบการเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย เหมาะสมกับนักศึกษา
และกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ ONIE MODEI การวัดและ
ประเมินผลเป็นไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงชุดการเรียนรู้นี้มีจานวน 8 เร่ือง ประกอบด้วยเรื่องที่ 1
ประวัติและความเป็นมาหมูปุา เร่ืองท่ี 2 โรงเรือนเลี้ยงหรือคอก เรื่องที่ 3 การขยายพันธ์ุหมูปุา
เรอื่ งที่ 4 การเลย้ี งหมปู ุา อาชพี เสริมเพม่ิ รายได้ เรื่องที่ 5 อาหารและการให้อาหารหมูปุา เรื่องท่ี 6 เลี้ยงหมู
ปุาเชิงธุรกิจ เรื่องที่ 7 ความเชื่อเร่ืองเขี้ยวหมูตัน เร่ืองท่ี 8 โรคที่สาคัญของหมูปุา ชุดการเรียนรู้ชุดน้ี
ประกอบด้วย คาชี้แจงสาหรับนักศึกษา กศน. คาช้ีแจงสาหรับครู บทบาทของครูผู้สอน บทบาทของ
นักศึกษา ผังความคิด การใช้ขุดการเรียนรู้ ใบความรู้ ใบงาน และแบบทดสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ความ
เขา้ ใจ ที่สามารถตรวจความถกู ต้องดว้ ยตนเองได้ ซ่ึงครู กศน.สามารถนาไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนท้ังใน
การปกติ หรอื จดั กิจกรรมการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าชุดการเรียนรู้เล่มนี้ จะมีคุณค่าในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
กศน. ให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของกรอบการจัดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตลอดจนมีประโยชน์
สาหรบั ครผู ู้สอนและผสู้ นใจ เพือ่ นาไปพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน ให้มีคุณภาพการศกึ ษาสงู ยง่ิ ข้ึนไป
คณะผจู้ ดั ทา
กศน.อาเภอเมืองนครราชสีมา
4
สารบัญ
หนา้
คานา
สารบัญ
คาช้ีแจงสาหรบั นักศึกษา กศน.
คาชี้แจงสาหรับครู
บทบาทของครผู ู้สอน
บทบาทของนักศึกษา
ผงั ความคดิ การใช้ขดุ การเรียนรู้
ใบความรูท้ ่ี 1 ประวัติและความเป็นมาหมปู ุา……………………………………………………………………10-14
-ใบงานที่ 1……………………………………………………….………………………………………..15
ใบความรู้ท่ี 2 โรงเรือนเลยี้ งหรอื คอก………………………………………………………………………………..16-17
-ใบงานที่ 2……………………………………………………….………………………………………..18
ใบความรทู้ ่ี 3 การขยายพันธุ์หมูปาุ ……………………………………………………………………………………19-20
-ใบงานที่ 3……………………………………………………….……………………………………….21
ใบความรู้ที่ 4 การเลย้ี งหมปู ุา อาชพี เสรมิ เพม่ิ รายได้……………………………………………………….…..22-24
-ใบงานที่ 4……………………………………………………….………………………………………..25
ใบความรทู้ ี่ 5 อาหารและการให้อาหารหมูปุา ……………………………………………………………………26-29
-ใบงานท่ี 5……………………………………………………….………………………………………..30
ใบความรทู้ ี่ 6 เล้ียงหมูปุาเชิงธรุ กิจ…………………………………………………………………………………….31-33
-ใบงานที่ 6……………………………………………………….………………………………………..34
ใบความรทู้ ่ี 7 ความเชื่อเรื่องเขยี้ วหมตู ัน……………………………………………………………………….……35-36
-ใบงานท่ี 7……………………………………………………….………………………………………..37
ใบความรู้ท่ี 8 โรคทีส่ าคญั ของหมปู ุา…………………………………………………………………………….……38-42
-ใบงานที่ 8……………………………………………………….…………………………………….….43
บันทึกสรุปการเรียนรู้ เรือ่ ง การเพาะเลีย้ งหมปู ุา
แบบทดสอบหลงั เรยี น
บรรณานุกรม
5
คาชีแ้ จงสาหรบั นกั ศึกษา กศน.
ชดุ การเรียนรูเ้ ร่ือง 3 การเพาะเล้ียงหมปู าุ Wild Boar Farming สาหรบั นกั ศึกษา กศน.
ประกอบด้วย ชุดการเรียนรูท้ งั้ หมด 8 เรอ่ื ง ดังนี้
เรอ่ื งท่ี 1 ประวตั ิและความเป็นมาหมปู ุา
เรื่องท่ี 2 โรงเรอื นเลย้ี งหรอื คอก
เรื่องที่ 3 การขยายพนั ธห์ุ มูปาุ
เรอ่ื งที่ 4 การเลี้ยงหมูปาุ อาชพี เสริมเพิ่มรายได้
เรื่องท่ี 5 อาหารและการให้อาหารหมปู ุา
เรอื่ งท่ี 6 เลีย้ งหมูปาุ เชงิ ธรุ กิจ
เรอ่ื งที่ 7 ความเชอ่ื เรือ่ งเข้ียวหมูตนั
เรื่องที่ 8 โรคทส่ี าคัญของหมูปาุ
6
คาช้ีแจงสาหรับครู
ข้อปฏบิ ัติในการใช้ชุดการเรียนรู้
ชดุ การเรยี นรู้เร่ือง 3 การเพาะเลี้ยงหมปู ุา Wild Boar Farming สาหรบั นักศึกษา กศน.
มีจดุ มงุ่ หมายเพื่อชว่ ยใหก้ ารดาเนินกิจกรรมการจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนเรอ่ื ง 3 การเพาะเลย้ี งหมูปุา
Wild Boar Farming บรรลุวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นร้แู ละมีประสิทธิภาพ ครูผสู้ อน ควรดาเนินการดังนี้
1. ขนั้ เตรียมการสอน
1.1 ศกึ ษาคาชแ้ี จงในการใช้ชุดกิจกรรมให้เขา้ ใจกอ่ นอยา่ งละเอียดรอบคอบ
1.2 ศกึ ษาสาระสาคญั และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูท้ ีจ่ ะดาเนินการจัดกจิ กรรม ให้เขา้ ใจชัดเจน
เสยี ก่อน
2. ขั้นสอน/จัดกระบวนการ
2.1 ดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการเรยี นการสอนแบบ ONIE MODEL 4 ขั้น
คอื
ขน้ั ที่ 1 กาหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O:
Orientation)
เปน็ การเรียนรจู้ ากสภาพ ปญั หา หรือความต้องการของผเู้ รียน และชมุ ชน
สงั คม โดยให้เชอื่ มโยงกับประสบการณเ์ ดมิ และสอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรยี นร้ขู องหลักสตู ร
ขน้ั ท่ี 2 แสวงหาข้อมลู และจัดการเรียนรู้ (N: New ways of learning)
การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรียนรู้ โดยศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และ
รวบรวมข้อมูลของตนเอง ข้อมลู ของชมุ ชน สงั คม และข้อมูลทางวิชาการ
จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายมีการระดมความคิดเห็น วิเคราะห์
สงั เคราะห์ข้อมลู และสรุปเป็นความรู้
ขัน้ ที่ 3 ปฏบิ ัติและนาไปประยุกตใ์ ช้ (I: Implementation)
นาความรูท้ ่ีไดไ้ ปปฏิบัติ และประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้สอดคล้องกับสถานการณ์
เหมาะสมกบั วฒั นธรรมและสังคม
ขน้ั ที่ 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้ (E: Evaluation)
ประเมนิ ทบทวน แกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง ผลจากการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้
แล้วสรปุ เป็นความรใู้ หม่ พร้อมกบั เผยแพรผ่ ลงาน
2.2 ขณะที่นกั ศึกษาทากิจกรรม ครูคอยให้ความชว่ ยเหลือแนะนากระต้นุ ใหน้ ักศึกษาทา
กจิ กรรมอยา่ งกระตือรอื รน้ และตอบขอ้ สงสยั ต่าง ๆ ระหวา่ งเรยี นพรอ้ มทัง้ สังเกตและประเมิน
พฤติกรรมการทางานของนักศึกษา
2.3 ประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชแ้ บบทดสอบยอ่ ย
7
บทบาทของครผู สู้ อน
1. ศกึ ษาชุดการเรียนรู้เร่ือง 3 การเพาะเลย้ี งหมูปุา Wild Boar Farming ใหเ้ ข้าใจก่อนที่จะนาไปใช้
2. ครอู ธบิ าย ชีแ้ จงเก่ยี วกับการศึกษาและปฏิบัติตามชดุ การเรียนรเู้ ร่อื ง 3 การเพาะเล้ยี งหมปู าุ
Wild Boar Farming และแจ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้ใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ ใจ
3. ครดู าเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ตู ามกระบวนการเรยี นการสอนที่กาหนดไว้
4. ครกู บั ตดิ ตามการทาใบงาน และให้คาปรึกษาแนะนานักศกึ ษา
5. ครูทดสอบนักศึกษาโดยใช้แบบทดสอบ หลงั จากเรียนเน้ือหาจบ เพื่อวัดความรู้ความเขา้ ใจของ
นักศึกษา
8
บทบาทนักศกึ ษา
1. รบั ทราบจุดประสงค์การเรียนรจู้ ากครูผู้สอน เพ่ือให้ทราบวา่ เมื่อจบกิจกรรมการเรยี นร้แู ลว้
นักศึกษาสามารถเรียนรอู้ ะไรได้บ้าง
2. ตง้ั ใจศึกษาใบความรู้ และปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามขนั้ ตอนหรือคาชแี้ จงของแต่ละเนื้อหา อย่างจรงิ จัง
ตรงต่อเวลา และมคี วามซ่ือสัตย์ รับผดิ ชอบ ในการทากจิ กรรมแบบทดสอบ และสง่ งานครู
3. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น เพ่ือวดั ความรู้ความเขา้ ใจ ให้ผ่านเกณท์ร้อยละ 70 ข้ึนไป หากทาได้ไม่
ถึงเกณท์ใหน้ ักศกึ ษากลับไปทบทวนเนื้อหา และใบงาน อีกครั้ง
4. ชุดการเรยี นรเู้ ร่อื ง 3 การเพาะเล้ยี งหมูปุา Wild Boar Farming นามาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการ
พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น หรอื หากไม่มเี วลามาพบกลมุ่ ทากิจกรรมสามารถนาไปเรยี นรูไ้ ดผ้ ่านดิจิทัลโดย QR
CODE นี้
9
ข้นั ตอนในการเรียนดว้ ยชดุ การเรยี นรู้
ศกึ ษารายละเอียดของชุดการเรียนรูแ้ ต่ละเร่ือง
ศกึ ษาผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวัง/จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ดาเนนิ การใช้ชุดการเรยี นรู้
๑. ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
