The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 4 การพูดในโอกาสต่าง ๆ ของสังคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nsdv, 2019-06-28 17:45:15

หน่วยที่ 4 การพูดในโอกาสต่าง ๆ ของสังคม

หน่วยที่ 4 การพูดในโอกาสต่าง ๆ ของสังคม

ชดุ การเรียน

หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง
พุทธศกั ราช ๒๕๖๒

๓๐๐๐๐-๑๑๐๑
ทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี

หนว่ ยที่ ๑

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

ชุดการเรียนโดยใช้สื่อดิจิทัลเพ่ือพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาไทยระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูงนี้ จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ในการศึกษาเรียนรู้รายวิชา ๓๐๐๐-๑๑๐๑ ภาษาไทยเพื่อส่ือสารในงาน
อาชพี หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สงู พุทธศักราช ๒๕๕๗ และรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ ทักษะ
ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๓-๐-๓ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๖๒ โดยมี
จุดประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วเกิดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
หลักการใช้ภาษาไทย สามารถนาภาษาไทยไปใช้เป็นเคร่ืองมือสื่อสารในงานอาชีพ โดยชุดการเรียนน้ี
ประกอบด้วย ๗ หน่วยการเรียน และแต่ละหน่วยประกอบด้วยแบบประเมินตนเองก่อนและหลังเรียน
แผนการเรียนประจาหน่วย เน้ือหาสาระและกิจกรรม ซึ่งผู้เรียนอาชีวศึกษาทั้งในระบบปกติและระบบ
ทวิภาคีสามารถศึกษาเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติและทบทวนความรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน (Smart Phone) ตลอดจนสามารถดาวนโ์ หลด (Download) ชุดการเรียน
น้ีเพ่ือศึกษาเรียนรู้ในระบบออฟไลน์ (Offline) ได้ด้วย นอกจากนี้ ครูผู้สอนรายวิชาดังกล่าวยังสามารถ
นาไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษาได้ เปน็ การสนองตอบนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ และการ
พัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ แก่ผู้เรียนอาชีวศึกษาด้วย ทั้งน้ี ชุดการเรียนนี้จะนาไปใช้ใน
สถานศึกษานาร่อง ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ เพื่อพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งข้ึนและขยายผลแก่สถานศึกษา
อาชวี ศึกษาทุกแหง่ ตอ่ ไป

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาขอขอบคณุ ศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคี ศูนยส์ ่งเสริมและ
พัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ คณะศึกษานิเทศก์ คณะครูผู้สอน คณะกรรมการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก
ท่าน ที่มีส่วนช่วยให้การดาเนินการจัดทาชุดการเรียนโดยใช้ส่ือดิจิทัลเพ่ือพัฒนาทักษะการสื่อสาร
ภาษาไทยครั้งน้ีบรรลุผลสาเร็จตามท่ีมุ่งหวัง และหวังว่าผู้เรียนจะได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการ
พฒั นาตนเองและประยกุ ต์ใชใ้ นงานอาชพี ได้เปน็ อยา่ งดี

ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนอื
ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคี
พฤษภาคม ๒๕๖๒

สารบญั

ชดุ การเรยี น ปวส. ๒๕๖๒ วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

รายละเอียดรายวชิ า หน้า

วิธกี ารศึกษา (ก)
• ข้นั ตอนการเรยี นชุดการเรียน
• ขั้นตอนการเรียนระดับหนว่ ย (ข)
(จ)
หนว่ ยท่ี ๔ การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ของสังคม (ฉ)

• แบบประเมนิ ตนเองกอ่ นเรียน หนว่ ยท่ี ๔ ๑
• แผนการเรียน หนว่ ยท่ี ๔ การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ของสงั คม

- แผนการเรียน มอดลู ท่ี ๔.๑ การกล่าวแนะนา ๒
- แผนการเรียน มอดลู ท่ี ๔.๒ การพูดอวยพร ๔
- แผนการเรยี น มอดูลที่ ๔.๓ การกล่าวตอ้ นรับ ๘
- แผนการเรียน มอดูลท่ี ๔.๔ การกล่าวอาลาอาลัย ๑๒
• แบบประเมนิ ตนเองหลังเรียน หนว่ ยท่ี ๔ ๑๖
• ภาคผนวก ๒๐
๒๑

รายละเอยี ดรายวชิ า

ชดุ การเรยี น ปวส. ๒๕๖๒ วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ ทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ๓-๐-๓
(Occupational Thai Language Skills)

จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่ือให้

๑. เข้าใจหลกั การใช้ภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี
๒. สามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ค่าสารและใช้ภาษาไทยเปน็ เคร่ืองมอื สอ่ื สารใน

วชิ าชพี ตามหลักภาษา เหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคลและสถานการณ์
๓. เหน็ คุณค่าและความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยในวชิ าชีพอยา่ งมจี รรยาบรรณ

สมรรถนะรายวชิ า

๑. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขียน การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์และการประเมินคา่ สารภาษาไทยเชิงวิชาชีพอย่างมีจรรยาบรรณ

๒. วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าสารท่ีได้จากการฟัง การดูและการอ่านส่ือประเภท
ต่าง ๆ

๓. พดู นาเสนอขอ้ มูลเพือ่ สือ่ สารในงานอาชพี และในโอกาสตา่ ง ๆ ตามหลักภาษา กาลเทศะ
บคุ คลและสถานการณ์

๔. เขียนเพ่ือติดต่อกิจธุระ บันทึกข้อมูลและรายงานการปฏิบตั ิงานเชิงวชิ าชพี ตามหลักการ
ใช้ภาษาไทย

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการฟัง การดู การพูด การอ่านและการเขียนภาษาไทย

การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าสารในงานอาชีพจากส่ือประเภทต่าง ๆ การพูด
นาเสนอข้อมูลเพื่อส่ือสารในงานอาชีพและในโอกาสต่าง ๆ การเขียนเพ่ือกิจธุระ การจดบันทึก
ขอ้ มลู และเขยี นรายงานการปฏบิ ตั ิงานเชงิ วิชาชีพ และจรรยาบรรณในการใชภ้ าษาไทยเชิงวชิ าชีพ

