The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by licenseonline64, 2022-03-25 07:28:11

สรุปแบบสอบถาม

สรุปแบบสอบถาม

ห(คนLัสงวพ่Iสงาื.ศเอCมสส.รจEรัริ2บุำมปNร5เผกปอS4็าลน5Eงรกกคพ)แาาัวฒรตรลาใสาะนมชมอท้าีบรู่แฝพบ้ครีิกมถรก้วืไะาาอาขรมรมแาเช่พชรสาิ่บงงมาังทญมี่เามญตานีัิรตมถิ

สำนักงานรับรองความรู้ความสามารถ
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน



บทสรุปผ้บู รหิ าร

จากอดีตถึงปัจจุบัน รัฐบาลได้ให้ความสาคัญของงานด้านแรงงานเสมอมา เริ่มต้ังแต่การมี
พระราชบัญญัติด้านแรงงานว่าด้วยเรื่องการบริการจัดหางานของรัฐ และเอกชนในปี พ.ศ. 2475
ในสมัยท่ียังเป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงมหาดไทย รัฐบาลสมัยต่อมาได้พยายามปรับปรุง
เปล่ียนแปลงพระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกาต่างๆ ให้ทันยุคทันเหตุการณ์อยู่เสมอมา และในปี
พ.ศ. 2508 มีการยกฐานะส่วนแรงงานข้ึนเป็นกรมแรงงาน สังกดั กระทรวงมหาดไทย ประกอบดว้ ย
ภารกิจหลักทางด้านการจัดหางาน การคุ้มครองแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ รวมทั้งการฝึกอาชีพ
ในปี พ.ศ. 2511 ได้จัดตั้งสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานแห่งชาติข้ึนโดยให้ปฏิบัติงานควบคู่ไปกับ
กองพัฒนาอาชีพ จนกระท่ัง พ.ศ. 2516 ได้มีพระราชกฤษฎีกาฯ เปล่ียนกองพัฒนาอาชีพ
เป็นสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน (ตัดคาว่า"แห่งชาติ" ออก) ระหว่าง พ.ศ. 2517 – 2534 ได้มีการ
ขยายการจัดตั้งสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานข้ึนในภูมิภาคอีก 8 แห่งคือ ท่ีจังหวัดราชบุรี ชลบุรี
ลาปาง ขอนแก่น สงขลา นครสวรรค์ อุบลราชธานี และสุราษฎร์ธานี และยังได้มีการจัดต้ังศูนย์
พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดขึ้น 2 แห่ง คือ ท่ีจังหวัดปัตตานี และชัยภูมิ เพื่อขยายบริการการฝึก
อาชีพให้เข้าถึงประชาชนในระดับพื้นท่ีมากข้ึน และในปี พ.ศ. 2545 รัฐบาลได้มีการปฏิรูประบบ
บริหารราชการใหม่ โดยปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เป็นไปตามบทบาท ภารกิจ ทาใหเ้ กดิ
กระทรวงแรงงานขึ้น

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงแรงงาน มีหน้าท่ีหลักคือการพัฒนา
ศักยภาพของกาลังแรงงานท้ังประเทศ เพื่อให้มีความสามารถในการพัฒนาปรับปรุงงาน มีฝีมือ
ความรู้ความสามารถ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และทัศนคติเกี่ยวกับการทางานเพ่ือพัฒนา
เปน็ แรงงานที่มคี ณุ ภาพ โดยมภี ารกจิ ในดา้ นต่างๆ ดงั น้ี

การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. การฝึกเตรียมเข้าทางาน หมายถึง การที่ผู้ประกอบกิจการจัดให้บุคคลทั่วไปได้ฝึกอบรม

ฝมี ือแรงงานกอ่ นเข้าทางานเพ่ือให้สามารถทางานได้ตามมาตรฐานฝมี ือแรงงาน
2. การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน หมายถึง การท่ีผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็นนายจ้างจัดให้

ลูกจ้างได้ฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพ่ิมเติมในสาขาอาชีพที่ลูกจ้างปฏิบัติงานอยู่ตามปกติ เพื่อให้ลูกจ้าง
มีความรคู้ วามสามารถและทกั ษะในสาขาอาชีพน้ันสูงขึ้น

3. การฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ หมายถึง การท่ีผู้ประกอบกิจการซ่ึงเป็นนายจ้างจัดให้ลูกจ้าง
ได้ฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพิ่มเติมในสาขาอาชีพอ่ืนที่ลูกจ้างไม่ไดป้ ฏิบัตงิ านอยู่ตามปกติ เพื่อให้ลูกจ้าง
มคี วามร้คู วามสามารถที่จะทางานในสาขาอาชีพอน่ื นั้นได้ด้วย

มาตรฐานฝมี ือแรงงาน เปน็ เกณฑ์วัดระดับความรู้ ความสามารถ และทัศนคตใิ นการทางาน
ของผปู้ ระกอบอาชีพในสาขาตา่ งๆ จะมี 3 ระดบั ซ่ึงมีองคป์ ระกอบดงั น้ี

1. ความรู้ (Knowledge) เป็นความรู้พ้ืนฐานที่จาเป็นในการประกอบอาชีพหรือ
ปฏบิ ตั งิ านนนั้ ๆไดถ้ ูกต้องตามหลกั วชิ าการ



2. ทกั ษะ (Skilled) เปน็ การสะสมประสบการณ์จนเกิดเปน็ ความชานาญ มคี วามสามารถ
เพียงพอที่จะทางานได้อยา่ งมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด

3. ทัศนคติ (Attitude) เป็นจิตสานึกในการปฏิบัติงานที่ดี ตระหนักถึงความปลอดภัย
ในการปฏิบัติงาน คานึงถึงต้นทุนในการผลิต และการบริการท่ีเกิดจากการสูญเสียของวัสดุ และ
อุปกรณ์ระหว่างการปฏิบตั งิ าน เปน็ ต้น

ส่งเสริม/พัฒนาเครือข่ายการพัฒนาฝีมือแรงงาน จากการท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างทางเศรษฐกิจ การแข่งขันทางด้านการค้าในตลาดโลก และนาเทคโนโลยีสมัยใหม่
มาใช้แทนแรงงานไร้ฝีมือเพื่อเพ่ิมผลผลิต แรงงานฝีมือหนีไปทางานต่างประเทศ ทาให้เกิดขาดแคลน
แรงงานฝีมือ ประกอบกับหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่ผลิตแรงงานฝีมือ ไม่สามารถตอบสนองทัน
ตามความต้องการต่อภาคธุรกิจอุตสาหกรรม เน่ืองจากข้อจากัดด้านงบประมาณ รัฐบาลจึงมี
นโยบายให้ภาคเอกชนมามีส่วนร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยมีมาตรการให้ความช่วยเหลือ
ทางด้านสิทธิประโยชน์ต่าง ๆเพื่อเป็นแรงจูงใจ เพ่ือรองรับการขยายตัวของภาคธุรกิจและ
อุตสาหกรรมภายใต้พระราชบญั ญัตสิ ่งเสริมการพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. 2545 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเตมิ
โดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 เพ่ิมบทบัญญัติท่ี
เก่ียวข้องกับการส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพมีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพ และการ
พัฒนาประสิทธิภาพของสถานประกอบกิจการ รวมท้ังการให้ความคุ้มครองความปลอดภัย
สาธารณะจากการทางาน กาหนดให้การประกอบอาชีพในสาขาอาชีพ ตาแหน่งงาน หรือลักษณะ
งานใดที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะหรือต้องดาเนินการโดยผู้มีความรู้ความสามารถที่ได้รับ
การรับรองความรู้ความสามารถ ซึ่งให้รัฐมนตรีมีอานาจประกาศกาหนดสาขาอาชีพท่ีจะส่งเสริม
การพัฒนาฝีมือแรงงาน และกาหนดสาขาอาชีพ ตาแหน่งงาน หรือลักษณะงานท่ีอาจเป็นอันตราย
ต่อสาธารณะ หรือต้องใช้ผู้มีความรู้ความสามารถซึ่งต้องดาเนินการโดยผู้ผ่านการรับรองความรู้
ความสามารถ (เว้นแต่มีกฎหมายอื่นควบคุมอยู่แล้ว) โดยมีผู้ได้รับประโยชน์ คือ 1) นายจ้าง
ได้พัฒนาคุณภาพประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เพิ่มผลิตภาพแรงงาน ได้รับสิทธิประโยชน์
ด้านภาษีและด้านอื่นๆ มีความปลอดภัยจากการทางานของลูกจ้าง 2) ลูกจ้าง มีความรู้
ความสามารถเป็นที่ยอมรับ ได้รับค่าจ้างสูงข้ึน มีความก้าวหน้ามั่นคงในการทางาน มีความ
ปลอดภัยในการทางาน 3) สาธารณะสังคม ได้รับการคุ้มครองความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ไดร้ บั สนิ คา้ หรือบริการที่ดมี ีคุณภาพ สังคมสว่ นรวมเกิดความสันติสุข

กระทรวงแรงงานจึงประกาศกาหนดให้สาขาอาชีพช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์ เฉพาะสาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร เป็นสาขาอาชีพแรกท่ีต้องดาเนินการโดยผู้ไดร้ บั
หนังสือรับรองความรู้ความสามารถ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม 2559 ปัจจุบันมีผู้ผ่าน
การรับรองความรู้ความสามารถแล้ว จานวน 157,925 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 23 ธันวาคม 2564)
ผลการดาเนินการระยะ 5 ปีท่ีผ่านมาในการประกาศใช้กฎหมาย กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
โดยสานักงานรับรองความรู้ความสามารถและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้มีการปรับปรุงแก้ไข
กฎหมายลาดับรอง เพ่ือให้เป็นไปตามนโยบาย และแก้ไขปัญหาอุปสรรคจากการดาเนินการ



