The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2020-06-25 06:02:34

คู่มือการนิเทศ การประกันคุณภาพการศึกษา

47




ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา หลักสูตร
สถานศึกษาจะเป็นตัวสะท้อนคุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษาได้เป็นอย่างดี มีหลักสูตรสถานศึกษาจะมี

การก าหนดจุดมุ่งหมาย แนวทาง วิธีการและเนื้อหาสาระที่เรียน ตลอดจนวิธีการวัดและประเมินผล
การเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งจะสะท้อนว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ เจตคติและ

พฤติกรรมตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษาก าหนดไว้หรือไม่ หลักสูตรที่ดีควรค านึงถึงบริบทของ

ผู้เรียน ท้องถิ่นและชุมชน มีการบูรณาการสาระการเรียนรู้ หรือจัดท ารายวิชาเพมเติมที่สอดคล้อง
ิ่

กับความถนัด ความสามารถและความสนใจของผู้เรียนและจัดกิจกรรมพฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริม
ศักยภาพของผู้เรียนตามขีดความสามารถท าให้ผู้เรียนมีความสมบูรณ์และสมดุลทั้งทางร่างกาย สังคม

อารมณ์ จิตใจและสติปัญญา ด้านการพฒนาครูและบุคลากร ครูและบุคลากรเป็นปัจจัยส าคัญที่
ช่วยให้การจัดการศึกษาเกิดคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่ก าหนด การพฒนาครูและบุคลากร

เน้นไปที่ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพซึ่งต้องมีการ พฒนาที่ตรงตามความต้องการจ าเป็นอย่างต่อเนื่อง

ทั้งในส่วนของบุคคลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ ของการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

ด้านการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการ สภาพแวดล้อมและ การบริการที่ดีเป็นปัจจัยส าคัญต่อการ


พฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา สถานศึกษาที่มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนที่มั่นคง
ื้
สะอาด มีแหล่งเรียนรู้ที่เพียงพอ มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออต่อการจัดการ
ื่
เรียนรู้ ตลอดจนมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอสนับสนุนการบริหารจัดการ และการ
จัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพท าให้ผู้เรียนด าเนินชีวิตอยู่ในสถานศึกษาได้อย่างมีความสุข ปลอดภัย มี

คุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งจะส่งผลถึงความส าเร็จในการเรียนของผู้เรียนด้วย มาตรฐานด้านกระบวนการ

บริหารและการจัดการมุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นต้น ในระดับ “ปานกลาง” ที่เป้าหมายวิสัยทัศน์

และพนธกิจที่สถานศึกษาก าหนดและระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา ส่วนคุณภาพ
มาตรฐานขั้นสูง ได้แก่ ระดับ “ดี” “ดีเลิศ” และ “ยอดเยี่ยม” จะมุ่งเน้นไปที่คุณภาพมาตรฐานใน
ระดับที่แตกต่างกัน ในเรื่องการด าเนินการพฒนาวิชาการ การพฒนาครูและบุคลากร การจัด


สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม รวมทั้งการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา

3. แนวคิดในการก าหนดมาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นส าคัญ


การจัดการเรียนการสอนเป็นกลไกส าคัญในการพฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งจะบ่ง
บอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษา ในปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนที่ยอมรับกันว่าส่งเสริมให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญซึ่งเน้นที่การปฏิบัติ

ื่
(active learning) เพอให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัติที่น าไปสู่การเรียนรู้ที่
ลึกซึ้งและคงทน มาตรฐานด้านการจัด การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มุ่งเน้นคุณภาพ
มาตรฐานขั้นต้น ในระดับ “ปานกลาง” ที่การจัด การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง

48




รวมทั้งความสามารถในการน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิต การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่ง
เรียนรู้ที่เออต่อการเรียนรู้ ตลอดจนการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและการน าผล
ื้
มาพัฒนาผู้เรียน ส่วนคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง ได้แก่ ระดับ “ดี” “ดีเลิศ” และ “ยอดเยี่ยม” จะ
มุ่งเน้นไปที่คุณภาพมาตรฐานในระดับที่แตกต่างกันในเรื่อง การบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงบวก

รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

2.2.2 มาตรฐานการศึกษา
การพฒนามาตรฐานการศึกษา มีแนวคิดว่าต้องเป็นมาตรฐานที่สถานศึกษาปฏิบัติ

ได้จริง ประเมิน ได้จริง กระชับ และจ านวนน้อย แต่สามารถสะท้อนบริบทของสถานศึกษาและ
คุณภาพการศึกษาได้จริง ข้อมูลที่ได้เกิดประโยชน์ในการพฒนาการศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ

ื้
สถานศึกษา ระดับเขตพนที่การศึกษา ระดับหน่วยงานต้นสังกัด และระดับชาติ ดังนั้น การก าหนด
มาตรฐานการศึกษาจึงเน้นที่คุณภาพผู้เรียน คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา และคุณภาพครู มีความ
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ และข้อก าหนดในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา

พ.ศ. 2561

(1) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย พ.ศ. 2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ

รายละเอียดแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก


1.1 มีพฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความ
ปลอดภัยของตนเองได้

1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้

1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

ื้
1.4 มีพฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพนฐาน และ
แสวงหาความรู้ได้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของ

ท้องถิ่น

2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์

49




2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ
2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพอสนับสนุนการ
ื่
จัดประสบการณ์
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ


3.1. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม
ศักยภาพ

3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมี
ความสุข

3.3 จัดบรรยากาศที่เออต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ
ื้
วัย
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพฒนาการ

เด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก


(2) มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ื้
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพนฐาน พ.ศ. 2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน
ได้แก่

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน

1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

รายละเอียดแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดค านวณ

2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา

3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

50




6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด
2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษาก าหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

2.3 ด าเนินงานพฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร

สถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

ื้
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี
คุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัด
ื่
การเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์

ใช้ในชีวิตได้
3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน

3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพอพฒนาและปรับปรุง
ื่

การจัดการเรียนรู้


2.2.3 แนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา

จากประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ได้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 11 ก หน้า 3 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพนธ์ 2561 กล่าวถึง “การ

ประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตาม

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม

ื่
ตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพอให้เกิดการพฒนาและสร้าง

51




ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมี
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่

ก ากับดูแล โดยให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา โดยการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่

ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด พร้อมทั้ง

จัดท าแผนพฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและ

ด าเนินการตามแผนที่ก าหนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน

ื่
สถานศึกษา ติดตามผล การด าเนินการเพอพฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับ
ดูแลสถานศึกษาเป็นประจ าทุกปี

ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษามีหน้าที่ในการให้
ค าปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะน าสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และจัดส่งรายงานการประเมนตนเองของสถานศึกษาพร้อมกับประเด็นต่างๆ ที่

ต้องการให้มีการประเมินผลและ การติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ื่
หรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้นให้แก่ สมศ. เพอใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการ
ประเมินคุณภาพภายนอก สมศ. ด าเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบดังกล่าว

พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษา

นั้น ๆ เพอให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป สมศ.
ื่

อาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากส านักงานด าเนินการประเมินผลและติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้
เพื่อให้การด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปตามกฎกระทรวงการประกัน

คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 จึงให้สถานศึกษาในสังกัดทุกโรง เข้าใจถึงแนวทางการด าเนินงาน

พฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการรองรับการประเมินภายนอกรอบสี่

ดังนี้

1) สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดให้การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

สถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยมีการก าหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่

กระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด พร้อมทั้งจัดท าแผนพฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่

มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและด าเนินการตามแผนที่ก าหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและ
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผล

52




ื่

การด าเนินงานเพอพฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการ
ประเมินตนเอง (SAR) ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจ าทุก
ปี
2) ในปีการศึกษา 2561 สถานศึกษาจะได้มีการน ามาตรฐานการศึกษาที่

กระทรวงศึกษาธิการจะก าหนดประกาศใช้ ไปเทียบเคียงและจัดท าเป็น “มาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา” จัดท าแผนพฒนาการจัดการศึกษาและด าเนินงานตามแผนฯ ตลอดช่วงปีการศึกษา

และจัดทา SAR ตามกรอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา หลังสิ้นปีการศึกษา แล้วจึงจัดส่ง

SAR ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษา
3) เมื่อหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษาได้รับ SAR จาก

สถานศึกษา ก็จะมีการสรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการด าเนินงาน และจัดส่ง SAR พร้อม

ประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบให้แก่ สมศ. เพอใช้เป็นข้อมูล
ื่
และแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก

4) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพตาม

มาตรฐานเป็นไปตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) และการ
ตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (peer review) โดยเทียบกับ

เกณฑ์หรือมาตรฐานที่ก าหนดไว้ คณะกรรมการประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้านและวิเคราะห์
ื่
ข้อมูลร่วมกันในการตัดสิน เพอให้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ที่ก าหนด ซึ่งจะไม่ใช่การให้คะแนนตาม
ความคิดเห็นของคนใดคนหนึ่ง

5) การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องตรวจสอบและ
ประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษาที่แท้จริง โดยให้ความส าคัญกับการประเมินเชิง

คุณภาพ ผนวกกับการประเมิน เชิงปริมาณควบคู่กันไป การตัดสินคุณภาพของสถานศึกษาให้ใช้
เกณฑ์การให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการ ที่ไม่แยกส่วนหรือแยกองค์ประกอบในการก าหนด

คะแนนประเมิน แต่เป็นการประเมินในภาพรวมของผล การด าเนินงานหรือกระบวนการด าเนินงาน

(holistic rubrics)
6) การก าหนดเป้าหมายการด าเนินงานภายในของสถานศึกษา ให้สถานศึกษา

ื่
ก าหนดเป้าหมายและเกณฑ์การประเมินตามสภาพบริบทของสถานศึกษาเอง เพอตรวจสอบและ

ื่
ประเมินผลการด าเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา โดยให้ยึดหลักการด าเนินงานเพอพฒนา และ
สะท้อนคุณภาพการด าเนินงานตามเป้าหมายที่ก าหนดตามมาตรฐานของสถานศึกษา
7) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เน้นการประเมินตามหลักฐานเชิง

ประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา (evidence based) โดยเลือกใช้
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสมและสะท้อนคุณภาพการด าเนินงานตามมาตรฐานของ

53




ื่

สถานศึกษาได้อย่างชัดเจน และมีเป้าหมาย การประเมินเพอการพฒนา ลดภาระการจัดเก็บข้อมูล
และเอกสารที่ไม่จ าเป็นในการประเมิน แต่ข้อมูลต้องมีความน่าเชื่อถือและสามารถตรวจสอบผลการ
ประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษานั้น ๆ
8) คณะที่ท าหน้าที่ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรศึกษามาตรฐาน

การศึกษาและประเด็นพิจารณาที่ก าหนดให้เข้าใจถ่องแท้ก่อนด าเนินการประเมินคุณภาพสถานศึกษา