- แจ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้
- บอกส่งิ ทนี่ ักศึกษาต้องปฏบิ ตั ิ
- ทดสอบก่อนเรียน
๒. ขั้นเรยี นรู้
นักศกึ ษาปฏิบัติกจิ กรรมตามทร่ี ะบไุ ว้ในใบงาน
๓. ขน้ั สรุป
สรปุ อภปิ ราย แลกเปล่ยี นเรียนรู้
ทดสอบหลังเรยี น ไม่ผ่าน
ผ่าน
ทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
หมายเหตุ
ผ่าน หมายถงึ ผู้เรยี นทาใบงานครบ ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 70 และแบบฝกึ หดั ครบ
10
เรือ่ งที่ 1 ประวตั แิ ละความเป็นมาหมูปาุ
หมปู าุ (Sus scrofa)
หมูปุา เป็นสัตว์ชนดิ เดยี วกบั หมูบ้านที่นิยมเลยี้ งกันท่วั โลกเพอ่ื บรโิ ภคเนื้อ มีหลักฐานวา่ ในเมืองไทย
มนุษย์เรมิ่ เลีย้ งหมูตง้ั แต่ 10,000 ปีกอ่ นครสิ ต์กาล ส่วนในลุ่มแม่นา้ ไทกริส มหี ลักฐานว่ามนษุ ย์เล้ยี งหมูมาต้ังแต่
13,000 ปี ก่อนครสิ ตกาลแล้ว
ลกั ษณะรปู รา่ งหมูปุา
หมูปาุ มีความยาวหัว-ลาตวั 90-180 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 30 เซนตเิ มตร ความสูงหัวไหล่
ประมาณ 55-110 เซนติเมตร นา้ หนัก 50-350 กิโลกรัม สว่ นหมเู ล้ยี งอาจมีน้าหนักได้มากถึง 450 กิโลกรมั
ผวิ สีดาหรอื เทาเข้ม มีขนขึ้นจาง ๆ ทัว่ ท้ังตัว ขนมันวาวสีดาหรือนา้ ตาล ขนบรเิ วณสนั หลังยาวเป็นพเิ ศษ หมตู ัว
ผูใ้ หญ่กว่าตวั เมยี หมูปุามีเข้ยี วสเ่ี ขี้ยวท่งี อกยาวตลอดชีวติ ตัวเมยี มีหัวนม 12 หวั ระบบยอ่ ยอาหารของหมู
ไม่ซบั ซ้อนมากเท่าของสตั ว์กีบชนิดอนื่ มีกระเพาะสองถงุ ไม่เค้ียวเอ้ือง
หมปู าุ เปน็ หมทู มี่ ีเขตกระจายพันธุ์กวา้ งทีส่ ดุ ในโลก พบไดต้ ั้งแต่ยุโรป แอฟริกาเหนือ จนถึงเอเชีย รวมถึง
หมูเ่ กาะตา่ ง ๆ เชน่ บรติ ชิ ไอเอล หมูเ่ กาะคอร์ซิกา ซาร์ดเิ นีย ญปี่ ุน ศรลี งั กา หม่เู กาะรวิ กิว ไตห้ วนั ไหหลา
สมุ าตรา ชวา และอีกหลายเกาะในอินดีสตะวันออก นอกจากน้ยี ังมปี ระชากรทเี่ กดิ จากการทม่ี นษุ ย์นาเขา้ ไปเลี้ยง
ในดินแดนอน่ื ซง่ึ พบได้ท่ัวโลก โดยเฉพาะทอ่ี เมรกิ าและออสเตรเลีย
ในธรรมชาตหิ มปู ุาชอบอาศยั ในปาุ ชืน้ ชอบตีแปลงและคลุกโคลน เพอื่ รกั ษาอุณหภูมิร่างกายและเพ่ือ
ปูองกันแมลงรบกวน บางครง้ั อาจเกลือกปัสสาวะของตัวเองเพอ่ื ลดอุณหภูมริ า่ งกาย หมูปาุ ไวตอ่ อุณหภมู แิ วดล้อม
มาก อากาศที่ร้อนเกินไปอาจทาใหห้ มปู าุ เปน็ ลมแดดได้ หมปู าุ ในยุโรปอาศยั กนั เป็นฝงู ขนาดใหญ่ ราว 20 ตัว บาง
ฝงู อาจมสี มาชกิ มากถึง 100 ตวั สมาชกิ ในฝูงประกอบดว้ ยหมตู ัวเมียและหมูเดก็ เม่ือหมูตัวผูเ้ ตบิ ใหญ่ จะแยกตัว
ออกจากฝงู ไปหากนิ โดยลาพัง ส่วนใหญห่ ากินเวลากลางคืน พื้นท่หี ากนิ ของตวั ผจู้ ะกวา้ งกวา่ ของตวั เมียราวสอง
11
เท่า หมปู าุ มีจมูกไวมาก ประสาทรับรสกพ็ ัฒนาเป็นพเิ ศษ แตส่ ายตาไมด่ นี ัก อาหารส่วนใหญ่ของหมูปาุ คือพืช แต่
ความจรงิ หมูปาุ กนิ อาหารแทบไม่เลือกสมกับเปน็ หมู ตงั้ แต่เห็ด หวั พืช เมล็ดพืช ผลไม้ ไข่ สัตว์เลื้อยคลาน ซาก
สตั ว์ หรือแม้แต่ปยุ๋ คอก
หมูปุาเปน็ สตั วท์ ก่ี นิ อาหารได้ทงั้ พืชและสัตว์ (Ommivorous) ซึ่งอาหารของหมูปุาได้แก่ ผกั ต่าง ๆ
เผอื ก มัน เหด็ หนอ่ ไม้ ข้าวโพด สับปะรด ถวั่ ลสิ งและหญา้ อ่อนๆ สว่ นสัตว์จาพวกปลวก งู และหนู กก็ นิ ได้
เหมือนกัน หมูปาุ จะมนี ิสัยการกนิ อาหารแบบตะกละและแย่งกันกิน การหากินก็จะออกหากนิ ในตอนเชา้ ตรู่
เป็นส่วนใหญ่ หากถกู รบกวนมาก ๆ ก็จะออกหากนิ ในตอนกลางคนื เชน่ กนั หมปู ุาชอบอาศยั อยรู่ วมกันเปน็ ฝูง
ขนาดฝูงก็มีต้งั แต่ 5-6 ตวั จนถึงฝงู ใหญ่ขนาด 50 ตวั แต่ละฝูงประกอบดว้ ยหลายวัย ทงั้ เพศผู้และเพศเมีย
ในตวั ผู้ขนาดใหญจ่ ะรวมฝูงเฉพาะช่วงฤดูกาลผสมพนั ธุ์ แต่ช่วงปกติจะแยกตัวออกจากฝูงและอาศยั อยู่เพยี ง
โดดเดีย่ ว ที่เรยี กกนั วา่ หมูโทน ทั้งน้อี าจเป็นเพราะหมโู ทนมีรางกายกายาใหญ่โต มเี ขยี้ วท่ยี าวและแหลมคม
สามารถท่ีจะรกั ษาตัวเองได้ หรอื อาจเปน็ เพราะวา่ มันดุรา้ ยจนหมปู ุาทมี่ ขี นาดเล็กกวา่ ไม่อยากอยู่ดว้ ยจงึ พากัน
แยกฝูงหนไี ปเสยี
หมปู าุ มีประสาทรบั กลิน่ ท่ีไวมาก แต่มีประสาทตาไม่ค่อยดี รวมท้ังประสาทหูไม่ดดี ว้ ย (นอกจาก
บางครั้งที่มนั เกิดสงสัยเมือ่ ได้กลิ่นประสาทท้ังตาและหจู ะว่องไวผดิ ปกต)ิ จมูกจึงเป็นเสมือนเคร่ืองรบั ประกัน
ความปลอดภยั โดยธรรมชาติ หมูปุาเวลาออกหากินจะมีเสียงเอะอะและดังมาก ซ่งึ เปน็ เสียงไลก่ ัดกัน กดั กิน
อาหาร แย่งกันกนิ อาหาร เกลือกกล้งิ เล่นกันและเสียงนส้ี ามารถไดย้ ินในระยะไกลๆ อยา่ งไรก็ตามถา้ หากมนั
เกิดความสงสยั หรือระแวงเหตรุ า้ ยข้นึ มา หมปู าุ จะกลายเป็นสตั วท์ ่ีเงียบท่สี ุดไดเ้ หมือนกัน คอื ทุกตวั จะยืนน่ิง
และเงยี บกรบิ ราวกบั ว่าเป็นสิง่ ไม่มชี ีวติ ครนั้ แน่ใจวา่ จะมีภัยอันตรายเกิดขน้ึ กบั มนั จะพากนั ออกว่งิ หนีพอเขา้
ปาุ ไดเ้ รียบรอ้ ยแล้วพวกมนั จะยนื นง่ิ เงยี บกรบิ อีกคร้ัง เพ่ือพิสจู น์ให้แนใ่ จอกี ครงั้ ว่าปลอดภัยแลว้ หรือยัง
หมูปุาเม่ือเปน็ สดั และผสมพนั ธ์เุ รยี บรอ้ ย ขนาดตัง้ ท้องอาจอย่รู วมกบั ฝงู ปกตจิ นกระทงั้ ใกลค้ ลอดจงึ จะ
แยกออกจากฝูง เพื่อเตรยี มทารังสาหรับคลอดลูก สว่ นมากจะทารงั ด้วยพวกหญา้ และเศษไมเ้ ศษพชื เทา่ ท่ีหา
ได้ มากองสุมกันจนมีความสูงประมาณ 1 เมตรกวา่ ๆ โดยกองบนเนนิ ดิน แม่หมจู ะคลานเขา้ ไปและขดุ ยกเป็น
โพรงแลว้ คลอดในโพรงนี้ เล้ียงลกู ประมาณ 4 เดือนจนลูกโต และแขง็ แรง จงึ เข้ารวมฝงู ใหญ่ และหากนิ กัน
ตามปกติในลักษณะเชน่ เดิม
หมูจดั เป็นสตั วท์ ฉี่ ลาดมากชนิดหนึง่ บางทีอาจฉลาดกว่าหมากไ็ ด้ เคยมผี ฝู้ กึ ละครสตั วฝ์ ึกใหห้ มู
กระโดดลอดห่วงไฟ เดินบนเชือก หรอื แม้แต่ถอดสลักกลอนประตไู ด้ เคยมนี ักจิตวิทยาใช้หมูเปน็ สัตวท์ ดลอง
แต่ตอ่ มาเปลย่ี นเป็นหมาแทนดว้ ยเหตุผลว่าหมาควบคุมอารมณ์ได้ดกี ว่า
12
สายพนั ธห์ุ มปู าุ ทพี่ บในประเทศไทย
หมูปุา ที่พบในประเทศไทย มีชื่อวทิ ยาศาสตร์ วา่ Sus scrofa มี 2 พันธ์ุ คือ พนั ธหุ์ นา้ ยาว และพันธุ์
หนา้ สั้น สามารถแยกความแตกตา่ ง ได้ดงั นี้
1. พนั ธ์หุ น้ายาว ลักษณะพ่อพันธ์ุ แม่พนั ธุ์ หน้ายาวกะโหลกเล็กลาตัวยาวห่นุ เพียวสูง อายุ 2 ปี ขน้ึ ไป
มคี วามสงู ขนาด 80 - 90 เซนติเมตร ขาเล็กและยาวเปน็ กลีบเทา้ เลก็ แต่แขง็ แรงมากคลา้ ย ๆ เกง้ จะออกใน
ลกั ษณะหน้าสงู ทา้ ยต่า หูเลก็ แนบชดิ ลาตัว มีขนสขี าวขน้ึ ด้านใตแ้ ก้มท้งั สองข้าง และมีขนเป็นแผงขน้ึ จากทา้ ย
ทอยไปถึงสันหลังขนจะยาวประมาณ 6 นว้ิ เวลาตกใจขนจะชูสงู ขน้ึ ลักษณะขนโดยทัว่ ไปจะขึ้นเป็นกลุ่ม ๆ ละ
3 รๆู ละ 1 เสน้ ตัวผู้จะมีเข้ยี ว ตัวเมียไม่มีเขี้ยว และตัวผูจ้ ะมผี าน หรอื ผน่ื ไขมนั ซ่ึงหนามาก ตรงไหลข่ าหนา้
ท้งั 2 ข้าง และมตี ุ่มนม 5 คู่ พนั ธ์ุหน้ายาวจะหากนิ ในปาุ ต้ืน
ขอขอบคุณรูปภาพจากและที่มาเนื้อหาขอ้ มูล : พลงั เกษตร.com
13
2. พนั ธุห์ น้าสน้ั ลกั ษณะใกลเ้ คยี งกับพันธ์ุหนา้ ยาว แตห่ วั กะโหลกจะใหญ่กวา่ ดแู ลว้ เหมือนพนั ธหุ์ น้า
ยาว แต่พนั ธห์ุ นา้ สั้นมลี กั ษณะลาตวั จะกลม เตี้ย หเู ลก็ ขาสัน้ และหนงั จะหนากวา่ พันธ์ุหน้ายาวนมไมเ่ กนิ 10
เต้า จะหากนิ ปาุ ลึก จะมีจา่ ฝูงฝูงหนงึ่ ประมาณ 30 ตวั ตัวเมียใกล้คลอดจะแยกจากฝงู ไปเล้ียงลกู ประมาณ 4
เดือน และจะเข้าฝงู ใหม่
อย่างไรกต็ ามปจั จบุ ันได้มผี ผู้ สมเป็นหมปู าุ 2 สาย และ 3 สายกนั มากขึน้
ลักษณะทีด่ ีของหมูปาุ ทจี่ ะใช้เป็นพ่อแมพ่ นั ธุ์ จะมีดังน้ี คือ
1. รปู ร่างสงู โปร่ง
2. สนั หลังตรงและยาว
3. สว่ นไหลห่ นา (ผานไหล)่ หนาและกว้าง
4. สะโพกกวา้ ง
ปจั จุบันหมปู่ าุ ตามธรรมชาตยิ ังคงมีใหเ้ ห็นไม่มากนัก สบื เนือ่ งจากเป็นสัตว์ขร้ี ะแวงต่นื กลัว และการถูก
ลา่ จากนกั ล่าสัตว์ ทาใหเ้ กิดความคดิ ใหม่ด้วยการเพาะเลี้ยงหมปู าุ เชิงเศรษฐกิจ ก่อเกดิ อาชีพฟาร์มหมปู าุ
ตามมา หมปู ุาถูกนบั เปน็ สตั ว์เลย้ี งเพื่อการคา้ ขายท่ีไดร้ ับการยอมรบั กนั มากขน้ึ นอกจากน้ี ยังมเี รอ่ื งราวอื่นๆ ที่
น่าร้ขู องเจา้ หมปู ุา ที่พอจะสรุปโดยสังเขปได้ 13 ขอ้ ดงั นี้
1. หมปู ุาตวั ผู้มนี า้ หนักมากกว่าตัวเมีย
2. หมปู ุาตัวเมียมเี ต้านม 5 คู่
3. หมปู าุ เป็นสัตวท์ ี่ขหี้ งดุ หงิด อารมณ์ร้าย และตกใจง่าย
4. หมปู าุ จัดเปน็ สัตวท์ ่ีฉลาดมาก บางตาราเช่อื ว่าฉลาดกว่าสุนขั แต่สุนขั ควบคุมอารมณไ์ ดด้ ีกวา่
5. ขณะออกหาอาหารจะส่งเสียงรอ้ งดงั อยู่ตลอดเวลา
14
6. หมูปาุ มีฟัน 44 ซี่ มีเขีย้ ว 4 เข้ียว ที่งอกยาวตลอดชวี ิต ใชเ้ ป็นอาวธุ ปอู งกันตวั โดยตัวผ้จู ะมีเข้ยี วที่คมขึ้น
เรื่อยๆ และเขีย้ วจะงอกยาวไดถ้ ึง 6 ซม.