การทาความเข้าใจกฎหมาย ขั้นตอน หลักเกณฑ์และกระบวนงานของการประเมินความรู้
ความสามารถ รวมท้ังดาเนินการเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการขับเคล่ือนการดาเนินงาน
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
โดยการกาหนดประกาศสาขาอาชีพท่ีอาจเป็นอนั ตรายตอ่ สาธารณะเพ่ิม และเพ่ือเป็นการรวบรวม
ข้อมูล เหตุผล ผลกระทบ ในส่วนของช่างผู้ปฏิบัติงาน สถานประกอบกิจการที่เป็นนายจ้าง และ
ผู้รับบริการ ถึงความจาเป็นท่ีต้องใช้บริการช่าง รวมถึงข้อเสนอแนะในสาขาที่ต้องการให้ช่าง
มีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ จึงได้จัดทาแบบสอบถามสารวจความจาเป็นการใช้บริการ
ช่างที่มีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (License) ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝมี ือ
แรงงาน พ.ศ. 2545 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบญั ญัติสง่ เสริมการพฒั นาฝมี อื แรงงาน (ฉบบั ที่ 2)
พ.ศ. 2557 ซึง่ จากการศกึ ษาพบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน 1,633 ราย เพศชาย จานวน 1,041 คน
เพศหญิง จานวน 592 คน ช่วงอายุอยู่ระหว่าง 41 – 50 ปี จานวน 561 คน วุฒิการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี จานวน 827 คน ประกอบอาชีพข้าราชการ จานวน 630 คน มีรายได้ 10,001 - 20,000
บาท ตอ่ เดอื น จานวน 1,556 คน เหน็ ด้วยว่า “ชา่ งหรอื ผู้ปฏบิ ตั งิ านด้านช่าง” ตอ้ งมีหนงั สอื รับรอง
ความรู้ความสามารถก่อนการปฏิบัติงาน จานวน 1,391 คน ทราบว่า “ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร”
ต้องมีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (License) จึงจะปฏิบัติงานได้ จานวน 1,093 คน ทราบว่า
หากปฏิบตั งิ านโดยไม่มีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (License) จะมีโทษปรับไมเ่ กิน 5,000 บาท
ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ และจานวน 1,043 คน ทราบว่าสถานประกอบกิจการหรือนายจ้าง หากจ้าง
ชา่ งไฟฟ้าภายในอาคาร ปฏิบตั งิ านโดยไม่มหี นงั สอื รบั รองความรู้ความสามารถ (License) จะมีโทษ
ปรับไม่เกิน 3,000 บาท ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ และจานวน 1,579 คน เห็นด้วยว่า “ช่างไฟฟ้า
ภายในอาคาร” ต้องมีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (License) ก่อนการปฏิบัติงาน ในส่วน
ของข้อมูล ข้อเสนอแนะที่เก่ียวข้องกับ พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยว่าสาขาช่างเชื่อมอาร์กโลหะด้วยมือ สาขาช่างเช่ือมแม็ก
สาขาช่างเชอื่ มทิก และสาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก จานวน 1,520 คน
1,536 คน 1,544 คน และ 1,522 คน ตามลาดับต้องมีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ
(License) ก่อนการปฏิบัติงาน เพราะช่วยให้เกิดความปลอดภัย มั่นใจในคุณภาพงาน และคุ้มค่าจ้าง
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นว่าควรส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมฯ
ในสาขาช่างเช่ือมอาร์กโลหะด้วยมือ จานวน 1,541 คน สาขาช่างเช่ือมแม็ก จานวน 1,546 คน
สาขาช่างเชื่อมทิก จานวน 1,545 คน และสาขาช่างเคร่ืองปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์
ขนาดเล็ก จานวน 1,529 คน เพื่อให้ได้ช่างท่ีมีคุณภาพ เกิดความปลอดภัยในการทางาน และ
ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 1,194 คน เห็นว่าสาขาท่ีต้องใช้ช่างผู้มีหนังสือรับรองความรู้
ความสามารถมีจานวนเพียงพอแล้ว และจานวน 439 คน เห็นว่าควรเพิ่มเติมในสาขา ได้แก่
ช่างซ่อมรถยนต์ ช่างซ่อมรถมอเตอร์ไซค์ ช่างหลังคา ช่างเคาะพ่นสีตัวถังรถยนต์ ช่างก่ออิฐ
ช่างปูกระเบ้ือง ช่างไม้แบบ และช่างแต่งผม ผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 1,473 คน เห็นด้วยว่า
ก ร ม พั ฒ น า ฝี มื อ แ ร ง ง า น ค ว ร เ พ่ิ ม ท า ง เ ลื อ ก ก า ร เ ข้ า รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ใ น รู ป แ บ บ อ อ น ไ ล น์

งง

เพราะเพ่ิมช่องทางให้กับผู้เข้ารับการประเมินมากข้ึน เพราะประเมินได้ทุกท่ี ทุกเวลา จัดประเมิน
ได้อย่างตอ่ เนื่องสมา่ เสมอ และจานวน 160 คน ไมเ่ หน็ ด้วยเพราะไมม่ ีคุณภาพ วัดคณุ ภาพทแ่ี ท้จริงไมไ่ ด้
ยุ่งยากและไม่มีอุปกรณ์ประกอบการประเมิน และผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 901 คน คิดว่า
การประเมินแบบปกติและการประเมินแบบออนไลน์มีคุณภาพแตกต่างกัน เพราะควบคุมคุณภาพ
การประเมินไม่ได้ และอาจจะมีคนบอกข้อมูล และจานวน 735 คน เห็นว่าไม่แตกต่างกัน เพราะมี
ระบบบันทกึ ขณะประเมนิ เหน็ ตัวคนเหมอื นกนั และมคี วามสะดวก และจากเหตุผลดังกล่าวขา้ งตน้
เหน็ วา่ กรมพัฒนาฝมี ือแรงงานควรดาเนนิ การ ดงั นี้

1. เพ่ิมการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
พ.ศ. 2545 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ใหม้ ากขึน้ และช้ใี ห้เหน็ วา่

2. การมีหนังสอื รับรองความรู้ความสามารถ หรือ License ซึ่งจะเปน็ ประโยชน์
(1) ตอ่ ผบู้ รโิ ภค ซึ่งจะไดร้ บั สินคา้ หรือ การบรกิ ารทม่ี ีคณุ ภาพ เกิดความปลอดภยั
(2) ต่อช่างผู้มี License มีความภูมิใจในวิชาชีพของตน สามารถส่งมอบงานท่ีมีคุณค่า

ให้กับผู้รบั บรกิ าร ไดค้ ่าจา้ งตามความเหมาะสมกบั ความสามารถของตน
(3) ต่อนายจ้างสามารถวางแผนการดาเนินการ วางแผนงบประมาณ ในการจ้างงานช่างท่ีมี

License ซึ่งสามารถเพ่ิมผลติ ภาพในการผลติ ลดของเสีย จากการผลิต และ
3. การเพิ่มสาขาท่ีอาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะหรือต้องใช้ผู้มีความรู้ความสามารถ เป็นส่ิง

ทม่ี ีประโยชน์ ส่งเสริมภาพลักษณ์ของประเทศ ส่งเสริมการลงทนุ ส่งเสริมเศรษฐกจิ และสงั คม และ
4. การเพ่ิมทางเลือกการเข้ารับการประเมินในรูปแบบออนไลน์ เพ่ือให้เกิดความหลากหลาย

และเพิ่มช่องทางให้กับผู้เข้ารับการประเมินมากข้ึน ประเมินได้ทุกท่ี ทุกเวลา และจัดประเมิน
ได้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง สม่าเสมอ และ

5. นาระบบประกันคุณภาพการรับรองความรู้ความสามารถมาใช้ เพื่อให้การดาเนินงาน
มมี าตรฐาน มีคณุ ภาพ ลดขัน้ ตอนการทางาน เปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน และสามารถตรวจสอบได้



คำนำ

พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ได้เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพ
มีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพ การพัฒนาประสิทธิภาพของสถานประกอบกิจการ
รวมทั้งการให้ความคุ้มครองความปลอดภัยสาธารณะจากการทางาน เพ่ือส่งเสริมการพัฒนา
ฝีมือแรงงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน กาหนดให้
การประกอบอาชีพในสาขาอาชีพ ตาแหน่งงาน หรือลักษณะงานใดที่อาจเป็นอันตราย
ต่อสาธารณะหรือต้องดาเนินการโดยผู้มีความรู้ความสามารถท่ีได้รับการรับรองความรู้
ความสามารถ ตามหลักเกณฑ์การประเมินเพื่อรับรองความรู้ความสามารถ และให้นายทะเบียน
หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจหน้าที่ควบคุมการดาเนินการของศูนย์ประเมินความรู้
ความสามารถ การเก็บค่าธรรมเนียมส่งเข้าเป็นรายได้ของกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
เพ่ือนาไปใช้ในการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการรับรองความรู้ความสามารถ อีกทั้งให้
ผู้ประกอบกิจการได้รับสิทธิประโยชน์ เพื่อเป็นการจูงใจให้ผู้ประกอบกิจการเข้าร่วม
ในกระบวนการพัฒนาฝีมือแรงงาน

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ ได้จัดทา
แบบสอบถามความจาเป็นการใช้บริการช่างที่มีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ
(License) ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม
เพื่อรวบรวมข้อมูล เหตุผล ผลกระทบในส่วนของช่างผู้ปฏิบัติงาน สถานประกอบกิจการ
ที่เป็นนายจ้าง และผู้รับบริการ ถึงความจาเป็นที่ต้องใช้บริการช่าง เพื่อใช้เป็นประโยชน์
ต่อการดาเนินงานของหน่วยงานกรมพัฒนาฝีมือแรงงานต่อไป

สานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
มีนาคม 2565

ฉ หนา้

สารบัญ จ

บทสรปุ ผบู้ ริหาร ช
คานา ซ
สารบัญ 1
สารบัญตาราง 1
สารบัญภาพ 2
บทท่ี 1 บทนา 2
3
หลักการและเหตุผล 3
วตั ถปุ ระสงคข์ องงานวจิ ัย 4
ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั 4
บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี และเอกสารท่เี กีย่ วขอ้ ง 10
ภารกิจกรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน 17
จานวนกลมุ่ ตัวอย่าง 19
ผลการศึกษาเกีย่ วกบั License ในต่างประเทศ 19
การวิเคราะห์เปรียบเทียบสาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 19
สรุปผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย 20
บทท่ี 3 วิธีการศกึ ษา 20
กรอบแนวคิดการศกึ ษา 24
การวเิ คราะหข์ ้อมลู 25
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 29
ผลการดาเนินงาน 33
ข้อกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง 34
งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง 58
ข้อมูลผลติ ภัณฑท์ ่ีเกย่ี วข้อง 62
ความพร้อมของกรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน 63
ผลจากแบบสอบถาม
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ช หนา้

สารบัญตาราง 8
10
ตาราง 12
13
ตารางที่ 1 ข้อมูลกลุ่มตวั อย่างแรงงานของญ่ีป่นุ 17
ตารางที่ 2 ความเสีย่ งของอาชพี
ตารางที่ 3 ผลจากการวเิ คราะห์เปรียบเทียบสาขาทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงาน 29
ตารางที่ 4 สาขาทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานทีย่ ังมีความสาคัญในอนาคต 29
ตารางที่ 5 สาขาแขง่ ขนั WorldSkills ทก่ี รมพฒั นาฝีมอื แรงงานยังไมม่ ีการจัดทาสาขา

ทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงาน
ตารางท่ี 6 ข้อมลู เครื่องเชื่อม
ตารางที่ 7 ข้อมลู เคร่ืองปรับอากาศ