(ก)

วธิ กี ารศกึ ษา

ชดุ การเรยี น ปวส. ๒๕๖๒ วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

ในการศึกษาชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ
ผู้เรยี นจะต้องทาความเขา้ ใจเกีย่ วกบั

๑. โครงสรา้ งเน้อื หาสาระ
๒. โครงสรา้ งสื่อการเรียนรู้
๓. วิธกี ารเรียน

โครงสร้างเนือ้ หาสาระ
ชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพได้แบ่ง

โครงสรา้ งเน้ือหาสาระ ดงั น้ี

หนว่ ยท่ี ๑ การใชภ้ าษาไทยในการสอื่ สารอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
หน่วยท่ี ๒ การวเิ คราะห์สารจาการฟงั การดู การอา่ น
หนว่ ยท่ี ๓ การพดู ในงานอาชีพ

หนว่ ยที่ ๔ การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ของสังคม
หนว่ ยท่ี ๕ การเขยี นเพ่ือตดิ ตอ่ ธรุ ะ
หน่วยท่ี ๖ การเขียนในงานอาชพี
หนว่ ยท่ี ๗ การเขยี นรายงานการวจิ ยั

โครงสร้างสอ่ื การเรยี นรู้
ชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ประกอบด้วย

ส่ือ ๒ ประเภท คือ (๑) สือ่ ส่งิ พิมพ์ ได้แก่ แผนการเรยี นและใบกิจกรรม และ (๒) ส่ือออนไลน์

วิธีการเรยี น
เพ่ือให้การเรียนในชุดการเรียนรายวิชาน้ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผล

ตามจดุ ประสงค์รายวิชาและสมรรถนะรายวชิ า ผเู้ รยี นควรดาเนินการตามข้ันตอน ดงั น้ี
๑. เตรียมตัวเพื่อการศึกษาด้วยตนเอง ผู้เรียนต้องจัดตัวเองให้อยู่ในสภาพการณ์

ที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ ๔ ประการ คือ
๑.๑ มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรยี นรู้อย่างกระฉับกระเฉง โดยการคิด เขียนและ

ทากิจกรรมการเรียนรู้ทก่ี าหนดอย่างสม่าเสมอตลอดเวลา
๑.๒ ติดตาม ตรวจสอบผลการเรยี นรูห้ ลงั ทากิจกรรมแตล่ ะกิจกรรมจากแนวการ

ตอบหรอื เฉลย
๑.๓ ซือ่ สตั ย์ต่อตนเอง โดยไม่ดูแนวการตอบหรอื เฉลยกอ่ น

(ข)

๑.๔ ศึกษาเรยี นรู้ไปตามลาดับขน้ั ตอน เพ่อื ให้ไดค้ วามรู้ครบถว้ นตามท่กี าหนด
๒. ประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น

๒.๑ ก่อนท่ีจะเรียนหน่วยการเรียนใด ผู้เรียนควรจะตรวจสอบความรู้ด้วยการ
ประเมินผลตนเองก่อนเรียนจากแบบประเมินของหน่วยนั้น ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วรวม
คะแนนไว้ หากทาไดค้ ะแนนเกนิ กวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ผเู้ รยี นอาจจะไม่ต้องศกึ ษาหน่วยนั้น

๒.๒ เม่ือศึกษาหน่วยนนั้ เสร็จแล้ว ขอให้ผู้เรียนประเมินผลตนเองหลังเรียน โดย
ทาแบบประเมินทก่ี าหนดไวต้ อนท้าย ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วรวมคะแนนไว้ หากทาได้ต่ากว่า
รอ้ ยละ ๘๕ ผ้เู รยี นควรศกึ ษาทบทวนหนว่ ยนั้นแล้วประเมินซา้ อกี จนกว่าจะได้คะแนนเพม่ิ ข้ึนตาม
เกณฑท์ ก่ี าหนด

๓. ศึกษาเอกสารชดุ การเรียนและส่ือท่ีกาหนด โดย
๓.๑ ศกึ ษารายละเอยี ดชุดวิชา
๓.๒ ศึกษาแผนหนว่ ยการเรยี นทุกหนว่ ย
๓.๓ ศกึ ษารายละเอียดของแต่ละหนว่ ยการเรียน ดงั นี้
๓.๓.๑ แผนการเรียนประจาหน่วย
๓.๓.๒ แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน
๓.๓.๓ แนวคดิ
๓.๓.๔ เนอื้ หาสาระในแตล่ ะหน่วย และแต่ละมอดูล
๓.๓.๕ กจิ กรรมและแนวการปฏบิ ตั หิ รอื แนวการตอบ
๓.๓.๗ แบบประเมินตนเองหลงั เรียน

๔. ทากจิ กรรมตามทีก่ าหนดในหน่วยการเรยี น
“กิจกรรม” เป็นส่วนที่ผู้เรียนจะต้องบันทึกสาระสาคัญและทากิจกรรมทุกอย่าง

ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ใหเ้ ขียนกิจกรรมลงในแบบฝึกปฏบิ ัติที่กาหนด บางกจิ กรรมอาจให้ผู้เรียน
ไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและเขียนรายงาน ขอให้ผู้เรียนจัดทาและจัดส่งครูผู้สอนหรือครูเจ้าของ
วิชาตามวนั เวลาและสถานทท่ี ก่ี าหนด

(ค)

๕. การศึกษาสอื่ ประกอบการเรยี นรู้
บางหน่วยการเรียน อาจกาหนดให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อท่ีกาหนดหรือ

ศึกษาส่ือควบคู่ไปกับการอ่านเอกสารชุดการเรียนเพื่อเสริมสร้างความรู้ ขอให้ผู้เรียนศึกษา
รายละเอียดตา่ ง ๆ ตามทกี่ าหนด และจดบนั ทึกสาระสาคัญของสิ่งทไี่ ด้เรยี นรู้ไว้ในกจิ กรรมปฏิบัติ
ด้วย

