The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนยุทธศาสตร์ 10 ปี แก้ไขตามมติ (ฉบับสมบูรณ์)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กองนโยบายและแผน, 2019-09-25 22:45:11

แผนยุทธศาสตร์ 10 ปี ม.รย. (2560-2569)

แผนยุทธศาสตร์ 10 ปี แก้ไขตามมติ (ฉบับสมบูรณ์)

แผนยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา
เพ่อื การยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานสูค่ วามเปน็ เลศิ

ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560-2569)

มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

คำนำ

ตามที่คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (กกอ.) และส านกั งานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ. ) ไดม้ ี
นโยบายในการจัดกลุ่มการพัฒนามหาวิทยาลัย ออกเป็น 3 กลุ่ม โดยจัดให้มหาวิทยาลัยราชภัฏและ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อยู่ในกลุ่มการพัฒนามหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่ รวมทั้งคณะกรรมการการ
อุดมศึกษาได้มีมติเห็นชอบโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยกลุ่มดังกล่าว เพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานของ
มหาวิทยาลัย โดยกำหนดให้มหาวิทยาลัยปรับทิศทางและเป้าหมายใหม้ ีอัตลักษณ์เฉพาะท่ีมีความโดดเด่นและ
ความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน เพอื่ พัฒนาชมุ ชนและท้องถ่นิ ใหม้ ีความเข้มแข็งและย่งั ยืน ดังน้ัน เพ่ือให้เป็นไปตาม
นโยบายของคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสนองตอบเป้าหมายของโครงการพฒั นามหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลาจงึ ไดท้ บทวน ปรบั ทศิ ทาง และเป้าหมายมหาวิทยาลัยให้มีความโดดเดน่ ชดั เจนยิ่งข้ึน
และจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ ระยะ 10 ปี (พ.ศ.2560-2569) โดยมุ่งเน้น
การพัฒนาบัณฑิตสู่นักปฏิบัติการมืออาชีพ และยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและ
ท้องถน่ิ จงั หวัดชายแดนใตใ้ หม้ ีความเข้มแข็งและยั่งยืน

การจดั ทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลาเพอ่ื การยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานสู่ความเปน็ เลิศ
ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560-2569) มหาวทิ ยาลัยไดม้ ุ่ งเนน้ และให้ความสำคญั กับการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น
เพื่อใหเ้ กิดความครอบคลมุ และเปน็ ที่ยอมรับของผู้เกี่ยวข้อง อนั จะทำใหส้ ามารถขับเคล่ือนแผนไปสู่การปฏิบัติ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้ แต่งตั้ง คณะกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหาร
คณาจารย์ และบุคลากร ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าวได้มีการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลและเอกสารท่ี
เกี่ยวข้อง จัดประชุมระดมความคิดเห็นและยกร่างแผนยุทธศาสตร์ รวมทั้งยังได้จัดประชุมเพื่อรับฟังความ
คิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ขอขอบคุ
ณคณะกรรมการจัดทำแผนยทุ ธศาสตร์ ผูท้ รงคุณวุฒิ และผ้เู ก่ียวข้องที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีย่ิง จนทำให้
แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาเพื่อการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสู่ความเป็นเลิศ ระยะ 10 ปี
(พ.ศ. 2560-2569) ฉบบั นแ้ี ลว้ เสรจ็ สมบรู ณ์ และหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าทุกภาคสว่ นท่ีเกย่ี วข้องจะร่วมกันผลักดัน
ให้แผนยุทธศาสตรน์ ้ีสามารถดำเนินการไดบ้ รรลุเปา้ หมายต่อไป

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา
กนั ยายน 2562

สารบัญ หน้า
1
ทิศทาง นโยบาย และเปา้ หมายการพฒั นามหาวิทยาลัย 4
ปรชั ญา วิสัยทศั น์ พันธกจิ วัตถปุ ระสงค์ และเป้าหมาย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา 6
ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภฏั ยะลาเพ่อื การยกระดับคุณภาพมาตรฐาน
สคู่ วามเปน็ เลิศ ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560-2569) 8
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ เป้าประสงค์ ดชั นชี ว้ี ดั คุณภาพ ยุทธวิธี โครงการและกจิ กรรม 11
13
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 19
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 23
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 31
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4
จดุ เน้นหลกั สตู รและกลุ่มวชิ า
การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis)

ทิศทาง นโยบาย เปา้ หมาย และแผนยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา
เพ่ือการยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานสู่ความเป็นเลศิ
ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560-2569)

ความนำ

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลามีพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ.2547 เปน็ กรอบแนวทางในการ
บริหารจัดการศึกษามาเปน็ ระยะเวลากว่า 10 ปี จึงเปน็ วาระสำคญั ท่จี ะต้องปรับทิศทางและเป้าหมายใหม่ให้มี
จุดเน้น จุดเด่น และก้าวสู่การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นเลิศในฐานะมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน
ชายแดนใต้ รวมทั้งการยกระดับคุณภาพชีวิต การลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำของสังคม และการสร้าง
ประชาชนในท้องถ่ินให้มีความเข้มแข็งอย่างย่ังยืน มีศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน และท่ีสำคัญคือ
นโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่ของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) และสำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ที่ต้องการใหม้ หาวทิ ยาลยั ใหม่ได้ทบทวน ปรบั ทศิ ทาง เปา้ หมาย บทบาท
หน้าที่ และจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ โดยมี
กระบวนการและขัน้ ตอน ดงั แผนภาพตอ่ ไปนี้

ศกึ ษาวเิ คราะหป์ จั จยั ภายใน และผลการประเมินคณุ ภาพ

ศึกษาวเิ คราะห์ปัจจัยภายนอกทม่ี ผี ลกระทบต่อมหาวทิ ยาลยั

ประชุมระดมสมองคณะกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 5 ครงั้

ยกรา่ ง วิสยั ทัศน์ เปา้ หมาย พันธกิจ วตั ถุประสงค์และแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 10 ปี

รับฟงั ความเห็น ข้อเสนอแนะจากผ้ทู รงคุณวฒุ ิ 5 ทา่ น

พจิ ารณากล่ันกรองจากท่ีประชุมผบู้ รหิ ารมหาวิทยาลัย 3 ครง้ั

วสิ ัยทัศน์ เปา้ หมาย พนั ธกิจ วัตถุประสงค์ และแผนยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา ระยะ 10 ปี

พิจารณาให้ความเหน็ ชอบโดยสภามหาวิทยาลยั

1

มหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อทบทวน ปรับทิศทาง เป้าหมาย และจัดทำแผน
ยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานของมหาวิทยาลัยให้มีจุดเน้น จุดเด่น และมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น
อย่างชัดเจน อันจะนำไปสู่การพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานชีวิตของประชาชนในชุมชนและท้องถ่ิน
อยา่ งแทจ้ รงิ มกี ารประชมุ และระดมสมองของผู้เกี่ยวข้องและคณะกรรมการจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ จำนวน
5 ครั้ง มีการศึกษาวิเคราะห์สภาพภายในมหาวิทยาลัยทั้งด้านบุคลากร ด้านการเงินและงบประมาณ ด้าน
นักศึกษา ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการ และการดำเนินงานตาม
พันธกิจในมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และการบรรยายพิเศษเพื่อการปรับ
ทิศทางการดำเนินงานและอนาคตของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังได้ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่ส่งผล
กระทบต่อการพัฒนามหาวิทยาลัย ได้แก่ นโยบายกระทรวง ศักยภาพและความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น
สงั คมและประเทศทัง้ ด้านสังคม เศรษฐกจิ การเมือง เทคโนโลยี และการแข่งขันในระดบั อดุ มศกึ ษา เปน็ ต้น

คณะกรรมการได้ยกร่างแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 10 ปี และนำเสนอต่อที่ประชุมผู้บริหาร
มหาวิทยาลัยพิจารณากลั่นกรอง หลังจากนั้นได้จัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ และนำเสนอที่ประชุมผู้บริหารมหาวิทยาลัยพิจารณากลั่นกรองครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 5 เมษายน
2559 โดยมหาวิทยาลัยได้วางตำแหน่ง (Positioning) เป้าหมาย ทิศทางและพันธกิจการผลิตบัณฑิต วิจัย
บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยกำหนดให้มีจุดเน้นอัตลักษณ์ที่โดดเด่นใน 3 ด้าน เพื่อการ
พัฒนาและยกระดบั คุณภาพมาตรฐานของชมุ ชนและท้องถ่นิ ดังนี้

1) ดา้ นการผลิตและพัฒนาครู
2) ด้านอตุ สาหกรรมการเกษตรสมัยใหมแ่ ละอาหารฮาลาล
3) ดา้ นอุตสาหกรรมบริการและการดูแลสุขภาพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่ จำเป็นต้องมีการปรบั ทิศทาง เป้าหมาย และ
พันธกิจให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายสำคัญ คือ การพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชนในชุมชนและท้องถิ่นโดยเฉพาะในจังหวัดชายแดนใต้ให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน และตอบสนอง
นโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่ของประเทศ ที่มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานและการมีจุดเน้นจุดเด่นท่ี
ชัดเจน จงึ ได้กำหนดวิสัยทศั น์ เป้าหมาย พนั ธกจิ วัตถุประสงค์และแผนยทุ ธศาสตร์ในการพัฒนาและแก้ปัญหา
ของชุมชนและท้องถิ่นในระยะ 10 ปี ไว้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เพื่อการ
ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสู่ความเป็นเลิศ นอกจากนี้ยังตอบสนองนโยบายและความต้องการกำลังคนในการ
พัฒนาประเทศในอนาคต และการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยตอ่ ไป
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมท่ีมีการปฏิรูปประเทศ ซึ่งมีเป้าหมายสำคัญ คือ ประชาชนมี
ความสุข มีคุณภาพชวี ติ ที่ดี รวมทัง้ นโยบายของทปี่ ระชมุ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั ทวั่ ประเทศ ซงึ่ ได้จัดทำ
แผนยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) และผลการตรวจเยย่ี มมหาวิทยาลัยราช
ภัฏ 38 แห่งขององคมนตรี ซึ่งมีนโยบายตามพระบรมราโชบายของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร (รัชกาลท่ี 10) เรื่องการผลิตและพัฒนาครู และการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

2

ในพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสอดรับกับนโยบายและทิศทางการเปลี่ยนแปลง
ดงั กลา่ ว คณะกรรมการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์ในคราวประชุมคร้ังท่ี 2/2561 วันจันทรท์ ่ี 19 มีนาคม 2561 จงึ มี
มตใิ หท้ บทวนและปรับแผนยทุ ธศาสตร์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยกระดับมาตรฐานการวิจัยและงานสร้างสรรค์
สู่มาตรฐานสากล และประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ยกระดับมาตรฐานการให้บริการทางวิชาการ และการทำนุบำรุง
ศลิ ปวัฒนธรรม โดยการนอ้ มนำแนวพระราชดำริ เพื่อสนองตอบกับความต้องการของชุมชนและท้องถ่ิน

3

ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ วตั ถุประสงค์ และเป้าหมาย
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา เน้นการผลิตบัณฑิตนักปฏิบตั ิที่มีคุณภาพเป็นเลิศ โดยกระบวนการจดั
กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน โดยกำหนดปรัชญา
วิสัยทัศน์ พันธกจิ วตั ถุประสงค์ และเปา้ หมายดังนี้