สารบัญภาพ หนา้

ภาพ 5
6
ภาพที่ 1 จานวนผไู้ ด้รับ License ในสหรัฐอเมริกา 6
ภาพท่ี 2 อาชีพทตี่ อ้ งมี License ในสหรัฐอเมรกิ า 7
ภาพท่ี 3 ผลการศกึ ษาทางเศรษฐมติ ิ 20
ภาพที่ 4 จานวนผไู้ ด้รับ License ในยุโรป 21
ภาพท่ี 5 แสดงจานวนผู้ผา่ นการรับรองความรคู้ วามสามารถ 21
ภาพท่ี 6 แสดงสดั ส่วนสาขาที่มกี ารดาเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ 22
ภาพที่ 7 แสดงจานวนผูเ้ ข้า/ผผู้ า่ นการทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานฯ 23
ภาพท่ี 8 แสดงจานวนผเู้ ขา้ รับการทดสอบแบง่ ตามกลุม่ สาขาอาชพี 23
ภาพท่ี 9 แสดงผูเ้ ข้าร่วมโครงการ 1 ตาบล 1 ช่างไฟฟ้า 24
ภาพที่ 10 แสดงรายได้ของผ้เู ข้าร่วมโครงการ 25
ภาพท่ี 11 แสดงหลกั เกณฑ์การประเมนิ 26
ภาพที่ 12 อาชพี ท่ีต้องมี License ในสหรฐั อเมรกิ า 27
ภาพที่ 13 ผลการศกึ ษาทางเศรษฐมิติ 27
ภาพท่ี 14 จานวนผูไ้ ด้รับ License ในยุโรป 30
ภาพที่ 15 ขอ้ มลู กลุ่มตัวอย่างแรงงานของญ่ีปนุ่ 30
ภาพท่ี 16 แนวโน้มอตั ราการประสบอันตรายจากการทางานจาแนกตามความรุนแรง
ภาพท่ี 17 การประสบอนั ตรายจากการทางาน จาแนกตามประเภทกจิ การ 18 31

กล่มุ ประเภทหลัก 31
ภาพที่ 18 อัตราการปฏิบัตไิ ม่ถูกตอ้ งตามกฎหมายความปลอดภยั ในการทางาน
33
จาแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 1 ปี 2561 33
ภาพที่ 19 สถติ ิการประสบอันตรายหรอื เจ็บป่วยเน่อื งจากการทางาน

จาแนกตามความรนุ แรงและตาแหนง่ หน้าท่ี ปี 2561
ภาพท่ี 20 สาขาและจานวนผู้ทดสอบ
ภาพท่ี 21 จานวนผปู้ ระเมนิ ทั่วประเทศ

บทท่ี 1

บทนำ

1.หลกั กำรและเหตุผล

พระราชบัญญตั ิส่งเสริมการพฒั นาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2545 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2557 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเม่ือวันที่ 26 ธันวาคม 2557 และมีผลใช้บังคับเมือ่ พน้
กาหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาซ่ึงมีผลใช้บังคับต้ังแต่วันที่ 26 มีนาคม
2558 และประกาศกระทรวงแรงงาน เร่ือง กาหนดสาขาอาชีพที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะ
ซึ่งต้องดาเนินการโดยผู้ได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ กาหนดให้สาขาอาชีพช่างไฟฟ้า
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ เฉพาะสาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร เป็นสาขาที่อาจเป็นอันตราย
ต่อสาธารณะซ่ึงต้องดาเนินการโดยผู้ได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ ลงประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558 และให้มีผลใชบ้ ังคับเม่ือพ้นกาหนดสามร้อยหกสิบห้าวัน
นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา จงึ มีผลใช้บังคบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 26 ตุลาคม 2559

กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ในฐานะเจ้าภาพหลักในการพัฒนาและยกระดับ
ศักยภาพกาลังแรงงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายแรงงานมีศักยภาพในการเพ่ิมผลผลิต มีทักษะอาชีพ
สูง สามารถปรับตัวตามพลวัตของโครงสร้างอาชีพและความต้องการ ของตลาดแรงงาน
กาลังแรงงานได้รับค่าจ้างท่ีเป็นธรรมและเหมาะสม ลดการสูญเสียท้ังต่อตัวผู้ประกอบอาชีพ
สถานประกอบกิจการ ไปจนถึงการให้ความคุ้มครองความปลอดภัยของสาธารณะจากการทางาน
ปัจจัยที่สาคัญที่สุดในการพัฒนาแรงงานให้เป็นแรงงานที่มี License คือ กระบวนการมีส่วนร่วม
ในการส่งเสริมผลักดันระหว่างภาครัฐ แรงงานและสถานประกอบกิจการไปสู่การเสนอแนะ
เชิงนโยบายก่อนนาไปสู่การปรับปรุงกฎหมายและประกาศให้มีผลบังคับใช้ในอนาคต เพ่ือความ
สอดคล้องเช่ือมโยงกับทิศทางพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ
ผลการดาเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 จนถึงเดือนกันยายน 2564 รวมระยะเวลา 5 ปี
มีผู้มีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถแล้วรวมท้ังสิ้น 157,418 คน แยกเป็นสาขาช่างไฟฟ้า
ภายในอาคาร จานวน 148,838 คน (ต.ค. 59 - 30 ก.ย. 64) สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน
และการพาณชิ ย์ขนาดเล็ก จานวน 7,058 คน (ก.พ. 63 - ก.ย. 64) สาขาช่างเชอื่ ม (ช่างเชือ่ มอาร์ก
โลหะดว้ ยมือ ช่างเชื่อมทิก ช่างเช่ือมแมก็ ) จานวน 1,524 คน (ก.พ. 63 - ก.ย. 64)

2

2. วัตถปุ ระสงค์ของงำนวิจยั

2.1 เพอื่ ศึกษาและวิเคราะหภ์ ารกิจของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน รวมถงึ ปัญหาและข้อจากัด
ของภารกิจ ด้านการรับรองความรู้ความสามารถ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ
แรงงาน พ.ศ. 2545 และทแี่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2557

2.2 เพื่อศึกษาข้อมูล เหตุผล ผลกระทบในส่วนของช่างผู้ปฏิบัติงาน สถานประกอบกิจการ
ที่เป็นนายจ้าง และผู้รับบริการ ถึงเหตุผลความจาเป็นท่ีต้องใช้บริการช่าง รวมถึงข้อเสนอแนะ
ในสาขาท่ีตอ้ งการใหช้ า่ งมีหนงั สอื รบั รองความรู้ความสามารถ

2.3 เพื่อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานผ่านการรับรองความรู้
ความสามารถ ตามพระราชบัญญตั สิ ่งเสรมิ การพฒั นาฝมี ือแรงงาน พ.ศ. 2545 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557

3. ประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะได้รับ

3.1 กรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีข้อมูล เหตผุ ล ผลกระทบ และขอ้ เสนอแนะในสาขาท่ตี ้องการ
ให้ช่างมหี นังสือรับรองความรู้ความสามารถ

3.2 กรมพฒั นาฝีมือแรงงานมีขอ้ มลู การวิเคราะหภ์ ารกิจเชงิ ลึกที่สะทอ้ นถงึ ปญั หา ขอ้ จากัด
จากผลการดาเนินงานท่ผี ่านมา

3.3 กรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สาหรับใช้พัฒนาภารกิจของการ
พฒั นาฝมี อื แรงงานในอนาคต

บทท่ี 2

แนวคดิ ทฤษฎี และเอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง

1. ภารกิจกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน

กรมพัฒนาฝมี ือแรงงานมีภารกจิ การรับรองความรคู้ วามสามารถและการทดสอบมาตรฐาน
ฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ได้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา
ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 119 ตอนที่ 98/1 วันท่ี 1 ตุลาคม 2545 มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 29 มกราคม
2546 มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อส่งเสรมิ ใหผ้ ูป้ ระกอบกจิ การมสี ่วนร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อทาให้
เกิดการพัฒนาฝีมือแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการของประเทศ โดยมีมาตรการจูงใจ
ด้านภาษอี ากรและสทิ ธิประโยชน์ด้านต่าง ๆ ในการสนบั สนุนใหภ้ าคเอกชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการ
พัฒนาฝีมือแรงงานมีสิทธิได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ร้อยละ 100 ของรายจ่ายท่ีได้จ่ายไปเป็น
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้กับลูกจ้าง ซึ่งกาหนดให้ผู้ประกอบกิจการประเภท
อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม หรือธุรกิจอยา่ งอ่ืน ซงึ่ มลี กู จา้ งตงั้ แต่ 100 คนขนึ้ ไป ทกุ ทอ้ งท่ีสง่ เงินสมทบ
เข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเป็นรายปีในอัตราร้อยละ 1 ของค่าจ้างที่ใช้เป็นฐาน ในการคานวณ
เงินสมทบตามสัดส่วนท่ีต้องจัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน เว้นแต่จัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือ
แรงงานให้กับลูกจ้างในสัดส่วนร้อยละ 50 ของจานวนลูกจ้างเฉล่ียในรอบปี จึงไม่ต้องส่งเงินสมทบ
เข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ การฝึก
เตรียมเขา้ ทางาน การฝกึ ยกระดับฝมี อื แรงงาน และการฝกึ เปลี่ยนสาขาอาชีพ

ต่อมาได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
แก้ไขเพ่ิมเติม โดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2557 ได้ลงประกาศ
ในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 132 ตอนพิเศษ 269 ง วนั ที่ 27 ตุลาคม 2558 กาหนดสาขาอาชพี ท่อี าจ
เป็นอันตรายต่อสาธารณะซึ่งต้องดาเนินการโดยผู้ได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ
เพ่ือคุ้มครองป้องกันชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและประโยชน์สาธารณะโดยอาศัยอานาจ
ตามมาตรา 6 และมาตรา 7 (2) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
แกไ้ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติส่งเสริมการพฒั นาฝีมอื แรงงาน (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2557 กาหนดให้
สาขาอาชีพช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ เฉพาะสาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
เปน็ สาขาอาชีพที่อาจเป็นอันตรายตอ่ สาธารณะ ซ่ึงตอ้ งดาเนินการโดยผู้ไดร้ ับหนงั สอื รบั รองความรู้
ความสามารถตามกฎหมายว่าดว้ ยการสง่ เสริมการพฒั นาฝมี ือแรงงาน และมผี ลบงั คับใชต้ ัง้ แตว่ ันที่

4

26 ตุลาคม 2559 โดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557
มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับ
สถานการณ์ในปัจจุบัน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนท้ังนายจ้าง ลูกจ้างหรือผู้ประกอบอาชีพ
และภาครัฐ ประชาชนหรือผู้บริโภคจะได้รับสินค้าและบริการที่ดีมีคุณภาพ และได้รับความ
คุ้มครองความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจากอันตรายที่เกิดจากการทางาน พระราชบัญญัติ
ฉบับน้ีมีบทบัญญัตทิ ี่เป็นการส่งเสริม สถานประกอบกิจการหรือนายจ้างท่ีมสี ่วนร่วม ในการพัฒนา
ฝีมือพนักงานหรือลูกจ้างให้ได้รับสิทธิประโยชน์ในด้านต่าง ๆ อาทิ การยกเว้นภาษี การยกเว้น
อากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพ่ิม การใช้เคร่ืองหมายต่าง ๆ โดยมีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาฝีมือ
แรงงานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงาน ขณะเดียวกันมีมาตรการท่ีเป็นการบังคับ
หากไม่ดาเนินการหรือดาเนินการไม่ครบตามกฎหมายหรือทางานในสาขาอาชีพท่ีประกาศให้เป็น
สาขาอาชีพอันตราย