7. ในอดีตมนุษย์นาขนบริเวณคอของหมูปาุ มาใชท้ าแปรงสีฟัน กระทงั่ ค.ศ.1930 จงึ มกี ารประดิษฐว์ สั ดุ
สงั เคราะห์ในการทาแปรงสฟี ันแทน
8. เมอื่ ถึงสภาวะคบั ขนั หมูปาุ จะหลบหนีไปอยู่ตามพ่มุ ไม้เต้ียๆ
9. หมปู าุ ออกลูกได้ตลอดท้งั ปี แม่หมูเป็นสดั นานประมาณ 21 วนั มชี ่วงเวลาตง้ั ทอ้ งนาน 115 วัน ออกลกู
คราวละ 1-12 ตัว สว่ นใหญ่มกั อย่ใู นช่วง 4-8 ตวั
10. หมูปาุ มจี มูกไวมาก ประสาทรบั รสก็พฒั นาเป็นพิเศษ แตส่ ายตาไม่ดีนัก
11. หมูปุาว่องไวมาก ไม่อุ้ยอ้าย ไมอ่ ้วนเทอะทะเหมือนหมูบ้าน ในตัวทโี่ ตๆ อาจสงู ถึงเอวคน หรือสูงกว่า ว่งิ ได้
เรว็ และหกั เลย้ี วเป็นมมุ แคบๆ ได้ และไวพอท่ีจะจบั งูกนิ ได้
12. ในธรรมชาติ หมูปาุ มอี ายุขยั เฉลีย่ 10 ปี แตเ่ คยพบอายุยืนท่ีสุดถึง 27 ปี
13. ในทางไสยศาสตรเ์ ชอื่ วา่ “เข้ยี วหมปู าุ ” สามารถปูองกันภยนั ตรายได้ ส่วน “ช้องหมู” คือ ขนหมปู ุาท่เี รียง
ถักกันเปน็ วง เช่ือกันวา่ เปน็ เครือ่ งรางช่วยใหค้ งกะพัน
ขอขอบคุณรูปภาพจากและที่มาเน้อื หาข้อมลู : พลังเกษตร.com
15
ใบงานท่ี 1
ใหน้ ักศกึ ษาตอบคาถามดังนี้
1. จงบอกลักษณะของหมูปุาสายพนั ธ์ุหนา้ สัน้ มาโดยสงั เขป
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
2. จงบอกลักษณะของหมูปุาสายพนั ธหุ์ นา้ ยาว มาโดยสงั เขป
............................................................................................................................................................. .................
................................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................................... ..........................................................................
16
เรอื่ งที่ 2 โรงเรอื นเลย้ี งหรือคอก
อนั ดับแรกของการเลีย้ งหมปู าุ ก็คอื จะต้องมีการสร้างโรงเรอื นเล้ยี งหรอื คอก ซ่ึงโรงเรอื นเล้ยี งหมูปุา
จะสรา้ งคล้ายโรงเรือนการเลีย้ งหมู เป็ด ไกธ่ รรมดา เพยี งแต่ว่าโรงเรือนสตั วพ์ วกเปด็ ไก่ เหล่าน้นั มกั จะสร้างให้
โรงเรอื นโปร่งอากาศถา่ ยเทสะดวก และรักษาความสะอาดงา่ ย แต่โรงเรือนหมปู าุ จะสร้างใหท้ ึบกว่าโรงเรือน
ของสตั ว์พวกนี้ เพราะหมปู ุาเปน็ สัตวท์ ่ีต่ืนตกใจง่าย ถา้ ปล่อยให้ตนื่ มักจะวงิ่ ไม่ค่อยหยุด อีกอยา่ งหนึ่งถ้าตกใจ
จะมผี ลตอ่ ระบบขับถา่ ยคือ ทาให้ท้องรว่ ง ดงั นนั้ นอกเหนือจากโรงเรือนซึ่งต้องทาใหท้ บึ แล้ว รอบๆ โรงเรอื นสูง
จากพืน้ ประมาณ 1 เมตรเศษยงั ต้องสร้างแผงปดิ ก้นั รอบๆ โรงเรอื นเพ่ือไม่ใหห้ มูปาุ เหน็ สิ่งรบกวนภายนอกมาก
นัก แผงก้นั อาจทาดว้ ยแผงไม้ไผห่ รือทาดว้ ยกระสอบปุานผ่าซกี และขึงดว้ ยกรอบไม้ก็ได้ สาหรับพ้ืนโรงเรอื นถา้
เล้ยี งบนพ้ืนดนิ ธรรมดาแล้วจะทาให้เนื้อตัวสกปรก และง่ายต่อการเปน็ โรค แต่ถ้าเลย้ี งบนพืน้ ซีเมนต์หยาบแบบ
หมูบ้านท่ัวไปก็ได้ผลไมด่ ีทาให้เท้าเกดิ บาดแผลได้ สรปุ แลว้ วธิ ีท่ดี ีท่ีสดุ สาหรับพ้นื โรงเรือนก็คอื ควรทาเปน็ พ้นื
คอนกรีตแบบขัดมนั เพราะนอกจากจะงา่ ยตอ่ การทาความสะอาดแล้วยงั เป็นการปูองกนั การกระโดดออกจาก
คอกเลยี้ งได้ ซงึ่ บางตวั กระโดดได้สูงมาก สามารถกระโดดไดส้ งู กวา่ 2 เมตรทีเดยี ว
ส่วนคอกเล้ยี งหมูปุาน้นั ภายในโรงเรือนแต่ละหลงั จะแบ่งคอกย่อยออกเปน็ 2 ด้าน โดยจะมที างเดนิ อยู่
ตรงกลาง คอกเล้ยี งควรสรา้ งด้วยตาขา่ ยเหล็ก (ลวด) แบบท่ีใชท้ าร้ัวทัว่ ๆ ไป ที่มีขนาดตา 6 นว้ิ ขนาดของคอก
เลี้ยงแตล่ ะคอกกว้างประมาณ 2 - 2 .50 เมตร ยาวประมาณ 3 เมตร ในแตล่ ะคอกเลีย้ งหมปู ุาได้ 1 ตวั หรอื
อาจหลายตัวกไ็ ด้ตามขนาดของหมทู ่เี ล้ยี ง คอกแต่ละคอกมีความสูงประมาณ 1.50 เมตร ซงึ่ สามารถปูองกนั
การกระโดดหนีของหมูปุาได้ หรอื สูงถึง 1.80 เมตรก็ได้ และมปี ระตปู ดิ - เปิดด้านหน้า (ช่องทางเดิน) แต่
สาหรบั คอกแม่หมูปาุ ที่มีลูกนั้น จะตอ้ งทาคอกพเิ ศษโดยเปิดช่อง (จะมแี ผน่ เหล็กบางๆ ที่ปิดเปิดได)้ ไวส้ าหรบั
ใหล้ กู หมอู อกมาจากคอกใหญ่ได้ เพ่ือให้ลูกหมูปาุ ลอดออกมากินอาหารเสริม แตจ่ ะต้องใช้ไมต้ ีก้นั เปน็ กรง
ตา่ งหากไว้ภายนอกดว้ ย ทง้ั นี้เพอ่ื กันไม่ให้ลกู หมูปุาออกมาเดินเพ่นพ่าน และสะดวกในการจับลกู หมูฉีดยา หรอื
ดูแลเวลาเปน็ อะไรขนึ้ มา เพราะแมห่ วงลกู มากหากกระทาในคอกเลยี้ งแม่พันธุ์แล้วอาจได้รับอันตรายได้
ขอขอบคุณรปู ภาพจากและที่มาเนื้อหาข้อมูล : facebook.com/ฟาร์มหมูปาุ รอ้ ยเอ็ด
17
ขอขอบคุณรูปภาพจากและที่มาเน้ือหาขอ้ มลู : facebook.com/ฟารม์ หมูปาุ ร้อยเอ็ด
18
ใบงานที่ 2
ให้นกั ศกึ ษาตอบคาถามดังนี้
1. จงอธิบายโรงเรือนเล้ยี งหรือคอกท่ีดีควรมลี กั ษณะอยา่ งไร
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
19
เร่อื งท่ี 3 การขยายพันธหุ์ มปู ุา
ในฤดผู สมพันธ์ุ
หมปู าุ ตัวผู้จะตอ่ สู้กนั อย่างดเุ ดอื ดเพือ่ แย่งตัวเมยี หมปู ุาที่อยใู่ นเขตอบอุน่ ออกลกู ในฤดใู บไมผ้ ลิ ส่วน
พวกท่ีอยูใ่ นเขตรอ้ นจะไม่มฤี ดูผสมพนั ธทุ์ ช่ี ัดเจน จงึ ออกลูกได้ตลอดทั้งปี แม่หมูเป็นสัดนานประมาณ 21 วนั มี
ชว่ งเวลาตั้งท้องนาน 115 วัน ออกลูกคราวละ 1-12 ตวั สว่ นใหญม่ ักอยู่ในชว่ ง 4-8 ตัว ลกู หมูมีลายคลา้ ย
แตงไทย ลายน้ีจะเริ่มเลือนหายไปเม่ืออายุได้ 5-6 เดือน ลูกหมหู ยา่ นมเม่ืออายุได้ 3-4 เดือน แมล้ กู หมูวัยรนุ่
เข้าสู่วัยเจรญิ พันธไุ์ ดเ้ มื่ออายุ 8-10 เดือน แตห่ มสู าวมกั ผสมพันธุค์ รัง้ แรกเมื่ออายุ 18 เดือน ส่วนหมูหนุ่มต้อง
รอไปอกี จนแกก่ ลา้ พอที่จะต่อสู้เพอ่ื แย่งชิงตัวเมียได้ ซึ่งอาจต้องรอถงึ ปีที่ 5 เม่อื ใกลจ้ ะออกลกู แมห่ มูจะทา
"ซุม้ หม"ู ขึจ้ ากตน้ หญ้า เพ่ือใช้เป็นรังเลยี้ งลกู ลูกหมจู ะยังอยู่ในซุ้มอยูเ่ ปน็ ระยะเวลาหนง่ึ แม่หมูจะหวงลูกมาก
แมก้ ระนั้นจะมีลูกหมเู พียงครึ่งเดียวเท่านั้นที่อยู่รอดไปจนถึงวยั ผ้ใู หญ่ สว่ นใหญ่ตอ้ งตกไปเป็นเหยื่อของสตั วก์ ิน
เนอ้ื ชนิดอน่ื หรือตายโดยโรค แมห่ มจู ะดูแลลูกจนอายุได้ราวเกอื บ 1 ขวบจงึ ปล่อยให้แยกออกไปหากนิ ดว้ ย
ตัวเอง ในธรรมชาตหิ มูปาุ มีอายขุ ยั เฉลี่ย 10 ปี แต่เคยพบอายยุ นื ทส่ี ดุ ถึง 27 ปี
ศตั รูสาคัญท่ีสุดของหมปู าุ ก็คือคน ศตั รูในธรรมชาตไิ ด้แกเ่ สือ หมี จระเข้ หมูปาุ ท่ตี กใจหรือบาดเจ็บ
จะดรุ ้ายมาก หมูปาุ ยังเปน็ สัตวท์ ่ีมจี านวนประชากรอยมู่ าก ไอยูซีเอ็นประเมินสถานภาพประชากรหมปู ุาไวว้ า่
มคี วามเส่ียงน้อย (LC) ในประเทศไทยก็ไมเ่ ปน็ สตั วป์ ุาคุ้มครอง อยา่ งไรก็ตามในบางพนื้ ท่ีทเ่ี คยมีหมปู ุาอยู่
ปัจจบุ นั ได้สญู พันธุ์ไปแลว้ เชน่ ในบริตชิ ไอเอล (ตัง้ แต่คริสต์ศตวรรษท่ี 17) สแกนดเิ นเวียตอนใต้ และแอฟริกา
ตอนเหนอื แม้ในปัจจบุ ันหมูปุาในบางพืน้ ท่ีก็ถกู คกุ คามอย่างมาก เชน่ ในเกาะริวกวิ ของญ่ีปนุ ซ่งึ หมูในเกาะน้ี
เปน็ ชนดิ ย่อย S. s. riukiuanus ชาวบา้ นทน่ี ่ถี อื ว่าหมูปุาเป็นสัตวร์ บกวน และรฐั บาลกส็ นบั สนนุ ให้ชาวบา้ นล่า