ปรชั ญา

สรา้ งพลังปญั ญาเพือ่ พัฒนาทอ้ งถน่ิ ชายแดนใต้

วิสัยทศั น์

“มหาวิทยาลยั คลงั ปัญญาแหง่ ชายแดนใต้”
คลังปัญญา หมายถึง แหล่งรวบรวม สั่งสม ถ่ายทอดองค์ความรู้ ปัญญาขององค์กร ชุมชนและ
ท้องถิน่
ชายแดนใต้ หมายถงึ จังหวดั ยะลา ปัตตานี และนราธวิ าส

พนั ธกจิ

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีพันธกจิ ท่สี ำคญั ดงั นี้
1. ผลิตบัณฑิตให้เป็นนักปฏบิ ัติ มที กั ษะวิชาชีพ บคุ ลิกภาพดี มคี ุณธรรม จติ อาสา สงู้ าน รับผิดชอบ

ต่อตนเองและสังคม และเปน็ คลงั ปัญญาของชมุ ชนและทอ้ งถิ่น
2. วจิ ยั สรา้ งองคค์ วามรแู้ ละนวัตกรรมให้มีคุณภาพและไดม้ าตรฐานสากล โดยมุ่งเนน้ แก้ปัญหาและ

พฒั นาคุณภาพชวี ิตของชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ ชายแดนใต้
3. ผลิต พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้มาตรฐานวิชาชีพและมีคุณภาพตามความ

ตอ้ งการของพืน้ ที่
4. ให้บริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี น้อมนำแนวพระราชดำริ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

ใหแ้ ก่ชุมชน ท้องถ่นิ และสงั คม
5. บริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีความคล่องตัว สู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

และยง่ั ยนื

4

วัตถุประสงค์

มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา มวี ตั ถุประสงคใ์ นการดำเนินกิจการ ดังนี้
1. จัดการเรียนการสอนให้บัณฑิตมีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา การ

สร้างสรรค์และการสื่อสาร สามารถใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรมด้วยหลักคุณธรรม เพื่อการ
พฒั นาชุมชนและท้องถ่ินใหเ้ ขม้ แขง็ และยง่ั ยืน
2. วิจัย สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการแก้ปัญหา การพัฒนาคุณภาพชีวิต การสร้างมูลค่า
และทุนทางสังคม อันจะนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม การลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำให้แก่
ทอ้ งถน่ิ และสังคม
3. ผลิตครู พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้คุณภาพและมาตรฐานวิชาชพี ครู
4. ให้บริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี น้อมนำแนวพระราชดำริ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่
สอดคล้องกับความต้องการและแกป้ ัญหาของท้องถ่นิ และสังคมให้มีคณุ ภาพและมาตรฐานชีวิตที่
ดี มคี วามพอเพยี ง มีความเข้มแขง็ และพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื
5. บริหารจัดการทรัพยากรของมหาวิทยาลัยให้มีความคล่องตัว สู่การเปลี่ยนแปลงที่ดี และมีการ
พัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง

เป้าหมาย

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา มเี ป้าหมายดงั น้ี
1. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาแก่ชมุ ชนและท้องถ่นิ
2. การบูรณาการงานวิจัย การบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเข้ากับกระบวนการ

จัดการเรียนรแู้ ละการมีส่วนร่วมกับชุมชนและท้องถ่ิน
3. การยกระดับคุณภาพชีวิต การลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำทางสังคม การสร้างประชาชนใน

ทอ้ งถน่ิ ชายแดนใต้ใหม้ คี วามเขม้ แข็งอย่างยงั่ ยนื และเพิม่ ขดี ความสามารถในระดบั สากล
4. เปน็ องคก์ รแหง่ ความเป็นเลิศ นำสงั คม พรอ้ มเปน็ ทพ่ี ึ่งของชุมชนและทอ้ งถ่ิน

5

ยุทธศาสตร์เพือ่ การยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐาน
สคู่ วามเป็นเลิศ ระยะ 10 ปี

เพื่อใหบ้ รรลุตามวิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ วตั ถปุ ระสงค์ และเป้าหมายดงั กล่าว มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา
จึงได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์เพื่อการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสู่ความเป็นเลิศ ในระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560-
2569) ไว้ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ดงั น้ี

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ยกระดบั คุณภาพมาตรฐานการผลติ บณั ฑติ นักปฏิบัติการอย่างมืออาชีพท่ีมี
คุณธรรม จรยิ ธรรม

เป้าประสงค์
1. อาจารย์มศี กั ยภาพในการจดั การเรียนรู้ และมขี ดี ความสามารถในการแข่งขนั
2. มีความร่วมมือกับผู้ประกอบการ ชุมชนและท้องถิ่น ในการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนรู้
เพื่อผลิตบัณฑติ นักปฏิบัติ
3. บณั ฑิตนักปฏบิ ัติมคี วามรู้ ความสามารถและทกั ษะวิชาชพี ตามความตอ้ งการของตลาดงาน
4. บัณฑิตมคี วามสามารถในการคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ การแกป้ ญั หา มที กั ษะการสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนมีคณุ ธรรม จริยธรรม

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ปฏิรปู การผลิตและพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาชายแดนใต้
เปา้ ประสงค์

1. อาจารย์สายครุศาสตรม์ ศี ักยภาพในการผลติ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
2. มหาวทิ ยาลัยเปน็ ศนู ยก์ ลางการผลิตและการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือท้องถิ่น

ชายแดนใต้
3. การศกึ ษาในทอ้ งถนิ่ ชายแดนใต้มคี ุณภาพ

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยกระดบั การวิจยั บริการวชิ าการ และการทำนบุ ำรุงศิลปวฒั นธรรมเพื่อการ
พัฒนาทอ้ งถนิ่

เปา้ ประสงค์
1. บุคลากรมศี กั ยภาพในการพัฒนาท้องถ่ินชายแดนใต้
2. มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางในการให้บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อพัฒนา
ทอ้ งถิ่นชายแดนใต้
3. งานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรคส์ ามารถยกระดบั คุณภาพชวี ติ ประชาชนและลดความเหล่ือมล้ำทาง
สงั คม
4. ประชาชนในทอ้ งถ่นิ ชายแดนใต้มคี ุณภาพชีวิตทีด่ ี

6

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ปฏริ ปู ระบบบริหารจดั การมหาวทิ ยาลยั ให้มีคณุ ภาพ ได้มาตรฐาน ทันต่อการ
เปลยี่ นแปลงเนน้ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร

เปา้ ประสงค์
1. มหาวทิ ยาลยั มีสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการปฏิบตั ิงาน การให้บรกิ าร การเรียนรแู้ ละเป็น
มหาวิทยาลยั สีเขยี ว Green University
2. ผบู้ ริหารและบคุ ลากรมสี มรรถนะในการบรหิ ารหรือปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานและเปน็ มอื อาชพี
3. มรี ะบบสารสนเทศเพ่ือการบริการ การบรหิ ารและการตดั สินใจท่ที นั สมยั มปี ระสทิ ธภิ าพ
สามารถแข่งขนั ได้
4. ระบบการบรหิ ารจัดการและระบบบริการมีมาตรฐานเป็น YRU 4.0 และมีรายได้สามารถพ่งึ พา
ตนเองได้
5. บรหิ ารจัดการยุทธศาสตรบ์ รรลุเป้าประสงคแ์ ละสง่ เสรมิ ให้เกิดวิสัยทศั น์
6. มหาวิทยาลัยเป็นองค์กรคณุ ภาพ คณุ ธรรม โปร่งใสและได้รับการยอมรับ

7

ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ดัชนีชว้ี ดั คณุ ภาพ ยทุ ธวิธี
โครงการและกจิ กรรม

เพอื่ ให้แผนยทุ ธศาสตร์และเป้าประสงค์ทั้ง 4 ดา้ น มคี วามชัดเจน สามารถนำไปสู่การวางแผนและ
ดำเนินงานให้บรรลุผลสำเร็จ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อองค์กร จึงได้กำหนดยุทธวิธี (tactics)
กิจกรรม/โครงการ ผลผลิตและดัชนีชี้วัดคุณภาพในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ในระยะ 10 ปี ใช้เป็นกรอบ
แนวทางในการดำเนนิ งานตามบริบทและจุดเน้น ดังนี้

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานการผลติ บัณฑติ นกั ปฏิบตั ิการอยา่ งมืออาชพี
ทมี่ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม

เป้าประสงค์
1. อาจารย์มีศกั ยภาพในการจัดการเรียนรู้ และมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
2. มีความร่วมมือกับผู้ประกอบการ ชุมชน และท้องถิ่น ในการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนรู้
เพอื่ ผลติ บณั ฑิตนักปฏิบตั ิ
3. บัณฑิตนกั ปฏบิ ัติมคี วามรู้ ความสามารถและทกั ษะวชิ าชีพตามความตอ้ งการของตลาดงาน
4. บัณฑิตมคี วามสามารถในการคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ การแกป้ ญั หา มีทักษะการส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม

เพอื่ ให้บรรลุตามแผนในประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 1 จึงไดก้ ำหนดกรอบวิธีการ โครงการและกิจกรรม และ
ดชั นชี ้วี ดั คณุ ภาพ ดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงการกำหนดกรอบ เป้าประสงค์ ดชั นชี ้วี ดั คณุ ภาพ ยุทธวิธี โครงการและกิจกรรม

ดัชนชี ้วี ัด ยุทธวิธี โครงการและกิจกรรม

(KPI) (Tactics) (Project)

เปา้ ประสงคท์ ี่ 1 อาจารย์มศี ักยภาพในการจัดการเรยี นรู้ และมีขดี ความสามารถในการแข่งขัน

1) รอ้ ยละ 30 ของอาจารยท์ ่ีมีคุณวุฒิ ยทุ ธวิธที ี่ 1 พฒั นาศักยภาพอาจารย์ 1.1 โ ครงการ พัฒนาศัก ย ภ า พ

ระดบั ปริญญาเอก ด้านคุณวุฒิและตำแหน่งทาง อาจารย์ด้านคุณวุฒิและ

2) ร้อยละ 60 ของอาจารยม์ ีตำแหน่ง วิชาการ ตำแหนง่ ทางวิชาการ

ทางวชิ าการ

3) ร้อยละ 50 ของอาจารย์เข้าร่วม ยุทธวิธีที่ 2 พัฒนาอาจารย์ให้มี 2.1 โครงการพัฒนาอาจารย์มือ

เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ หรือ ทักษะเทคนิค และวิธีการจัดการ อาชพี

คณะทำงานกับสถานประกอบ เรียนรู้สู่ความเปน็ มืออาชีพ

การ ชุมชน และภาครฐั

8

ดชั นชี ว้ี ดั ยทุ ธวธิ ี โครงการและกจิ กรรม
(KPI) (Tactics) (Project)

4) ร้อยละ 100 ของอาจารย์ท่ีมีการ 2.2 โครงการพัฒนา เทคนิคและ
จดั การเรียนรู้ดว้ ยเทคนิคสมัยใหม่ วิธีการจัดการเรียนรู้อย่างมือ
อาชีพ
5) ร้อยละ 80 ของอาจารย์ที่ได้รับ
ประสบการณ์ในวิชาชีพตาม 2.3 โ ค ร ง ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง
หลักสตู รหรอื ทส่ี ำเร็จการศกึ ษา ประสบการณ์สู่มอื อาชีพ

เป้าประสงค์ที่ 2 มีความร่วมมือกับผู้ประกอบการ ชุมชนและท้องถิ่น ในการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนรู้

เพื่อผลติ บัณฑติ นักปฏบิ ตั ิ

6) จำนวนหลักสูตรใหม่ตามจุดเน้น ยุทธวิธีที่ 3 ปฏิรูปและพัฒนา 3.1 โครงการพัฒนาและปรับปรุง

ของมหาวทิ ยาลยั หรือหลักสูตรที่มี หลักสูตรประเภทปฏิบัติการหรือ หลักสูตรสู่นักปฏิบัติการมือ