ของตน หลังประเมินแล้วให้แจ้งผลการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพฒนาคุณภาพ

การศึกษา สรุปและเขียนรายงาน การประเมินตนเอง (self-assessment report)

9) ในการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้
สถานศึกษาด าเนินการ โดยให้มีการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

และในการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ใช้วิธีการและเครื่องมือ

ที่หลากหลายและเหมาะสม
10) ให้สถานศึกษาสรุปและจัดท ารายงานการประเมินตนเองที่สะท้อนคุณภาพ

ผู้เรียนและผลส าเร็จของการบริหารจัดการศึกษา น าเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น

พื้นฐานและหน่วยงานต้นสังกัด เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเตรียม
รับการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป

11) โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาไม่มีรูปแบบตายตัว ให้
สถานศึกษาจัดท าในสิ่งที่สถานศึกษาต้องการน าเสนอได้ สิ่งส าคัญที่สุดของรายงานการประเมิน


ตนเอง คือ กระบวนการพฒนาคุณภาพ ซึ่งหมายรวมถึง กิจกรรม/โครงการ/งานที่สถานศึกษา
ด าเนินการที่จะสะท้อนให้เห็นถึงหลักการ แนวคิดของผู้บริหารสถานศึกษา การมีเป้าหมายหรือ
รูปแบบที่ชัดเจนในการพฒนาการเรียนการสอน ซึ่งทุกกิจกรรม/โครงการ/งาน ส่งผลถึงการพฒนา


ผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา โดยให้น าเสนอข้อมูลพนฐานเบื้องต้นของสถานศึกษาและ
ื้
มุ่งเน้นค าถามดังนี้ คือ 1) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพในระดับใด 2) ข้อมูล


หลักฐานและเอกสารเชิงประจักษ์สนับสนุนมีอะไรบ้าง และ 3) แนวทางพฒนาคุณภาพให้สูงขึ้น
กว่าเดิมเป็นอย่างไร
12) ข้อควรตระหนักในการประเมินคุณภาพภายใน

12.1) ผู้ประเมินควรมีความรู้ลึกและเข้าใจบริบทของการจัดการศึกษาของ

สถานศึกษา ทั้งในแง่มุมของภาระงาน โครงสร้าง เทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ในการบริหารและการ



ื่
พฒนาการจัดการเรียนรู้ และมีประสบการณ์เพยงพอ เพอการช่วยชี้แนะการปรับปรุงพฒนา
สถานศึกษาได้อย่างชัดเจน และตรงประเด็นเกิดประโยชน์ต่อสถานศึกษาอย่างแท้จริง

54




12.2) ผู้ประเมินควรวิเคราะห์อภิปรายด้วยใจเป็นกลาง โดยพจารณาจากข้อมูล

หลักฐานที่เก็บรวบรวมจากหลาย ๆ ด้าน ทั้งข้อมูลปัจจุบันและผลการประเมินการด าเนินงานที่ผ่าน

มา (อาจพิจารณาย้อนหลัง 3 ปี) ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาว่าอยู่ในระดับใด
12.3) สิ่งที่มีคุณค่ามากที่สุดที่ได้รับจากการประเมินภายในของสถานศึกษา คือ


การได้รับข้อชี้แนะ ค าแนะน า แนวทางการพฒนาสถานศึกษาที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติได้จริง ดังนั้น
ผู้ประเมินจึงควรรู้ความเคลื่อนไหวของการพฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการ

พัฒนาการเรียนการสอน

12.4) การก าหนดระยะเวลาด าเนินการประเมินภายในของสถานศึกษานั้น ให้
สถานศึกษา

ื่
ก าหนดได้เองตามความเหมาะสม แต่ควรสอดคล้องกับสภาพและบริบทของการด าเนินงาน เพอ

ความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหลักฐาน เช่น แผนพฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษา แผนการเรียนรู้ บันทึกหลังสอน รายงานประชุม เป็นต้น ซึ่งจะเห็นได้ว่า เอกสาร

หลักฐานต่าง ๆ นั้น เกิดขึ้นจาก การปฏิบัติงาน ไม่ใช่การสร้างเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม

12.5) การเก็บรวบรวมข้อมูลในส่วนของการสังเกตและสัมภาษณ์นั้น ควร
กระท าด้วยความระมัดระวัง ต้องสร้างความรู้สึกเป็นมิตรมากกว่าการจับผิดหรือการกล่าวโทษ และ

ควรพดคุยสอบถามด้วยความสุภาพและสร้างความไว้วางใจเป็นอนดับแรก ก่อนที่จะสอบถามเพอ


ื่
การเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป


2.2.4 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(1) ระดับสถานศึกษา

ให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด าเนินการดังต่อไปนี้
1. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายในสถานศึกษาเพอเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ให้เกิด
ื่
การพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สังคม ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
2. การจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดังนี้

2.1 ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน

การศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง
ด าเนินการและถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกัน ทั้งนี้ สถานศึกษาอาจก าหนดมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษาเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้

55





2.2 จัดท าแผนพฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับ
สภาพปัญหาและความต้องการจ าเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพ

ความส าเร็จอย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2.3 ด าเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกษา

2.4 ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

โดยก าหนดผู้รับผิดชอบในการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ทั้งระดับบุคคลและระดับ
สถานศึกษา และก าหนด การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายและเหมาะสม

ื่
2.5 ติดตามผลการด าเนินการเพอพฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา และน าผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนา

2.6 จัดท ารายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report :
SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา น าเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อ

ื้
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อส านักงานเขต
พื้นที่การศึกษาเป็นประจ าทุกปี
2.7 พฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพจารณาจากรายงานผลการ


ื้
ประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตามค าแนะน าของส านักงานเขตพนที่
ื่
การศึกษาหรือส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนฐาน เพอให้การประกันคุณภาพการศึกษา
ื้
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

3. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับส านักงานรับรองมาตรฐานและ

ื่
ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพอปรับปรุงและพฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม
ข้อเสนอแนะของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และหน่วยงาน

ื่
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแล เพอน าไปสู่การพฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา


(2) ระดับส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ส านักงานเขตพนที่การศึกษาในฐานะหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษา
ื้
ด าเนินการดังต่อไปนี้
1. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ื่
ตลอดจนให้ค าปรึกษา ช่วยเหลือและแนะน าสถานศึกษา เพอให้การประกันคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาแต่ละแห่งพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

56




2. จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment
Report : SAR) พร้อมกับประเด็นที่ต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้

จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาไปยังส านักงานคณะกรรมการ
ื้
การศึกษาขั้นพนฐาน และส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพอใช้
ื่
เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก

3. ให้ค าปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะน าสถานศึกษา เพอให้การประกัน
ื่
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

4. ติดตามผลการด าเนินงาน ปรับปรุงและพฒนาคุณภาพการศึกษาของ

สถานศึกษา ตามข้อเสนอแนะของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกษาของสถานศกษา


5. ให้ความร่วมมือกับส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ.) ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากส านักงาน เพอการ
ื่
ประเมินคุณภาพภายนอก

6. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมิน
เข้าร่วมสังเกตรับฟังหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการประเมินคุณภาพภายนอกด้วยก็ได้

57




ส่วนที่ 3
แนวทางการนิเทศการประกันคุณภาพการศึกษา



ิ่

การนิเทศการประกันคุณภาพการศึกษามีความส าคัญต่อการพฒนา ปรับปรุง และเพม
ื่
ประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพอให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และ
บุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

สามารถด าเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอย่างเข้มแข็งและมี
ประสิทธิภาพ รวมทั้งการบริหารจัดการ และปัญหาอนๆ ที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา กลุ่มงาน
ื่
ประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพนที่
ื้

การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 ด าเนินการ โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พ ไอ ซี อ (APICE

Model) ดังแผนภาพที่ 1 และแผนภาพที่ 2 ดังนี้


แผนภาพที่ 1 การนิเทศงานการประกันคุณภาพการศึกษา
โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)



ศึกษาสภาพ และความต้องการ
(Assessing Needs : A)



การวางแผนการนิเทศ
(Planning : P)



การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ

(Informing : I)



การนิเทศแบบโค้ช

(Coaching : C)



การประเมินผลการนิเทศ

(Evaluating : E)

58




แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการนิเทศการประกันคุณภาพการศึกษา
โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)


กรอบแนวคิดการนิเทศ การประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)




ศึกษาสภาพ และความต้องการ ศึกษาสภาพปัจจุบัน/ปัญหา และความต้องการ
(Assessing Needs : A)

ก าหนดตัวชี้วัดความส าเร็จ (KPI)
การวางแผนการนิเทศ

(Planning : P) สร้างสื่อ/นวัตกรรม และเครื่องมือการนิเทศ


ก าหนดกิจกรรมและปฏิทินการนิเทศ



การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ ส่งเสริม/พัฒนาความรู้ที่เกี่ยวข้องการประกันคุณภาพการศึกษา
(Informing : I)


ปฏิบัติการนิเทศ Coaching เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริหารสถานศกษา

ครูผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหา/เลือกแนว/

การนิเทศแบบโค้ช ก าหนดแนวทางการแก้ปัญหา/ วางแผน/ ด าเนินการแก้ปัญหา/
(Coaching : C) วิเคราะห์ และสรุปผล/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ชื่นชม



รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการนิเทศ


ไม่มีคุณภาพ


ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศ ปรับปรุง/
พัฒนา

มีคุณภาพ

การประเมินผลการนิเทศ สรุปและจัดท ารายงานผลการนิเทศ
(Evaluating : E)



น าเสนอและเผยแพร่ผลการนิเทศ (จัดนิทรรศการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ยกยองเชิดชูเกียรติ/Website ฯลฯ)


59




การนิเทศ ติดตามการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)



ื้
การนิเทศ ติดตามการด าเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของส านักงานเขตพนที่
การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1 โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ดังนี้


ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการ (Assessing Needs : A)
ศึกษาสภาพปัจจุบัน/ปัญหา และความต้องการของศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา


ครูผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องการประกันคุณภาพการศกษาของสถานศกษา ดังนี้

1.1 การก าหนดค่าเป้าหมายมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1.2 การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศกษา

1.3 การด าเนินการประกันคุณภาพตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา


1.4 การติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศกษา
1.5 การเขยนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment

Report : SAR)


ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการนิเทศ (Planning : P)

ด าเนินการวางแผนการนิเทศ ติดตามร่วมกันระหว่างศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา
ครูผู้สอน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

2.1 ก าหนดตัวชี้วัด (KPI)
สถานศึกษาร้อยละ 80 มีผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทั้ง

ระดับปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป

2.2 จัดท าสื่อและเครื่องมือการนิเทศ ติดตาม
1) แนวทางการด าเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2) จัดท า/จัดหา/พัฒนาสื่อที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพภายในสถานศกษา

3) จัดท าเครื่องมือนิเทศ ติดตามการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
2.3 จัดท าปฏิทินการนิเทศ ติดตามการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

60





ขั้นตอนที่ 3 การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ (Informing : I)


ประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการประกันคณภาพภายในสถานศึกษา ใน
ประเด็นต่างๆ ดังนี้

3.1 การก าหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมาย

3.2 การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

3.3 การขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาจากแผนพฒนาคุณภาพ
การศึกษาไปสู่การปฏิบัติ
3.4 แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินการประกันคุณภาพภายใน

สถานศึกษา

3.5 แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self -
Assessment Report : SAR)



ขั้นตอนที่ 4 การนิเทศแบบโค้ช (Coaching : C)
ด าเนินการนิเทศการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแบบโค้ช ทั้งนี้ศึกษานิเทศก์ ได้

ด าเนินการร่วมกับทีมบริหาร คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ผู้บริหารสถานศึกษา และครูวิชาการ เพอ
ื่
กระตุ้นให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียน ด าเนินการการประกัน

คุณภาพภายในสถานศึกษาตามกระบวนการ ดังนี้

4.1 วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ โดยน าค่าเป้าหมายที่ก าหนดว่ามาเปรียบเทียบกับผลการ
ประเมินที่ได้จากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ว่ามีมาตรฐานใดบ้างที่ยังต่ ากว่า

ค่าเป้าหมาย หรือต้องน ามาปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขพร้อมกบวิเคราะห์สาเหตุ

4.2 เลือกแนวทางในการแก้ปัญหา

4.3 ก าหนดเป้าหมายความส าเร็จ

4.4 วางแผนการแก้ปัญหา
4.5 ด าเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้ ในแต่ละกิจกรรมที่ได้ก าหนดไว้

4.6 วิเคราะห์ และสรุปผลการด าเนินงาน

4.7 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชื่นชมความส าเร็จ และข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน

61




ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating : E)
การประเมินผลการนิเทศ ด าเนินการ ดังนี้

5.1 รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการนิเทศการประกันคุณภาพภายในสถานศกษา

5.2 ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศ

5.3 สรุปและจัดท ารายงานผลการนิเทศการประกันคณภาพภายในสถานศึกษา

5.4 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนรู้ และชื่นชมความส าเร็จการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา

5.5 ยกย่องเชิดชูเกียรติแก่สถานศึกษาที่มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ที่เป็นแบบอย่างที่ดี

5.6 เผยแพร่ผลงานการปฏิบัติงานระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ดี สู่

ื้
สาธารณชนผ่าน Website ระบบ ICT และสารสนเทศของส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษา
ล าปาง เขต 1

62




บรรณานุกรม


กรองทอง จิรเดชากุล. (2550). คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ธารอักษร.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : อักษราพิฒน์.

เกรียงศักดิ์ สังข์ชัย. (2552). การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนครูวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
ศักยภาพนักเรียนที่มีแววความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและการนิเทศ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์. (2545). วรรณกรรมส าหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : ศิลปะบรรณาคาร

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (ม.ป.ป.). การนิเทศการศึกษา. ปัตตานี : สถาบันเพื่อความก้าวหน้าทาง
วิชาการ.

ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน-องค์ความรู้เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มประสิทธิภาพ.

พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.

. (2550). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ม ี

ประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2548.) การนิเทศการสอน. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อกรุงเทพฯ.

ยุพิน ยืนยง. (2553). การพัฒนารูปแบบการนนิเทศแบบหลากหลายวิธีการ เพื่อส่งเสริม

สมรรถภาพการวิจัยในชั้นเรียนของครู เขตการศึกษา 5 อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ.
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2550). การนิเทศการสอน. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

. (2556). ศาสตร์การนิเทศการสอนและการโค้ช การพัฒนาวิชาชีพ : ทฤษฎี กลยุทธ์
สู่การปฏิบัติ. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ
: สุวีริยสาส์น.

วิจิตรา ปัญญาชัย. การน าเสนอรูปแบบการพัฒนาอาชีพส าหรับอาจารย์พยาบาล สังกัดกระทรวง

สาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์. (2538). หลักการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ : พรศิวการพิมพ์.

63




บรรณานุกรม (ต่อ)


ศิลาทิพย์ ค าใจ. (2556). การสร้างแบบประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต การวัดและประเมินผล

การศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สงัด อุมรานันท์. (2530). การนิเทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพฯ : มิตรสยาม.
สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. (2542). มุ่งสู่ครูคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ ; วัฒนาพานิช.

ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2547). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพร้าว.
ื้
ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). แนวทางการบริหาร
จัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด.

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : ส านักงานคณะกรรมการแห่งชาติ.

ส านักทดสอบทางการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). นิยามความสามารถของ

ผู้เรียนด้านภาษา ด้านค านวณ และด้านเหตุผล (Literacy, Numeracy & Reasoning

Abilities). กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
. (2553). การเสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนการนิเทศแบบให้ค าชี้แนะ (Coaching). กรุงเทพฯ : ส านักทดสอบทางการศึกษา.

. (2561). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด.

ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2554). แนวทาง

การพัฒนาและประเมนการอาน คิดวเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลาง


การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย.

64




บรรณานุกรม (ต่อ)
ภาษาอังกฤษ

rd
Burton, W.H. and L.J. Bruckner. (1955). Supervision : A Social Process. 3 .ed.
New York : Appleton Century – Croft.
Copleland, wills D. and Norman J.Boyan. Instructional Supervision Training Pregame.