หมปู ุาดว้ ย
ลกั ษณะทด่ี ีของหมปู าุ ท่จี ะใช้เป็นพอ่ แม่พันธ์ุ จะมีดงั นี้
1.รูปร่างสงู โปร่ง
2.สันหลังตรงและยาว
3.ส่วนไหลห่ นา (ผานไหล่) หนาและกวา้ ง
4.สะโพกกว้าง
สาหรับพนั ธห์ุ มปู าุ ท่ีจะใชท้ าพันธุก์ ม็ ีด้วยกัน 2 พนั ธ์ุ คือ พันธ์หุ น้าสัน้ และพันธหุ์ น้ายาวท้ังสองพันธน์ุ ้ี
มีขอ้ แตกต่างกนั ก็ตรงที่หมปู าุ พนั ธุ์หน้าสั้นน้ันจะมขี นสดี าท้ังตัว มีลาตวั อว้ นกลมตวั เตย้ี และมีหน้าผากกว้างหู
ใหญก่ ว่า พันธุห์ น้ายาวเท่าทส่ี ังเกตดหู มปู ุาพนั ธ์ุนมี้ ีการเจริญเตบิ โตทค่ี ่อนขา้ งดี แต่ทวา่ เมอื่ เปรยี บเทียบในเรื่อง
ความแขง็ แรงแล้วจะสู้พนั ธุ์หนา้ ยาวไม่ได้ สาหรบั หมูปุาพนั ธ์หุ น้ายาวนัน้ จะมขี นไม่ค่อยเข้มเทา่ ใดนัก (คือมสี ี
20
ดอกเลา) มีลาตวั ค่อนข้างแคบ รปู รา่ งสงู โปรง่ และมหี นา้ ผากแคบ หูเลก็ กว่าพันธหุ์ น้าส้ัน ทางดา้ นการ
เจริญเตบิ โตใหเ้ นือ้ หนงั สู้พันธหุ์ น้าสั้นไม่ได้ แตท่ ว่าหมปู าุ พันธน์ุ ้มี คี วามแข็งแรง หรือมนี ้าอดนา้ ทนดีกวา่ มาก
ส่วนการผสมคัดเลือกพันธนุ์ นั้ ก็มี 2 แบบดว้ ยกัน คือ
การเอาพนั ธุแ์ ท้ผสมกับพนั ธ์แุ ท้ดว้ ยกนั ซง่ึ ก็ทาโดยผสมคดั เลือกพนั ธุ์ระหว่างพนั ธห์ุ นา้ ยาวกับพนั ธ์หุ นา้ ยาว
และพันธุห์ น้าส้นั กับพันธ์หุ น้าส้ัน
การผสมคดั เลอื กพนั ธุร์ ะหว่างพนั ธหุ์ นา้ สน้ั กบั พนั ธุห์ น้ายาว หรอื ท่ีเรียกกันวา่ ลกู ผสมระหว่าง 2 สายพนั ธ์ุ ทั้งนี้
กเ็ พ่ือท่ีจะไดเ้ ปน็ การรวบรวมเอาความดีของทัง้ สองสายพันธ์ุเขา้ ด้วยกัน เช่น พันธุห์ น้าสั้นมกี ารเจรญิ เตบิ โตที่ดี
แต่พนั ธุ์หนา้ ยาวจะมีความแข็งแรงกวา่ เม่ือนามาผสมกนั แลว้ ก็จะไดล้ ูกผสมทีม่ คี วามดีของท้งั สองพันธเ์ุ ข้า
ดว้ ยกัน คอื มีท้ังการเจรญิ เติบโตทด่ี ีและความแข็งแรง
ขอขอบคุณรปู ภาพจากและที่มาเนื้อหาข้อมลู : facebook.com/ฟารม์ หมปู ุาร้อยเอ็ด
21
ใบงานที่ 3
ใหน้ กั ศึกษาฝกึ วาดภาพหมปู ุาตามจินตนาการ มาอยา่ งน้อย 1 รูป
22
เร่อื งที่ 4 การเลี้ยงหมูปุา อาชพี เสรมิ เพิ่มรายได้
หมปู าุ เปน็ สัตวท์ เี่ ลี้ยงงา่ ย สามารถใชอ้ าหารในท้องถิน่ ที่มีคุณภาพตา่ และเศษวัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตรเป็นอาหารไดเ้ ปน็ อย่างดี ปัจจบุ ันความต้องการในการบริโภคเนือ้ หมูมีค่อนข้างมาก แต่มผี ูเ้ ล้ียงน้อย
ทาให้ผลผลิตเน้ือหมปู ุามไี มเ่ พียงพอ ดังนน้ั ราคาเนื้อหมปู าุ จึงสูงกว่าราคาเนื้อหมูปกติทัว่ ไป เกษตรกรจงึ หันมา
สนใจเลย้ี งมากข้นึ นอกจากนี้ยังสามารถเลี้ยงหมูปุาในเชิงอนุรกั ษ์ เพื่อทดแทนหมูปุาตามธรรมชาติ
ซง่ึ ในปัจจุบนั มีจานวนนอ้ ยลงอย่างรวดเร็วเลีย้ งงา่ ยสามารถใช้อาหารในท้องถ่ินทมี่ ีคณุ ภาพต่าและเศษวสั ดุ
เหลอื ใช้ทางการเกษตรเปน็ อาหารได้เปน็ อย่างดี ปัจจุบนั ความต้องการในการบรโิ ภคเน้ือหมูมคี ่อนขา้ งมาก แตม่ ีผู้
เล้ียงน้อยทาใหผ้ ลผลติ เน้อื หมูปุามไี มเ่ พียงพอ ดงั นั้น ราคาเนือ้ หมปู าุ จงึ สูงกว่าราคาเนื้อหมปู กตทิ วั่ ไป เกษตรกรจงึ
หนั มาสนใจเล้ยี งมากข้นึ รวมถงึ คณุ วรี ะ กล่นิ กหุ ลาบ เกษตรกรชุมชนบา้ นคลองลาปาง ต.ไผเ่ ขียว อ.สวา่ งอารมณ์
จ.อทุ ัยธานี ซึ่งปจั จบุ นั เล้ยี งหมปู ุา อยจู่ านวน 20 ตวั นอกจากนเี้ กษตรกรยังสามารถเล้ยี งหมปู ุาในเชิงอนรุ ักษ์ เพือ่
ทดแทนหมปู ุาตามธรรมชาติ ซ่งึ ในปจั จบุ ันมีจานวนน้อยลงอยา่ งรวดเรว็
“ที่ต้องเลี้ยงหมูปาุ ” เพราะหมปู าุ ไมเ่ หมอื นหมูขาวทต่ี ้องทาวัคซีน ซ่ึงการใหว้ ัคซนี ก็ถอื เปน็ การนาสารเขา้
รา่ งกายของสตั วอ์ ย่างหน่ึง และเม่ือได้มลู มา มลู สตั ว์ชนิดนั้นก็มีสว่ นของเคมจี ากวัคซนี ที่ได้ จงึ ตอ้ งเลือกหมปู าุ
เพราะเปน็ สตั วท์ ่ีมีภูมิต้านทานในร่างกายของตัวมันเองสูง และไมต่ ้องทาวคั ซนี ใดๆ กบั กรมปศุสตั ว์ ทเี่ หลือก็เป็น
เรอื่ งของการดแู ลการให้อาหาร ทีไ่ ม่ผ่านการแปรรูปหรอื ปลอดเคมี นอกจากน้ี มูลหมยู งั มีธาตฟุ อสฟอรสั และ
23
โพแทสเซยี มสงู ซึ่งเป็นธาตุอาหารท่ีไม้ผลในไรต่ อ้ งการ เมอ่ื ความตอ้ งการใหป้ ลอดสารลงตัว หมูปาุ จึงเป็นปศุสตั วท์ ี่
ตอบโจทยท์ ส่ี ุด
ธรรมชาติของหมปู ุา การเลีย้ งสัตว์ให้ไดผ้ ลดีน้นั ปจั จัยสาคัญท่สี ดุ อยา่ งหน่ึงคือการเข้าใจธรรมชาตขิ อง
สตั ว์ชนดิ น้ัน ๆ เพราะจะทาให้ผูเ้ ล้ียงเขา้ ใจความต้องการของสัตวเ์ ลี้ยงในด้านต่าง ๆ ทงั้ อาหาร ความเปน็ อยู่รวมถึง
การเจ็บปวุ ยที่เกดิ ขน้ึ กับสัตว์ เกษตรกรหลายรายที่เลยี้ งหมูปาุ แบบฟาร์มแลว้ ไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ดว้ ยสาเหตุ
ตา่ ง ๆ ทัง้ ด้านความรแู้ ละประสบการณ์ จงึ หนั มาทดลองเล้ียงหมูปุาแบบธรรมชาติ โดยการจดั การให้หมปู าุ ได้อยู่
แบบธรรมชาติในพนื้ ท่ีค่อนข้างกว้างเป็นไร่ ล้อมรั้วแน่นหนาหมูปุาไม่สามารถหนีได้ ปลอ่ ยฝูงหมูปุาเขา้ ไปเลี้ยงตาม
ความเหมาะสม อาจเล้ียงควบค่กู ารทาสวนใหห้ มปู ุามีปุามรี ่มเงา สร้างโรงเรือนให้หมูปุาไวส้ าหรบั กินอาหาร อาหาร
พวกผักหญ้า หรอื ของเหลือจากผลติ ผลทางการเกษตร หมปู าุ จะมีสุขภาพดีไม่เกิดความเครยี ด กินอาหารได้เยอะ
และโตเรว็ นอกจากนยี้ งั ตอ้ งมีการจดั การที่ดี เช่น การผสมพนั ธ์ุ จะจัดการบริเวณใหห้ มูปาุ ไดอ้ ยู่เปน็
สดั ส่วน เช่น หมทู ผ่ี สมแลว้ หมรู อการคลอด ตลอดท้งั ลูกหมเู ล็ก ทกุ อยา่ งใช้หลกั ธรรมชาติของหมู
การสงั เกต หมปู ุาว่า หมปู ุาตวั ไหนเปน็ หมูปาุ พันธ์หุ นา้ ยาว ตวั ไหน เป็นหมปู าุ พันธุ์ หนา้ ส้ัน จะใชแ้ ต่ความยาว
ความสั้นของหนา้ เป็นตวั ช้ีวัดไม่ได้ เพราะบางทีหมูปุาพนั ธห์ุ นา้ สนั้ จะมีหนา้ ที่ยาวกว่าหมปู ุาพนั ธ์หนา้ ยาวถา้ มีอายุ
แตกต่างกนั มาก ดงั นั้นจึงต้องอาศัยสว่ นประกอบ อนื่ ๆ ดงั ที่กล่าวมาแล้วเข้ามาชว่ ยในการพิจารณาความกว้างของ
หน้าผากก็เป็นอีกส่วนหน่ึง กล่าวคอื หมูปาุ พันธ์หุ นา้ สั้น จะมีหนา้ ผาก กวา้ งกวา่ หมปู ุาพนั ธหุ์ นา้ ยาว จะมีหนา้ ผาก
แคบมากพันธหุ์ มูปุา พนั ธุ์หมูปุาท่นี ยิ มเลย้ี ง ในปัจจุบนั นว้ี ทิ ยาการในการเลี้ยงหมูปาุ ถือไดว้ ่ากา้ วหน้าไปมาก
เดมิ มีการเลยี้ งอยู่ 2 พนั ธ์ุ คอื หมปู ุาพันธ์หน้ายาว และหมปู ุาพันธ์หน้าส้นั แตใ่ นปัจจบุ นั มีผู้ทดลองเอาหมปู าุ ท้งั
สองสาย พันธ์ุมาผสมกันเรยี กกันวา่ พันธุ์ผสม ซึง่ จะไดห้ มูทีโ่ ตเรว็ เพ่มิ ข้ึน 1/3 เท่าของพนั ธ์ุเดิม
24
1. หมูปุาพันธ์ุหน้ายาว จะมลี กั ษณะขนสดี อกเลาลาตัวค่อนขา้ งบางรูปร่างสงู โปรง่ กวา่ พันธห์ นา้ สน้ั หนงั หนา
กว่าพันธห์ุ นา้ สั้น หมูปุาพันธ์ุน้ีโดยธรรมชาติแลว้ มกั จะหากนิ ตามปุาตน้ื ๆ
2. หมูปุาพันธ์ุหนา้ สน้ั จะมรี ปู รา่ งทผ่ี ดิ จากพนั ธุ์แรกคือ รูปร่างไมค่ ่อยสูงโปรง่ หน้าตาคล้ายหมูพันธุ์ไหหลา
ท่ีพวกแม้วนยิ มเล้ยี ง ลาตัวอว้ นกลม ขนสดี า ลาตวั เตี้ยกว่า หนังบางกวา่ แต่หนงั จะหนาไดเ้ ร็วกวา่ หมปู าุ พนั ธ์หุ นา้
ยาว หนงั หนาหนงั บางจะมีผลต่อราคาเนื้อหมูชาแหละ เพราะผู้บรโิ ภคมกั นยิ มกินหนงั หมูปาุ เพราะมคี วามกุบกรอบ