ความร่วมมือกับสถานประกอบการ วิชาชีพร่วมกับเครือข่ายและสถาน อาชพี

หรือชุมชน/ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า ประกอบการ 3.2 โครงการพัฒนาหลักสูตร

10 หลกั สูตร ปฏิบัติการหรือวิชาชีพ หรือ

7) ร้อยละ 80 ของหลักสูตรเดิมที่ หลักสูตรจุดเน้นของ

ปรับปรุงเป็นหลักสูตรประเภท มหาวิทยาลัย แบบสอง

วชิ าชีพหรอื ปฏบิ ตั ิการ ป ร ิ ญ ญ า ส อ ง ภ า ษ า ห รื อ

8) จำนวนหลักสูตรสองปริญญาหรือ นานาชาติ

สองภาษา หรือนานาชาติ ไม่น้อย

กว่า 4 หลักสตู ร

เป้าประสงค์ที่ 3 บัณฑติ นักปฏบิ ัตมิ คี วามรู้ ความสามารถและทักษะวิชาชีพตามความต้องการของตลาดงาน

9) ร้อยละ 100 ของหลักสูตรมีการ ยุทธวิธีที่ 4 พัฒนานักศึกษาให้มี 4.1 โครงการพัฒนาการฝึกทักษะ

ฝกึ ทกั ษะวชิ าชีพทกุ ชนั้ ปี ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ใน วชิ าชพี โดยใชช้ น้ั ปีเป็นฐาน

10) จำนวนรางวัลที่นักศึกษาได้รับใน ปัจจุบันและอนาคต 4.2 โครงการส่งเสริมศักยภาพด้าน
ระดับชาติ นานาชาติ ไม่น้อยกว่า ทักษะอาชีพของนักศึกษาสู่
44 รางวลั ความเปน็ เลิศ

11) ร้อยละ 65 ของชมรมนักศึกษา 4.3 โครงการพัฒนาชมรมนักศึกษา
เป็นชมรมวิชาการหรือวิชาชีพที่ สู่การเป็นนักปฏิบัติการมือ
สง่ เสริมทกั ษะการปฏิบตั ิ อาชีพ

12) ร้อยละ 90 ของนักศึกษาผ่านการ 4.4 โครงการพัฒนาทักษะและ
ทดสอบความ สามารถทางด้าน สอบวัดมาตรฐานความ

9

ดชั นีช้ีวัด ยทุ ธวิธี โครงการและกจิ กรรม

(KPI) (Tactics) (Project)

ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ตาม สามารถด้านภาษา/เทคโนโลยี

เกณฑท์ มี่ หาวทิ ยาลยั กำหนด สารสนเทศและการสื่อสาร

13) ร้อยละ 100 ของนักศึกษาผ่าน (ไอซที ี)

ก า ร ท ด ส อ บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ยทุ ธวิธีท่ี 5 พฒั นาการจัดการ 5.1 โครงการพัฒนาการจัดการ

ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เรยี นรทู้ ่ีเนน้ การปฏบิ ัติและฝกึ อาชพี เรียนรู้เชิงบูรณาการกับการ

แ ล ะ ก า ร ส ื ่ อ ส า ร ต า ม เ ก ณ ฑ ์ ท่ี ท ำ ง า น ( Work-integrated

มหาวทิ ยาลยั กำหนด Learning : WIL)

14) ร้อยละ 65 ของหลักสูตรที่มีการ 5.2 โครงการพัฒนาสหกิจศึกษาสู่
จัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับ บณั ฑิตนักปฏบิ ัติ
การทำงาน (Work-integrated
Learning : WIL) 5.3 โครงการเตรียมความพร้อม
บัณฑติ สูต่ ลาดงาน

15) ร้อยละ 80 ของบัณฑิตที่มีงานทำ

ตรงสาขาวชิ าหรือเกี่ยวขอ้ ง

เป้าประสงคท์ ่ี 4 บณั ฑติ มีความสามารถในการคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ การแก้ปญั หา มีทกั ษะการส่ือสาร และการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม

16) ร ้ อ ย ล ะ 1 ข อ ง บั ณ ฑ ิ ต เ ป็ น ยุทธวิธีที่ 6 พัฒนาสมรรถนะ 6.1 โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบ

ผู้ประกอบการ นักศึกษาสู่ผู้ประกอบการอย่างมือ การใหม่โดยใช้ศูนย์บ่มเพาะ

17) ร้อยละ 100 ของบัณฑิตผ่านการ อาชีพ เปน็ ฐาน (UBI)

ประเมินคุณลักษณะตามเกณฑ์ที่ 6.2 โครงการพัฒนาบัณฑติ มรย. สู่

มหาวิทยาลยั กำหนดเพิ่มขนึ้ ผู้ประกอบการรนุ่ ใหม่

18) ร ้ อ ย ล ะ 1 ข อ ง น ั ก ศ ึ ก ษ า 6.3 พัฒนาคุณลักษณะบัณฑติ ที่พึง

แลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัยอื่น ประสงคโ์ ดยใช้ช้นั ปเี ปน็ ฐาน

ห ร ื อ ฝ ึ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ว ิ ช า ชี พ 6.4 โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

ตา่ งประเทศ กับมหาวิทยาลัยในประเทศ

หรือต่างประเทศ (Mobility

Learning)

หมายเหตุ : บัณฑิตนักปฏิบตั ิการมอื อาชีพ หมายถึง บัณฑิตทสี่ ามารถคดิ เปน็ ทำเปน็ แก้ปญั หาได้

10

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ปฏิรูปการผลติ และพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาชายแดนใต้

เป้าประสงค์
1. อาจารย์สายครุศาสตรม์ ศี ักยภาพในการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. มหาวทิ ยาลัยเปน็ ศนู ย์กลางการผลติ และการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือท้องถิ่น
ชายแดนใต้
3. การศึกษาในทอ้ งถ่นิ ชายแดนใต้มคี ณุ ภาพ

เพื่อให้บรรลุตามแผนในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 จึงได้กำหนดกรอบวิธีการ โครงการและกิจกรรม
ผลผลติ และดชั นชี ้ีวดั คุณภาพ ดังน้ี

ตารางท่ี 2 แสดงการกำหนดกรอบ เป้าประสงค์ ดัชนีชี้วัดคุณภาพ ยทุ ธวธิ ี โครงการและกจิ กรรม

ผลผลติ /ตัวชี้วัด ยทุ ธวิธี โครงการและกจิ กรรม

(Output/KPI) (Tactics) (Project)

เปา้ ประสงคท์ ่ี 1 อาจารย์สายครศุ าสตรม์ ีศักยภาพในการผลติ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

1) ร้อยละ 60 ของอาจารย์สายครุ ยุทธวิธีที่ 1 ยกระดับคุณภาพ 1.1 โครงการพัฒนาศักยภาพ

ศาสตรม์ ีตำแหน่งทางวชิ าการ อาจารย์และบุคลากรสู่การพัฒนา อาจารย์สายครุศาสตร์ด้าน

2) ร้อยละ 40 ของอาจารย์สายครุ ครใู นยคุ Thailand 4.0 คุณวุฒิและตำแหน่งทาง

ศาสตร์มีคุณวุฒิระดับปริญญา วชิ าการ

เอก

3) จำนวนผลงานการวิจัยเฉพาะ ยุทธวิธีที่ 2 พัฒนางานวิจัยจาก 2.1 โครงการพัฒนางานวิจัยแบบ

สาขาวิชาชีพครูหรือสาขาด้าน โจทย์ด้านการผลิตและพัฒนาครูใน บูรณาการด้านการผลิตและ

การผลิตครูได้รับการตีพิมพ์ พน้ื ทีช่ ายแดนใต้ พัฒนาครูในพื้นทช่ี ายแดนใต้

เผยแพร่ทั้งในระดับชาติและ

น า น า ช า ต ิ ห ร ื อ น ำ ไ ป ใ ช้

ประโยชน์ต่อการผลิตและ

พัฒนาครูเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า

38 ผลงาน

4) ร้อยละ 100 ของอาจารย์สาย ยทุ ธวธิ ีท่ี 3 กำหนดกรอบสมรรถนะ 3.1 โครงการพัฒนาครูของครูเพื่อ

ครุศาสตร์ได้รับการพัฒนาให้ อาจารย์สายครุศาสตร์เพื่อพื้นที่ ทอ้ งถ่นิ ชายแดนใต้

เป็นต้นแบบของครู ชายแดนใต้

11

ผลผลติ /ตวั ชว้ี ดั ยุทธวิธี โครงการและกิจกรรม

(Output/KPI) (Tactics) (Project)

5) ร้อยละ 100 ของอาจารยผ์ สู้ อน

สายครุศาสตร์ท่ีมีประสบการณ์

สอนในโรงเรยี น

เป้าประสงค์ที่ 2 มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางการผลิตและการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือ

ท้องถิ่นชายแดนใต้

6) จำนวนหน่วยให้บริการและให้ ยุทธวิธีที่ 4 พัฒนาให้มีหน่วย 4.1 โครงการสถาบันพัฒนาครูและ

คำปรึกษา ไม่น้อยกว่า 10 ให้บริการและให้คำปรึกษาเพื่อให้ บ ุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศ ึ ก ษ า

หนว่ ย มหาวิทยาลัยสามารถใหบ้ ริการด้าน ชายแดนใต้

7) จำนวนต้นแบบในการผลิตและ การผลิตและพัฒนาครูเพื่อท้องถิ่น 4.2 โ ค ร ง ก า ร พ ั ฒ น า ห น ่ ว ย

พัฒนาครูและบุคลากรทางการ ชายแดนใต้ ให้บริการและให้คำปรึกษา

ศึกษาชายแดนใต้ ไม่น้อยกว่า ทางการศกึ ษา

3 ต้นแบบ

8) จำนวนรูปแบบของสถานศึกษา

ต้นแบบที่ได้นำไปขยายผล ไม่

นอ้ ยกวา่ 10 รปู แบบ

9) ร้อยละ 80 ของหลักสูตรที่ได้

นำไปให้บริการผลิตและพัฒนา

ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

10) ร้อยละ 80 ของครูและ ยุทธวิธีท่ี 5 ยกระดับคุณภาพ 5.1 โครงการพัฒนาระบบการผลิต

บุคลากรทางการศึกษาในกลุ่ม มาตรฐานการให้บริการในระบบ และพัฒนาครูและบุคลากร

สาระหลกั ท่ีเขา้ ร่วมโครงการกับ ผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา

มหาวิทยาลัยได้รับการพัฒนา ทางการศึกษาชายแดนใต้ 5.2 โ ครงการว ิจัยและพัฒนา

ศักยภาพ รูปแบบและนวัตกรรมการ

11) จำนวนครูต้นแบบในระดับ จัดการเรียนรู้ในการผลิตและ

การศึกษาขั้นพื้นฐานและ พัฒนาครูและบุคลากรทางการ

การศึกษาปฐมวัยที่ได้รับการ ศกึ ษา

พัฒนาศักยภาพจาก 5.3 โ ครงการว ิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 50 รูปแบบและนวัตกรรมการ