๖. การเข้ารับการสอนเสรมิ หรือรบั บรกิ าร ณ สถานศกึ ษา
ผู้เรียนต้องนาบัตรประจาตัวนักศึกษาและบัตรลงทะเบียนเรียนรายวิชาไปแสดง

ดว้ ย และเมอ่ื เขา้ รับการสอนเสรมิ รับฟังและรบั ชมส่อื ต่าง ๆ ใหบ้ ันทกึ รายละเอยี ดการเขา้ รับการ
สอนเสรมิ หรือรบั บริการในแบบฝกึ ปฏบิ ัตติ อนทา้ ยหน่วยดว้ ย

๗. การร่วมกจิ กรรมภาคปฏิบตั เิ สริมประสบการณ์
ผู้เรียนชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ

อาจจะตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมอย่างใดอยา่ งหน่ึงตอ่ ไปนี้
๗.๑ เข้าห้องปฏิบัติการในสถานศึกษา เพื่อฝึกทักษะปฏิบัติตามที่กาหนดไว้ใน

แตล่ ะหน่วยการเรียน
๗.๒ เข้าสงั เกตการณ์การสอนในหนว่ ยการเรียนทก่ี าหนด
๗.๓ เข้าฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการหรือหน่วยงาน
๗.๔ ประดิษฐค์ ิดคน้ หรอื ศึกษาสารวจข้อมูลตามท่กี าหนด
หลังจากทากิจกรรมข้างต้นแล้ว ให้มีการสรุปรายงานให้แก่ครูผู้สอนหรือครู

เจ้าของวิชาทราบเพ่ือตรวจสอบผลการปฏิบัติ และเก็บผลการประเมินเป็นคะแนนเก็บของ
รายวิชา

๘. เขา้ รบั การสอบ
เม่ือส้ินภาคการศึกษา ผู้เรียนต้องเข้ารับการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาหรือ

สอบไล่ ตามวนั เวลาและสถานทท่ี ีส่ ถานศกึ ษากาหนด เพอื่ การตัดสินผลการเรยี น

(ง)

(จ)

(ฉ)

แบบประเมินตนเองก่อนเรยี น

หน่วยที่ ๔

http://bit.ly/thai-test4

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ ๑

แผนการเรยี น หนว่ ยที่ ๔

การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ของสงั คม

มอดูลท่ี

๔.๑ การกลา่ วแนะนา
๔.๒ การพูดอวยพร
๔.๓ การกลา่ วต้อนรับ
๔.๔ การกลา่ วอาลาอาลยั

แนวคิด

การที่เราต้องอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อ่ืนย่อมมีโอกาสท่ีจะต้องพูด ย่ิงที่ถ้าเราเติบโตขึ้นมีความ
เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานมากข้ึน ก็ยิ่งจาเป็นที่จะต้องพูดในโอกาสต่าง ๆ เพื่อมารยาทสังคม
เพ่ือเป็นกาลังใจแก่ผู้ฟังหรือเพื่อเป็นเกียรติแก่งานและผู้ฟัง การรู้จักพูดให้ถูกกาลเทศะจึงเป็นสิ่งท่ี
ควรจะศึกษาไวอ้ ยา่ งย่ิง เพอ่ื จะได้พดู ไดถ้ ูกต้องเหมาะสม ทาให้เกดิ ความประทับใจแก่ผู้ฟัง

จุดประสงค์การเรยี น

๑. เมอ่ื ศกึ ษามอดลู ท่ี ๔.๑ “การกล่าวแนะนา” แลว้ ผ้เู รียนสามารถแนะนาตัวเองและแนะนา
ผอู้ ่นื ให้รู้จักกันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

๒. เมื่อศึกษามอดูลที่ ๔.๒ “การพูดอวยพร” แล้ว ผู้เรียนสามารถกล่าวข้อความอวยพรให้
สอดคล้องกับโอกาสตา่ ง ๆ ได้

๓. เม่ือศึกษามอดลู ที่ ๔.๓ “การกลา่ วตอ้ นรบั ” แล้ว ผู้เรยี นสามารถกลา่ วตอ้ นรบั สมาชิกใหม่
หรือ ผ้มู าเยอื น และสามารถกล่าวตอบได้

๔. เมื่อศึกษามอดูลที่ ๔.๔ “การกล่าวแสดงความอาลาอาลัย” แล้ว ผู้เรียนสามารถกล่าว
ข้อความอาลาอาลยั ไดถ้ ูกต้องตามหลกั การ

ชุดการเรยี น วชิ าภาษาไทยเพอื่ ส่อื สารในงานอาชีพ ๒

กิจกรรมการเรียน

๑. ทาแบบประเมินตนเองก่อนเรียนหนว่ ยท่ี ๔
๒. อ่านแผนการเรียนประจาหนว่ ยท่ี ๔
๓. อ่านสาระสังเขปประจามอดูลที่ ๔.๑- ๔.๔
๔. ดาเนนิ กจิ กรรมที่กาหนดของแต่ละมอดูลหรือหัวข้อเรื่อง
๕. ตรวจสอบคาตอบจากแนวตอบของแตล่ ะกิจกรรม ท่กี าหนดไวท้ า้ ยหน่วยท่ี ๔
๖. ทากิจกรรมภาคปฏิบัตเิ สริมประสบการณ์เพื่อเกบ็ คะแนน สัปดาห์ท่ี .......
๗. เข้ารบั การสอนเสริม
๘. ทาแบบประเมนิ ตนเองหลงั เรียน

ส่ือและแหล่งการเรียน

๑. เอกสารชดุ การเรียน หนว่ ยท่ี ๔
๒. เว็บไซต์ www.youtube.com เก่ียวกับการกล่าวแนะนา การพูดอวยพร การกล่าว

ต้อนรบั /กลา่ วขอบคุณ และ การกล่าวอาลาอาลยั
๓. การสอนเสรมิ คร้งั ท่ี ๑ ณ สถานทที่ ี่กาหนด (โปรดดตู ารางสอนเสรมิ ตามท่ีกาหนด)

การประเมนิ ผลการเรียน

๑. ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ระหว่างการประเมินตนเองก่อนและหลงั เรยี น (ไมม่ คี ะแนน)