เวลาชาแหละเนื้อหมจู งึ ต้องใหม้ หี นงั ตดิ ทกุ ช้นิ หมปู ุาพนั ธ์ุน้ีถา้ อยตู่ ามธรรมชาตมิ กั หากินตามปุาลกึ ๆ
การจาหน่าย
-จาหนา่ ยลูกหมูปาุ ในราคาตวั ละ 500 บาท
-จาหนา่ ยหมปู ุาใหญข่ นาด 50 กโิ ลกรมั ในราคา กก.ละ 50 บาท
ข้อดีของการเล้ียงหมปู าุ
-ตน้ ทุนต่าสามารถเลี้ยงเปน็ อาชพี เสรมิ ได้
-ขั้นตอนการเลี้ยงและการดูแลไมย่ งุ่ ยาก ทนต่อโรค
-ตลาดมคี วามต้องการสูง
-มูลของหมูสามารถนามาทาปุ๋ยหมักใส่พชื ได้ดี
25
ใบงานท่ี 6
ให้นักศึกษาตอบคาถามดังน้ี
1. จงอธิบายข้อดีของการเลยี้ งหมปู าุ เพื่อเสริมรายได้ มาพอสังเขป
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
26
เรอื่ งที่ 5 อาหารและการใหอ้ าหารหมูปาุ
การให้อาหารหมปู ุา
หมูปาุ เปน็ สัตว์ท่กี ินอาหารทง้ั พชื และสตั ว์ มีกระเพาะเดยี่ ว และระบบย่อยอาหารที่มีประสิทธิภาพดจี ึง
สามารถกินอาหารไดห้ ลากหลายชนิด อาหารในธรรมชาติของหมปู ุาไดแ้ ก่ พชื บนดนิ รากพชื ใตด้ ิน หวั พชื ผัก
หญ้า ผลไม้ท่ีรว่ งหล่นบนพ้ืนดิน ตลอดจนไสเ้ ดือน กิง้ กือ แมลง ไข่มด ก้ิงกา่ จงิ้ เหลน สารพดั เท่าทจ่ี ะหาได้
แมแ้ ตซ่ ากพชื ซากสตั ว์ เมอื่ นามาเลี้ยงในฟาร์ม เป็นสัตว์ เศรษฐกจิ จึงไม่ใชเ่ รอื่ งยากท่จี ะปรบั ตวั เขา้ กับ
อาหารเม็ด สิ่งสาคัญคือ คณุ ค่า คุณภาพและปรมิ าณ ของอาหารทเ่ี พยี งพอเหมาะสมกับการเจริญเตบิ โตของ
หมปู าุ และ ปราศจากโรค
แบ่งเปน็ 5 ระยะ วนั ละ 2 ม้ือ เชา้ - เยน็ ดงั น้ี
1. อาหารสาหรบั หมูนม ควรใหอ้ าหารสาเร็จรปู หรือราขา้ ว หมูปาุ เล็กจะหดั เลียราง ตามแมเ่ มือ่ อายุประมาณ
15 วัน ให้กนิ วันละ 3 มื้อ เช้า กลางวัน เย็น ใหโ้ ดยการฝึกทีละน้อย และเพ่ิมปรมิ าณขึน้ เร่ือยๆตาม
ความสามารถในการกินของลูกหมูใหก้ ินเร่ือยไปจนลูกหมปู ุาหย่านม และหลังอยา่ นมประมาณ 10 วัน หรอื จะ
ใหก้ ินจนหมูเลก็ มีอายุถึง 60 วันจงึ เปล่ยี นเปน็ อาหารหมูรุน่
2. อาหารหมูรนุ่ หมูในชว่ งนี้ใหอ้ าหารวันละ 0.3- 0.5 กโิ ลกรัมตอ่ ตวั อาหารสว่ นใหญ่เป็นจาพวกอาหารหยาบ
เชน่ ผัก หญ้า ใบกระถนิ เป็นต้น หมปู าุ วัยนีจ้ ะกินอาหารน้อยกว่าหมูบ้านหลายเท่า หมูปุา 10 ตัวจะกนิ อาหาร
ข้น 2 - 3 กิโลกรมั ตอ่ วนั
3. อาหารหมขู ุน หมใู นช่วงนใี้ หอ้ าหารวนั ละ 0.5 กิโลกรมั หรอื ตามความสามารถในการกินของหมูปุาจนกว่าหมู
ปาุ จะมีอายคุ รบ 1 ปี กส็ ามารถชาแหละได้ จะมีน้าหนัก ประมาณ 60 – 80 กโิ ลกรัม
27
4. อาหารแม่พันธห์ุ มปู ุาระยะตั้งทอ้ ง แม่หมูปุาทผี่ สมติดแล้วจะกินอาหารวันละ 1 กิโลกรัม เป็นเวลา 2.5
เดอื น แลว้ จึงคอ่ ยใหอ้ าหารเพ่ิมขึน้ เป็นวนั ละ 1.5 - 2 กิโลกรมั จนถงึ 2 อาทิตย์ก่อนคลอดจึงลดอาหารลงให้กนิ
วันละ 1 กิโลกรมั
5. อาหารหมูปุาหลงั คลอด เป็นระยะทีห่ มูปุาต้องใหน้ มลูกจึงตอ้ งการอาหารเพม่ิ มากขึน้ เปน็ วันละ 3 กโิ ลกรัม
เรือ่ ยไปจนลูกหมอู ย่านมจึงลดอาหารมาเป็นปกติ
6. การใหน้ า้ หมูปุา ในทน่ี ี้คณุ วีระ จะผสมจลุ นิ ทรียช์ วี ภาพ (EM) ชนิดนา้ ผสมลงใน
นา้ เปล่า อัตราสว่ น จลุ นิ ทรียน์ ้า 20 ซซี ี ต่อน้า 20 ลิตร และเปล่ียนนา้ ทุก 2 วนั การปนอาหารหรือผสม
อาหารน้ันตอ้ งไม่ใหห้ วั อาหารมากจนเกินไป จะทาใหห้ มปู ุาท้องร่วงเนน้ การทาใหป้ ระหยัดท่ีสดุ เท่าท่จี ะกระทา
ได้ ถา้ มีจาพวกพชื ผกั เผือก มนั ตน้ อ้อย หญ้าหรอื พืชผกั ท่ีเหลือกินเหลอื ใชจ้ ะใหเ้ ป็นอาหารเสรมิ ก็เป็นการดี
ที่สุดหมูปุาชอบกนิ หญ้าอ่อน เป็นอาหารเชน่ กันโดยเฉพาะหญา้ ขน จึงควรจดั หาหรอื ปลูกไวเ้ ป็นอาหารเสรมิ
ยกเวน้ ใบมนั สาปะหลังดบิ เพราะในยางของมันสาปะหลงั จะมีสารไซยาไนต์ ซง่ึ เปน็ สารพิษในฤดูแลง้ จะมีความ
เขม้ ข้นมาก
ขอขอบคุณรปู ภาพจากและที่มาเน้ือหาข้อมูล : facebook.com/ฟารม์ หมูปาุ ร้อยเอ็ด
28
วธิ ีการลดตน้ ทนุ คา่ อาหาร
วธิ กี ารลดต้นทนุ คา่ อาหารหยาบลงได้อีกทางหนง่ึ คือ การปลกู ผักหญา้ ควบคู่ไปกับการเลย้ี งหมปู ุา
ซงึ่ จะทาใหม้ ีอาหารหยาบที่มีคุณภาพดี ปลอดสารพิษ ทาให้หมปู าุ แข็งแรงเจรญิ เตบิ โต
การใหอ้ าหารหมูปาุ แบ่งเปน็ 5 ระยะ วนั ละ 2 มื้อเชา้ -เย็น ดงั นี้ อาหารหมปู าุ เน้นการทาใหป้ ระหยัดที่สดุ
เท่าที่จะกระทาได้ ถา้ มจี าพวกพชื ผัก เผอื ก มัน ต้นอ้อย หญ้าหรอื พชื ผักท่เี หลอื กนิ เหลอื ใช้จะใหเ้ ปน็ อาหาร
เสรมิ กเ็ ปน็ การดีท่สี ดุ หมูปุาชอบกนิ หญ้าอ่อน เปน็ อาหารเชน่ กันโดยเฉพาะหญา้ ขน จึงควรจัดหาหรือปลกู ไว้
เปน็ อาหารเสรมิ ยกเว้นใบมันสาปะหลังดิบเพราะในยางของมนั สาปะหลังจะมสี ารไชยไนส์ ซง่ึ เป็นสารพิษ
หมปู ุาเป็นสตั วช์ อบกินหญ้าอ่อนเป็นอาหารโดยเฉพาะหญ้าขน แต่หากกนิ หญ้าเพียงอย่างเดียวอาจทา
ใหไ้ ด้รบั สารอาหารไมเ่ พยี งพอต่อการเจริญเติบโต หรอื แม้กระทงั่ การใหห้ ัวอาหารเพียงอย่างเดยี ว จงึ ได้มีการ
ทาสตู รอาหารเพ่ือเพ่มิ โปรตนี ลงในอาหารหมูปุาและทาให้หมปู ุาไม่เบ่อื อาหารที่จาเจด้วยสูตรอาหารหมปู ุา
เสรมิ โปรตนี ซง่ึ อาหารนับว่าเป็นปัจจยั ทีส่ าคญั ที่สุดอยา่ งหน่งึ ในหลายๆ อยา่ ง ท้ังนี้ก็เนื่องจากวา่ หมูปุาจะ
เจรญิ เตบิ โตให้ผลผลิตเต็มความสามารถ ขึน้ อยู่กับคณุ ภาพอาหารที่กนิ เข้าไป รวมทั้งเรื่องน้าก็ควรให้เพียงวนั
ละ 1 แกลลอนเท่านั้น อาหาร ส่วนใหญ่จะเปน็ อาหารหยาบ เปน็ อาหารที่มีเย่ือใยสูง มีปริมาณโภชนะย่อย
ไดต้ ่า เชน่ ลาตน้ และใบของพืช ใช้เปน็ อาหารหลกั ของหมูปุา หาไดง้ า่ ยราคาถูกได้แก่ ต้นกลว้ ย หยวกกลว้ ย
ปลกี ล้วย ผักบุ้ง ผักขมยอดอ้อย ผกั ตบชวา ใบกระถนิ เมลด็ ข้าวโพด ฝักขา้ วโพด หน่อไม้ เปลือก
ขนุน มะมว่ งแตงโม เผอื ก มนั รวมทงั้ เศษผกั สดเหลือทิ้งตามตลาดพชื ผกั ดังกลา่ วสามารถนามาใหห้ มูปาุ
กินได้ทันที อาหารหยาบดังกลา่ วสามารถจดั หามาเลี้ยงหมูปุาใหก้ นิ ได้ทนั ทจี ึงเป็นทก่ี ล่าวกันวา่ หมูปาุ เลี้ยงง่าย
ต้นทนุ ค่าอาหารต่า ไมม่ ีปัญหาในการดูแล แตต่ ามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง
ขอขอบคุณรูปภาพจากและท่ีมาเน้ือหาข้อมูล : facebook.com/ฟาร์มหมปู าุ ร้อยเอ็ด
29
สว่ นผสมอาหารหยาบหมปู าุ
วตั ถดุ บิ
1.หยวกกลว้ ย 3 กิโลกรัม
2.ข้าวต้ม 3 กโิ ลกรัม
3.หัวอาหารหมู 4 กามือ
วธิ ที า
1.นาหยวกกล้วยทซ่ี อยเป็นช้ินเลก็ ๆแล้ว มาใสใ่ นถัง
2.จากนัน้ นาข้าวตม้ 3กิโลกรัม มาเทบนหยวกกลว้ ยทซี่ อย
3.นาหวั อาหารหมู จานวน 4 กามือ มาโรยทับอีกที
4.คลกุ เคลา้ ให้เข้ากนั นาไปให้หมูกนิ
ใหก้ ินวันละ 2 เวลาเชา้ -เย็น ปรมิ าณการให้จะสงั เกตจุ ากการกนิ ของหมปู าุ ว่าตกั ให้กนิ ขนาดไหนจงึ จะพอดี
ไม่ควรใหเ้ ยอะจนเหลือ
ข้อดีของการทาอาหารสูตรน้ีคือ ประหยดั ต้นทนุ ช่วยเสริมโปรตนี ทาใหห้ มปู ุาโตเร็ว และแขง็ แรง
ขอขอบคุณรูปภาพจากและท่ีมาเนอ้ื หาขอ้ มลู : facebook.com/ฟารม์ หมปู ุาร้อยเอ็ด
30
ใบงานท่ี 5
ใหน้ กั ศึกษาตอบคาถามดังน้ี
1. จงบอกวธิ ีการลดต้นทนุ อาหารหมปู าุ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................. .............