คน พ ั ฒ น า ศ ั ก ย ภ า พ ค ร ู แ ล ะ

บคุ ลากรทางการศกึ ษาเพ่ือการ

12

ผลผลติ /ตัวช้ีวดั ยุทธวธิ ี โครงการและกิจกรรม
(Output/KPI) (Tactics) (Project)
12) จำนวนผู้รับบริการข้อมูล
สารสนเทศทางการศึกษาของ 13 อ่านออก เขียนได้ หรือเพื่อ
พื้นที่ชายแดนใต้ ไม่น้อยกว่า ส่งเสริมความสามารถด้าน
5,000 คน ภาษา
13) ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมี 5.4 โครงการพัฒนาหลักสูตรระยะ
ความพึงพอใจ สั้นเพื่อการพัฒนาศักยภาพครู
และบุคลากรทางการศึกษา
ชายแดนใต้
5.5 โ ค ร ง ก า ร ม ห า ว ิ ท ยา ลัยพี่
โรงเรยี นน้อง
5.6 โครงการมหาวทิ ยาลยั พ่ีเลย้ี ง
โครงการพัฒนาสถานศึกษา
ต้นแบบ
5.7 โครงการพัฒนาคุณภาพ

สถานศึกษาและบุคลากร
ทางการศึกษาชายแดนใต้
5.8 โครงการเตรียมความพร้อม
ครูใหมช่ ายแดนใต้
5.9 โครงการพัฒนาศักยภาพครู
สอนไมต่ รงสาย
5.10 โครงการส่งเสริมและเชิดชู
เกยี รติครูตน้ แบบชายแดนใต้
5.11 โ ค ร ง ก า ร พ ั ฒ น า ร ะ บ บ
ฐานข้อมูลและสารสนเทศ
ทางการศกึ ษา
5.12 โครงการขยายผลและการ
พัฒนาศักยภาพสถานศึกษา
ในการเข้าถึงและใช้ระบบ
ฐานข้อมูลและสารสนเทศ
ทางการศกึ ษา

ผลผลติ /ตวั ช้ีวัด ยุทธวิธี โครงการและกจิ กรรม

(Output/KPI) (Tactics) (Project)

ยุทธวิธีที่ 6 พัฒนานักศึกษาสายครุ 6.1 โครงการพัฒนาหลักสูตร

ศาสตร์โดยใช้หลักสูตร Extra time (Extra time) และการพัฒนา

และหอพักเปน็ ฐาน ศ ั ก ย ภ า พ น ั ก ศ ึ ก ษ า โ ด ย ใ ช้

หอพักเปน็ ฐาน

6.2 โครงการวิจัยและพัฒนา

รูปแบบและนวัตกรรมการบ่ม

เพาะนักศึ ก ษา ครู (Extra

time) และหอพกั เป็นฐาน

6.3 โครงการพัฒนานักศึกษาสาย

ครุศาสตร์โดยใช้หลักสูตร

Extra time และหอพักเป็น

ฐาน

เป้าประสงค์ที่ 3 การศกึ ษาในทอ้ งถิ่นชายแดนใต้มคี ณุ ภาพ

14) ร้อยละ 80 ของโรงเรียนที่เข้า ยุทธวิธี 7 ยกระดับคุณภาพการ 7.1 โครงการพัฒนาความร่วมมือ

ร่วมโครงการมีคะแนนผลการ เรียนรู้ของผู้เรียนในพื้นที่ชายแดน ของเครือข่ายทางการศกึ ษาเชิง

ท ด ส อ บ ท า ง ก า ร ศ ึ ก ษ า ใต้ พื้นที่ เพื่อยกระดับคุณภาพ

ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) การศกึ ษา

เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 3 คะแนน 7.2 โครงการครูคืนถิน่

ห ร ื อ ม ี ค ะ แ น น ไ ม ่ น ้ อ ย ก ว่ า

ค่าเฉลีย่ ของจังหวดั

15) ร้อยละ 100 ของบัณฑิตครูท่ี

สอบผ่านมาตรฐานใบ

ประกอบวชิ าชีพครู

16) ร้อยละ 85 ของบัณฑิตครูท่ี

จบจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ยะลาที่สอบบรรจุครูได้ในการ

สอบครั้งแรก

17) ร้อยละ 85 ของบัณฑิตครูท่ี

ได้รับการบรรจุเข้าทำงานใน

ทอ้ งถิ่น

14

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ยกระดับการวิจัย บรกิ ารวชิ าการ และทำนุบำรุงศลิ ปวัฒนธรรม

เพ่อื การพัฒนาท้องถน่ิ
1. บคุ ลากรมีศักยภาพในการพฒั นาทอ้ งถนิ่ ชายแดนใต้
2. มหาวิทยาลัยเป็นศนู ย์กลางในการให้บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อพัฒนา
ท้องถน่ิ ชายแดนใต้
3. งานวิจัยและงานสร้างสรรค์สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนและลดความเหลื่อมล้ำ
ทางสังคม
4. ประชาชนในทอ้ งถน่ิ ชายแดนใต้มีคณุ ภาพชีวิตที่ดี
เพื่อให้บรรลุตามแผนในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 จึงได้กำหนดกรอบวิธีการ โครงการและกิจกรรม
ผลผลิตและดัชนีชีว้ ดั คุณภาพ ดงั นี้

ตารางท่ี 3 แสดงการกำหนดกรอบ เปา้ ประสงค์ ดัชนีชว้ี ัดคณุ ภาพ ยทุ ธวิธี โครงการและกจิ กรรม

ดัชนชี ว้ี ดั ยทุ ธวธิ ี โครงการและกิจกรรม

(KPI) (Tactics) (Project)

เปา้ ประสงคท์ ี่ 1 บคุ ลากรมีศักยภาพในการพัฒนาทอ้ งถน่ิ ชายแดนใต้

1) จำนวนองค์กรหรือหน่วยงาน ยุทธวิธีที่ 1 สร้างเครือข่ายความ 1.1 โครงการสร้างความร่วมมือ

ภาครัฐ/เอกชน ในท้องถิ่นหรือ ร่วมมือกับองค์กรหรือหน่วยงานใน เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร

นอกพื้นที่รับผิดชอบของ ระดับทอ้ งถิน่ มหาวิทยาลัยให้เป็นที่พึ่งทาง

ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ร ่ ว ม ม ื อ กั บ วิชาการแก่ชุมชนอย่างมือ

มหาวิทยาลัยในการพัฒนา อาชีพ

ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า 21 องค์กร 1.2 โครงการพัฒนาโครงสร้าง

หรือหนว่ ยงาน พื้นฐานด้านการวิจัยเพื่อการ

การพัฒนางานวิจัย เ พื่อ

ทอ้ งถิ่น

1.3 โครงการความร่วมมือด้าน

การวิจัยและ/หรือพัฒนา

ร่วมกับองค์กรปกครองส่วน

ทอ้ งถ่นิ ในพนื้ ท่ีชายแดนใต้

เปา้ ประสงคท์ ี่ 2 มหาวทิ ยาลัยเป็นศนู ยก์ ลางในการให้บริการวชิ าการและทำนุบำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรม เพ่ือพัฒนา

ทอ้ งถนิ่ ชายแดนใต้

15

ดชั นชี ี้วัด ยทุ ธวธิ ี โครงการและกจิ กรรม

(KPI) (Tactics) (Project)

2) จำนวนนวัตกรรม และ/หรือ ยุทธวิธีที่ 2 บูรณาการพันธกิจ 2.1 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก

ผลิตภัณฑ์ ตามความต้องการ สัมพันธ์เพื่อพัฒนาท้องถิ่นด้าน การแปรรูปสินค้าเกษตร

ของท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า 50 ชิ้น เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและ อุตสาหกรรมและบริการใน

3) จำนวนฐานข้อมูลท้องถ่ิน ทำนุบำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ชมุ ชนและท้องถนิ่

ชายแดนใต้ ไม่น้อยกว่า 4 - พฒั นาผลิตภัณฑ์ใหม่

ฐานข้อมูล ครอบคลุมด้าน - สง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์เดิม

เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม - พัฒนาการตลาดออนไลน์

และศลิ ปวฒั นธรรม 2.2 โครงการพัฒนานวัตกรรมท้องถ่ิน

4) จำนวนโครงการอันเนือ่ งมาจาก ชายแดนใต้

พระราชดำริและโครงการตาม 2.3 โครงการสง่ เสริมและพัฒนา

พระราโชบายเพื่อการพัฒนา วิสาหกิจชุมชนและ

ท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า 20 ผปู้ ระกอบการใหม่

โครงการ 2.4 โครงการยกระดับนวัตกรรมสู่การ

เปน็ Smart Enterprise

2.5 โครงการบริการทางวิชาการ เพื่อ

พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนใน

ทอ้ งถิ่นชายแดนใต้

2.6 โครงการสืบสานมรดกทาง

วัฒนธรรมชายแดนใต้

ยุทธวิธีที่ 3 บูรณาการข้อมูล 3.1 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลและ

ระหว่างหน่วยงานเพื่อการพัฒนา สารสนเทศเพื่อการพัฒนา

ขอ้ มูลทอ้ งถนิ่ ชายแดนใต้ ท้องถน่ิ

3.2 โครงการขยายผลและการพัฒนา

ศักยภาพหนว่ ยงานในท้องถ่ินใน

การเข้าถึงและใช้ระบบ

ฐานข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ

การพฒั นาทอ้ งถิน่

ยุทธวิธีที่ 4 พัฒนาและต่อยอด 4.1 โครงการอันเนื่องมาจาก

ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริและโครงการตาม

พระราโชบาย

16

ดัชนีชว้ี ัด ยทุ ธวธิ ี โครงการและกิจกรรม
(KPI) (Tactics) (Project)
พระราชดำริและโครงการตามพระ
ราโชบาย

เป้าประสงค์ที่ 3 มีการพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนและลด

ความเหล่ือมลำ้ ทางสังคม

5) รอ้ ยละ 60 ของสดั สว่ นงานวจิ ยั ยุทธวิธีที่ 5 วิจัยและพัฒนาเพื่อ 5.1 โครงการส่งเสริมการวิจัยเพ่ือ

ด้านการพัฒนาท้องถิ่นเพ่ือ ย ก ร ะ ด ั บ ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต ข อ ง พัฒนาท้องถ่ินชายแดนใต้

ยกระดบั คุณภาพชีวติ ประชาชนในท้องถิน่ ชายแดนใต้ - วิจัยด้านพืชและสภาวะ

เศรษฐกิจตวั รอง

- วิจัยด้านการแปรรูปผลผลิต

ทางการเกษตรพืชหลักเชิง

พาณชิ ย์

- วิจัยดา้ นคณุ ภาพชีวิต

- วจิ ยั ดา้ นผู้สงู อายุ

- วจิ ัยดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว

5.2 โครงการสังเคราะห์งานวิจัยเพ่ือ

การพัฒนาท้องถิ่นมหาวิทยาลัย

ราชภฏั ยะลา

5.3 โครงการพฒั นาเครอื ข่ายวิจัยเพื่อ

การพฒั นาทอ้ งถ่ิน

เปา้ ประสงคท์ ี่ 4 ประชาชนในทอ้ งถ่ินชายแดนใต้มีคุณภาพชวี ิตท่ดี ี

6) จำนวนครัวเรือนที่ได้รับการ ยุทธวิธีที่ 6 บริการวิชาการเพื่อ 6.1 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต

พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยเป็นพ่ี ย ก ร ะ ด ั บ ค ุ ณ ภ า พ ช ี ว ิ ต ข อ ง ประชาชนในพื้นท่ีชายแดนใต้

เ ล ี ้ ย ง ไ ม ่ น ้ อ ย ก ว ่ า 3 0 0 ประชาชนในท้องถ่นิ ชายแดนใต้ ด้านเศรษฐกิจ สังคมและ

ครัวเรอื น ส่งิ แวดลอ้ ม

7) จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ ยุทธวิธีที่ 7 ยกระดับคุณภาพและ 7.1 โครงการพัฒนาคุณภาพและ

พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์ในชุมชนและ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ของ