๒. ประเมนิ กจิ กรรมภาคปฏบิ ัติ (........คะแนน)

๓. คณุ ธรรม จริยธรรม ( ๒๐ คะแนน)

๔. การสอบปลายภาค (….….คะแนน)

๓ ชุดการเรยี น วิชาภาษาไทยเพอื่ สื่อสารในงานอาชีพ

แผนการเรียน มอดูลที่ ๔.๑

การกลา่ วแนะนา

มอดลู ที่ ๔.๑

โปรดอ่านหัวข้อเรื่อง แนวคิดและจุดประสงค์การเรียนของมอดูลที่ ๔.๑ แล้วจึงศึกษา
รายละเอยี ดต่อไป

หัวขอ้ เรือ่ ง

๔.๑.๑ โอกาสในการแนะนาตวั
๔.๑.๒ หลักการแนะนาตวั

แนวคดิ

การแนะนาตัว มีความจาเป็นทงั้ ชีวติ ประจาวัน และหน้าทก่ี ารงาน เพราะการแนะนาตัวเป็น
การพูดเพ่ือให้ตนเองได้เป็นที่รู้จักของผู้อื่น เป็นจุดเริ่มต้นของการทาความรู้จัก และเป็นโอกาสท่ีจะ
สร้างความคุ้นเคยสนิทสนมในเวลาต่อมา ดังน้ันการแนะนาตัวจึงช่วยให้เกิดความไว้วางใจ สามารถ
ติดตอ่ ประสานงานไดง้ า่ ย สะดวก และรวดเร็ว

จดุ ประสงค์การเรยี น

๑. เมื่อศึกษาหัวข้อเร่ืองท่ี ๔.๑.๑ “โอกาสในการแนะนาตัว” แล้ว ผู้เรียนสามารถแนะนาตัว
ในโอกาสทเ่ี ป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการได้

๒. เม่ือศึกษาหัวข้อเร่ืองที่ ๔.๑.๒ “หลักการแนะนาตัว”แลว้ ผู้เรียนสามารถบอกหลักในการ
แนะนาตวั ได้

ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาไทยเพื่อสือ่ สารในงานอาชีพ ๔

เนื้อหา

๑. โอกาสในการแนะนาตัว

การแนะนาตัวสามารถแนะนาได้ทุกโอกาส เช่น พบปะพูดคุย หรือพบปะสังสรรค์ ในงานวันเกิด
งานมงคลสมรส งานเล้ยี งฉลองความสาเร็จ การประชุม การตดิ ตอ่ การงาน ฯลฯ โอกาสที่แนะนาตวั พอสรุป
ได้ดงั น้ี

๑.๑ การแนะนาตัวอย่างไม่เป็นทางการ เป็นการแนะนาตัวต่อตัว หรือต่อกลุ่มที่มีจานวนไม่มาก
เป็นการแนะนาสั้น ๆ เพราะมีเวลาจากัด เพียงให้รู้จักกันในเบ้อื งตน้ การแนะนาเช่นนี้ ควรบอกช่อื นามสกลุ
ตาแหน่งหน้าท่ี และสถานท่ีทางาน ส่วนรายละเอียดอ่ืน ๆ ถ้าอีกฝ่ายหนึ่งตอ้ งการทราบ ควรสอบถาม หรือ
ศึกษาด้วยตนเอง

๑.๒ การแนะนาตัวอย่างเป็นทางการ เป็นการแนะนาตัวต่อกลุ่มบุคคลจานวนมาก เช่น ในการ
อบรม ในการประชมุ หรือครูให้นักเรียนแนะนาตัวต่อหน้าชัน้ เรียน เป็นต้น ผู้แนะนาตัวต้องกล่าวเรื่องของ
ตนเองพอสังเขป ทั้งเร่ืองในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เพ่ือให้สมาชิกได้ทราบภูมิหลัง สภาพปัจจุบัน และ
ความมุ่งม่ันใฝ่ฝันในอนาคต การแนะนาวิธีน้ีควรใช้เวลา ๑ – ๒ นาที โดยผู้แนะนาต้องกล่าวทักทายที่
ประชุม หรือผ้ฟู ัง แนะนาชอ่ื นามสกลุ และเรอ่ื งต่าง ๆ ดังนี้

อดีต - บา้ นเกิด พน่ี ้อง อาชีพบดิ ามารดา
- ชีวติ ปฐมวยั การศึกษาเบ้อื งตน้
- เหตกุ ารณท์ ีน่ า่ สนใจสมยั เด็ก ๆ
- การโยกยา้ ยที่อยูอ่ าศัย
ฯลฯ

ปัจจุบนั - การศกึ ษา อาชพี การงาน
- ครอบครวั ภรรยา บตุ ร
- ทอ่ี ยู่ปจั จบุ นั
- ความสามารถ ความสนใจพเิ ศษ
ฯลฯ