2. จงบอกประโยชนข์ องการลดต้นทุนอาหารหมปู ุา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
31
เรอ่ื งท่ี 6 เลย้ี งหมูปุาเชิงธุรกิจ
เล้ียงหมูปาุ เชิงธรุ กจิ ใชช้ ีวติ แบบพอเพยี งเลี้ยงแบบประหยัดต้นทุน เกือ้ หนนุ ธรรมชาติ
แนวทางการเลยี้ งหมูปุา หมูปาุ เปน็ สตั ว์ท่ีเลย้ี งง่าย ดแู ลง่าย หมปู าุ เป็นสตั ว์ มีกระเพาะเดียว และ
ระบบย่อยอาหารมปี ระสทิ ธภิ าพดีและสามารถกินอาหารได้หลากหลายชนิดอาหารในธรรมชาติของหมูปุา
ได้แก่พืชบนดินรากพืชใต้ดิน หวั พชื ผกั หญ้าผลไม้ทรี่ ่วงหลน่ บนพื้นดนิ ตลอดจนไสเ้ ดือน ก้ิงกือ แมลง ไข่
มด สารพัดอาหารเท่าทีจ่ ะหาได้ แม้แต่ซากพชื ซากสัตว์ เรอื่ งของอาหารมเี พียงพอ ปราศจากโรค การเล้ยี ง
หมปู ุากไ็ ม่ใชเ่ รอื่ งลาบากนัก
การจดั จาหน่ายและการตลาดของหมูปุา
การจาหนา่ ยลกู หมพู นั ธุ์ การจาหน่ายลกู หมู จะจาหน่ายในช่วงท่ลี กู หมูปาุ หลงั อย่านมอายุประมาณ
60 - 90 วัน ส่วนราคาก็ประมาณ คู่ละ 2,000 – 5,000 บาท ขึ้นอยู่กับลกั ษณะและความสมบูรณ์ โดยตัวผูจ้ ะ
มีราคาถูกกวา่ ตัวเมยี เช่น ถ้าซื้อลกู หมปู ุาคลู่ ะ 3,500 บาท กจ็ ะเป็นราคาตัวผปู้ ระมาณ 1,000 บาท เป็นต้น
การเล้ียงหมูปุา มตี น้ ทนุ ตา่ แต่ให้ผลผลิตทนี่ า่ พอใจ และยังเป็นที่ตอ้ งการของตลาดอยมู่ ากเชน่ กัน
แหล่งท่ีมาของข้อมลู : คณุ บุญตา บตุ รเสนา
ทอี่ ยู่ : หมู่ท่ี 9 ตาบลสาโรง อาเภอหนองสองห้อง จงั หวัดขอนแกน่
32
การจัดจาหนา่ ยแปรรปู อาหารจากหมปู ุา
เมนจู ากหมูปุาคงเปน็ อกี หนึ่งเมนูเดด็ ของใครหลายคนโดยเฉพาะคออาหารปุา แตก่ ารจะไปตามจบั หมู
ปาุ จากธรรมชาติกห็ าไดน้ ้อยลงไปทุกที หมปู ุาจงึ มคี วามต้องการในตลาดสงู ย่งิ ขึน้ สง่ ผลให้มเี กษตรกรหลายราย
หนั มาเลย้ี งหมปู ุาในเชิงเศรษฐกิจ สาหรบั สง่ ขายลกู พันธ์ุและชาแหละขายเปน็ เนื้อขุน ความโดดเด่นในเรื่องของ
การเลย้ี งหมปู าุ แบบทาให้มีต้นทนุ ในการเลยี้ งต่า อีกทง้ั หมูปาุ ยงั ไดใ้ ช้ชวี ิตแบบธรรมชาติ มีความแข็งแรง เน้อื
หมปู าุ ที่ได้กม็ ีความอร่อยเพราะให้เนื้อแดงมากแทบไม่มีไขมันแทรกแบบการเลี้ยงในระบบปิด นับเป็นอกี
ทางเลอื กในการเล้ยี งหมปู าุ ที่นา่ สนใจและสามารถนาไปเป็นต้นแบบได้
ลักษณะเนือ้ และคุณภาพเนื้อ ถอื เปน็ เรื่องท่สี าคัญในความแตกตา่ งกันท่สี ุดของหมปู ุากับหมูบา้ น "
เน้อื " หมูปุานนั้ เปน็ เนื้อที่ไมม่ ีมันคั่นกลางระหวา่ งเนื้อกบั หนัง คอื เน้ือกับหนงั จะอยูต่ ดิ กันและเนื้อแดงของหมู
ปาุ จะแข้งกว่าเน้ือหมบู ้าน เพราะกินนา้ น้อยกวา่ ส่วนเนอ้ื ของหมูบ้านจะมีมนั ค่นั กลางระหว่างเนือ้ กบั หนังคอื
เป็นเนื้อสามชน้ั เนอ้ื น่ิมและแฉะมาก เพราะหมบู ้านกนิ น้ามาก
ขอขอบคุณรูปภาพจากและท่ีมาเนอ้ื หาข้อมลู : facebook.com/สาลีฟารม์
33
เมนูหมปู าุ หนั /หมูปาุ ย่าง
สว่ นประกอบ
หมหู นกั ประมาณ 3.5-4 กโิ ลกรมั 1ตวั
เครือ่ งยาจีน (หรือผงพะโล)้ 1 ช้อนชา
เหลา้ จีน 1 ช้อนโต๊ะ
พริกไทยปุน 1 ชอ้ นชา
เกลือปุน 1 ช้อนโต๊ะ
รากผกั ชี (โขลกใหล้ ะเอยี ด)1ช้อนโตะ๊
กระเทียม (ปลอกเปลือกพร้อมสบั ให้ละเอียด)2ชอ้ นโตะ๊
ซีอ๊ิวหวาน (แบบข้น)2ชอ้ นโต๊ะ
นา้ ส้มสายชู1/4ถว้ ย
นา้ เปล่า1/4ถว้ ย
วิธีทา
นาหมอ้ ต้ังไฟใหร้ อ้ น แล้วนาหมูมาลวกน้ารอ้ น ขดู ขน ผา่ ท้องนาเครื่องในออกใหห้ มด ล้างน้าให้สะอาด ผึง่ ให้
สะเดด็ นา้
นา เกลือปนุ พริกไทย กระเทียม รากผกั ชี และเหล้าจนี ผสมกบั เคร่ืองยาจนี (หรือพะโล)้ คลุกเคลา้ ให้เข้ากัน
หลงั จากนนั้ นามาทาในท้องหมใู หท้ ่ัว หมักท้ิงไว้ประมาณหน่งึ ชว่ั โมง
ผสมซีอ๊ิว นา้ ส้มสายชแู ละน้าเปลา่ เข้าด้วยกนั ต้งั ไฟคนใหเ้ ข้ากนั พอเดือดยกลง พักไว้ เพื่อใช้สาหรับทาตวั หมู
เสียบหมดู ้วยไม้ไผ่หรือเหลก็ รูปตวั ยู ล้างตัวหมูใหส้ ะอาดผึ่งใหแ้ หง้ แล้วทาด้วยส่วนผสมในขอ้ สาม
นาหมขู ึ้นย่างไช้ไฟอ่อน หันหรือพลิกไปมา ให้หมูโดนความร้อนให้ทว่ั ใชเ้ วลาในการย่างประมาณ 40-50 นาที
(หรือจนหมูสกุ )
พอสุกได้ที่ จดั เสริ ์ฟ สับเปน็ ชน้ิ ทานกับซีอิ๊วหวาน ได้ตามต้องการ
ขอบคุณเจา้ ของสูตรครวั ลุงรงคb์ yจตุรงค์ฟาร์ม ราชบุรี
ขอขอบคุณรปู ภาพจากและท่ีมาเนื้อหาขอ้ มูล : facebook.com/ฟารม์ หมปู ุาร้อยเอ็ด
34
ใบงานที่ 6
ใหน้ กั ศึกษาตอบคาถามดังน้ี
1. การจาหนา่ ยลูกหมูปาุ ควรจานวนเมอื่ อายุประมาณเท่าใด………………….เดอื น
2. สายพันธ์ุหมปู ุาทต่ี ลาดนิยมเลยี้ ง มีก่ีสายพนั ธ์ุ…………………สายพันธ์ุ
ไดแ้ ก่สายพนั ธใ์ุ ดบา้ ง……………………………………………………………………….………………………………...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ........................................................................................... .
3. จงบอกข้อดีของการเล้ยี งหมูปุาเพอ่ื การจัดจาหนา่ ยเชิงธรุ กิจ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ........................................................................................... .
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
35
เรือ่ งท่ี 7 ความเชอื่ เรื่องเขย้ี วหมตู ัน
เครื่องรางอาถรรพ์ เขีย้ วหมตู ัน
หมปู าุ เพศผู้ตวั ใดมเี ขี้ยวตนั ตั้งแต่โคนเข้ียวถึงปลายเขีย้ ว จะยิงไม่ออกหรือยงิ ไม่เข้า เมอ่ื มันตายดว้ ย
ความชรา ใครไปพบเข้าดงึ ออกจากกรามได้ ใชเ้ ป็นเครอ่ื งรางปอู งกันศาสตราวธุ ต่างๆ ได้ หมูปุาที่มเี ขยี้ วตนั หา
ได้ยากมากเพราะเป็นหมปู าุ ที่หลบหนเี ก่ง พรานปุาจบั ได้ยากมาก และแผลงศรก็ไม่เขา้ เนื้อ เขยี้ วหมตู นั จึงถือ
เปน็ ของวิเศษมาช้านาน เทา่ ท่ีทราบมา เขย้ี วหมตู นั ท่ีนามาใช้กนั เป็นเข้ียวหมตู นั ท่ีไดจ้ ากการตายตามธรรมชาติ
ของตวั หมูปุาเอง เขย้ี วหมูตนั สามารถนามาใชเ้ ปน็ เครอ่ื งรางของวเิ ศษไดท้ นั ทโี ดยไม่จาเป็นต้องปลุกเสก
วธิ ีดูเข้ียวหมตู นั คนทเ่ี คยเหน็ ของแทแ้ ล้วคงดูเปน็ ได้ไม่ยาก ในท่ีนขี้ ออธิบายวธิ ดี สู าหรบั ท่านทย่ี ังไมช่ านาญ
เม่ือส่องกลอ้ งขยายจากโคนจนถึงปลายจะมองเหน็ เส้นตามขวางเป็นริ้งๆ เป็นเส้นทแ่ี สดงถงึ การงอกเพมิ่ ของ
เขย้ี วหมตู ามอายุของมนั
ส่วนของเขีย้ วหมูท่ีถูกใชส้ มั ผสั กับเหง่ือจะมสี เี ปลี่ยนไป แลออกเหลอื ง จุดสงั เกต จะเห็นเสมือนเป็นช้ันบางๆ
เคลือบผวิ อย(ู่ คล้ายกบั วา่ ถูกเคลอื บดว้ ยเทยี นไข)
ตรงสว่ นปลายของเขี้ยวจะมสี ว่ นท่ีเปน็ มุมคมเพ่ือการบดเคี้ยวอาหาร
ถ้าเข้ยี วหมูถักเงนิ ไว้ ให้สังเกตความเกา่ ของเงินทใี่ ช้ถักวา่ มคี วามเกา่ เหมาะสมกบั สภาพการใช้งานของเขย้ี ว
หมหู รือไม่
จุดตาย เขย้ี วหมตู นั จะมีเน้ือในเต็มตง้ั แตโ่ คนจนถึงปลาย แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามบรเิ วณใกลก้ บั โคนของเขีย้ ว
จะตอ้ งมโี พรงอากาศอยู่หน่อยหนง่ึ เสมอ เพราะเปน็ โพรงประสาทฟันของหมู แล้วค่อยเป็นโคนตนั แบบท่ีเรา
เห็นกัน โดยโพรงอากาศน้ีจะมขี นาดใหญ่ข้ึนตามอายุของหมตู วั นั้นๆ ดังน้นั ถา้ เหน็ เขี้ยวหมเู ปน็ รูหน่อยหนง่ึ แล้ว
ค่อยมเี นื้อข้างใน อย่าเพ่ิงดว่ นสรุปวา่ เขย้ี วกลวงนะครับ ไมง่ ั้นทา่ นอาจพลาดของดีไปอย่างนา่ เสยี ดาย
36
สว่ นวิธดี เู นอ้ื ในเข้ยี ววา่ เปน็ เนือ้ ฟนั หรือเนอ้ื เก๊ ทาไดโ้ ดยพจิ ารณาสีสนั วา่ ออกไปทางกระดูกแหง้ ปน
แดงๆหรอื ไม่ สภี ายในเขี้ยวจะตา่ งจากเน้ือฟนั ภายนอกเพราะเปน็ สารคนละชนิดกนั เหมอื นฟนั ของคนเราแต่
ละชัน้ ก็จะแตกต่างกันครับ หรอื จะลองเคาะๆดู ถ้าเป็นปนู ปลาสเตอร์กจ็ ะหลดุ มาเอง ส่วนถ้าเป็นเรซน่ิ มองดูกร็ ู้
วา่ เก๊แล้ว สิ่งท่ีเราตอ้ งระวังก็คือ เข้ียวหมูตนั ท่ีมีรอยแตกตรงโคนแล้วข้างในตนั ไปเลยท้ังแทง่ อย่างนีเ้ กแ๊ นน่ อน
ขอขอบคุณท่านเจ้าของภาพ และท่มี าเนอื้ หาขอ้ มูล pantip.com
https://www.9chaichana.com/blogview-26.html
37
ใบงานท่ี 7
ใหน้ กั ศึกษาตอบคาถามดังนี้
1. จงบอกวิธีสังเกตเข้ียวหมตู ันแทม้ าพอสังเขป
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................... ....................................................................................................... .