เพม่ิ ขึน้ ไม่นอ้ ยกว่า 30 ทอ้ งถิ่น ชุมชนและท้องถิ่น

17

ดชั นชี ้วี ัด ยุทธวิธี โครงการและกิจกรรม

(KPI) (Tactics) (Project)

8) จำนวนชุมชนที่เป็นแหล่ง ยุทธวิธีที่ 8 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ 8.1 โครงการขยายผลท่าสาป

เรียนรู้ทางสังคมเชิงบูรณาการ ทางสงั คมเชิงบรู ณาการ โมเดล

ไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ชุมชน 8.2 โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ

เพื่อการเรียนรู้ทางสังคมเชิง

บูรณาการในท้องถิ่นชายแดน

ใต้

18

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มคี ุณภาพ ได้มาตรฐาน ทันต่อ
การเปลยี่ นแปลงเนน้ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร

เปา้ ประสงค์
1. มหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การให้บริการ การเรียนรู้และเป็น
มหาวทิ ยาลยั สีเขยี ว Green University
2. ผบู้ ริหารและบคุ ลากรมสี มรรถนะในการบรหิ ารหรือปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานและเป็นมืออาชีพ
3. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริการ การบริหารและการตัดสินใจที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ
สามารถแขง่ ขนั ได้
4. ระบบการบรหิ ารจัดการและระบบบริการมีมาตรฐานเปน็ YRU 4.0 และมีรายได้สามารถพ่ึงพา
ตนเองได้
5. มหาวิทยาลยั เป็นองค์กรแหง่ คณุ ภาพ คณุ ธรรม โปรง่ ใสและได้รบั การยอมรับ

เพื่อให้บรรลุตามแผนในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 จึงได้กำหนดกรอบวิธีการ โครงการและกิจกรรม
ผลผลิตและดัชนีชว้ี ัดคณุ ภาพ ดงั นี้

ตารางที่ 4 แสดงการกำหนดกรอบ เป้าประสงค์ ดัชนชี ีว้ ดั คณุ ภาพ ยุทธวิธี โครงการและกิจกรรม

ดัชนีชวี้ ัด ยทุ ธวธิ ี โครงการแลกจิ กรรม

(KPI) (Tactics) (Project)

เป้าประสงค์ท่ี 1 มหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การให้บริการ การเรียนรู้และเป็น

มหาวทิ ยาลัยสเี ขียว Green University

1) จำนวนต้นแบบในการบริหาร ยุทธวิธีที่ 1 พัฒนาและปรับปรุง 1.1 โครงการพัฒนาการจัดการ

จัดการสภาพแวดล้อม การ สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ ระบบ ส ภ า พ แ ว ด ล ้ อ ม ไ ป สู่

จัดการขยะ การจัดการพลังงาน จราจร ความปลอดภัย พลังงาน มหาวิทยาลัยสีเขียว Green

ไมน่ ้อยกวา่ 4 ตน้ แบบ ก า ร จ ั ด ก า ร ข ย ะ พ ั ฒ น า ไ ป สู่ University

ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ส ี เ ข ี ย ว Green 1.2 โครงการพัฒนาระบบจราจร

University และระบบความปลอดภัย

1.3 โครงการพัฒนาต้นแบบระบบ

จดั การขยะครบวงจร

1.4 โครงการพัฒนาระบบการจัด

การพลังงานสูแ่ นวปฏิบัตทิ ่ดี ี

เป้าประสงค์ที่ 2 ผู้บริหารและบุคลากรมีสมรรถนะในการบริหารหรือปฏิบัติงานตามมาตรฐานและ
เป็นมอื อาชีพ

19

ดชั นีชว้ี ัด ยุทธวธิ ี โครงการแลกจิ กรรม

(KPI) (Tactics) (Project)

2) ร้อยละ 100 ของผู้บริหารและ ยุทธวิธีที่ 2 พัฒนาสมรรถนะ 2.1 โครงการพัฒนาสมรรถนะและ

บ ุ ค ล า ก ร ไ ด ้ ร ั บ ก า ร พ ั ฒนา ผบู้ ริหาร และบุคลากรสูม่ ืออาชีพ ศักยภาพบุคลากรสาย

สมรรถนะและมีผลการนำไป สนบั สนนุ สมู่ ืออาชพี

ประยุกตใ์ ช้ 2.2 โครงการพัฒนาสมรรถนะและ

ศกั ยภาพผู้บรหิ ารสูม่ ืออาชีพ

เป้าประสงค์ที่ 3 มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริการ การบริหาร การตัดสินใจที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และ

สามารถแข่งขันได้

3) ร ้ อ ย ล ะ 1 0 0 ข อ ง ร ะ บ บ ยทุ ธวิธีท่ี 3 พฒั นาระบบสารสนเทศ 3.1 โครงการพัฒนาเทคโนโลยี

สารสนเทศเพื่อการบริหารและ และการสื่อสารเพื่อการบริการ การ สารสนเทศและการสื่อสาร

บริการที่นำมาใช้ในองค์กรและ บริหารและการตัดสินใจ เพื่อสร้างศักยภาพในการ

บรรลเุ ป้าหมาย แข่งขนั

3.2 โครงการพัฒนาข้อมูลขนาด

ใหญ่ (Big Data) เพื่อสนับสนนุ

การบริหารและการตัดสนิ ใจ

3.3 โ ค ร ง ก า ร พ ั ฒ น า ร ะ บ บ

สารสนเทศการจัดการ

ทรัพยากรองค์กร YRU-ERP

(Enterprise Resources

Planning)

3.4 โครงการพัฒนา Application

ส ำ ห ร ั บ อ ุ ป ก ร ณ ์ เ ค ล ื ่ อ น ที่

เสริมสร้างองคก์ รสู่ YRU 4.0

เป้าประสงค์ท่ี 4 ระบบการบริหารจัดการและระบบบริการมีมาตรฐานเป็น YRU 4.0 และมีรายได้ท่ีสามารถ

พ่ึงพาตนเองได้

4) ร้อยละ 100 ของจำนวนแผน ยุทธวิธีที่ 4 พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ 4.1 โครงการพัฒนาและทบทวน

เตรียมความพร้อมสู่การเป็น ระบบบริหารจัดการ และระบบงาน แผนยุทธศาสตร์องค์กรและ

มหาวิทยาลยั ในกำกบั สู่มาตรฐาน สอดคล้องกับระบบ ตดิ ตามประเมนิ ผล

5) ร้อยละ 100 ของหน่วยงาน ประกันคุณภาพภายในตามกรอบ 4.2 โครงการทบทวนและปรับร้ือ

ระดับงานขึ้นไปมีคู่มือมาตรฐาน EdPEx หรือกรอบมา ตร ฐ า น ท่ี โครงสร้างองค์กรรองรับการ

เกี่ยวข้อง เป็นมหาวิทยาลยั ในกำกับ

20

ดัชนชี ว้ี ดั ยุทธวิธี โครงการแลกิจกรรม

(KPI) (Tactics) (Project)

การให้บริการที่มีผลการนำไปสู่ 4.3 โครงการพัฒนากระบวนงาน

การปฏิบัตจิ รงิ ม า ต ร ฐ า น เ พ ื ่ อ ย ก ร ะ ดั บ

6) รายได้เฉลี่ยของมหาวิทยาลัยที่ คุณภาพบริการส่คู วามเปน็ เลศิ

เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ไม่น้อย 4.4 โครงการพัฒนาระบบคุณภาพ

กวา่ ร้อยละ 10 ภ า ย ใ น แ ล ะ ส น ั บ ส นุ น

7) ร้อยละ 80 ของความสำเร็จของ หน่วยงานเข้ารับการประเมิน

ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ต า ม ต ั ว ช ี ้ วั ด คุณภาพตามมาตรฐาน

(KPIs) ของแผนยทุ ธศาสตร์ ระดับชาติ

ยุทธวิธีที่ 5 ส่งเสริมการพัฒนา 5.1 โครงการจัดตั้งกองทุนรายได้

ระบบบริหารจัดการทรัพย์สินและ ของหน่วยงานเพื่อการพึ่งพา

รายได้ ตนเอง

ยทุ ธวธิ ที ี่ 6 พัฒนาขดี ความสามารถ 6.1 โครงการพัฒนาระบบและ

ในการจัดการทรัพย์สินและจัดหา ส่งเสริมกิจกรรมจัดหารายได้สู่

รายไดเ้ พ่ือการพ่งึ พาตนเอง การพึ่งพาตนเอง

ยุทธวิธีที่ 7 พัฒนาระบบการนำ 7.1 โครงการพัฒนาระบบและ

องคก์ รเชิงยทุ ธศาสตร์ ส่งเสริมการบริหารองค์กรเชิง

ยุทธศาสตร์

7.2 โ ครงการพัฒนาผู้บริหาร

ระดับสูงเพื่อเสริมสร้าง

ศักยภาพด้านการบริหารเชิง

ยุทธศาสตร์

เปา้ ประสงคท์ ่ี 5 มหาวิทยาลยั เปน็ องคก์ รแห่งคณุ ภาพ คุณธรรม โปร่งใสและได้รบั การยอมรับ

8) ร้อยละ 90 ของหน่วยงานระดับ ยุทธวิธีที่ 8 ส่งเสริมให้หน่วยงาน 8.1 โครงการยกระดับคุณภาพการ

กองขึ้นไปมีแนวปฏิบัติท่ีดีในการ ยกระดับคุณภาพการบริหารและ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ บ ร ิ ก า ร สู่

ใหบ้ รกิ าร บรกิ ารสูม่ าตรฐานสากล มาตรฐานสากล

9) ร้อยละ 90 ของผู้รับบริการที่มี 8.2 โครงการพัฒนาและเสริมสร้าง

ความพึงพอใจต่อการให้บริการ องค์กรสู่องค์กรแห่งคุณธรรม

ในระดบั ดมี ากขนึ้ ไป และความโปร่งใส

21

ดัชนชี ีว้ ัด ยทุ ธวิธี โครงการแลกจิ กรรม
(KPI) (Tactics) (Project)

8.3 โครงการส่งเสริมและสนับสนุน
หน่วยงานเข้าประกวดรางวัล
คุณภาพระดับชาติ

8.4 โครงการพัฒนาและเสริมสร้าง
ภาพลกั ษณ์องคก์ รสู่สากล

22

จดุ เน้นหลกั สตู รและกลุม่ วิชา

เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา ระยะ 10 ปี จึงได้กำหนดกลุ่มวชิ าที่เป็นจดุ เน้นของมหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาตามเป้าหมายที่
กำหนด ดังนี้

1. กลมุ่ สาขาวชิ าด้านการผลติ และพัฒนาครู
2. กลมุ่ สาขาวชิ าดา้ นอุตสาหกรรมการเกษตรสมัยใหม่และอาหารฮาลาล
3. กลมุ่ สาขาวชิ าดา้ นอุตสาหกรรมบรกิ ารและการดแู ลสขุ ภาพ

ตารางที่ 1 กลุ่มสาขาวิชาด้านการผลิตและพฒั นาครู ศูนย์การเรยี นร/ู้ ผลผลิตและตัวชว้ี ดั
หลกั สตู รทโ่ี ดดเด่น/จดุ เน้น ประเด็นการวิจยั