อนาคต - ความมงุ่ หวงั แนวโนม้ ของชีวติ
- อุดมคติ หรือภาษิตประจาใจ
ฯลฯ

๕ ชดุ การเรียน วิชาภาษาไทยเพ่ือสอ่ื สารในงานอาชีพ

๒. หลกั การแนะนาตัว

การแนะนาตวั มหี ลกั ดังน้ี
๒.๑ ในฐานะเปน็ ผ้แู นะนา มหี ลกั ปฏิบัตดิ งั น้ี

- แนะนาใหส้ ุภาพบรุ ษุ ร้จู ักกบั สภุ าพสตรี
- แนะนาผู้มอี อ่ นอาวุโสให้รูจ้ กั กับผูอ้ าวุโส
- แนะนาผูม้ ีตาแหนง่ หนา้ ท่ีการงานน้อยรจู้ ักกบั ผมู้ ีตาแหน่งสูงกวา่
- ถา้ อาวโุ สเสมอกนั จะแนะนาใครใหร้ จู้ ักกันก่อนก็ได้
๒.๒ ในฐานะเปน็ ผไู้ ดร้ บั การแนะนา ควรปฏิบตั ดิ งั น้ี
- แสดงความเคารพดว้ ยการยกมอื ไหว้ผู้อาวโุ สกวา่ แตถ่ ้าอาวโุ สเสมอกัน ควรค้อมศรี ษะ
เล็กนอ้ ย ยมิ้ รบั และกลา่ วคาวา่ “ ดใี จครับ (คะ่ ) ท่ีไดร้ จู้ กั ” หรอื “ ยนิ ดคี รับ (คะ่ ) ทไ่ี ดร้ ู้จกั ”
- ถา้ เปน็ สภุ าพบรุ ุษควรนาสภุ าพสตรีสนทนาก่อน
- ผู้อาวโุ สกว่าควรนาผู้อาวุโสนอ้ ยสนทนา เพราะผู้นอ้ ยอาจไม่กลา้ สนทนากบั ผใู้ หญ่ ถา้
ผูใ้ หญ่ชวนผนู้ อ้ ยสนทนา ผนู้ ้อยจะเกดิ ความร้สู กึ ว่าผู้ใหญม่ ีนา้ ใจไมตรี ควรแกก่ ารเคารพนบั ถอื
- เมื่อรจู้ ักกันใหม่ ๆ ไม่ควรสนทนาเรอ่ื งส่วนตัว ควรพดู เรอ่ื งทว่ั ๆ ไป
- สภุ าพบรุ ษุ ไม่ควรจ้องหนา้ สุภาพสตรี เมื่อไดร้ บั การแนะนา

กจิ กรรมท่ี ๔.๑.๑

ให้นกั ศึกษาดูตวั อย่างการพูดเร่อื งแนะนาตวั เอง จาก www.youtube.com เรือ่ ง
การพดู แนะนาตัวเอง

https://www.youtube.com/watch?v=A7Y9SsDTXng

กิจกรรมที่ ๔.๑.๒

ให้นกั ศึกษาเขียนคากล่าวแนะนาตัวเองพร้อมฝกึ พูด แล้วสอบปฏบิ ตั ใิ นสัปดาห์ท่ี…….

กิจกรรมท่ี ๔.๑.๓

กจิ กรรมจับค่ใู ห้สมั พนั ธ์ : รู้จกั นักพูด

https://h5p.org/node/454911

ชุดการเรียน วชิ าภาษาไทยเพื่อสอื่ สารในงานอาชีพ ๖

เอกสารอ้างอิง

กุณฑลยี ์ ไวทยะวาณชิ . (๒๕๔๕). หลักการพูด. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์.
นิพนธ์ ทพิ ยศ์ รนี ิมติ . (๒๕๔๒). หลักการพูด. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ .
พศิ เพลิน สงวนพงศ.์ (๒๕๔๒). ภาษาไทยเพ่อื การสือ่ สารธรุ กิจ. พระนครศรอี ยธุ ยา : โรงพมิ พ์

เทยี นวัฒนา.
สุเมธ แสงน่มิ นวล และคณะ. (๒๕๔๘). แนวทางตวั อยา่ งการพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ภาค ๑.

พิมพ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : มีวงษ์มเี ดยี .
หอการค้าไทย, มหาวทิ ยาลยั คณะมนษุ ยศาสตร.์ (๒๕๔๒). ภาษาไทยเพื่อการสอื่ สาร. พิมพค์ รง้ั ท่ี ๒

กรงุ เทพฯ : ดบั เบิ้ลนายน์ พร้ินตงิ้ จากัด.

๗ ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาไทยเพ่ือสือ่ สารในงานอาชีพ

แผนการเรยี น มอดลู ท่ี ๔.๒

การพูดอวยพร

มอดลู ที่ ๔.๒

โปรดอ่านหัวข้อเร่ือง แนวคิดและจุดประสงค์การเรียนของมอดูลที่ ๔.๒ แล้วจึงศึกษา
รายละเอยี ดต่อไป

หัวข้อเร่ือง

๔.๒.๑ การพูดอวยพรงานวนั เกิด
๔.๒.๒ การพดู อวยพรงานมงคลสมรส
๔.๒.๓ การพูดอวยพรในวนั ขน้ึ ปีใหม่

แนวคิด

การกล่าวอวยพร นับเปน็ วฒั นธรรมทีด่ งี ามอยา่ งย่งิ นอกจากจะอวยพรคนสนิทแบบไม่เป็น
ทางการแล้ว บางคร้ังมีความจาเป็นต้องกล่าวอวยพรแบบพิธกี ารท่ีตอ้ งเตรียมร่างคากลา่ วไว้ลว่ งหน้า
เลือกเฟ้นถ้อยคา สานวนภาษาที่ดีงาม ไพเราะและสุภาพตามวาระโอกาสต่าง ๆ เช่น งานวันเกิด
งานมงคลสมรส งานข้ึนปีใหม่ เป็นต้น เม่ือได้รับเกียรติให้เป็นผู้กล่าวอวยพร ควรพูดข้อความให้
สอดคล้องกับโอกาสกลา่ วถอ้ ยคาอันเปน็ มงคล

จดุ ประสงคก์ ารเรียน

๑. เมอื่ ศึกษาหวั ขอ้ เรอ่ื งที่ ๔.๒.๑ “การพูดอวยพรงานวนั เกิด” แลว้ ผเู้ รียนสามารถกลา่ วอวย
พรวันเกิดได้ถกู กาลเทศะ

๒. เม่ือศึกษาหัวข้อเร่ืองท่ี ๔.๒.๒ “การพูดอวยพรงานมงคลสมรส”แล้ว ผู้เรียนสามารถพูด
อวยพรงานมงคลสมรสไดเ้ หมาะสมกบั โอกาส

๓. เม่ือศึกษาหัวข้อเรื่องที่ ๔.๒.๓ “การพูดอวยพรในวันขึ้นปีใหม่” แล้ว ผู้เรียนสามารถพูด
อวยพรในโอกาสวนั ขนึ้ ปีใหม่ได้