2. จานวนกลุ่มตัวอย่าง

ผู้ศึกษาได้ใช้สูตรการคานวณของ ทาโร ยามาเน่ ในการกาหนดกลุ่มตัวอย่างเพื่อใช้ในการตอบ
แบบสอบถามจากขนาดประชากร โดยใช้สูตรการคานวณของทาโร ยามาเน่

= [1 +
( )2]

เม่อื n แทนขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ ง
N แทนขนาดของประชากร
e แทนความคลาดเคลอ่ื นของการสุ่มตัวอย่าง (0.05 ทรี่ ะดับความเช่อื ม่ัน 95 %)

3. ผลการศึกษาเกี่ยวกบั License ในต่างประเทศ

การให้ License ในต่างประเทศมีจุดเริ่มต้นจากทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่เรียกว่า ความล้มเหลว
ของตลาด (Market Failure) ในเรื่องความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล (Asymmetric Information)
เพื่อป้องกันผู้บริโภคจากการไม่มีข้อมูลเท่ากับผู้ให้บริการ ดังนั้น License จึงมีความสาคัญในฐานะ

5

ท่ีเป็นเคร่ืองพิสูจน์ว่า ผู้ให้บริการมีความรู้ความสามารถเพียงพอท่ีผู้บริโภคจะสามารถไว้วางใจได้
โดยเฉพาะอาชีพที่เก่ียวกับการบริการ ซึ่งประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่จะมีการกาหนดอาชีพท่ีต้องมี
License ไวห้ ากฝ่าฝืนท่จี ะมโี ทษตามกฎหมาย
สหรัฐอเมริกา

จากการศกึ ษาพบว่า ในสหรัฐอเมริกามีผู้ได้รับ License เพิ่มข้นึ อย่างต่อเนื่องจากช่วงทศวรรษท่ี
1950 ประมาณร้อยละ 5 จนมาถึงปัจจุบันอยู่ท่ีราวร้อยละ 30 โดยสหรัฐอเมริกามีกฎระเบียบ
ดา้ นการประกอบอาชพี ประกอบด้วย 3 ส่วนหลกั ได้แก่

1. Registration เป็นการลงทะเบียนก่อนประกอบอาชีพ เช่น ข้อมูลส่วนบุคคล การศึกษา
การทางาน

2. Certification เปน็ การรับรองการผ่านทดสอบความรู้และทกั ษะท่ีจาเปน็ ตอ่ การประกอบ
อาชีพ

3. Licensure เป็นการให้สิทธิการประกอบอาชีพตามกฎหมาย (Right to practice) หากไม่ผ่าน
กระบวนการนีจ้ ะมีความผิดตามกฎหมาย

ภาพที่ 1 จานวนผู้ได้รบั License ในสหรฐั อเมริกา
ทมี่ า :Kleiner (2017)

6

ภาพท่ี 2 อาชีพทต่ี ้องมี License ในสหรัฐอเมริกา
ทม่ี า : National Conference of State Legislatures (2020)

การศึกษาด้วยวิธีการทางเศรษฐมิติของ Kleiner และ Krueger โดยใช้ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างของ
ผู้ประกอบอาชีพในสหรัฐอเมริกาทั้งหมด 3,982 คน พบว่า ผู้ที่มี License มีรายได้สูงกว่าผู้ท่ีไม่มี
License ร้อยละ 15 โดยผลดังกล่าวมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ันร้อยละ 99 (ภาพที่ 3)
สะท้อนให้เหน็ วา่ License สง่ ผลต่อระดับรายไดส้ ูงขึ้นของผปู้ ระกอบอาชีพ

ภาพที่ 3 ผลการศึกษาทางเศรษฐมติ ิ
ทม่ี า : Kleiner และ Krueger (2010)

7

สหภาพยโุ รป
ประเทศในสหภาพยุโรปมีจานวนผู้ได้รับ License แตกต่างกันออกไปตง้ั แตร่ ้อยละ 14 – 33

ค่าเฉลี่ยอยู่ท่ีร้อยละ 22 ยกตัวอย่างเช่น สหราชอาณาจักร การให้ License ของสหราชอาณาจักร
ได้ส่งผลต่อรูปแบบของประเทศในเครือจักรภพ (Common Wealth) ด้วย เช่น แคนาดาและ
ออสเตรเลีย โดยจะมีลักษณะแตกต่างจากสหรัฐอเมริกาตรงที่ License ของสหราชอาณาจักร
มี 2 รูปแบบ คือ (1) รูปแบบตามกฎหมาย (Statutory) ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างตามหน่วยงาน
ที่ออกอีกว่าเป็นหน่วยงานระดับประเทศหรือระดบั ท้องถิ่น และ (2) รูปแบบสมัครใจ (Voluntary)
อย่างไรก็ดี การมี License ไม่ได้กีดกันผู้ท่ีไม่มี License ไม่ให้ทางานในสาขาอาชีพน้ัน เช่น ผู้ไม่มี
License สามารถติดตง้ั การเดินสายไฟฟ้าได้ แต่ผู้มี License สามารถตรวจสอบและให้การรับรอง
ความปลอดภัยของการติดต้ังดังกล่าว อย่างไรก็ดี ไม่พบงานศึกษาท่ีสะท้อนผลของ License
ตอ่ ค่าตอบแทนของผู้มี License

ภาพท่ี 4 จานวนผูไ้ ด้รับ License ในยโุ รป
ท่ีมา : Kleiner (2017)

8

ญี่ปนุ่
งานศึกษาของ Morikawa (2017) ได้ศึกษาเพื่อหาหลักฐานเชิงประจักษ์ของความสัมพันธ์

ระหว่างมี License และผลต่อตลาดแรงงานพบว่า แรงงานของญี่ปุ่นร้อยละ 56 มี License
ส่วนใหญเ่ ป็นอาชีพในภาคบริการ ไดแ้ ก่ บรกิ ารสขุ ภาพ การศกึ ษา การคมนาคมขนส่ง และการเงิน
ซึ่งสัดส่วนของการมี License จะเพ่ิมข้ึนตามระดับการศึกษา (ตารางที่ 1) โดยผลการศึกษาพบว่า
การมี License ส่งผลให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มข้ึน แต่ข้ึนอยู่กับลักษณะการผูกขาดของอาชีพด้วย
หมายความว่าหากอาชพี น้นั ขาดแคลนจะยิ่งสามารถบวกค่าบริการไดม้ ากขึ้น

ตารางที่ 1 ข้อมูลกลุ่มตวั อย่างแรงงานของญี่ปุ่น
ที่มา : Morikawa (2017)

สรุปข้อดีข้อเสียของ License

9

License ในประเทศไทย
ประเทศไทยมีการรับรองความรู้ความสามารถท่ีรู้จักกันโดยท่ัวไปในลักษณะการให้

ใบประกอบวิชาชพี ซึ่งเป็นใบอนญุ าตใหส้ ามารถประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ตามสาขาที่เรียนมา โดยผูท้ ่ีจะ
ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะต้องมีคุณสมบัติตามท่ีองค์กรออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
กาหนดไว้ ผู้ท่ีไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะไม่สามารถประกอบวิชาชีพน้ัน ๆ ได้ หากฝ่าฝืนจะมี
โทษตามทอ่ี งคก์ รวิชาชีพแต่ละองค์กรกาหนดไว้ ปจั จุบันมวี ิชาชพี ที่ตอ้ งมีใบประกอบวิชาชีพ ดังนี้

จากข้อมูลดังกลา่ วจะเห็นไดว้ ่า ปัจจุบันมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการออกใบอนญุ าตประกอบ
วิชาชีพสาหรับอาชีพต่าง ๆ อยู่แล้ว ส่วนภารกิจกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเป็นการออกใบรับรอง
ความรู้ความสามารถสาหรับอาชีพท่ีอาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะ ซึ่งได้ดาเนินการแล้วตามที่ได้
กล่าวถึงข้างต้น อย่างไรก็ดี การรับรองความรู้ความสามารถจะต้องผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือ
แรงงานมากอ่ น ดงั น้นั อาจจะศึกษาแนวโนม้ ภารกิจการรบั รองความรคู้ วามสามารถ

10

ท่ีสอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคต ควรศึกษาภารกิจการทดสอบมาตรฐานฝีมือ
แรงงานด้วย เน่ืองจากในอนาคตจะมีจานวนมากท่ีจะหายไปและมีอาชีพใหม่เกิดขึ้นซ่ึงจะส่งผล
สืบเนอ่ื งตอ่ การรับรองความรูค้ วามสามารถดว้ ยเช่นกนั
การวเิ คราะห์เปรียบเทยี บสาขาทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงาน

ผู้เขียนได้คานึงแนวโน้มโลกการทางานท่ีเปลี่ยนแปลงไป ( Future of work) โดยเฉพาะการ
เปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วของเทคโนโลยีท่ีส่งผลต่อการจ้างงานในตลาดแรงงาน จึงกาหนด Scenario
Analysis ออกเป็น 3 รูปแบบ ดงั น้ี

1. การเปรยี บเทยี บสาขาทดสอบมาตรฐานกบั อาชีพเสย่ี งถกู ทดแทนด้วยเทคโนโลยี โดยอ้างอิง
จากงานวิจัยของเนื้อแพร เล็กเฟ่ืองฟู และวรประภา นาควัชระ (2562) ที่ได้ศึกษาผลกระทบ
ที่จะเกิดขึ้นกับตลาดแรงงานของไทยจากการถูกทดแทนด้วยเทคโนโลยีรวมถึงการเปล่ียนแปลง
รูปแบบการค้าโลก โดยนาแบบจาลองของ Frey and Osborn (2017) มาใช้ในการคานวณหา
จานวนแรงงานที่มีโอกาสเสี่ยงตกงานตามกลุ่มอาชีพของ International Standard
Classification Of Occupation (ISCO) ผลการวิเคราะห์พบว่า สาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือ
แรงงานที่มีโอกาสเส่ียงถูกทดแทนด้วยเทคโนโลยีน้อยกว่าร้อยละ 50 มีเหลืออยู่เพียง 128 สาขา
จาก 241 สาขา หมายความว่า สาขาทดสอบท่ีมีอยู่อีก 113 สาขา จะหมดความสาคัญและหายไป
ในอนาคตตามแนวโน้มการเปลย่ี นแปลงของโลกการทางาน

ตารางท่ี 2 ความเสี่ยงของอาชีพ
ท่ีมา : เนื้อแพร เล็กเฟ่ืองฟู และวรประภา นาควัชระ (2562)