ห้องปฏิบัตกิ ารทจี่ ะพฒั นา คณุ ภาพ

1. การศกึ ษาปฐมวัย 1. วิจัยและพัฒนาหลักสูตร 1. สถาบันพัฒนาครูและ 1. ร้อยละ 100 ของอาจารย์
2. คณิตศาสตร์ และกระบวนการพัฒนา
3. ภาษาอังกฤษ “ครูแห่งครู” สำหรับ บุคลากรทางการศึกษา หลักสตู รจดุ เนน้ ไดร้ ับการ
4. วทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป อาจารย์ในหลักสูตร
5. ภาษาไทย จดุ เน้น ชายแดนใต้ พฒั นาและรับรองมาตรฐาน
6. สงั คมศึกษา
7. คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา 2. วิจัยและพัฒนาศักยภาพ 1.1 หน่วยความเป็นเลิศ ตามหลักสตู รครูของครู
8. พลศกึ ษาและสขุ ศึกษา อาจารย์จากหลักสูตร
9. ภาษาอังกฤษและ จุดเน้นโดยกระบวนการ ในระดับสาขาที่เป็นจดุ เนน้
เทคโนโลยี PLC ( Professional
10. การประถมศึกษา Learning Community) 1) การศึกษาปฐมวยั 2. รอ้ ยละ 60 ของอาจารย์
11. การสอนอิสลามศกึ ษา
12. ภาษามลายู 3. วิจัยและพฒั นาหน่วยความ 2) คณติ ศาสตร์ หลักสตู รจดุ เน้นมตี ำแหน่ง
เป็นเลิศในด้านการวิจัย
และพัฒนาและให้บริการ 3) ภาษาองั กฤษ ทางวชิ าการ
ทางการศึกษาจากสาขา
ตามหลักสตู รจุดเนน้ 4) อนื่ ๆ 3. ร้อยละ 40 ของอาจารย์

1.2 หน่วยบริการด้าน หลักสูตรจุดเน้นมีคุณวุฒิ

การศึกษาที่เป็นอัตลักษณ์เชงิ ระดับปริญญาเอก

พื้นที่ซึ่งมาจากหลักสูตร

จดุ เน้น

1) MTB MLE Center

(Mother-Tongue-based

Multilingual Education)

2) หนว่ ยสะเตม็ ศึกษา

3) หน่วยศึกษาพัฒนา

ครูและนวัตกรรมทาง

การศึกษาที่มาจากหลักสูตร

จดุ เน้น

4) อืน่ ๆ

1.3 สถานศึกษาต้นแบบ

1) ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก

ต้นแบบ

23

ตารางที่ 2 กลมุ่ สาขาวชิ าดา้ นอตุ สาหกรรมการเกษตรสมยั ใหม่และอาหารฮาลาล

หลกั สตู รทโ่ี ดดเด่น/ ประเดน็ การวจิ ยั ศนู ย์การเรยี นร/ู้ ผลผลิตและ
จดุ เนน้ ห้องปฏิบตั กิ ารทจ่ี ะพฒั นา ตวั ชี้วัดคุณภาพ

1. เทคโนโลยีและนวตั กรรมการ 1. การวิจยั และพัฒนาการผลติ 1. ห้องควบคุมระบบต่างๆ ใน 1. บณั ฑติ เปน็ ผู้ประกอบการ

ผลติ พชื พืชดว้ ยเทคโนโลยีและ ฟารม์ ที่ทันสมยั เกษตรและทีเ่ ก่ยี วข้องกับ

นวัตกรรมทเี่ หมาะสม - คอมพวิ เตอร์ควบคุมระบบ การเกษตร

2. การวิจยั ประยุกตค์ วามรูด้ า้ น ฟารม์ และประมวลผล 2. ตน้ แบบการสรา้ งงานสร้าง

IT ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ทกุ แขนง - ชดุ อุปกรณ์ส่อื สารทจ่ี ำเปน็ อาชพี แก่ชมุ ชน

เพอื่ พัฒนาการผลิตพชื และเกย่ี วขอ้ ง 3. ผลงานวิจัยของอาจารย์ที่

3. การวิจัยด้าน precision 2. เครือ่ งจกั รกลและเคร่อื งทุ่น ไดร้ ับการตพี มิ พเ์ ผยแพร่ และ

agriculture แรงที่ใชใ้ นฟาร์ม นำไปใช้ประโยชน์ แก้ปญั หา

3. ชดุ ตรวจสอบสภาพ ของชุมชนและทอ้ งถ่นิ

ภมู ิอากาศในระดับ 4. มีตน้ แบบการทำเกษตร

แปลงปลกู ประณตี 1 แหลง่

2. การจดั การเกษตรกรรมยง่ั ยนื 1. การวิจัยการจดั การเกษตร 1. ศูนย์เรียนรกู้ ารทำเกษตร

มี 2 แขนงคือ อนิ ทรยี ์ ประณตี

- การจัดการเกษตรอนิ ทรยี ์ 2. การวจิ ยั และพฒั นาเกษตร

- การจัดการไร่นาสวนผสม ผสมผสานตามแนว

พระราชดำรทิ เ่ี หมาะสมในแต่

ละบริบทของพ้นื ที่

3. ระบบ/ลักษณะการผลติ ทาง

การเกษตรรูปแบบตา่ งๆ

4. การจัดตงั้ กลมุ่ ทางการเกษตร

5. การวจิ ยั และพฒั นามาตรฐาน

ผักและผลไม้ปลอดสารพิษ

(ปลอดภัย)

3. การจดั การเกษตรเชิงธรุ กิจ 1. การวจิ ยั เพอ่ื เพ่ิมมลู ค่า

มี 2 แขนง ผลผลติ ทางการเกษตร

-ธุรกิจเกษตร 2. การลดตน้ ทนุ การผลิตทาง

-การจัดการท่องเท่ยี ว การเกษตร

เชิงเกษตร 3. การวิจัยพฒั นาแหล่ง

ท่องเทย่ี วและเสน้ ทาง

ทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตร

24

หลกั สูตรทโี่ ดดเดน่ / ประเดน็ การวิจยั ศูนยก์ ารเรยี นร/ู้ ผลผลิตและ
จดุ เน้น หอ้ งปฏิบัตกิ ารทจ่ี ะพัฒนา ตัวชวี้ ัดคณุ ภาพ

4. เกษตรทำเงนิ 1. การพัฒนารูปแบบการ 1. โรงเรอื นพืช/สตั ว์ระบบปดิ ท่ี

ประกอบการธรุ กิจพชื ผลทาง ทันสมยั

การเกษตร (Startup 2. โรงเรือนอนุบาล/วัยออ่ น

Agricultural Production 3. โรงเรือนเลย้ี ง

Business Model) 4. โรงเรอื นพ่อแม่พันธุ์

2. การจัดการฟาร์ม

3. การตลาดผลิตผล/ผลิตภัณฑ์

ทางการเกษตรทัง้ ในและ

ตา่ งประเทศ

4. การวิจัยเสน้ ทางปจั จยั การ

ผลติ และการกระจายผลผลติ

ทางการเกษตรและทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

ทั้งในประเทศและ

ตา่ งประเทศ (โดยเฉพาะ

ประเทศมาเลเซยี อินโดนเี ซีย

และบรไู น)

5. การเพ่ิมมลู คา่ ผลผลติ เกษตร

6. การลดต้นทุนการผลิตทาง

การเกษตร

5. การจดั การฟารม์ ปศสุ ตั ว์ 1. การผลติ สตั ว์ 1. ศูนยก์ ารเรยี นรู้การจดั การ 1. ฟารม์ มกี ารบรหิ ารจัดการทด่ี ี

สมัยใหม่ (smart livestock 2. การวางแผนการผลิต ฟารม์ แมล่ าน และเพิ่มประสิทธภิ าพโดย

farm management) 3. การจดั การขอ้ มลู สารสนเทศ 2. โรงเรอื นสำหรบั ฆา่ ชำแหละ การใชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหม่

จุดเดน่ /จุดเน้น ดา้ นปศุสตั ว์ และตดั แตง่ ซากสัตวเ์ พ่ือการ 2. ฟาร์มมีผลผลิตทม่ี คี ุณภาพ

- เชี่ยวชาญในการผลิตสัตว์ 4. การใช้แอปพลิเคชนั่ ในการ จำหน่าย และสามารถสง่ ตลาดไดอ้ ยา่ ง

ที่ตอบสนองความต้องการของ บริหารจดั การฟาร์มเพือ่ เพม่ิ 3. เครือขา่ ยเกษตรกร ตอ่ เนอ่ื ง

ตลาด ประสิทธภิ าพการผลติ 3. กอ่ เกิดรายได้ที่เพยี งพอ

- มีข้อมูลประกอบการ 5. การตลาดปศุสตั ว์ สำหรับการบรหิ ารจดั การ

ตัดสินใจที่ทันสมัยในการ 6. การสร้างเครือข่ายเกษตรกร และการพัฒนาฟาร์ม

บริหารจัดการฟาร์ม เช่น ทเ่ี ลย้ี งสตั วเ์ พื่อพฒั นาการทำ 4. เป็นแหลง่ เรยี นรู้และบริการ

ปริมาณการผลิตและความ ปศสุ ตั ว์ วชิ าการให้แก่เกษตรกรและ

ต้องการของสินค้าปศุสัตว์ 7. ธุรกิจฟารม์ ท่ีทันสมยั ผสู้ นใจทวั่ ไป

การตลาด 5. บณั ฑิตมีความสามารถใน

- ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การบรหิ ารจดั การฟารม์ และ

สมัยใหม่อย่างเป็นระบบในการ สามารถเปน็ ผู้ประกอบการ

ได้ (smart farmer)

25

หลกั สูตรทโี่ ดดเด่น/ ประเด็นการวจิ ยั ศนู ยก์ ารเรียนร/ู้ ผลผลิตและ
จดุ เนน้ ห้องปฏิบัติการทจ่ี ะพฒั นา ตวั ช้วี ัดคณุ ภาพ

บริหารฟาร์มเพื่อลดรายจ่าย
เพ่ิมรายได้ และลดความเส่ยี ง

- ตระหนักถงึ คุณภาพสนิ ค้า
และความปลอดภัยของ
ผู้บริโภค GAP/GMP

- มีกระบวนการผลิตที่ไม่
ก ่ อ ใ ห ้ เ ก ิ ด ม ล ภ า ว ะ แ ล ะ ไ ม่
ทำลายสิ่งแวดล้อม (Green
economy)

6. สัตวศาสตร์ 1. พัฒนาสัตวเ์ ศรษฐกิจ แพะ 1. โรงเชือดสัตว์ปกี ณ ศูนย์ 1. ฟารม์ มผี ลผลิตจากสตั ว์ท่มี ี
การเรยี นรู้การจดั การฟารม์ คณุ ภาพส่งตลาดได้อยา่ ง
จดุ เด่น/จดุ เน้น แกะ โค และสตั ว์ปกี แม่ลาน ต่อเนอื่ ง

- เนื่องจากสัตวศาสตร์ 2. การตลาดสตั วม์ ีชวี ิต 2. โรงเชือดสัตวเ์ คย้ี วเอ้อื ง ณ 2. เปน็ แหล่งเรยี นรู้และบริการ
ศูนยก์ ารเรยี นร้กู ารจดั การ วิชาการให้แก่เกษตรกรและ
มีภาคีเครือข่ายสัตวบาล - 3. พฒั นาอาหารแพะ แกะ ฟารม์ แมล่ าน ผู้สนใจทว่ั ไป

สัตวศาสตร์ขนาดใหญ่ทั้ง และโค

ประเทศ

- มี พรบ.วิชาชีพสัตวบาลที่ 3. ห้องวเิ คราะหอ์ าหารสตั ว์ ณ 3. สามารถสร้างงาน
รองรบั ศูนย์การเรยี นรู้การจัดการ สร้างอาชพี สร้างธรุ กจิ ได้
ฟารม์ แมล่ าน
- ท ั ก ษ ะ ก า ร ผ ล ิ ต ส ั ต ว์
เศรษฐกิจเพื่อเป็นจุดศูนย์กลาง
ของอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล

- หลักสูตร สอดคล้องกับ
การพัฒนาพื้นที่ภาคใต้ตาม
บริบทการพัฒนาทางปศุสัตว์
ซึ่งจังหวัดยะลา ปัตตานี และ
นราธิวาส เป็นพื้นที่ในสังกัด
สำนักงานปศสุ ัตว์ เขต 9

- สร้างหลักสูตรแขนง เป็น
สัตว์สวยงามทำเงิน และสัตว์
เศรษฐกจิ

26

หลักสตู รทโ่ี ดดเด่น/ ประเดน็ การวจิ ยั ศนู ยก์ ารเรยี นร/ู้ ผลผลิตและ
จุดเน้น หอ้ งปฏบิ ัติการทจี่ ะพฒั นา ตัวช้วี ดั คุณภาพ

7. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. การผลิตและการพัฒนา 1. ศูนย์ปฏบิ ตั ิการแปรรปู อาหาร 1. ผลงานวิจยั นำไปใชใ้ นเชงิ

อาหารฮาลาล คุณภาพวตั ถุดิบ ฮาลาล ธุรกจิ ได้

จุดเดน่ /จดุ เน้น 2. การจัดหาและการพัฒนา 2. ศนู ย์ตรวจสอบคณุ ภาพ 3. บณั ฑิตสามารถเป็น

- ตอบสนองความต้องการ คุณภาพแหล่งทุน อาหารฮาลาล ผู้ประกอบการผลติ ภัณฑ์

บุคลากรด้านอาหารฮาลาลใน 3. กระบวนการผลิตและการ อาหารฮาลาลร้อยละ 5

ระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 4.บัณฑิตสามารถประกอบ

กลางและเล็ก ฮาลาล อาชีพตรงสาขาวิชา

- ตอบสนองหน่วยงานการ 4. ความปลอดภัยในการผลิต/ ร้อยละ 50

ตรวจสอบอาหารฮาลาล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ห รื อ 5. บณั ฑิตมเี งินเดอื นตาม

- เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ วเิ คราะห์อาหารฮาลาล คุณวฒุ ิ

อาหารในท้องถิ่นด้วยกระบวน 5. บรรจภุ ณั ฑแ์ ละอายกุ ารเก็บ

การผลติ ท่ฮี าลาล 6. องค์ความรู้และเทคโนโลยี

ใหม่

7. การจัดการดา้ นการตลาด

8. การจัดการด้านโลจิสติกส์

สำหรับอาหารฮาลาล

8. อุตสาหกรรมและการบรกิ าร 1. ประวตั ิความเปน็ มาของ 1. ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการการประกอบ 1. ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารการประกอบ

อาหารฮาลาล อาหารมลายูทอ้ งถน่ิ หัวเมอื ง อาหารฮาลาล อาหารฮาลาล

จดุ เด่น/จุดเนน้ ต่างๆ 2. แหลง่ รวบรวมขอ้ มลู อาหาร 2. แหลง่ รวบรวมขอ้ มลู อาหาร

- ตอบสนองความต้องการ 2. ตำรบั อาหารฮาลาล ท้องถนิ่ ของวฒั นธรรมไทย ทอ้ งถิ่นของวฒั นธรรมไทย

บุคลากรด้านผู้ปฏิบัติงานที่ 3. วัตถดุ ิบฮาลาล จนี มลายู ของหวั เมอื งตา่ งๆ จนี มลายู ของหวั เมืองต่างๆ

เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหาร 4. วัฒนธรรมการบริโภคและ 3. บัณฑติ สามารถเปน็

ประกอบอาหารในร้านอาหาร ความสัมพนั ธข์ องอาหารไทย ผูป้ ระกอบการรา้ นอาหาร

ภัตตาคาร รวมถึงร้านอาหารใน จีน และมลายู ฮาลาล ร้อยละ 5

โรงแรมและโรงงานขนาดเล็ก 5. กระบวนการพฒั นาตำรับ 4. ผลงานวิจยั นำไปใชใ้ นเชิง

- การพัฒนาตำรับอาหาร อาหารฮาลาล ธุรกจิ หรอื สง่ เสรมิ การ

โบราณในท้องถิ่นและยกระดับ 6. กระบวนการปรงุ หรือการ ท่องเท่ียวในพ้ืนทไ่ี ด้

อ า ห า ร เ พ ื ่ อ ต อ บ ส น อ ง ประกอบอาหารฮาลาล 5.บณั ฑติ สามารถประกอบอาชีพ

ร้านอาหาร ภัตตาคาร และ รวมถงึ กระบวนการพฒั นา ตรงสาขาวชิ าร้อยละ 50

โรงแรมต่างๆ หรือกลุ่มแม่บ้าน อาหารสมยั โบราณใหเ้ ป็น 6. บณั ฑติ มเี งินเดือนตามคณุ วุฒิ

หรือ OTOP ที่ต้องการอนุรักษ์ อาหารฮาลาลร่วมสมยั

อาหารในทอ้ งถิ่น 7. การจดั การระบบการ

- ตอบสนองหน่วยงานท่ี ประกอบอาหารฮาลาล การ

เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ ตรวจสอบหรือวเิ คราะห์

27

หลกั สตู รทโี่ ดดเด่น/ ประเดน็ การวจิ ยั ศูนย์การเรยี นร/ู้ ผลผลติ และ
จุดเน้น ห้องปฏิบตั ิการทจ่ี ะพฒั นา ตวั ชี้วดั คณุ ภาพ

ระบบฮาลาลในร้านอาหาร อาหารให้ถกู ตอ้ งตาม

ภัตตาคาร ตลอดจนร้านอาหาร หลกั การผลติ อาหารฮาลาล

ในโรงแรมตา่ งๆ 8. บรรจภุ ณั ฑ์และอายุการเก็บ

รกั ษาอาหารฮาลาล

9. องค์ความรูแ้ ละการ

ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี

สมัยใหม่ในการนำเสนอ

อาหารโบราณใหเ้ ป็นอาหาร

ฮาลาลรว่ มสมยั

10. การตลาด

11. การส่งเสรมิ การท่องเทยี่ ว

เชงิ วัฒนธรรมการบรโิ ภค

อาหารทอ้ งถิน่ หัวเมอื งตา่ งๆ

ในรปู แบบอาหารฮาลาล

28

ตารางที่ 3 กลมุ่ สาขาวิชาดา้ นอตุ สาหกรรมบริการและการดูแลสขุ ภาพ

หลักสูตรทโ่ี ดดเดน่ / ประเดน็ การวิจยั ศูนย์การเรียนร/ู้ ผลผลิตและ
จุดเนน้ หอ้ งปฏบิ ัติการทจ่ี ะพฒั นา ตัวช้ีวดั คุณภาพ

1. การบรบิ าลและการดแู ล 1. งานวจิ ัยเก่ียวกบั รปู แบบ 1. ห้องปฏบิ ัตกิ ารด้าน 1. บัณฑิตมงี านทำ สามารถใช้

ผู้สูงอายุ การดแู ลผสู้ ูงอายโุ ดยการมี การดูแลผสู้ ูงอายุ ความรู้ทางดา้ นวิทยาศาสตร์

จุดเน้นของหลักสตู รได้แก่ สว่ นรว่ มของชมุ ชน 2. ศนู ย์การเรยี นรู้ดา้ นการ สุขภาพให้เกดิ ประโยชน์

มุ่งเนน้ การมสี ่วนร่วมของ 2. นวตั กรรมดา้ นการดูแล ดูแลผสู้ งู อายุ สูงสดุ

ชุมชน ผู้สูงอายุ 3. สถานดแู ลผู้สูงอายุ 2. นักศึกษามคี วามรสู้ ามารถ

ดูแลผสู้ งู อายุ

3. เครอื ขา่ ยความรว่ มมือทาง

วิชาการด้านการดูแล

ผู้สูงอายุในประเทศ (MOU)

1 แหง่

2. หลักสูตรการทอ่ งเทีย่ วและ แนวทางการสง่ เสรมิ การ ศนู ยบ์ รกิ ารท่องเทยี่ วแบบ 1. หลักสตู รระยะสน้ั มาตรฐาน

การโรงแรม ท่องเที่ยวตลาดการค้า เบด็ เสร็จเพือ่ ส่งเสรมิ การ การทอ่ งเท่ยี ว

ชายแดนไทย – มาเลเซยี ท่องเท่ยี วชายแดน 2. บัณฑติ มีงานทำ

3. สรา้ งอาชีพใหแ้ ก่ชมุ ชน

ท่องเทยี่ ว

4. ยกระดบั มาตรฐานการ

ทอ่ งเทย่ี ว เพื่อใหเ้ กิดการ

ท่องเที่ยวแบบยง่ั ยนื

5. พัฒนาผูป้ ระกอบการใหม้ ี

ความพรอ้ มในการดำเนิน

ธรุ กจิ ให้เขา้ สรู่ ะบบสากล

6. ศูนย์บรกิ ารทอ่ งเทีย่ วแบบ

เบด็ เสร็จเพอื่ สง่ เสรมิ การ

ทอ่ งเที่ยวชายแดน

1. แนวทางสง่ เสริมการลงทุน 1. โรงแรมฮาลาลต้นแบบใน 1. โรงแรมฮาลาลตน้ แบบใน

ธรุ กจิ โรงแรมฮาลาลในพ้ืนที่ พืน้ ท่เี มืองท่องเทยี่ วชายแดน พ้นื ทเี่ มอื งทอ่ งเที่ยวชายแดน

เมอื งท่องเท่ยี วชายแดน 2. ศูนย์ฝกึ ประสบการณ์อาหาร ภาคใต้

ภาคใต้ และเครอ่ื งด่ืมฮาลาลทอ้ งถิ่น 2. ผลิตบุคลากรธุรกจิ โรงแรม

2. รูปแบบการพฒั นามาตรฐาน เพื่อการทอ่ งเท่ียว ฮาลาลเพื่อสง่ เสริมบณั ฑิต

ฮาลาลสำหรับธรุ กจิ ทีพ่ ัก ทำงานในกลุ่มประเทศมุสลิม

แบบโรงแรมฮาลาล (อาเซียน)

3. อาจารย์มผี ลงานสร้างสรรค์

จดสิทธิบัตรโรงแรมฮาลาล

29

หลกั สตู รทโี่ ดดเดน่ / ประเดน็ การวจิ ัย ศูนย์การเรียนร/ู้ ผลผลิตและ
จดุ เน้น
ห้องปฏิบตั ิการทจี่ ะพัฒนา ตวั ช้วี ดั คุณภาพ

ตน้ แบบ

4. หลักสตู รอบรมมาตรฐาน

โรงแรมฮาลาล

5. บัณฑิตมีทกั ษะสื่อสารภาษา

มาลายูกลาง/ภาษาอาหรบั

สำหรับธรุ กจิ โรงแรมฮาลาล

6. หนังสือมาตรฐานฮาลาล

สำหรับธรุ กจิ ท่องเทย่ี วและ

โรงแรม

7. โรงแรมฮาลาลต้นแบบใน

พ้นื ที่เมอื งทอ่ งเทยี่ วชายแดน

8. ศูนยฝ์ กึ ประสบการณอ์ าหาร

และเครื่องด่มื ฮาลาลทอ้ งถน่ิ

เพอื่ การท่องเทีย่ ว

1. การจัดการทอ่ งเทีย่ ววิถี ศูนยก์ ารเรียนร้ธู รุ กจิ บรกิ าร 1. เอกสารประกอบการสอน
อิสลาม ฮาลาล/ศนู ยก์ ารเรียนรู้ และตำรา
ทอ่ งเท่ียววถิ ีอิสลาม
2. ความคาดหวังและ 2. ศนู ย์การเรียนรธู้ รุ กจิ บริการ
ประสบการณ์ในการเดินทาง ฮาลาล/ศนู ยก์ ารเรยี นรู้
ไปประกอบพธิ ฮี ัจยข์ อง ท่องเทย่ี ววถิ ีอสิ ลาม
มสุ ลมิ ใน 3 จงั หวดั ชายแดน
ภาคใต้