Ohio : Charles E, Merrill Pubishing Company, 1978.
rd
Costa, Arthur L. Developing Minds A Resource Book for Thecching Thinking. 3 ed. The
United States of America : Association for Supervision and Cumicum

Development, 1703 N. Beauregard St. 2002.
Dick, Walter, Lou Carey, and Jame O, Carey. (2005). The Systematic Design of Instruction.

th
6 ed. Boston : Pearson.
Glickman, Card. D., Stephen P. Gordon and Jovita M. Ross-Gordon. (1995).
rd
Supervision and Instruction : A Development Approach. 3 ed.
Massachusetts : Allyn and Bacon, Inc.
. (2004). Supervision and Instructional Leadership : A Developmental

th
Approach. 6 ed. Boston : Allyn and Bacon, Inc.
rd
Harris, Ben M. (1985). Supervisory Behavior in Education. 3 ed. Englewood. Cliffs,
New Jersey : Prentice-Hall, Inc.

Kruse, Kevin. Instruction to Instructional Design and the ADDIE Model. (Online). Accessed

19 June 2007. Available from http : ww.elearninggurn.com/articles/art1_1.htm.
th
Oliva, Peer F. (1989). Supervision for Today’s School. 3 ed. New York : Longman.
Sandvold, A. (2008). Literacy Coaching. ASCD.

Stoner, Jame Arthur Finch, C Wankle. (1986). Management. New jersey : prentice – Hall.
Spears,Harold. (1967). Curriculum Planning Through In-Service Programs. Englewood

Cliffs, N.J. : Prentice-Hall.
Sweeney, D. (2011). Student Centered Coaching. Thousand Oaks, California : Corwin

Press Company.

Webster. (1970). Webster’s New world Dictionary. New York : Compact School the world
Publishing.

65




ภาคผนวก











แบบนิเทศ ติดตาม การด าเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพ



การศึกษาภายในสถานศกษา ปีการศึกษา 2562


โรงเรียน………………………………………………………อ าเภอ………………………..จังหวัดล าปาง

ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1

ครั้งที่นิเทศ ติดตาม ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3

………………………………………………………………………………………………………………………
ค าชี้แจง

ให้ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้ที่เกี่ยวข้องด าเนินการนิเทศ ติดตาม และให้ข้อเสนอแนะ
ในการด าเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดังนี้
1. ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐานตามประเด็นที่ก าหนด ท าเครื่องหมาย ในช่อง  สภาพการ
ด าเนินงานของสถานศึกษาตามความเป็นจริง

1.1 ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1.2 การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจ าปี
1.3 ด าเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจ าปี

1.4 ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
1.5 ติดตามผลการด าเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
1.6 จัดท ารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR)
1.7 พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

2. บันทึกข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ไข แต่ละประเด็นการนิเทศ ติดตาม เพื่อให้สถานศึกษา
น าไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาแนวทางการด าเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาให้
เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพต่อไป

66




ประเด็นการนิเทศ
ติดตาม สภาพการด าเนินงาน หลักฐาน / ร่องรอย
1. ก าหนดมาตรฐาน  มีการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของ กฎกระทรวง การประกันคุณภาพ
การศึกษาของ สถานศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษา พ.ศ. 2561

สถานศึกษา การศึกษาระดับปฐมวัย/ระดับการศึกษาขั้น ประกาศกระทรวง เรื่องให้ใช้มาตรการ
พื้นฐานที่กระทรวงประกาศใช้ โดยการมี ศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้น
ส่วนร่วมของทุกฝ่าย พื้นฐาน

 มีการก าหนดค่าเป้าหมายความส าเร็จ ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท า
ทุกมาตรฐานการศึกษา/ทุกประเด็นการ มาตรฐานและก าหนดค่าเป้าหมาย
พิจารณามีความเหมาะสมกับบริบทของ บันทึกการประชุม
สถานศึกษา หนังสือเชิญผู้มีส่วนเกี่ยงข้อง

 มีการจัดท าประกาศให้ใช้มาตรฐาน ประกาศโรงเรียน เรื่องให้ใช้มาตรฐาน
การศึกษา และประกาศก าหนดค่า การศึกษา
เป้าหมายความส าเร็จตามมาตรฐาน ประกาศโรงเรียน เรื่องก าหนดค่า

การศึกษา เป้าหมายความส าเร็จ
 ครู บุคลากร และคณะกรรมการ เผยแพร่ทางเว็บไซต์สถานศึกษา
สถานศึกษา ผู้ปกครองทุกคน ได้รับทราบ ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน

เกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษา และค่า และรับผิดชอบมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายความส าเร็จตามมาตรฐาน อื่นๆ ระบุ
การศึกษา …………………………………………………………

 มีการก าหนดผู้รับผิดชอบการ …………………………………………………………
ด าเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา/ …………………………………………………………
ประเด็นการพิจารณา …………………………………………………………
…………………………………………………………

…………………………………………………………
…………………………………………………………



ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

67




ประเด็นการนิเทศ
ติดตาม สภาพการด าเนินงาน หลักฐาน / ร่องรอย
2. การจัดท าแผนพัฒนา  มีการศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาและ ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท า
การจัดการศึกษาของ ความต้องการจ าเป็นของสถานศึกษาอย่าง แผนพัฒนาฯ/แผนปฏิบัติการประจ าปี