11

2. การเปรียบเทียบสาขาทดสอบมาตรฐานกับสาขาแข่งขันฝีมือแรงงานนานาชาติ
(WorldSkills)
โดยอ้างอิงจากสาขาการแข่งขันฝมี ือแรงงานนานาชาตริ ะดบั เยาวชน ซ่ึงปจั จบุ ันมอี ยู่ 56 สาขา
แบง่ เปน็ 6 หมวด ได้แก่

1) Construction and Building Technology 13 สาขา
2) Creative Arts and Fashion 6 สาขา
3) Information and Communication Technology 7 สาขา
4) Manufacturing and Engineering Technology 16 สาขา
5) Social and Personal Service 8 สาขา
6) Transportation and Logistics 6 สาขา
ผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บกับสาขาทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานพบว่า มสี าขาทดสอบ
มาตรฐานท่ีเชื่อมโยงได้กับการแข่งขัน WorldSkills 188 สาขา เน่ืองจากรายการแข่งขัน
WorldSkills 1 สาขา ต้องใช้ทักษะหลายด้าน จึงเชื่อมโยงกับสาขาทดสอบมาตรฐานที่มีอยู่ได้มากกว่า
ซง่ึ หมายความวา่ สาขาทดสอบมาตรฐานอกี 53 สาขา ไม่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานระดับนานาชาติ
3. การเปรียบเทียบสาขาทดสอบมาตรฐานกับท้ังอาชีพที่เสี่ยงถูกทดแทนด้วยเทคโนโลยี
และสาขาแข่งขัน Worldskills เป็นการวิเคราะห์รูปแบบท่ี 3 เพ่ือหาข้อสรุปของการวิเคราะห์
รูปแบบที่ 1 และ 2 เน่ืองจากการวิเคราะห์ดังกล่าวให้ผลที่แตกต่างค่อนข้างมาก ผลการวิเคราะห์
รูปแบบที่ 3 ท่ีคานึงถึงปัจจัยความเสี่ยงของอาชีพและมาตรฐานระดับนานาชาติพบว่า จะเหลือ
สาขาทดสอบมาตรฐานที่ยังคงมีความสาคัญในอนาคต 110 สาขาส่วนอีก 131 สาขา ไม่มีความ
จาเป็นต้องมีอีกต่อไปซึ่งเมื่อพิจารณาร่วมกับผลการดาเนินงานด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือ
แรงงานในปี 2562 ท่ีผ่านมามีผู้เข้าทดสอบเพียง 58 สาขา สะท้อนให้เห็นว่า สาขาทดสอบ
มาตรฐานฝีมือแรงงานท่ีมีอยู่ในปัจจุบันไม่สอดคล้องกับความต้องการทดสอบท่ีแท้จริง จึงถือว่า
ผลการวิเคราะห์ในรูปแบบท่ี 3 นี้ สมเหตุสมผลและเพียงพอต่อความต้องการทดสอบของแรงงาน
ในประเทศไทย โดยละเอยี ดสาขาทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานปรากฏตามตารางที่ 3 และ 4

12

สาขาอาชพี / กลมุ่ อตุ สาหกรรม จานวนสาขา จานวนสาขา จานวนสาขา จานวนสาขา
อาชีพทดสอบ ทเี่ หลอื ท่ีเหลอื ทเี่ หลือเปรียบเทียบ
สาขาอาชพี ช่างก่อสร้าง กบั อาชพี เส่ียง และ
สาขาอาชีพช่างอตุ สาหการ มาตรฐาน เปรียบเทียบกบั เปรียบเทียบกบั
สาขาอาชพี ช่างเคร่อื งกล อาชพี เส่ียง WorldSkills WorldSkills
สาขาอาชีพช่างไฟฟา้ อิเล็กทรอนกิ ส์และคอมพิวเตอร์ 15 7 5
สาขาอาชพี ช่างอุตสาหกรรมศลิ ป์ 46 23 12 20
สาขาอาชีพเกษตรอุตสาหกรรม 41 26 41 20
สาขาอาชพี ภาคบริการ 32 16 23 15
กลมุ่ อุตสาหกรรมไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ 21 6 26 3
กลุ่มอตุ สาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ยนต์ 0 0 14 0
กลมุ่ อตุ สาหกรรมยานยนต์ 31 21 0 19
กลมุ่ อุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ 6 2 26 1
กลุ่มงานอุตสาหกรรมเหลก็ 5 4 5 4
กลมุ่ อุตสาหกรรมพลาสติก 4 3 5 3
กลมุ่ อตุ สาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ 4 4 4 4
กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเคร่ืองทาความเยน็ 4 3 4 3
กลมุ่ อตุ สาหกรรมอัญมณี 4 3 4 3
กล่มุ อุตสาหกรรมรองเท้า 4 2 4 2
กลุ่มอุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ 5 3 4 3
กลมุ่ อตุ สาหกรรมโลจสิ ติกส์ 4 0 5 0
กล่มุ อุตสาหกรรมบริการรถยนต์ 4 0 4 0
4 3 0 3
รวม 4 0 3 0
3 2 1 2
3
241 128 110
188

ตารางที่ 3 ผลจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบสาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน

13

สาขาอาชีพ/กลมุ่ อตุ สาหกรรม จานวนสาขา สาขาทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงานท่เี หลอื
สาขาอาชพี ก่อสร้าง ที่เหลือ
สาขาอาชีพช่างอตุ สาหการ 5 ชา่ งมงุ หลังคากระเบอ้ื งคอนกรีต
20 ช่างไม้ก่อสร้าง
สาขาอาชพี ชา่ งเครอ่ื งกล ช่างไมใ้ นอาคาร
20 ช่างปูกระเบ้ืองผนงั และพนื้
ช่างก่อและตดิ ตง้ั คอนกรีตมวลเบา
ชา่ งเชื่อมแมก็
ชา่ งเชื่อมทอ่ พอลิเอทลี ีนความหนาแน่นสูง
ชา่ งหลอ่ โลหะ (ชา่ งทาแบบหล่อทราย)
ช่างหล่อโลหะ (ชา่ งทาแบบหล่อถาวร)
ช่างหล่อโลหะ (ช่างทาแบบหลอ่ ชนิดพิเศษ)
ช่างหลอ่ โลหะ (ชา่ งทาแบบหล่อขผ้ี ้งึ )
ช่างเขยี นแบบเคร่ืองกลด้วยคอมพวิ เตอร์ CAD
ช่างเชอื่ มทิก
ชา่ งกลงึ
ชา่ งควบคุมเครอ่ื งกลึง CNC
ชา่ งควบคมุ เครอื่ ง Wire Cut
ชา่ งเช่อื มฟลกั ซค์ อร์
ชา่ งเชอ่ื มแก๊ส
ช่างตัดเหล็กกลา้ คาร์บอนดว้ ยแกส๊
ช่างเทคนคิ ระบบนวิ เมติกส์
ช่างเชอ่ื มมิก - แม็ก สาหรบั อุตสาหกรรมต่อเรอื และซ่อมเรือ
ช่างเทคนิคเครอื่ งอัดรดี เสน้ เทปพลาสตกิ สานและกระสอบ
ช่างเทคนคิ เครอ่ื งทอพลาสตกิ สานและกระสอบ
ชา่ งเทคนิคเคร่ืองอดั รดี ขึน้ รูปทอ่ โพรไฟลพ์ ลาสติก
พนกั งานควบคมุ คณุ ภาพงานอดั รดี ข้นึ รปู ท่อโพรไฟลพ์ ลาสตกิ
ช่างซอ่ มเครื่องยนต์ดีเซล
ชา่ งซอ่ มรถแทรกเตอรก์ ารเกษตร
ชา่ งเครือ่ งปรบั อากาศรถยนต์ขนาดเล็ก
ชา่ งตดิ ต้ังศูนย์และถว่ งลอ้ รถยนต์
ชา่ งบารงุ รักษารถยนต์
ชา่ งเคาะตวั ถังรถยนต์
ชา่ งซ่อมรถยนต์
ชา่ งซอ่ มรถจักรยานยนต์
ชา่ งควบคมุ งานเชอื่ มอาร์กดว้ ยหนุ่ ยนต์

สาขาอาชีพช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ 14
และคอมพิวเตอร์ 14
สาขาอาชีพช่างอตุ สาหกรรมศลิ ป์
ช่างเทคนิคประกอบและซอ่ มบารุงอุปกรณต์ ่อพ่วงพ้ืนฐาน
ชา่ งเทคนิคทุบข้ึนรูปโลหะรอ้ นของอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสว่ นยานยนต์
ช่างเทคนิคเตรียมพื้นผิวชิ้นงานของอุตสาหกรรมผลิตช้ินส่วน
ยานยนต์
ช่างซ่อมบารุงอุปกรณ์ไฟฟ้าโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วน
ยานยนต์
ชา่ งเทคนิคฉีดพลาสติกของอุตสากรรมผลิตชนิ้ ส่วนยานยนต์
พนกั งานประกอบช่วงล่างสาหรับอุตสาหกรรมผลติ รถยนต์
พนักงานตรวจสอบคณุ ภาพในกระบวนการประกอบรถยนต์
ช่างเทคนิคซ่อมบารงุ ในกระบวนการประกอบรถยนต์
ชา่ งเคร่ืองปรบั อากาศรถยนต์โดยสารขนาดใหญ่
ชา่ งติดต้ังอปุ กรณ์เพอ่ื ใชเ้ ช้อื เพลิงก๊าซธรรมชาติอัด (CNG) สาหรบั
เครอ่ื งยนตเ์ บนซิน
ช่างติดตั้งอปุ กรณเ์ พื่อใช้เชอื้ เพลิงก๊าซธรรมชาติอดั (CNG) สาหรบั
เครื่องยนตด์ เี ซล
15 ชา่ งไฟฟา้ การควบคมุ ทางอตุ สาหกรรม
ช่างไฟฟ้าภายนอกอาคาร
ชา่ งเทคนิคเครื่องปรบั อากาศสาหรับห้องสะอาด
ชา่ งไฟฟา้ ภายในอาคาร
ชา่ งไฟฟา้ อุตสากรรม
ช่างเครื่องปรับอากาศในบา้ นและการพาณิชย์ขนาดเล็ก
ช่างโทรคมนาคม (ไมโครเวฟและการสือ่ สารดาวเทียม)
พนักงานการใช้คอมพิวเตอร์ (กราฟิก)
ชา่ งตดิ ต้งั ระบบทาน้าอนุ่ และน้าร้อนด้วยไฟฟา้
ช่างเทคนิคระบบไฟฟา้
ช่างติดต้ังและบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศระบบน้าเย็นขนาด
ไมเ่ กิน 20 ตนั
ช่างติดตั้งและบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศแบบแยกส่วนระบบ
อินเวอร์เตอร์ขนาดไม่เกิน 60,000 บีทียูต่อชั่วโมงสาหรับ
อุตสาหกรรม
ชา่ งติดตงั้ และบารุงรักษาเครอื่ งปรับอากาศแบบใชส้ ารทาความ
เย็น R-32 ขนาดไมเ่ กนิ 50,000 บีทยี ูตอ่ ชวั่ โมง
พนักงานประกอบหมอ้ แปลงขนาดเลก็
พนักงานประกอบหม้อแปลงไฟฟา้ ระบบจาหนา่ ย
3 ช่างจดั ดอกไม้