1. การพฒั นาศักยภาพ ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยฮจั ย์และ 1. บัณฑิตเป็นผู้ประกอบกิจการ
ผู้ประกอบการฮจั ย์และ อมุ เราะห์ ฮัจยแ์ ละอุมเราะห์
อมุ เราะห์
2. เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพแซะห์ให้
2. การสร้างเครือขา่ ยความ มีประสิทธิภาพ
ร่วมมอื ของผปู้ ระกอบการ
ฮจั ย์และอุมเราะห์ 3. ฐานข้อมูลแซะห์
4. ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยฮัจย์และ

อมุ เราะห์

30

การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)

จุดแขง็ (Strengths)
1. ผบู้ ริหารทกุ ระดบั มีความม่งุ ม่ันในการพัฒนามหาวทิ ยาลัยไปสู่วสิ ยั ทศั น์
2. บคุ ลากรส่วนใหญ่เปน็ คนร่นุ ใหม่ ทำใหเ้ อ้ือต่อการพฒั นาและการเปลย่ี นแปลง อีกทง้ั มีความทุ่มเทและ
มีความพยายามในการปฏบิ ตั ิงาน
3. มีคณาจารย์ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้เอื้อต่อการสร้างผลงาน
วิชาการและผลงานวจิ ัยเพิ่มขน้ึ
4. บุคลากรไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาตนเองอยา่ งสม่ำเสมอ
5. มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศอาเซียน
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพฒั นาความรว่ มมอื ทางวิชาการและการวิจัยรว่ มกนั
6. โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสูภ่ ายนอกเปน็ เครือข่ายความเร็วสูง เอ้ือต่อการเรียนรู้
ของบุคลากรและนักศึกษา
7. มหาวิทยาลัยมีความพร้อมด้านอาคารสถานที่ ทรัพย์สิน และทรัพยากรอื่น ๆ ที่เอื้อต่อการใช้
ประโยชนใ์ นการจดั หารายได้ ซ่งึ จะทำให้การพัฒนามหาวทิ ยาลยั เป็นไปอย่างคล่องตวั

จุดอ่อน (Weaknesses)
1. ขาดการบูรณาการแผนและการปฏิบัติงานในการผลิตบัณฑิตทั้งในระดับหลักสูตร ระดับคณะ และ
ระดับสถาบัน อีกทั้งยังขาดการกำหนดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละส่วน ซึ่งจะต้อง
ปฏบิ ัตงิ านใหเ้ อือ้ อำนวยซึ่งกนั และกัน
2. ไม่มีความชัดเจนและไม่เป็นเอกลักษณ์ในสมรรถนะของบัณฑิต ทำให้การรับรู้ของสังคมภายนอกไม่
ชดั เจน อีกทั้งทศิ ทางการพัฒนาบัณฑิตก็ยังไม่เป็นรปู ธรรม
3. บัณฑติ ปรญิ ญาตรยี ังมีจุดอ่อนในด้านภาษาอังกฤษ ส่วนบณั ฑติ ระดับปริญญาโท มีจดุ อ่อนในเร่ืองการ
ตพี ิมพเ์ ผยแพร่ผลงานวทิ ยานพิ นธ์
4. กระบวนการจัดการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนไม่มีความหลากหลาย ทำให้ไม่สามารถ
ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ อีกท้ังยังขาดรูปแบบและกระบวนการที่เป็น
เลศิ ในการสอนของแต่ละศาสตร์ สว่ นใหญ่เป็นรปู แบบการสอนของแต่ละบุคคล ขาดการรวมกลุ่มเพ่ือ
พัฒนารปู แบบการสอนทเ่ี หมาะสมกับศาสตร์นน้ั ๆ
5. ความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการในการผลติ บัณฑติ ยังมนี อ้ ยมาก
6. ไม่มีมาตรการและแนวทางที่ชัดเจนในการส่งเสริมและสร้างศักยภาพนักวิจัยที่มีประสบการณ์ ให้ขอ
ทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก และควรมีนโยบายให้มีผู้ร่วมวิจัยรุ่นใหม่เข้ามาเป็นทีมวิจัย เพื่อสร้าง
โอกาสในการแสวงหาแหล่งทุนจากภายนอก

31

7. ขาดผลงานวิจัยในลักษณะที่เป็นทีมวิจัยหรือชุดโครงการที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
ชุมชนและทอ้ งถน่ิ หรอื การต่อยอดในเชงิ พานิชย์

8. ยงั ไมม่ ผี ลงานวิจยั ท่เี น้นนวตั กรรม อกี ทง้ั ผลงานวิจัยทีไ่ ดร้ ับการอา้ งอิงและตีพมิ พเ์ ผยแพร่ในระดับชาติ
และนานาชาตยิ งั มีน้อย โดยเฉพาะวารสารทมี่ ี Impact Factor สูง

9. ไม่มีการจัดทำแผนบริหารการใช้ประโยชนจ์ ากงานวจิ ัยและและงานสร้างสรรคท์ ีเ่ ปน็ รปู ธรรม
10. ระบบการบริหารงานบุคคลยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ทั้งในส่วนของทิศทางการพัฒนาบุคลากร

และการสรรหาผมู้ คี วามสามารถและศักยภาพสงู มาปฏิบตั ิงาน
11. การเกษียณอายุราชการของคณาจารย์มีจำนวนมาก ในขณะที่การทดแทนอัตรากำลังใหม่ไม่เพียงพอ

อีกทง้ั การพฒั นาอาจารยใ์ หมใ่ หม้ ีศักยภาพทเ่ี ท่าเทยี มต้องใชเ้ วลานาน
12. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ยังไม่มีประสิทธิภาพ ทั้งการแปลงแผนสู่การปฏิบัติและการติดตาม

ประเมินผลการดำเนินงาน อีกทั้งบุคลากรยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับงานยทุ ธศาสตร์
13. ระบบสารสนเทศของมหาวทิ ยาลัยยังขาดความสมบูรณ์และความเชือ่ มโยง ทำให้ไม่สามารถนำข้อมลู

มาใช้ในการตัดสินใจเชิงบรหิ ารได้
14. ระบบการสื่อสารองค์กร และการสรา้ งภาพลักษณ์องคก์ รยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ส่งผลกระทบ

ตอ่ การเขา้ ถงึ แหลง่ ขอ้ มูลด้านการศกึ ษาและการบริการ
15. ขาดวัฒนธรรมและค่านิยมร่วมของมหาวิทยาลัย ทำให้บุคลากรขาดความตระหนักในเรื่องการพัฒนา

องค์กรร่วมกัน และกรอบแนวความคิดในการทำงานยังยึดติดกับการทำงานแบบตั้งรับ ขาด
ประสทิ ธภิ าพในการกระทำเชงิ รกุ
16. การบรหิ ารจดั การด้านอาคารสถานที่ และทรัพย์สินยงั ไม่เต็มประสิทธภิ าพ ทำใหก้ ารหารายได้ยังน้อย
อยู่ อีกทั้งยังขาดระบบการสง่ เสริมและสนับสนนุ ให้หน่วยงานภายในแสวงหารายได้เพือ่ การพึ่งตนเอง
ทีช่ ดั เจน นอกจากนย้ี ังขาดกฎ ระเบยี บตา่ ง ๆ ท่จี ะสามารถรองรับการทำงานเชิงรุก
17. มหาวิทยาลยั ยังไม่สามารถใช้ประโยชนจ์ ากทรัพย์สนิ ทางปัญญาได้อย่างเตม็ ท่ี
18. ไม่มีแผนการจดั หารายไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม

โอกาส (Opportunities)
1. นโยบายการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ของรัฐบาลให้ความสำคัญทั้งการศึกษาในระบบและ
การศึกษาทางเลือก ม่งุ พัฒนาคนทุกชว่ งวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ิต เพื่อใหส้ ามารถนำความรู้
และทักษะใหม่ไปประกอบอาชพี ได้อย่างหลากหลาย ตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต
2. นโยบายรัฐบาลในการพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณความเป็นครู
เนน้ ครูผ้สู อนให้มวี ุฒิตรงตามวชิ าที่สอน

32

3. นโยบายรัฐบาลในการเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอนที่เชื่อมโยง
ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การผลิตกำลังคนในสาขาวิชาที่
ขาดแคลน มกี ารเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรกู้ บั การทำงาน

4. รัฐบาลให้การสนับสนุนการขยายโอกาสทางการศึกษา และสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานในสาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้

5. รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยในพื้นที่สามจังหวัด
ชายแดนภาคใตด้ ้วยการจัดสรรทุนอดุ หนุนการพัฒนาอาจารยร์ ะดับปริญญาเอก

6. จังหวัดยะลา นราธิวาส และปัตตานีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิต อีกทั้งกำลังก้าวสู่
สังคมผู้สูงอายุ จึงเป็นโอกาสของมหาวทิ ยาลยั ท่ีจะผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพเชงิ ปฏบิ ัติการ ที่สอดคล้อง
กบั บรบิ ทของชมุ ชนและสงั คม สามารถสรา้ งงานและรายไดใ้ ห้แก่ชมุ ชนและท้องถน่ิ ได้

7. ทต่ี ั้งของมหาวทิ ยาลัยอยู่ใกล้กับประเทศเพื่อนบ้าน ซง่ึ มีเสน้ ทางคมนาคมติดต่อกนั ได้อย่างสะดวก ทำ
ใหม้ ีโอกาสในการสร้างความรว่ มมอื ในการจดั การศึกษา การวจิ ัย และอนื่ ๆ

8. พื้นที่ให้บริการหลักของมหาวิทยาลัยทั้งจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาสมีทรัพยากรธรรมชาติ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และผลผลิตทางการเกษตรจำนวนมากทำให้สามารถพัฒนาโจทย์
วิจัยและผลงานวิจัยได้อย่างหลากหลาย ส่งผลให้มหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งทางวิชาการของชุมชนและ
ทอ้ งถนิ่ ไดอ้ ยา่ งแท้จริง

9. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเอื้ออำนวยต่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือและถ่ายโ อนองค์ความรู้
ส่งผลให้บคุ ลากรสามารถเรียนรูแ้ ละใช้ประโยชน์เพื่อการปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

อุปสรรค/ภยั คุกคาม (Threats)
1. สถานการณค์ วามไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใตม้ ีผลต่อการสรรหาบุคลากรท่มี ีคุณภาพ
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของเยาวชนในพื้นที่อยู่ในระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศทุกกลุ่มสาระ
สง่ ผลให้เป็นอปุ สรรคต่อการศึกษาต่อในระดับอดุ มศึกษา
3. การรวมตัวของประชาคมอาเซียน ซึ่งจะมีการเปิดเสรีทางการค้าและบริการโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้าน
การศกึ ษา และด้านการสาธารณสุข สง่ ผลให้เกิดการแขง่ ขันเพิม่ มากขน้ึ
4. ภาวะวิกฤติทางเศรษฐกจิ และการชะลอตัวของเศรษฐกิจมีผลต่อการเจรญิ เติบโตของตลาดแรงงาน ทำ
ให้บัณฑิตมีงานทำน้อยลง นอกจากนี้ผู้ปกครองของบัณฑิตก็มีรายได้ลดลง อาจส่งผลให้งบประมาณ
ของมหาวิทยาลยั ลดลงในอนาคต ซ่งึ จะกระทบตอ่ การพัฒนาของมหาวิทยาลัย

33


Click to View FlipBook Version