ชุดการเรียน วชิ าภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชพี ๘

เนอื้ หา

๑. การกลา่ วอวยพรวนั เกดิ

การกลา่ วอวยพรวันเกิด มแี นวการพดู ดังนี้
๑.๑ กล่าวปฏสิ ันถาร
๑.๒ แสดงความยนิ ดที ไ่ี ดร้ บั เกยี รติใหเ้ ปน็ ผูก้ ล่าวอวยพร
๑.๓ กล่าวถึงความสมั พนั ธข์ องผู้พดู กับเจ้าภาพ
๑.๔ กลา่ วถงึ เกยี รติคณุ ความดีงาม ผลงานอนั เปน็ คณุ ประโยชน์ทป่ี รากฏ
๑.๕ อวยพรใหม้ ีอายุยนื นาน มคี วามเจรญิ ร่งุ เรอื ง พรอ้ มท้ังเชิญชวนให้แขกผูร้ ว่ มงาน

ดืม่ อวยพร

๒. การพูดอวยพรงานมงคลสมรส

การกลา่ วในพธิ มี งคลสมรส จะใชเ้ วลาไมเ่ กิน ๑๐ นาที โดยปกติจะใช้เวลา ๕ – ๗ นาทนี ยิ ม
พดู ปากเปลา่ ซ่ึงมีหลกั การกลา่ วท่คี วรยึดเป็นแนวปฏบิ ัติ ดงั นี้

๒.๑ กลา่ วคาปฏสิ นั ถาร
๒.๒ กลา่ วถึงความรู้สึกวา่ เปน็ เกยี รตทิ ไ่ี ดข้ ึ้นมาอวยพร
๒.๓ ความสัมพนั ธข์ องผู้พูดกบั คบู่ า่ วสาว
๒.๔ ให้คาแนะนาในการดาเนนิ ชวี ติ และการครองรัก
๒.๕ อวยพรและเชิญชวนให้ดม่ื อวยพร

๓. การกล่าวอวยพรในวันขึ้นปีใหม่

มักจะพูดปากเปล่า โดยมีหลกั ที่ควรยดึ เปน็ แนวปฏิบัตใิ นการกลา่ ว ดงั นี้
๓.๑ กลา่ วคาปฏสิ นั ถาร
๓.๒ กล่าวถงึ ชีวติ ในปีเก่าทผ่ี า่ นมา
๓.๓ กลา่ วถึงการเร่ิมตน้ ชีวติ ใหม่ในปีใหม่
๓.๔ อวยพร

๙ ชุดการเรยี น วิชาภาษาไทยเพื่อส่อื สารในงานอาชีพ

กจิ กรรมท่ี ๔.๒.๑

ใหน้ ักศึกษาเขยี นคากลา่ วอวยพรวันเกดิ เพอื่ น เพ่ือนามาพูดในวันท่นี ดั หมายพบกลุ่ม

กิจกรรมที่ ๔.๒.๒

ใหน้ กั ศึกษาดูตวั อย่างการกลา่ วอวยพรงานมงคลสมรส จาก www.youtube.com

https://www.youtube.com/watch?v=BLDjSf6cOJY

กิจกรรมท่ี ๔.๒.๓

กจิ กรรมจดั ลาดับตามขนั้ ตอน (การกลา่ วอวยพรวันเกิด)

https://h5p.org/node/454913

กจิ กรรมที่ ๔.๒.๔

กจิ กรรมจับค่หู รรษา

https://h5p.org/node/454912

ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาไทยเพ่ือสอื่ สารในงานอาชีพ ๑๐

เอกสารอา้ งอิง

ดารงศกั ด์ิ ชัยสนิท และสนุ ี เลศิ แสวงกิจ. (๒๕๓๘). ศลิ ปะการพดู – หลกั การพูด. กรงุ เทพฯ :
วังอักษร.

นันทา ขนุ ภักดี. (๒๕๒๙). การพูด. พิมพค์ รงั้ ท่ี ๒. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.
เพยี รศักด์ิ ศรที อง. (๒๕๓๔). การพูด. กรงุ เทพฯ : ศลิ ปบรรณาคาร.
สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, มหาวิทยาลัย. ๒๕๔๐. การใชภ้ าษาไทย. พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๓. นนทบุรี :

มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
อรวรรณ ปิลนั ธน์โอวาท. (๒๕๒๘). การพูดเพ่ือธุรกจิ . พิมพ์คร้งั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ :

จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

๑๑ ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาไทยเพอื่ สอื่ สารในงานอาชพี

แผนการเรยี น มอดลู ท่ี ๔.๓

การกลา่ วต้อนรบั

มอดลู ที่ ๔.๓

โปรดอ่านหัวข้อเร่ือง แนวคิดและจุดประสงค์การเรียนของมอดูลที่ ๔.๓ แล้วจึงศึกษา
รายละเอียดต่อไป

หวั ข้อเร่อื ง

๔.๓.๑ การกลา่ วต้อนรบั ผมู้ ารบั ตาแหน่งใหมห่ รือสมาชิกใหม่
๔.๓.๒ การกลา่ วตอ้ นรบั ผมู้ าเยือน

แนวคดิ

ในโอกาสท่ีมีผู้มาใหม่ เช่น เจ้าหน้าท่ีใหม่ นักศึกษาใหม่ หรือผู้ที่มาเย่ียมเพื่อ พบปะชม
กิจการในโอกาสเชน่ น้ีจะตอ้ งมีการกลา่ วต้อนรับเพ่ือแสดงอัธยาศัยไมตรีและแสดง ความยินดผี ู้กล่าว
ต้อนรับควรเป็นผู้มีฐานะ มีเกียรติเหมาะสมกับฐานะผู้มาเยือน ถ้าเป็นการกล่าวต้อนรับนิสิตหรือ
นักศึกษาใหม่ก็มุ่งหมายที่จะให้ความอบอุ่นใจ และให้ทราบถึงส่ิงที่ควรปฏิบัติร่วมกันในสถานศึกษา
นั้น ๆ

จุดประสงค์การเรียน

๑. เมื่อศึกษาหัวข้อเร่ืองที่ ๔.๓.๑ “การกล่าวต้อนรับผู้มารับตาแหน่งใหม่หรือสมาชิกใหม่”
แล้ว ผูเ้ รยี นสามารถกลา่ วตอ้ นรับผู้มารบั ตาแหนง่ ใหม่หรือสมาชิกใหมไ่ ด้