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
38
เรอ่ื งที่ 8 โรคที่สาคญั ของหมู
แม้วา่ การเล้ยี งหมจู ะเจริญไปมากก็ตาม แตป่ จั จบุ นั ยังประสบปญั หาเรื่องโรคและพยาธิต่างๆ
โดยเฉพาะโรคระบาดทก่ี ่อให้เกดิ ความเสยี หายอยา่ งรนุ แรงเช่น โรคอหวิ าต์หมู โรคปากและเทา้ เปื่อย ซึง่ ยงั ไม่
สามารถกาจัดใหห้ มดได้ จงึ เป็นเหตใุ ห้การเลย้ี งหมูในบ้านเรายงั ไมเ่ จรญิ กา้ วหน้าถงึ ทส่ี ุดตลาด ต่างประเทศยัง
ไม่ยอมรับเนอ้ื หมูจากประเทศไทย ตลาดหมู จงึ จากัดอยู่ภายในประเทศเทา่ น้ัน โรคระบาดร้ายแรงท่ีเปน็
อนั ตรายมาก ได้แก่
โรคอหิวาต์สุกร
เปน็ โรคทีร่ ะบาดรุนแรง เกิดจากเช้อื ไวรสั พบวา่ เป็นไดก้ ับสุกรทุกอายุ เม่ือเชอ้ื โรคเข้าสรู่ ่างกายโดย
การกินอาหาร กนิ น้า หายใจ หรือโดยทางบาดแผลที่ ผิวหนัง ใช้เวลาฟกั ตัว 3 วนั ถงึ 3 สัปดาห์ แตโ่ ดยทั่วไป
ประมาณ 7 วนั อาการท่ีพบคือ มีไข้สงู 105-108 องศาฟาเรนไฮต์ สุกรจะเบ่ืออาหาร ซึม เยือ่ ตาอักเสบ (มีขี้
ตา) ท้องผูก (ข้ีเป็นเม็ด) และทอ้ งรว่ ง (ขี้เปน็ นา้ ) อาจพบอาการอาเจียนรว่ มดว้ ย ผวิ หนงั บรเิ วณ หู คอ ท้อง
และด้านในของขาหนบี จะพบจุดเลอื ดออกเล็ก ๆ ทาใหผ้ วิ หนังมีสีแดง และต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสมี ว่ ง ในแม่
สุกรทอ้ งอาจจะเกิดการแท้งลูก ติดต่อจากสกุ รตัวหน่งึ ไปยังตวั อื่น ไดร้ วดเร็วมาก ภายใน 7 วัน อาจเกดิ โรคอหิ
วาต์ได้ทั้งฟาร์มเม่อื สุกรเปน็ โรคอหิวาต์แล้ว อัตราการตายสูงถงึ 90% และไมม่ ีทางรักษา
การปอู งกัน ทาวคั ซีนเมอ่ื ลูกสุกรอายปุ ระมาณ 6 สปั ดาห์ และสาหรบั สุกรพ่อแม่พนั ธ์ุ ควรทาวัคซีนทุก
6 เดอื น ห้ามทาวคั ซีนกบั สุกรท่อี ่อนแอหรือ สตั ว์ปวุ ย หรือในสุกรต้งั ทอ้ งแก่ใกล้คลอด
โรคปากและเทา้ เปอื่ ย
เปน็ โรคตดิ ต่อทร่ี นุ แรง ตดิ ต่อได้อยา่ งรวดเรว็ ในสตั วก์ บี คู่ (โค, กระบือ , แพะ ,แกะ, สุกร) โรคนเ้ี ป็นได้
กับสกุ รทุกอายุ อตั ราการเกดิ โรคสงู แต่อตั ราการตายต่า เกิดจากเชอื้ ไวรสั ซงึ่ ในเมอื งไทยขณะนี่พบอยู่ 3 ชนดิ
คอื โอ เอ และเอเชยี วัน (ชนิดโอรุนแรงทีส่ ุด) เม่ือเชอื้ โรคเขา้ สรู่ ่างกายสกุ รแลว้ จะใชเ้ วลาในการฟกั โรค
ประมาณ 3-6 วัน สุกรจะเริม่ แสดงอาการปุวยออกมาใหเ้ ห็น อาหารท่พี บได้คือ มีตุม่ น้าใสท่บี รเิ วณ ปลายจมูก
ปาก ลนิ้ ริมฝีปาก เหงือก และผวิ หนงั บริเวณไรกบี ต่อมาตุ่มน้าใสจะแตก นอกจากนีย้ ังพบอาการไขส้ งู เบื่อ
อาหาร นา้ ลายยดื ขาเจบ็ กีบลอกหลุด และนา้ หนักลด
การปูองกนั ทาวัคซนี เมอื่ ลูกสุกรอายุประมาณ 7 สัปดาห์ และทาวคั ซนี อกี คร้ัง ในอีก 2 สัปดาหต์ ่อมา
และสาหรบั สุกรพ่อแม่พันธ์ุ ทาวัคซีนทกุ ๆ 4-6 เดือน
นอกจากนี้ก็มีโรคตดิ ตอ่ ในสุกรชนดิ อืน่ ซื่งมคี วามสาคญั ต้องอาศยั วธิ ีปอู งกนั โรค เช่น โรคพษิ สนุ ัขบ้า
โรคโพรงจมูกอักเสบ โรค ที.จ.ี อี. ( โรคกระเพาะอาหารและลาไส้อกั เสบติดต่อ) โรคไขห้ วัดใหญ่ โรคไฟลามทงุ่
เป็นต้น
39
โรคทริคโิ นซิส (Trichinosis)
โรคทรคิ ิโนซสิ เป็นโรคทต่ี ดิ ต่อจากสัตวถ์ ึงคน พยาธติ ัวกลมท่ีทาใหเ้ กดิ โรคน้ี คือ ทริคิเนลล่า สไปราลิส
(Trichinella spiralis) พบได้มากสดุ ในสตั วก์ ินเน้ือท่เี ป็นสัตวป์ าุ เช่น หมูปาุ รองลงมาเป็นสตั วท์ ่ีใช้ฟนั แทะ
เช่น หนู กระรอก อยา่ งไรกด็ ใี นสภาพแวดลอ้ มท่จี ากัด พบไดใ้ นสัตวท์ เ่ี ลยี้ งลูกดว้ ยนม โรคนพี้ บการระบาดได้
เกือบทว่ั โลก
โรคนี้จะแพร่มาสคู่ นได้โดยการกินเนอ้ื สตั ว์ ทม่ี ตี ัวออ่ นของพยาธใิ นถุงหุ้มท่ีแฝงอยูใ่ นกล้ามเน้ือดบิ ๆ
หรือสุกๆดิบๆ เชน่ ลาบ แหนม หลู้ กอ้ ย น้าตก จากนน้ั พยาธิจะเข้าไปในรา่ งกาย ถูกย่อยในกระเพาะ ถงุ หุ้ม
ตัวพยาธิจะถูกย่อยออก ทาให้พยาธอิ อกมาเจรญิ เตบิ โต เป็นตวั เตม็ วัยภายใน 2-3 วัน ซง่ึ จะผสมพันธกุ์ นั ใน
ลาไส้เลก็ ออกลูกเปน็ ตัวอ่อนจานวนมาก พยาธิตวั เมีย 1ตวั จะออกตัวอ่อนไดป้ ระมาณ 1,000 –1,500 ตัว
หรอื มากถงึ 10,000 ตัว ขนาดความยาวของตวั อ่อน 0.8-1 มม. พยาธติ ัวอ่อนจะไชเขา้ ไปในระบบนา้ เหลือง
และเข้าสรู่ ะบบหมุนเวยี นโลหิต ในท่ีสดุ จะแพรไ่ ปท่วั รา่ งกาย จากนั้นจะเข้าไปฝังตัวอยู่ตามกลา้ มเนื้อต่างๆ
กล้ามเนอ้ื ท่ีพบมากคือกระบังลม กลา้ มเนอ้ื ตา กลา้ มเน้ือท่ีอยรู่ ะหวา่ งกระดูกซีโ่ ครง กล้ามเนอ้ื แกม้ ลิน้ และ
น่องนอกจากนยี้ ังพบในอวัยวะอ่นื ของร่างกาย เช่น กลา้ มเน้อื หัวใจ ปอด สมอง ตบั ตบั อ่อน และไต พยาธติ วั
อ่อนท่ีขดตัวอยู่ในกล้ามเนอื้ จะสรา้ งถงุ หุ้มหรือซสิ ต์ (cyst) ลอ้ มรอบและจะมีการจบั ตวั ของหนิ ปูน ใน 1 เดือน
หลังการติดพยาธิ พยาธิตวั อ่อนในถุงหมุ้ นี้อาจมชี วี ติ อยู่ในตัวสัตวไ์ ด้นานถึง 11-24 ปี แตจ่ ะไม่มกี าร
เจรญิ เติบโตจนกวา่ เนอ้ื สัตวท์ ี่มีถุงหุ้มของพยาธจิ ะถกู กนิ เขา้ ไป
อย่างไรกด็ ีอาจมีพยาธติ วั อ่อนบางตัวไม่เจรญิ เตบิ โตเป็นพยาธิตวั แก่ในลาไส้เลก็ แตจ่ ะถูกขบั ออกมากบั
อจุ จาระ ในกรณีเชน่ นี้สตั ว์อนื่ สามารถตดิ โรคไดโ้ ดยการกินอจุ จาระท่ีมีตวั อ่อนพยาธปิ นเป้อื น
40
อาการ
อาการของโรคในสตั วข์ ้นึ อยู่กับความรุนแรงของโรค ซ่ึงก็จะข้ึนอยูก่ ับจานวนพยาธิที่ไดร้ บั เขา้ ไป ในสุกรถา้
ได้รบั พยาธิไม่มาก จะไมแ่ สดงอาการผดิ ปกติให้เหน็ แต่ในรายทีไ่ ด้รบั พยาธิจานวนมากจะทาใหส้ ุกรปวุ ย เช่น มี
ไข้ ซมึ เบื่ออาหาร ผอมแห้ง หายใจลาบาก บวมตามหน้า เจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ มีปัญหาเก่ยี วกับการ
เคลือ่ นไหวของขา โดยเฉพาะขาหลังจะแข็งทาให้มีความลาบากในการลกุ ขนึ้ ยืนหรือเดนิ มีขนหยาบกรา้ น ใน
สนุ ัขและแมว ถ้าได้รบั พยาธิจานวนมาก จะมนี ้าลายไหล ปวดกลา้ มเน้อื มากจนไมส่ ามารถจะเดินได้ จะมีขน
หยาบกรา้ น
อาการของโรคในคนแบง่ เป็น 3 ระยะคือ
ระยะท่ี 1 พยาธิตัวแก่อยู่ในลาไสเ้ ลก็ ระยะน้ีผปู้ วุ ยจะมีอาการของโรคทางเดนิ อาหาร ไดแ้ ก่อาการปวดท้อง
คลืน่ ไส้ อาเจยี น ท้องเดนิ และอาจมีอาการอ่อนเพลีย อาการเหล่าน้ีอาจเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงหลงั กนิ เนื้อท่ี
มีพยาธิเขา้ ไป ระยะนี้กนิ เวลาประมาณ 1 สปั ดาห์
ระยะที่ 2 ตัวอ่อนของพยาธกิ ระจายไปทว่ั รา่ งกาย และไชเข้ากลา้ มเน้ือ ผ้ปู ุวยจะมีอาการไขส้ งู ปวดกล้ามเนื้อ
มาก หายใจลาบาก เคี้ยวอาหารลาบาก กลืนอาหารและน้าลาบาก เปลือกตาบวม ตาแดง เลือดออกใตต้ า ปวด
ตามกลา้ มเน้ือ หายใจลาบาก ข้ึนอยกู่ ับกลา้ มเน้ือส่วนใดถูกพยาธิตัวอ่อนไช ผู้ปุวยบางรายมีอาการผื่นข้ึนตาม
ตัว เลอื ดออกใตเ้ ล็บ บางรายมอี าการของเยอ่ื หุ้มสมองและสมองอักเสบ กล้ามเนือ้ หัวใจอกั เสบ หรือปอด
อักเสบ ซง่ึ อาจรุนแรงจนถงึ แก่ชวี ิตได้ ระยะนพ้ี บได้ตง้ั แตป่ ระมาณ สัปดาห์ท่ี 2 ถงึ สัปดาห์ที่ 6 หลังจากไดร้ บั
พยาธิ
ระยะที่ 3 จะพบระหว่างที่พยาธิตัวอ่อนเร่ิมสร้างถุงหมุ้ ในสัปดาหท์ ี่ 6 หลังจากไดร้ บั พยาธเิ ป็นต้นไป ระยะนี้
อาการของผ้ปู ุวยจะดีขึน้ แต่อาจมีอาการปวดตามกล้ามเน้ือ และอ่อนเพลียไปอีกนาน
อยา่ งไรก็ตาม มอี ยู่หลายรายทีไ่ ดร้ บั เชื้อแลว้ ไม่มีอาการ สามารถตรวจพบพยาธไิ ด้โดยการตรวจชิ้นเนอื้ หลังจาก
ถงึ แก่กรรมไปแล้ว
การวนิ ิจฉยั โรค
โดยทว่ั ไปควรประกอบด้วย
1. ประวตั ิการกินเน้ือสตั ว์ดิบ หรือดิบๆสกุ ๆ
2. อาการของโรคทริคิโนซิส ได้แก่ มีไขส้ ูง คล่นื ไส้ อาเจยี น ปวดท้อง ท้องเดนิ ตาบวม ปวดตามกล้ามเน้ือ และ
เลือดออกตามผิวหนัง
3. การตรวจเลือดทางห้องปฏิบตั กิ าร พบเมด็ เลือดขาวชนดิ Eosinophil (อีโอสโิ นฟลิ ) สูงข้ึนกวา่ ปกติมาก
4. การตรวจทางปาราสติ วิทยา (parasitological examination) การตัดช้นิ เน้อื จากกล้ามเนอื้ ไปตรวจ อาจดู
สดโดยใชก้ ระจกสไลด์ 2 แผน่ กดกลา้ มเนื้อให้บางที่สุด พบพยาธติ วั อ่อนขดอยูใ่ นถุงหุ้มกลา้ มเนอ้ื หรือใช้
นา้ ย่อยเทยี ม (acid-pepsin) แลว้ นามาตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ (microscope)
5. การตรวจภูมิคุ้มกนั ในซรี ัม่ (serological examination) ไดแ้ ก่การตรวจโดยการทดสอบผิวหนงั หรือโดยวิธี
41
อีไลซา่ (ELISA)
6. การตรวจทางด้านชวี โมเลกุล (molecular examination) ไดแ้ ก่ เทคนิคพซี ีอาร์ (PCR)
การรักษา
ในสตั วจ์ ะทราบวา่ สัตว์ปวุ ยเป็นโรคน้กี ต็ ่อเมอ่ื สตั วไ์ ดล้ ้มตายแล้ว และมคี นนาช้ินเนือ้ มาปรุงเป็นอาหารแบบสุกๆ
ดิบๆจนเกดิ การปุวยหรอื ตาย อย่างไรก็ดมี รี ายงานว่า ไทอาเบนดาโซล มปี ระสทิ ธภิ าพในการกาจัดทัง้ พยาธิตัวแก่
ท่ีอยใู่ นลาไส้ และพยาธิตัวออ่ นท่ีอย่ใู นกล้ามเนื้อ
ในคน ให้ยาไทอาเบนดาโซล ขนาด 50 มลิ ลกิ รัมตอ่ นา้ หนักตวั 1 กโิ ลกรัม ให้กินวนั ละ 2 คร้งั ติดต่อกนั 5-10 วนั
ตง้ั แต่เริม่ แสดงอาการปุวย และตรวจพบวา่ ตดิ เชือ้ น้ี
การเกดิ โรคในประเทศไทย
ในประเทศไทย มรี ายงานการระบาดของโรคทริคิโนซิสในคนเป็นคร้งั แรก ที่อาเภอแมส่ ะเรียง จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน
ในปี พ.ศ. 2505 จากนัน้ มรี ายงานการเกิดโรคเป็นครั้งคราวแทบทกุ ปี จนถงึ ปี พ.ศ. 2524 รวมเกดิ โรค 44 คร้ัง
มีจานวนผู้ปุวย 2,046 ราย เสียชีวิต 70 ราย และจากปี พ.ศ.2525 ถงึ ปี พ.ศ. 2545 มีการเกดิ โรค 88 ครงั้
มีจานวนผู้ปุวย 3,623 ราย เสยี ชวี ิต 17 ราย อตั ราการปุวยตายของชว่ ง 20 ปแี รกพบว่าสงู กวา่ ชว่ ง 20 ปีหลัง
อยา่ งเด่นชดั พบการระบาดทุกภาคของประเทศไทยโดยเฉพาะทางภาคเหนือ มกั พบในคนพ้นื เมืองทางภาคเหนือ
ซ้ือหมชู าวเขาที่เล้ียงแบบปล่อย นามาฆ่า แลว้ ขายหรือแจกจา่ ยกันไปทาอาหาร ทาให้พบผปู้ ุวยครงั้ ละมากๆ
การปอู งกันและควบคมุ
1. เนื่องจากโรคทริคโิ นซีสเปน็ โรคสตั ว์ที่สามารถตดิ ต่อถงึ คนได้ โดยการบรโิ ภคเน้อื สกุ รหรอื เนอ้ื สัตวช์ นิดอื่นทม่ี ี
พยาธิตวั ออ่ นเข้าไป ด้วยวิธกี ารปรงุ อาหารสุกๆ ดบิ ๆ เช่น ลาบ แหนม เปน็ ต้น ดงั นน้ั ควรแนะนาใหผ้ ู้อย่ใู นพ้ืนที่
เสยี่ งปรุงอาหารที่เป็นเน้ือสตั ว์ให้สุกก่อนบริโภค ดว้ ยการตม้ ใหเ้ ดือดนาน 30 นาที ตอ่ เนือ้ หนกั 1 กิโลกรัม จึงจะฆ่า
พยาธิตวั อ่อนท่อี ยู่ในเนือ้ ได้
2. การเลย้ี งสุกรจะต้องเลี้ยงในคอกทแ่ี ข็งแรง หรอื ในบริเวณทจี่ ากดั ไมป่ ล่อยใหส้ ุกรเพ่นพ่านเทีย่ วอาหารกนิ เอง
3. ควรให้อาหารสกุ รด้วยอาหารสาหรับสุกรโดยตรง ถ้าใชเ้ ศษอาหารนาไปเลย้ี งสุกรจะต้องต้มให้สกุ เพื่อทาลาย
พยาธิตวั อ่อนท่อี ยู่ในเศษเนอ้ื สุกรทอ่ี าจตดิ มากับอาหารได้
4. กาจัดสตั ว์อืน่ ทเ่ี ปน็ ตัวแพร่โรคได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงหนู เพราะสุกรสามารถติดโรคไดโ้ ดยการกนิ หนูตาย หรือ
ซากหนทู ีม่ ีพยาธิเข้าไป ถา้ สตั วเ์ ลย้ี งในบรเิ วณทีม่ ีการระบาดเกิดตายลงเชน่ สนุ ขั แมว จะตอ้ งฝังใหม้ ิดชดิ กลบด้วย
ปนู ขาวผสมดิน
5. กวดขันการเคล่ือนยา้ ยสุกรในเขตที่มโี รคระบาด วิธีการที่ดีท่สี ดุ ก็คือ ทาลายสกุ รท่ีสงสัยว่าเปน็ โรคทัง้ หมด
ดว้ ยการเผาหรือฝงั ให้ลึก
6. ไมซ่ ือ้ สุกรจากแหล่งทีเ่ ป็นโรค หรอื เคยเกิดโรคระบาดมาเล้ยี ง
7. ควรมีโรงฆ่าสตั วท์ ่ไี ดม้ าตรฐาน ท่มี ีการตรวจเนอื้ สตั ว์วา่ ปลอดจากโรคต่างๆ รวมท้ังโรคทริคโิ นซีส ก่อนนาไป
จาหน่ายในทอ้ งตลาด
42
โรคทรคิ ิโนซสิ ยงั จะเปน็ ปัญหาหนึ่งของประเทศไทยต่อไป ตราบเทา่ ท่ียังไม่สามารถควบคมุ สัตวท์ เ่ี ป็นต้นเหตุ และ
เปล่ียนแปลงนสิ ัยในการกินอาหารของประชาชนได้สาเร็จ
อา้ งอิงข้อมูลจาก สถาบนั สขุ ภาพสัตว์ : โดย สพ.ญ.มนทกานติ์ วงศภ์ ากร กลมุ่ ปรสติ วิทยา สถาบนั สุขภาพสัตว์
แหง่ ชาติ
43
ใบงานท่ี 8
ใหน้ ักศึกษาตอบคาถามดังนี้
2. อธบิ ายลกั ษณะของอาการโรคอหวิ าตส์ กุ ร
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
3. อธบิ ายลกั ษณะของอาการโรคปากและเทา้ เปื่อย
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
4. อธบิ ายลกั ษณะของอาการโรคทริคิโนซิส (Trichinosis)
..................................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................... ..........................................
..............................................................................................................................................................................
44
บันทึกสรุปการเรียนรู้ เรอ่ื ง การเพาะเลี้ยงหมูปาุ
สรุปเนื้อหา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ประโยชน์ที่ได้รบั
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................. ............
...................................................................................................................... ........................................................
............................................................................................................................. .................................................
การนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
45
แบบทดสอบหลงั เรยี น
คาช้แี จ้ง : จงเลอื กคาตอบเพียง 1 ข้อที่ถูกทสี่ ุด จานวนท้งั หมดมี 10 ข้อ 10 คะแนน
1. หมูปาุ มชี อื่ เรียกภาษาอังกฤษสะกดคาทีถ่ ูกต้องอยา่ งไร
ก. Sis scrofa
ข. Sas scrofa
ค. Sur scrofa
ง. Sus scrofa
2. หมูปุาท่นี ิยมเลย้ี งในประเทศไทยมีกี่สายพันธุ์
ก. 4 สายพันธ์ุ
ข. 3 สายพันธุ์
ค. 2 สายพนั ธ์ุ
ง. 1 สายพันธ์ุ
3. วธิ ีดูแม่พนั ธ์หุ มทู ่ดี ี ที่สามารถใหล้ ูกจานวนมากได้ใหส้ ังเกตจากอวัยวะใดในรา่ งกายหมูต่อไปน้ี
ก. จานวนเตา้ นม
ข. สะโพก
ค. ความกวา้ งหนา้ ท้อง
ง. สีขนตามตวั
4. อายุลกู หมปู าุ ท่สี ามารถจาหน่ายเพ่อื พ่อพันธ์ุ แม่พนั ธุไ์ ด้ควรเทา่ ใด
ก. ตั้งแต่แรกเกิด
ข. อายุ 1 เดอื น
ค. อายุ 45 วนั
ง. อายุ 2-3 เดอื น
5. ขอ้ ใดคอื ลักษณะพิเศษของรา่ งกายหมูปาุ เมื่อเทียบกบั สตั ว์กีบชนดิ อ่ืน
ก. ระบบย่อยอาหาร มีกระเพาะสองถุง ไมเ่ คี้ยวเอ้ือง
ข. ระบบยอ่ ยอาหาร มีกระเพาะส่ีถุง เคย้ี วเอ้ือง
ค. ระบบยอ่ ยอาหาร มีกระเพาะสองถุง เคีย้ วเออื้ ง
ง. ระบบยอ่ ยอาหาร มีกระเพาะหนึง่ ถุง ไม่เคีย้ วเอ้ือง
6. ข้อใดคอื ลักษณะอาการของโรคอหวิ าตส์ ุกร
ก. สุกรจะเบอ่ื อาหาร เยื่อตาอักเสบ ท้องผกู และท้องรว่ ง พบแผลในชอ่ งปาก
ข. สุกรจะเบ่ืออาหาร เย่ือตาอกั เสบ ท้องผกู และท้องร่วง พบจดุ เลอื ดออกเล็กๆ ผวิ หนังมีสีแดง
ค. สกุ รจะเบือ่ อาหาร เย่ือตาอักเสบ ทอ้ งผกู และท้องรว่ ง พบแผลบริเวณเท้า
ง. สุกรจะเบ่อื อาหาร เยื่อตาอกั เสบ ท้องผกู และท้องร่วง มตี ุ่มคนั ขนึ้ ตามลาตัว พบจุดเลือดทผี่ ิวหนงั
46
7. เสน้ ตามขวางเป็นริ้งๆ ที่บรเิ วณเขีย้ วหมปู ุาเป็นเส้นท่ีแสดงถงึ อะไร
ก. เพศ
ข. สายพนั ธ์ุ
ค. สขุ ภาพแข็งแรง ไม่แข็งแรง
ง. อายุ
8. หมปู ุามฟี นั กีซ่ ี่ มเี ข้ยี วก่เี ข้ยี ว
ก. หมปู ุามีฟัน 44 ซ่ี มเี ขี้ยว 4 เขี้ยว
ข. หมูปาุ มีฟัน 22 ซ่ี มเี ขี้ยว 2 เขีย้ ว
ค. หมูปาุ มีฟนั 24 ซี่ มีเข้ยี ว 4 เขย้ี ว
ง. หมปู าุ มีฟนั 44 ซี่ มีเขี้ยว 2 เข้ยี ว
9. ขอ้ ใดคือลักษณะข้อดีของเน้ือหมูปาุ
ก. เน้อื กบั หนงั มีไขมนั ขนั้ กลาง
ข. เนื้อกับหนังมไี ขมนั ขน้ั กลาง สลับชน้ั ทุกชัน้
ค. เนอื้ สแี ดงสด มีไขมนั มาก
ง. เนื้อกับหนงั จะอยตู่ ิดกนั
10. โรคพิษสนุ ัขบา้ สามารถตดิ ต่อในหมูปาุ ไดห้ รือไม่
ก. ไมไ่ ด้ เพราะเปน็ สายพันธห์ุ มูปุา
ข. ไมไ่ ด้ เพราะหมูปาุ มีภูมิคมุ้ กันรา่ งกายสงู
ค. ได้ เพราะเป็นสัตวเ์ ล้ยี งลกู ด้วยนม
ง. ได้ เพราะสัตว์บกทุกชนดิ เปน็ โรคพษิ สนุ ัขบ้าได้หมด
47
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
1. ง
2. ค
3. ก
4. ง
5. ก
6. ข
7. ง
8. ก
9. ง
10. ค
48
บรรณานุกรม
พลังเกษตร.com.//สบื คน้ เม่ือ 23 มถิ นุ ายน 2563.//จาก/ https://images.app.goo.gl/RWehkNE3NGjsNFE49
ฟาร์มหมปู าุ ร้อยเอ็ด.//สบื ค้นเม่อื 23 มิถนุ ายน 2563.//จาก/facebook.com/ฟารม์ หมูปาุ ร้อยเอ็ด-
1748556605437406
คุณบุญตา บุตรเสนา.//การเลย้ี งหมูปุาเชิงธุรกิจ.//สบื คน้ เมื่อ 23 มิถนุ ายน 2563.//จาก/
https://rakbankerd.com/
agriculture/print.php?id=2146&s=tblareablog
สาลฟี าร์ม.// “สาลฟี าร์ม” ลดรายจ่ายเพ่ิมรายได้ดว้ ยการเล้ยี งหมปู ุาแบบตน้ ทนุ ตา่ .//สบื ค้นเมือ่ 23 มิถุนายน
2563.//จาก/farmerspace.co/สาลีฟารม์ -ลดรายจา่ ยเพ/
ครวั ลงุ รงค์byจตรุ งค์ฟาร์ม ราชบุรี//สืบคน้ เมอ่ื 23 มิถนุ ายน 2563.//จาก/facebook.com/ฟาร์มหมูปุาร้อยเอ็ด-
1748556605437406
pantip.com.//สืบคน้ เมอ่ื 23 มิถุนายน 2563.//จาก/ https://www.9chaichana.com/blogview-26.html
สถาบันสขุ ภาพสตั ว์.//สบื คน้ เมอื่ 23 มถิ ุนายน 2563.//จาก/
http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/pig_trichi.htm
49
คณะทางาน
ทป่ี รึกษา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองนครราชสีมา
นางกรแก้ว แบบกลาง ครูชานาญการพิเศษ กศน.อาเภอเมอื งนครราชสมี า
นายประสิทธิ์ ตั้งประเสริฐ ครูชานาญการ กศน.อาเภอเมอื งนครราชสีมา
นางบาเพ็ญ ไทยสะเทอื น ครอู าสาสมัคร กศน.
ครอู าสาสมัคร กศน.
นายปฐมพล โพธิส์ ุ ครูอาสาสมัคร กศน.
นางงามจิตต์ สวา่ งพลกรัง ครูอาสาสมัคร กศน.
นางทศั นา พรมหดี ครูอาสาสมัคร กศน
นายเฉลา ชยั ฉิมพลี
นางนวลถนอม พขิ นุ ทด ครู กศน.ตาบล
ครู กศน.ตาบล
คณะทางานชุดการเรยี นรู้ ครู กศน.ตาบล
นางสาววมิ ลรัตน์ ขนั เงิน ครู กศน.ตาบล
นางสาวสิรพิ ร จนั ทรศ์ ริ ิ ครู กศน.ตาบล
นางสาวสุนทรี ศรีทองกลู ครูประจาศนู ย์การเรียนชุมชน
นางนภภัทร แสงแก้ว ครูประจาศูนย์การเรียนชมุ ชน
นางสาวจฬิ ติกาล พลบัติ
นางสาวดลปัด ทันธะศริ ิ ครู กศน.ตาบล
นางสาวอลิสา คาแก่นแก้ว
ตน้ ฉบบั โดย
นางสาววมิ ลรัตน์ ขันเงนิ