สถานศึกษา และ เป็นระบบโดย ใช้ข้อมูลตามสภาพจริง เอกสารหลักฐานการ SWOTหรือ
แผนปฏิบัติการประจ าปี  มีการจัดท าแผนพัฒนาการจัด เทคนิคอื่น ๆ
การศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งคุณภาพ หนังสือเชิญ ผู้แทนชุมชน และผู้มีส่วน

ตามมาตรฐานการศึกษา สอดคล้องกับ เกี่ยวข้อง
สภาพปัญหาและความต้องกาจ าเป็นของ ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน
สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วน บันทึกการประชุม
ร่วมของทุกฝ่าย แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (3-5 ปี)

 ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ แผนปฏิบัติการประจ าปี
เป้าหมายด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นทคุณภาพ ปฏิทินการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
ี่
ผู้เรียนที่สะท้อนคุณภาพความส าเร็จอย่าง รายงานผลการประเมินตนเองของ

ชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยทุกฝ่ายมีส่วน สถานศึกษา (SAR)
ร่วม แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

 ก าหนดวิธการด าเนินงานกิจกรรม เอกสารการเงินและบัญช ี
โครงการที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน
ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ เช่น เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของโรงเรียน
PDCA หรืออื่นๆ อื่นๆ ระบุ

 การใช้งบประมาณ และทรัพยากรอย่าง …………………………………………………………
มีประสิทธิภาพให้สอดคล้องกับกิจกรรม …………………………………………………………
โครงการ …………………………………………………………
 จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ท ี่ …………………………………………………………

สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษา …………………………………………………………
ของสถานศึกษา …………………………………………………………
 ก าหนดปฏิทินการน าแผนปฏิบัติการ …………………………………………………………

ประจ าปีสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน
 เสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ าปี
ต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้

ความเห็นชอบ

ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

68





ประเด็นการนิเทศ สภาพการด าเนินงาน หลักฐาน / ร่องรอย
ติดตาม
3. ด าเนินการตาม  น าแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และ ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ

แผนพัฒนาการจัด แผนปฏิบัติการประจ าปีสู่การปฏิบัติตาม บันทึกการประชุม
การศึกษาของ กรอบระยะเวลาที่ก าหนดไว้ ปฏิทินการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
สถานศึกษา และ  มีการด าเนินงานกิจกรรม/โครงการ รายงานผลการด าเนินกิจกรรม/

แผนปฏิบัติการประจ าปี ตามระยะเวลาที่ก าหนดไว้ในปฏิทินการ โครงการ
ปฏิบัติงานของสถานศึกษา โดยการมีส่วน บันทึกภาพถ่าย/วีดิทัศน์ ฯลฯ
ร่วมของทุกฝ่าย เว็บไซต์ของโรงเรียน
 มีการด าเนินงานกิจกรรม/โครงการได้ อื่นๆ ระบุ

ครบถ้วนตามที่ก าหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ …………………………………………………………
ประจ าปี …………………………………………………………
 มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ คณะท างาน/ …………………………………………………………

คณะกรรมการในการด าเนินกิจกรรม/ …………………………………………………………
โครงการ …………………………………………………………
 มีการเก็บรวบรวมหลักฐานการจัด …………………………………………………………

กิจกรรม/โครงการที่ด าเนินการไว้เป็นระบบ …………………………………………………………
สะดวกต่อการค้นหาและใช้ประโยชน์
 มีการรายงานผลการด าเนินกิจกรรม/

โครงการ ต่อผู้บริหารสถานศึกษาทุก
โครงการ
 มีการวิเคราะห์ผลการด าเนินงาน
ี้
เปรียบเทียบกับเป้าหมายและตัวชวัด
ความส าเร็จของแผนพัฒนาการจัด
การศึกษา/แผนปฏิบัติการประจ าปี
 ใช้ผลการประเมินโครงการเป็นข้อมูลใน

การปรับปรุง แผนพัฒนาการจัดการศึกษา/
แผนปฏิบัติการประจ าปี

ข้อเสนอแนะ

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

69




ประเด็นการนิเทศ
ติดตาม สภาพการด าเนินงาน หลักฐาน / ร่องรอย
4. ประเมินผลและ  มีค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบคุณภาพ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ บันทึกการประชุม

การศึกษาภายใน การศึกษาระดับสถานศึกษา แผนการประเมินและตรวจสอบ
สถานศึกษา และก าหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน คุณภาพภายในสถานศึกษา
 มีการก าหนดแนวทาง/กระบวนการ เครื่องมือประเมินและตรวจสอบ

ประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา คุณภาพภายในสถานศึกษา
ภายในสถานศึกษาที่ชัดเจน แบบติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงาน
 มีเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพ แผนงาน/กิจกรรม/โครงการ
การศึกษา ตามแผนงาน/โครงการ/ ปฏิทินการปฏิบัติงานของสถานศึกษา

กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการประจ าปี แบบสรุปผลการประเมินและ
 มีเครื่องมือประเมินและตรวจสอบ ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา
คุณภาพภายในสถานศึกษาที่ครอบคลุม บันทึกภาพถ่าย/วีดิทัศน์ ฯลฯ

มาตรฐานการศึกษาทุกระดับการศึกษา เว็บไซต์ของโรงเรียน
ทุกมาตรฐานและทุกประเด็นการพิจารณา อื่นๆ ระบุ
ที่หลากหลาย …………………………………………………………

 มีการด าเนินการประเมินและตรวจสอบ …………………………………………………………
คุณภาพภายในสถานศึกษา โดยใช้วิธีการที่ …………………………………………………………
หลากหลายอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง …………………………………………………………