๒. เมื่อศึกษาหัวข้อเร่ืองท่ี ๔.๓.๒ “การกล่าวต้อนรับผู้มาเยือน” แล้ว ผู้เรียนสามารถกล่าว
ตอ้ นรบั ผมู้ าเยือนได้

ชุดการเรียน วชิ าภาษาไทยเพื่อสือ่ สารในงานอาชีพ ๑๒

เนือ้ หา
๑. การกลา่ วตอ้ นรับผู้มารบั ตาแหน่งใหมห่ รือสมาชิกใหม่

๑.๑ แสดงความยินดที ี่มีโอกาสไดต้ ้อนรับผมู้ าเยอื นในนามของหนว่ ยงาน
๑.๒ กล่าวความเปน็ มาของการมารับตาแหน่งใหม่
๑.๓ กล่าวแนะนาผ้มู าใหมใ่ หท้ กุ คนทราบดว้ ยการบอกชอ่ื นามสกลุ ประวตั สิ ว่ นตัว การทางาน
ความสามารถ และผลงาน
๑.๔ กลา่ วแสดงความรูส้ กึ ให้ผูม้ าใหมเ่ กิดความอบอนุ่ และประทบั ใจ มีกาลังใจในการทางาน
๑.๕ มอบช่อดอกไมแ้ สดงความยนิ ดี

๒. การกลา่ วตอ้ นรับผมู้ าเยอื น

เม่อื ผ้มู าเยือนมาถึงเจา้ ของสถานทมี่ ักจะเชญิ เขา้ ห้องประชุม หรอื หอ้ งรับรอง และกลา่ วตอ้ นรบั
อยา่ งเปน็ ทางการ ดงั นี้

๒.๑ กล่าวแสดงความยนิ ดีทไี่ ดต้ อ้ นรบั ในครงั้ น้ี
๒.๒ กล่าวประวตั คิ วามเปน็ มาของสถานทพ่ี อสงั เขป หรอื ใชส้ ไลดม์ ลั ติวิชั่น วีดิทศั น์แนะนาสถานที่กไ็ ด้
๒.๓ กลา่ วถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเจา้ ของสถานท่กี บั ผูม้ าเยือน
๒.๔ กล่าวแสดงความหวงั ทีจ่ ะไดม้ ีโอกาสตอ้ นรับในคราวตอ่ ไป
๒.๕ กลา่ วขออภยั ในความบกพร่องของการตอ้ นรับ
๒.๖ กล่าวอวยพรใหผ้ ู้มาเยือน เดนิ ทางกลบั โดยสวัสดิภาพ

กจิ กรรมที่ ๔.๓.๑

ให้นักศึกษาดตู ัวอยา่ งการกลา่ วต้อนรับและกลา่ วตอบจากอินเทอรเ์ น็ต
http//www.youtube.com

จากนั้นให้นักศกึ ษาจบั คเู่ พอ่ื แสดงบทบาทสมมตใิ นวนั ทีน่ ดั หมายพบกลุ่ม

https://www.youtube.com/watch?v=_nI2dv_PhQo

๑๓ ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาไทยเพื่อสือ่ สารในงานอาชีพ

กิจกรรมท่ี ๔.๓.๒

กจิ กรรมจดั ลาดบั ตามขน้ั ตอน : กลา่ วต้อนรบั สมาชกิ ใหม่

https://h5p.org/node/454914

กิจกรรมท่ี ๔.๓.๓

กิจกรรมร้จู ักสานวนไทย

https://bit.ly/204peNm

ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาไทยเพอ่ื ส่ือสารในงานอาชีพ ๑๔

เอกสารอ้างองิ

ดารงศักด์ิ ชัยสนทิ และสนุ ี เลศิ แสวงกิจ. (๒๕๓๘). ศิลปะการพูด–หลกั การพดู . กรงุ เทพฯ :
วังอกั ษร.

นันทา ขนุ ภักด.ี (๒๕๒๙). การพดู . พิมพ์คร้งั ท่ี ๒. นครปฐม : มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.
เพียรศักดิ์ ศรีทอง. (๒๕๓๔). การพูด. กรงุ เทพฯ : ศลิ ปบรรณาคาร.
สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, มหาวทิ ยาลยั . (๒๕๔๐). การใชภ้ าษาไทย. พิมพค์ ร้ังที่ ๓. นนทบรุ ี :

มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.
อรวรรณ ปลิ ันธน์โอวาท. (๒๕๒๘). การพดู เพ่อื ธุรกิจ. พิมพ์ครัง้ ท่ี ๒. กรุงเทพฯ :

จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

๑๕ ชดุ การเรยี น วิชาภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ

แผนการเรยี น มอดลู ที่ ๔.๔

การกลา่ วอาลาอาลัย

มอดลู ท่ี ๔.๔

โปรดอ่านหัวข้อเรื่อง แนวคิดและจุดประสงค์การเรียนของมอดูลที่ ๔.๔ แล้วจึงศึกษา
รายละเอียดต่อไป

หวั ข้อเรอ่ื ง

๔.๔.๑ การกลา่ วอาลาอาลยั
๔.๔.๒ การกลา่ วสดุดีไวอ้ าลยั

แนวคิด

ในการทางานของหน่วยงานต่าง ๆ มีโอกาสจะพบกับการจากไปของบุคลากร สาเหตุจาก
การเกษียณอายุราชการ การย้ายงายในสาขาอาชีพใหม่หรือรับตาแหน่งใหม่ที่สูงกว่า หรือเสียชีวิต
ธรรมเนียมปฏิบัตใิ นสงั คมไทยมักจดั งานอาลาอาลัย ซึ่งคากลา่ วมี ๒ ลักษณะ คือ ใช้สาหรับงานเลีย้ ง
ส่งผู้ท่ีจากไปรับตาแหน่งใหม่ ลาออก หรือเกษียณอายุ นิยมเรียกว่า “กล่าวอาลาอาลัย” อีกลักษณะ
หน่งึ ใชส้ าหรบั งานศพ คอื พดู ถงึ คุณความดขี องผเู้ สยี ชีวิต นิยมเรยี กว่า “กล่าวสดุดีไวอ้ าลัย”