ช่างเคร่อื งเรือนไม้

ชา่ งข้นึ ตน้ แบบเครอื่ งประดบั แวก๊ ซ์

สาขาอาชีพเกษตรอุตสาหกรรม 15
สาขาอาชีพภาคบรกิ าร
0
กลุ่มอตุ สาหกรรมไฟฟ้าและ
อเิ ล็กทรอนิกส์ 19 นักสง่ เสริมสุขภาพแบบองคร์ วม ไทยสปั ปายะ (หัตถบาบดั )
กลุ่มอุตสาหกรรมช้ินส่วนและอะไหล่ นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ไทยสปั ปายะ (โภชนบาบดั )
ยานยนต์ นักสง่ เสรมิ สขุ ภาพแบบองค์รวม ไทยสัปปายะ (วารบี าบัด)
กลมุ่ อุตสาหกรรมยานยนต์ นกั ส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ไทยสปั ปายะ (สคุ นธบาบัด)
กลมุ่ อุตสาหกรรมจกั รกลและโลหะการ นกั สง่ เสรมิ สขุ ภาพแบบองค์รวม ไทยสปา (หตั บาบดั )
กลุ่มงานอุตสากรรมเหล็ก นักส่งเสรมิ สุขภาพแบบองค์รวม ไทยสปา (โภชนบาบดั )
นกั ส่งเสริมสขุ ภาพแบบองค์รวม ไทยสปา (วารบี าบดั )
นักสง่ เสริมสขุ ภาพแบบองค์รวม ไทยสปา (สุคนธบาบัด)
นักส่งเสรมิ สขุ ภาพแบบองคร์ วม สปาตะวนั ตก (หตั บาบดั )
นักสง่ เสริมสุขภาพแบบองคร์ วม สปาตะวนั ตก (โภชนบาบัด)
นักสง่ เสรมิ สุขภาพแบบองค์รวม สปาตะวันตก (วารีบาบดั )
นักสง่ เสรมิ สขุ ภาพแบบองค์รวม สปาตะวันตก (สคุ นธบาบัด)
พนกั งานนวดไทย
การดแู ลผสู้ ูงอายุ
การเล้ยี งดูเดก็ ปฐมวัย
ผูป้ ระกอบขนมอบ
ช่างเคร่ืองชว่ ยคนพิการ
ช่างแต่งผมสตรี
นกั บริการลกู ค้างานโลจิสติกส์

1 ช่างเทคนคิ ติดตัง้ ระบบไฟฟ้าและส่ือสารภายในอาคาร

4 ช่างกลึงสาหรบั อตุ สาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์
ชา่ งเชอ่ื มมกิ - แม็ก สาหรบั อตุ สาหกรรมผลติ ชนิ้ สว่ นยานยนต์
ช่างเทคนิคบารุงรักษาเครื่องจักรกล สาหรับอุตสาหกรรมผลิต
ช้ินสว่ นยานยนต์
ช่างเทคนคิ เครอื่ งกลึงอัตโนมัติ สาหรับอตุ สาหกรรมผลิตชนิ้ ส่วน
ยานยนต์

3 ชา่ งเทคนคิ พ่นซีลเลอรต์ ัวถงั สาหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์
พนักงานประกันคุณภาพผลติ ภัณฑย์ านยนต์ (ขั้นสุดท้าย)
ชา่ งเทคนคิ เชื่อมสปอตตวั ถงั สาหรับอตุ สาหกรรมผลติ รถยนต์

4 ช่างเทคนิคเขียนแบบเครอ่ื งกล
ช่างเชือ่ มทิกสาหรับอตุ สาหกรรมจกั รกลและโลหะการ
ชา่ งเทคนิคระบบส่งกาลัง
ช่างเทคนคิ ระบบไฮโดรลิก

3 พนกั งานปรงุ แตง่ นา้ เหลก็ ในเตาปรงุ น้าเหล็ก (Ladle Furnace)
พนักงานหลอ่ เหลก็
พนักงานควบคุมการอบเหลก็

16

กลมุ่ อุตสาหกรรมพลาสตกิ 3 ช่างเทคนิคเครอ่ื งเปา่ ถงุ พลาสติก
กล่มุ อตุ สาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ชา่ งเทคนิคเครื่องเปา่ ภาชนะกลวง
ชา่ งเทคนคิ การซ่อมเครอื่ งเป่าถุงพลาสติก

2 พนักงานประกอบเฟอร์นิเจอร์ไมจ้ ริง
ชา่ งทาสีเฟอรน์ เิ จอรไ์ มจ้ ริง

กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ 3 ช่างเทคนิคเครื่องปรบั อากาศขนาดใหญ่
และเคร่อื งทาความเยน็
พนกั งานประกอบเครื่องปรับอากาศ

ช่างเทคนิคเคร่ืองปรับอากาศภายในบ้านและการพาณิชย์ขนาด
เล็ก

กลุ่มอตุ สาหกรรมอญั มณี 0

กลุ่มอุตสาหกรรมรองเทา้ 0
กลุม่ อุตสาหกรรมแมพ่ มิ พ์
3 ช่างเทคนคิ เคร่ืองกัดอัตโนมตั ิ
ช่างเคร่อื งเทคนคิ เคร่อื งอดี เี อ็ม
ช่างเทคนิคเครอื่ งไวรค์ ทั อีดเี อ็ม

กลุ่มอุตสาหกรรมโลจสิ ติกส์ 0
กลมุ่ อุตสาหกรรมบริการรถยนต์
2 ชา่ งเทคนิครถยนต์
รวม ชา่ งเทคนิคตัวถงั รถยนต์

110

ตารางท่ี 4 สาขาทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานทย่ี ังมีความสาคญั ในอนาคต

นอกจากน้ี การวิเคราะหย์ งั พบว่า มีสาขาการแข่งขัน WorldSkills ทก่ี รมพฒั นาฝมี ือแรงงาน
ยังไม่มีการจัดทาสาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานจานวน 12 สาขา ซึ่งควรพิจารณาจัดทา
สาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานเพิ่มเติม เนื่องจากเป็นสาขาท่ีสอดคล้องกับโลกแห่งอนาคต
ดงั นี้

17

หมวด สาขา WordSkills คาอธบิ าย

Construction and Building Architectural stonemasonry สถาปัตยกรรมหนิ
Technology Landscape Gardening การจัดสวน

creative Arts and Fashion 3D Digital game art เกมดจิ ทิ ลั สามมติ ิ

Information and Cloud Computing เทคโนโลยคี ลาวดค์ อมพิวเตอร์
Communication Technology Web Technology เทคโลโลยีเวบ็ ไซต์

Cyber Security ความปลอดภัยไซเบอร์

Print Media Technology เทคโนโลยีการพิมพ์

Manufacturing and Engineering Chemical Laboratory Technology เทคโนโลยีห้องปฏบิ ตั กิ ารทางเคมี

Technology Mobile Robotics หุน่ ยนต์

Industrial Control การควบคุมในอุตสาหกรรม

Social and Personal Service Patisserie and Confectionery ขนมหวาน

Transportation and Logistics Aircraft Maintenance การบารงุ รักษาอากาศยาน

ตารางที่ 5 สาขาแขง่ ขนั WordSkills ทกี่ รมพัฒนาฝมี ือแรงงานยังไม่มกี ารจดั ทา
สาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน

สรุปผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย

จากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมลู ท้ังในและตา่ งประเทศเกย่ี วกบั การรับรองความรู้ความสามารถ
และการทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงาน ซึ่งเป็นภารกิจสาคัญของกรมพัฒนาฝมี ือแรงงานได้ขอ้ สรปุ
ดงั นี้

1. การมี License ของผู้ประกอบอาชีพในต่างประเทศส่งผลเชิงบวกต่อทั้งผู้มี License ซ่ึงได้รับ
คา่ ตอบแทนสงู กวา่ ผู้ทไ่ี ม่มี License และสงั คมโดยรวมทไ่ี ด้รบั การใหบ้ รกิ ารท่ีมีมาตรฐาน

2. ประเทศไทยมีให้ใบประกอบวิชาชีพ (License) ในวิชาชีพต่าง ๆ โดยหน่วยงานเฉพาะ
ท่ีเก่ียวขอ้ งกับวิชาชีพนั้น ส่วนกรมพัฒนาฝีมือแรงงานให้การรับรองความรู้ความสามารถในสาขาอาชีพ
ที่อาจเปน็ อันตรายตอ่ สาธารณะ ซ่งึ จะตอ้ งผา่ นการทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานมากอ่ น

18

3. การวิเคราะห์เปรียบเทียบสาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานกับความเส่ียงถูกทดแทน
ด้วยเทคโนโลยีและการแข่งขัน WorldSkills ซึ่งเป็นการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานระดับ
นานาชาติบ่งชี้ว่า สาขาทดสอบมาตรฐานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานในปัจจุบันมีมากเกินความจาเป็น
ควรจะลดลงเหลือ 110 สาขา จาก 241 สาขา

4. กรมพัฒนาฝีมือแรงงานยังไม่มสี าขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 12 สาขา ท่ีสอดคล้อง
กบั การแข่งขัน WorldSkills จึงควรเพมิ่ สาขาดงั กล่าวใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานสากล

5. ภารกิจการรับรองความรู้ความสามารถและการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานมีความ
เชื่อมโยงกนั ดงั นัน้ การทบทวนภารกจิ ตามผลการศึกษาข้างต้นควรดาเนนิ การ ดังน้ี

5.1. สานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงานควรนาผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์
ในการปรับปรุงสาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานให้ลดลงตามจานวนท่ีกล่าวถึงและเพ่ิมสาขา
ทดสอบมาตรฐานท่ยี ังไมม่ ตี ามมาตรฐานการแข่งขนั WorldSkills

5.2 สานักงานรับรองความรู้ความสามารถควรดาเนินการเลือกสาขาที่จะประกาศรับรอง
ความรู้ความสามารถและจัดทาตามมาตรฐานการรับรองความรู้ความสามารถจากสาขาทดสอบ
มาตรฐานฝมี อื แรงงานทีไ่ ด้รับการปรบั ปรุงใหม่แลว้

5.3 สานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึกควรพิจารณาจัดทาหลักสูตรการฝึกอบรม
ให้สอดคล้องกับสาขาทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการปรับปรุงใหม่ เพื่อสนับสนุนผู้ท่ี
จะทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานและรับรองความรคู้ วามสามารถ

เอกสารอา้ งอิง
ณัฐพล นันทาวิวัฒน์ และ ศิรยศ มหาขันธ์ แนวทางการรับรองความรู้ความสามารถและการ
ทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานรองรบั แนวโน้มแหง่ อนาคต