 มีรายงานสรุปผลการประเมินและ …………………………………………………………
ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา …………………………………………………………
 น าผลการประเมินและตรวจสอบ …………………………………………………………
คุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นข้อมูลใน

การจัดท ารายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา (SAR)


ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

70





ประเด็นการนิเทศ สภาพการด าเนินงาน หลักฐาน / ร่องรอย
ติดตาม
5. ติดตามผลการ  มีค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามผล ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ

ด าเนินการเพื่อพัฒนา การด าเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา ปฏิทินการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
สถานศึกษา  มีการวิเคราะห์ผลการประเมินและ บันทึกการประชุม
ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาตาม Logbook / PLC

มาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณา แบบสรุปผลการติดตาม
บรรลุตามค่าเป้าหมายที่ก าหนด ผลการด าเนินการ
 มีการวิเคราะห์จุดเด่น จุดควรพัฒนา บันทึกภาพถ่าย/วีดิทัศน์ ฯลฯ
รายมาตรฐานการศึกษา และการก าหนด เว็บไซต์ของโรงเรียน


แนวทางการพัฒนา/แผนพฒนา เพื่อให้ได้ อื่นๆ ระบุ
มาตรฐานที่สูงขึ้น ผ่านกระบวนการ PLC …………………………………………………………
 น าผลการติดตามไปใช้ในการปรับปรุง …………………………………………………………

การปฏิบัติงาน …………………………………………………………
 น าผลการติดตามใช้เป็นข้อมูลในการ …………………………………………………………
จัดท ารายงานผลการประเมินตนเองของ …………………………………………………………

สถานศึกษา (SAR) …………………………………………………………
…………………………………………………………




ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

71





ประเด็นการนิเทศ สภาพการด าเนินงาน หลักฐาน / ร่องรอย
ติดตาม
6. จัดท ารายงานผล  มีค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท า ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ

การประเมินตนเอง รายงานผลการประเมินตนเองของ บันทึกการประชุม
ของสถานศึกษา สถานศึกษา รายงานผลการประเมินตนเองของ
(Self Assessment  จัดท ารายงานผลการประเมินตนเอง สถานศึกษา (SAR)

Report : SAR) (Self Assessment Report : SAR) ที่ หนังสือราชการ /ส่ง SAR ต่อ
สะท้อนคุณภาพผู้เรียนและผลส าเร็จของ หน่วยงานต้นสังกัด
การบริหารจัดการศึกษาอย่างชัดเจน เว็บไซต์ของโรงเรียน
ครอบคลุมตามมาตรฐานการศึกษาของ อื่นๆ ระบุ

สถานศึกษาทุกระดับการศึกษา โดยการมี …………………………………………………………
ส่วนร่วมของทุกฝ่าย …………………………………………………………
 จัดท าบทสรุปของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………

สะท้อนผลคุณภาพการด าเนินงานของ …………………………………………………………
สถานศึกษา ที่ตอบค าถาม 3 ข้อ คือ …………………………………………………………
1) มาตรฐานของสถานศึกษาอยู่ใน …………………………………………………………

ระดับคุณภาพใด …………………………………………………………
2) มีข้อมูลหลักฐาน เอกสารเชิง
ประจักษ์อะไรบ้างที่สนับสนุน

3) มีแผนการพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษาให้สูงขึ้นต่อไปอย่างไร
 น าเสนอรายงานผลการประเมินตนเอง
ต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้

ความเห็นชอบ
 จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองต่อ
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นประจ าทุก

ปี
 เผยแพร่รายงานผลการประเมินตนเอง
ต่อสาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัดและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

72




ประเด็นการนิเทศ
ติดตาม สภาพการด าเนินงาน หลักฐาน / ร่องรอย
7. พัฒนาสถานศึกษาให้  มีการด าเนินงานตามระบบการประกัน บันทึกการประชุม
มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอย่าง แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (3-5 ปี)

ต่อเนื่องทุกปี แผนปฏิบัติการประจ าปี
 มีการน าแผนการพัฒนาคุณภาพ รายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษาให้สูงขึ้นจากการรายงานผลการ สถานศึกษา (SAR)

ประเมินตนเองของสถานศึกษาไปบรรจุใน รายงานวิจัย
แผนปฏิบัติการประจ าปี ในปีการศึกษา อื่นๆ ระบุ
ต่อไป …………………………………………………………
 สถานศึกษาได้น าระบบการประกัน …………………………………………………………

คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาไป …………………………………………………………
ด าเนินการเป็นส่วนหนึ่งในการบริหารงาน …………………………………………………………
 มีการพัฒนาบุคลากรในถานศึกษาให้มี …………………………………………………………

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการ …………………………………………………………
ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน …………………………………………………………
สถานศึกษา

 มีการศึกษารูปแบบ/เทคนิค/วิธีการ
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดย

1) วิจัยและพัฒนานวัตกรรม
2) น าผลวิจัยและพัฒนานวัตกรรมไปใช ้
ในการบริหารและการจัดการศึกษา
3) มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยและพัฒนา

นวัตกรรม

ข้อเสนอแนะ

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

73




คณะผู้จัดท า


ที่ปรึกษา

1. นายอภิรักษ์ อิ่มจิตอนุสรณ์ ผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
2. นางวรางคณา ไชยเรือน รองผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1

3. ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบก า ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

สพป.ล าปาง เขต 1



ผู้จัดท า

นายนพดล ถาวร ศึกษานิเทศก์ สพป.ล าปาง เขต 1


Click to View FlipBook Version