บทท่ี 3

วธิ ีการศกึ ษา
1. กรอบแนวคิดการศึกษา

สรุปผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา
ข้อกฎหมายท่เี กีย่ วข้อง
งานวเิ คราะห์ทเี่ ก่ียวขอ้ ง

ขอ้ มลู ผลิตภณั ฑ์ทเ่ี กี่ยวข้อง
ความพร้อมของกรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน

การออกแบบ แบบสอบถาม
2. การวิเคราะห์ขอ้ มลู

ศกึ ษาแนวคดิ การวเิ คราะห์แนวทางการรับรองความรคู้ วามสามารถ
ผลจากแบบสอบถาม

วิเคราะหข์ อ้ มลู เช่ือมโยงกับแนวคดิ วเิ คราะห์และผลจากแบบสอบถาม

นาเสนอผลงานวิจยั ต่อกรมพฒั นาฝมี อื แรงงานเพื่อนาไปใช้ประโยชน์

บทท่ี 4

ผลการศกึ ษา

1. ผลการดาเนินงาน
ผลการประเมินรับรองความรู้ความสามารถ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ต้ังแต่วันท่ี 26

ตุลาคม 2559 จนถึง เดือน กันยายน 2564

ภาพที่ 5 แสดงจานวนผู้ผ่านการรบั รองความรู้ความสามารถ

มยี อดรวม 157,418 คน แบ่งเป็น ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร จานวน 148,838 คน ช่างเคร่ืองปรับอากาศ
ในบ้านและการพาณิชยข์ นาดเล็ก จานวน 7,058 คน ชา่ งเชอ่ื ม (ช่างเช่อื มอารก์ โลหะด้วยมอื ช่างเชอื่ มทิก
ช่างเชื่อมแม็ก) จานวน 1,524 คน

มผี เู้ ข้ารบั การทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ซึ่งเป็น
องค์ประกอบในการขอเข้ารับการรับรองความรู้ความสามารถ ข้อมูลจากปี 2559 - 2561 พบว่า
มอี ตั รากา้ วกระโดด คิดเป็นรอ้ ยละ 63 จากสาขาทเ่ี ข้ารบั การทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานแห่งชาติ

21
ภาพท่ี 6 แสดงสดั สว่ นสาขาที่มกี ารดาเนนิ การทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงานแหง่ ชาติ

ภาพท่ี 7 แสดงจานวนผู้เข้า/ผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานฯ

22

จากรูปท่ี 6 และรูปท่ี 7 จะเห็นว่าสัดส่วนของผู้เข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
แห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ต้ังแต่ปี 2559 ถึง ปี 2562 มีผู้เข้ารับการทดสอบมาตรฐาน
สาขาช่างไฟฟา้ ภายในอาคาร จานวน 234,925 คน มากทสี่ ดุ เมอ่ื เทยี บกับกลุม่ สาขาอาชพี อื่น

ภาพที่ 8 แสดงจานวนผเู้ ขา้ รับการทดสอบแบง่ ตามกลมุ่ สาขาอาชีพ

ในส่วนของรายได้สาหรับผู้ผ่านการรับรองความรู้ความสามารถ จากความร่วมมือระหว่าง
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ภายใต้ “โครงการ 1 ตาบล 1 ช่างไฟฟ้า” ซึ่งทั้ง
สองหน่วยงานร่วมกันพัฒนาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร โดยเริ่มตั้งแต่การฝึกอบรมสาขาช่างไฟฟ้า
ภายในอาคาร จานวน 18 ชั่วโมง ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
และผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เข้ารับการประเมินความรู้ความสามารถ
โดยผู้ผ่านการประเมินจะได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถเพื่อไปประกอบอาชีพ
โดยโครงการดังกล่าวดาเนินการมาต้ังแต่ปี 2560 - 2563 มีผู้เข้าร่วมโครงการและมีหนังสือรับรอง
ความรู้ความสามารถ จานวน 5,354 คน ซึ่งท้ังสองหน่วยงานมีแผนจะดาเนินการต่อเน่ืองไปจนถึงปี
2565 ใหค้ รบทุกตาบลของประเทศไทยซึ่งมีจานวน 8,860 ตาบล

จากโครงการดังกล่าวได้ดาเนินการเก็บข้อมูลรายได้ผู้เข้าร่วมโครงการด้านรายได้ก่อนการ
เข้าร่วมโครงการและหลังเข้าร่วมโครงการ โดยสอบถามกว่า 4,000 รายของผู้เข้าร่วมโครงการ
พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้สูงข้ึนคิดเป็น 430 ล้านบาท เทียบกับการสนับสนุนงบประมาณ
ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จานวน 24 ล้าน คิดเป็น 18 เท่า ของงบประมาณที่สนับสนุนจาก
รูปที่ 10 แสดงรายได้ที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากที่เขา้ รับการฝึกอบรม ทดสอบมาตรฐานฯ
และผา่ นการรบั รองความรู้ความสามารถ

23
ภาพท่ี 9 แสดงผเู้ ข้าร่วมโครงการ 1 ตาบล 1 ช่างไฟฟ้า

ภาพที่ 10 แสดงรายได้ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ

24

2. ขอ้ กฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
การประเมินรับรองความรู้ความสามารถ ดาเนินการตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริม

การพฒั นาฝมี ือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อื นไขในการยืน่ คาขอ การประเมิน การออก
หนังสือรับรองความรู้ความสามารถ อายุหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ และการออกใบแทน
หนังสือรับรองความรู้ความสามารถ ข้อ 3 และข้อที่ 5 กาหนดน้าหนักคะแนนในการประเมิน
รบั รองความรู้ความสามารถ

ภาพท่ี 11 แสดงหลักเกณฑ์การประเมิน

25

3. งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง
มขี ้อมูลการศกึ ษาเกย่ี วกับแนวทางการรบั รองความร้คู วามสามารถและการทดสอบมาตรฐาน

ฝีมือแรงงานรองรับแนวโนม้ แหง่ อนาคต
ของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาเครือข่าย
กองแผนงานและสารสนเทศ พบว่า
การรับรองความรู้ความสามารถ หรือ
License

มีจุดเร่ิมต้นจากทฤษ ฎี ทาง
เศ รษ ฐ ศ าส ต ร์ที่ เรีย ก ว่า ค วาม
ล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
ในเรื่องความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล
(Asymmetric Information) เพื่อป้องกัน
ผู้บริโภคจากการไม่มีข้อมูลเท่ากับ
ผู้ให้บ ริการ ดั งน้ัน License จึงมี
ความสาคัญในฐานะที่เป็นเคร่ืองพิสูจน์ว่า ผู้ให้บริการมีความรู้ความสามารถเพียงพอท่ีผู้บริโภค
จะสามารถไว้วางใจได้ โดยเฉพาะอาชีพที่เกี่ยวกับการบริการ ซ่ึงประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่
จะมกี ารกาหนดอาชีพท่ีตอ้ งมี License ไว้หากฝ่าฝนื จะมโี ทษตามกฎหมาย

ภาพที่ 12 อาชีพท่ีต้องมี License ในสหรฐั อเมริกา

26

และจากการศึกษาพบว่าผู้มี License ในสหรัฐอเมริกา มีรายได้สูงกว่าผู้ไม่มี License ร้อยละ 15
โดยผลดังกล่าวมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเช่ือม่ันร้อยละ 99 สะท้อนให้เห็นว่า License
ส่งผลต่อระดับรายได้สูงขึ้นของผู้ประกอบอาชีพ จากกลุ่มตัวอย่างของผู้ประกอบอาชีพ
ในสหรัฐอเมรกิ าท้ังหมด 3,982 คน

ภาพที่ 13 ผลการศึกษาทางเศรษฐมิติ

ประเทศในสหภาพยุโรปมีจานวนผู้ได้รับ License แตกต่างกันออกไปต้ังแต่ร้อยละ 14 - 33
ค่าเฉล่ียอยู่ท่ีร้อยละ 22 โดยมีลักษณะแตกต่างจากสหรัฐอเมริกากล่าวคือ 1) รูปแบบตามกฎหมาย
2) รูปแบบสมัครใจ อย่างไรก็ดี การมี License ไม่ได้กีดกันผู้ไม่มี License ไม่ให้ทางานในอาชีพน้ัน
เช่น ผูไ้ ม่มี License สามารถตดิ ตั้งการเดินสายไฟฟ้าได้ แตผ่ ู้มี License สามารถตรวจสอบและให้
การรับรองความปลอดภัยของการติดตั้งดังกลา่ ว

27

ภาพท่ี 14 จานวนผไู้ ด้รบั License ในยุโรป

License ในประเทศญ่ีปุ่น พบว่าแรงงานของญี่ปุ่นร้อยละ 56 มี License ส่วนใหญ่เป็นอาชีพ
ในภาคบริการได้แก่ บริการสุขภาพ การศึกษา การคมนาคมขนส่ง และการเงิน และพบว่า การมี
License ส่งผลให้ได้รับค่าตอบแทนเพ่ิมขึ้น แต่ขึ้นอยู่กับลักษณะการผูกขาดของอาชีพด้วย
หมายความวา่ หากอาชีพน้นั ขาดแคลนจะยง่ิ สามารถบวกค่าบริการได้มากข้ึน

ภาพท่ี 15 ข้อมลู กล่มุ ตัวอย่างแรงงานของญ่ปี ุ่น

28

บทสรุปจากการศกึ ษาพบวา่ ข้อดี และข้อเสยี ของผมู้ ี License ดงั ตารางขา้ งลา่ ง

License ในประเทศไทยมีการรับรองความรู้ความสามารถ โดยท่ัวไปในลักษณะการให้
ใบประกอบวิชาชีพซึ่งเป็นใบอนุญาตให้สามารถประกอบวิชาชีพน้ัน ๆ ตามความสามารถที่เรียนมา
โดยผู้ท่ีจะได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะต้องมีคุณสมบัติท่ีองค์กรออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
กาหนดไว้ ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะไม่สามารถประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ได้ หากฝ่าฝืน
จะมีโทษตามที่องคก์ รวิชาชีพแต่ละองคก์ รกาหนดไว้ ปัจจุบันมีวิชาชพี ท่ตี ้องมีใบประกอบวิชาชพี ดังน้ี

29

4. ขอ้ มูลผลติ ภณั ฑ์ทีเ่ กย่ี วข้อง
ข้อมูลเพิ่มเติม จากการสอบถามบริษัทขายเคร่ืองเชื่อมแห่งหนึ่งพบว่า จานวนเคร่ืองเชื่อม

อาร์กโลหะด้วยมือ มียอดขายรวม 3 ปี กว่า 32,154 เครื่อง น้ันหมายถึงผู้ท่ีใช้งานหรือช่างเชื่อม
ทใ่ี ชง้ าน หากช่างผู้ปฏบิ ัติงานไมม่ คี วามร้คู วามสามารถอาจทาใหเ้ กดิ อนั ตรายได้เชน่ กัน

ตารางท่ี 6 ข้อมูลเคร่ืองเชื่อม

ขอ้ มลู เพ่ิมเติม จากการสอบถามบรษิ ัทขายเครอื่ งปรับอากาศแห่งหน่ึงพบว่า จานวนยอดขาย
เครื่องปรับอากาศขนาดต่ากว่า 36,000 BTU ใน 1 ปี มีมากกว่า 2 แสนเครื่อง น้ันหมายถึงผู้ท่ี
ใช้งานหรือช่างเชื่อมท่ีใช้งาน หากช่างผู้ปฏิบัติงานไม่มีความรู้ความสามารถอาจเกิดอันตรายได้เช่นกัน
ฉะนั้น ช่างผู้ปฏิบัติงานจาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถ โดยผ่านกลไกการประเมินความรู้
ความสามารถซ่งึ จะทาใหผ้ ูบ้ รโิ ภคมคี วามปลอดภัย

ตารางท่ี 7 ข้อมลู เครื่องปรับอากาศ

ข้อมูลจากกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พบว่าแนวโน้ม
อัตราการประสบอันตรายจากการทางานจาแนกตามความรุนแรงและการจ่ายเงินทด แทน
พ.ศ 2549 - 2560 รวมทุกกรณีมีแนวโน้มลดลง ณ ปี 2560 โดยอัตราการประสบอันตรายจากการทางาน
(รวมทกุ กรณตี ่อลูกจ้าง 1,000 คน เหลือ 8.82 และเงนิ ทดแทน นอ้ ยกวา่ 600 ล้านบาท)

30

ภาพที่ 16 แนวโนม้ อตั ราการประสบอนั ตรายจากการทางานจาแนกตามความรุนแรง

และยงั แพลบะกวา่ารปจร่าะยเเงภนิ ททกดจิ แกทานรดพ้า.ศน.2ก5ารผลติ มีสัดส่วนการประสบอนั ตรายมากทสี่ ุด เช่นกัน

ภาพที่ 17 การประสบอนั ตรายจากการทางาน จาแนกตามประเภทกิจการ 18 กลุ่มประเภทหลกั

31

ภาพท่ี 18 อัตราการปฏบิ ตั ิไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน
จาแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 1 ปี 2561

ภาพท่ี 19 สถิตกิ ารประสบอนั ตรายหรือเจ็บป่วยเน่ืองจากการทางาน
จาแนกตามความรุนแรงและตาแหนง่ หน้าที่ ปี 2561

32

33

5. ความพร้อมของกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน
ด้านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีหน่วยงานท่ีพร้อมดาเนินการ

ครอบคลุมทุกจังหวัดของประเทศไทย รวมถึงสาขามาตรฐานฝีมือแรงงานท่ีเก่ียวขอ้ งและผูท้ ดสอบ
มาตรฐานฝมี อื แรงงานที่เก่ยี วขอ้ ง

ภาพที่ 20 สาขาและจานวนผู้ทดสอบ

ด้านการรับรองความรู้ความสามารถ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีหน่วยงานที่พร้อมดาเนินการ
ครอบคลมุ ทกุ จังหวดั ของประเทศไทย และมีศูนยป์ ระเมินตามมาตรา 26/4(2) อีก 33 แหง่ รวมถึง
ผู้ประเมนิ ในสาขาท่เี กี่ยวข้อง

ภาพท่ี 21 จานวนผู้ประเมนิ ทั่วประเทศ

34

6. ผลจากแบบสอบถาม
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานได้ดาเนินการจัดทาแบบสอบถามเพ่ือเป็นการสารวจความจาเป็น

การใช้บริการช่างที่มีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (License) ตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
การพัฒนาฝมี ือแรงงาน พ.ศ. 2545 และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
กระทรวงแรงงาน ในช่วงระหว่างวันที่ 28 ตุลาคม – 15 พฤศจิกายน 2564 โดยส่งแบบสอบถามให้กับ
คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน คณะอนุกรรมการที่ได้รับการแต่งต้ัง เพื่อจาแนก
และกาหนดระดับความรู้ความสามารถแต่ละสาขา สถาบันการศึกษาในสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และสานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
และหน่วยงานเครือข่ายท่ีเป็นศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ ตามมาตรา 26/4(2)
ผลจากผตู้ อบแบบสอบถามจานวน 1,633 ราย สรุปดังน้ี

6.1 สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลเกยี่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม
6.1.1 เพศ
1) ชาย จานวน 1,041 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 63.7
2) หญงิ จานวน 592 คน คดิ เป็นร้อยละ 36.3

35

6.1.2 อายุ
1) ต่ากวา่ 20 ปี จานวน 11 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.7
2) 21–30 ปี จานวน 250 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 15.3
3) 31 – 40 ปี จานวน 469 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 28.7
4) 41 – 50 ปี จานวน 561 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 34.4
5) 51 – 60 ปี จานวน 308 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.9
6) มากกวา่ 60 ปี จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 2.1

6.1.3 ระดับการศึกษา
1) ต่ากว่ามัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 42 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.6
2) มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. จานวน 86 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.3
3) อนปุ ริญญา/ปวส. จานวน 223 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.7
4) ปรญิ ญาตรี จานวน 827 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.6
5) สูงกวา่ ปริญญาตรี จานวน 455 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 27.9

36

6.1.4 อาชพี
1) นกั เรียน/นกั ศึกษา จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3
2) ขา้ ราชการ จานวน 630 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 38.6
3) พนักงานรฐั วสิ าหกิจ จานวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 4.6
4) พนกั งานเอกชน จานวน 421 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.8
5) ธุรกิจสว่ นตัว จานวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 6.6
6) แม่บ้าน/พอ่ บ้าน จานวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.3
7) อน่ื ๆ เช่น ช่าง พนกั งานของรัฐ รบั จ้างทั่วไป จานวน 374 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.8

6.1.5 รายไดต้ อ่ เดอื น
1) ต่ากวา่ 10,000 บาท จานวน 79 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.8
2) 10,001 – 20,000 บาท จานวน 577 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 35.3
3) 20,001 – 30,000 บาท จานวน 474 คน คิดเป็นร้อยละ 29
4) 30,001 บาทข้นึ ไป จานวน 503 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8

37

6.2 ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม

6.2.1 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า “ช่างหรือผู้ปฏิบัติงานด้านช่าง ” ต้องมีหนังสือรับรอง
ความรูค้ วามสามารถกอ่ นการปฏบิ ตั งิ าน

1) เหน็ ดว้ ย เพราะ(โปรดระบุ) จานวน 1,556 คน คิดเปน็ ร้อยละ 95.3
2) ไมเ่ ห็นดว้ ย เพราะ(โปรดระบุ) จานวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 4.7

1) เห็นดว้ ย เพราะ...
(1) มน่ั ใจในคุณภาพงาน จานวน 945 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 60.7
(2) เกดิ ความปลอดภยั จานวน 565 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 36.3
(3) คุม้ คา่ จ้าง จานวน 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.6
(4) อ่ืนๆ เช่น คนไทยได้รับการจ้างงาน ตรวจสอบหาข้อมูลของช่างเพ่ิมเติมได้

มั่นใจในฝมี อื คมุ้ คา่ เงนิ จานวน 37 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.4

38

2) ไม่เหน็ ดว้ ย เพราะ...
(1) กีดกันช่างคนอนื่ จานวน 24 คน คดิ เป็นร้อยละ 31.2
(2) หาช่างยาก จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 19.5
(3) ค่าจ้างแพง จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.9
(4) อื่นๆ เช่น ควรเป็นช่างเฉพาะอาชีพ ความสามารถทักษะแต่ละคนไม่เหมือนกัน

ขนั้ ตอนยงุ่ ยากเกนิ ไป จานวน 35 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 45.4

6.2.2 ท่านทราบหรือไม่ว่า “ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร” ต้องมีหนังสือรับรองความรู้
ความสามารถ (License) จึงจะปฏบิ ัตงิ านได้

1) ทราบ จานวน 1,391 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 85.2
2) ไมท่ ราบ จานวน 242 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 14.8

39

6.2.3 ท่านทราบหรือไม่ว่า “ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร” หากปฏิบัติงานโดยไม่มีหนังสือ
รบั รองความรคู้ วามสามารถ (License) จะมโี ทษปรบั ไม่เกิน 5,000 บาท ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ

1) ทราบ จานวน 1,093 คน คิดเป็นร้อยละ 66.9
2) ไมท่ ราบ จานวน 540 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.1

6.2.4 ท่านทราบหรือไม่ว่า สถานประกอบกิจการหรือนายจ้าง หากจ้างช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
ปฏิบัติงานโดยไม่มีหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (License) จะมีโทษปรับไม่เกิน 30,000 บาท
ตาม พ.ร.บ.สง่ เสริมฯ

1) ทราบ จานวน 1,043 คน คิดเปน็ ร้อยละ 63.9
2) ไม่ทราบ จานวน 590 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 36.1

40

6.2.5 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า “ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร” ต้องมีหนังสือรับรองความรู้
ความสามารถ (License) กอ่ นการปฏิบตั ิงาน

1) เหน็ ดว้ ย เพราะ(โปรดระบุ) จานวน 1,579 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.7
2) ไมเ่ ห็นด้วย เพราะ(โปรดระบ)ุ จานวน 54 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3.3

1) เหน็ ด้วย เพราะ...
(1) เกิดความปลอดภัย จานวน 980 คน คดิ เป็นร้อยละ 62.1
(2) ม่นั ใจในคุณภาพงาน จานวน 563 คน คดิ เป็นร้อยละ 35.7
(3) คมุ้ คา่ จา้ ง จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.4
(4) อน่ื ๆ เช่น จะได้ช่างท่มี ีคณุ ภาพ จานวน 30 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.8

41

2) ไม่เห็นดว้ ย เพราะ...
(1) กดี กนั ชา่ งคนอื่น จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 35.2
(2) หาช่างยาก จานวน 14 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.9
(3) อื่นๆ เช่น ไม่เช่ือว่าช่างท่ีมีความรู้ความสามารถแล้วจะทางานได้ดี ค่าจ้างแพง

จานวน 21 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 38.9

6.3 สว่ นท่ี 3 ขอ้ มูล ขอ้ เสนอแนะท่ีเก่ียวข้องกับ พ.ร.บ.ส่งเสรมิ การพฒั นาฝมี อื แรงงาน
พ.ศ. 2545 และที่แกไ้ ขเพิม่ เติม

6.3.1 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า “สาขาช่างเช่ือมอาร์กโลหะด้วยมือ” ต้องมีหนังสือ
รบั รองความรคู้ วามสามารถ (License) กอ่ นการปฏิบัติงาน

1) เห็นด้วย เพราะ(โปรดระบ)ุ จานวน 1,520 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 93.1
2) ไม่เห็นด้วย เพราะ(โปรดระบุ) จานวน 113 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.9


Click to View FlipBook Version