จุดประสงคก์ ารเรียน

๑. เม่ือศึกษาหัวข้อเร่ืองท่ี ๔.๔.๑ “การกล่าวอาลาอาลัย” แล้ว ผู้เรียนสามารถ กล่าวอาลา
อาลัยแก่เพอื่ นร่วมงานได้

๒. เมอ่ื ศึกษาหัวข้อเรื่องท่ี ๔.๔.๒ “การกลา่ วสดุดไี วอ้ าลัย” แลว้ ผู้เรยี นสามารถเขยี นคากล่าว
สดดุ ไี วอ้ าลัยแกผ่ ู้ล่วงลับได้

ชุดการเรยี น วชิ าภาษาไทยเพ่ือสื่อสารในงานอาชพี ๑๖

เนื้อหา

๑. การกลา่ วอาลาอาลยั

ในโอกาสที่สมาชิกจาเป็นต้องย้ายออกจากหน่วยงานไปดารงตาแหน่งใหม่ในหน่วยงานอื่น หรือ
ลาออก หรือเกษียณอายุ โดยปกติจะมีการจัดงานเล้ียงเพ่อื แสดงความอาลัยต่อสมาชิกท่ีออกไป และเพื่อให้
สมาชิกทจี่ ะยา้ ยแสดงคาอาลาเพ่อื นรว่ มงาน

๑.๑ ข้นั ตอนการกลา่ วอาลัย (ตัวแทนหนว่ ยงาน) มดี ังนี้
๑.๑.๑ กลา่ วทกั ทายสมาชิก
๑.๑.๒ กลา่ วยกยอ่ งชมเชยในความรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีการงานท่ีผา่ นมากลา่ วถึงผลงานที่
โดดเดน่
๑.๑.๓ กลา่ วแสดงความรกั ความผูกพนั และความอาลัยของสมาชิกทุกคน
๑.๑.๔ กล่าวอวยพรให้ประสบความสขุ ความกา้ วหนา้ และมอบของทรี่ ะลึก

๑.๒ ขน้ั ตอนการกลา่ วอาลา (ผทู้ ่ีอาลาจากหน่วยงาน) มดี งั นี้
๑.๒.๑ กลา่ วทักทายสมาชกิ
๑.๒.๒ กล่าวขอบคณุ สมาชิกท่มี าร่วมงาน
๑.๒.๓ กล่าวถึงความรกั ความผกู พันและความอาลยั ท่มี ีต่อเพ่อื นรว่ มงานและหนว่ ยงาน
๑.๒.๔ กล่าวคาอาลาและอวยพรตอบ

๒. การกล่าวสดุดไี ว้อาลยั

การกล่าวสดดุ ีไว้อาลยั กค็ อื งานศพ พธิ ีบรรจอุ ฐั ิ หรอื พิธฝี ังศพ หรอื พธิ รี ะลกึ ถงึ วรี บุรุษ วีรสตรี ต่อ
หน้าอนุสาวรีย์ของผู้ท่ีเสียสละ เพ่ือเป็นเกียรติแก่ผู้เสียชีวิต ผู้ท่ีพูดควรกล่าวถึงผู้ตายในด้านดีสรรเสริญยก
ย่องถึงคุณงามความดี แต่ไม่ใช่เยินยอ วิธีสรรเสริญก็คือ การพูด ยกย่องและชมเชย ให้อยู่ในขอบเขตแห่ง
ความเปน็ จรงิ วิธพี ดู มีดังน้ี

๒.๑ พดู ถึงประวตั ขิ องผู้เสียชวี ิต
๒.๒ พดู ถงึ ผลงานท่ีเขาได้ทาไว้
๒.๓ เน้นเหตกุ ารณบ์ างตอนของชวี ติ ที่นา่ สนใจ
๒.๔ เหตทุ ี่ทาใหเ้ ขาเปน็ ผู้มชี อื่ เสยี งและมีเกยี รติ
๒.๕ พดู ถึงความอาลยั ของผอู้ ยูเ่ บอ้ื งหลัง
๒.๖ งดการกล่าวถงึ ความผดิ พลาดในชีวิตของผู้เสียชวี ติ นั้น แตเ่ นน้ ถงึ ความดีทเี่ ขาได้ทา
๒.๗ แสดงความหวังวา่ ทา่ นจากไปดี

๑๗ ชุดการเรียน วชิ าภาษาไทยเพอ่ื สือ่ สารในงานอาชพี

กิจกรรมที่ ๔.๔

ใหน้ ักศึกษาเขยี นคากลา่ วอาลัยเนอื่ งในโอกาสเพอื่ นยา้ ยทท่ี างานเพื่อไปรับตาแหนง่ ใหมท่ ่สี ูงขน้ึ
และคากลา่ วอาลาเพ่อื นรว่ มงาน

กจิ กรรมที่ ๔.๕

ทากิจกรรมถูก หรือ ผิด คิดให้ดี
http://bit.ly/thaiact45

กจิ กรรมที่ ๔.๖

กจิ กรรมคาถามแตกก่ิง
http://bit.ly/thaiact46

ชดุ การเรียน วชิ าภาษาไทยเพ่ือสือ่ สารในงานอาชพี ๑๘

เอกสารอ้างอิง

กุณฑลยี ์ ไวทยะวาณิช. (๒๕๔๕). หลกั การพูด. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
นพิ นธ์ ทพิ ย์ศรีนมิ ิต. (๒๕๔๒). หลกั การพดู . กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยทักษิณ.
พศิ เพลิน สงวนพงศ.์ (๒๕๔๗). ภาษาไทยเพือ่ การสื่อสารธุรกิจ. พระนครศรีอยุธยา : โรงพิมพ์

เทียนวฒั นา.
สุเมธ แสงนิ่มนวล และคณะ. (๒๕๔๘). แนวทางตัวอย่างการพดู ในโอกาสต่าง ๆ ภาค ๑.

พิมพค์ ร้ังที่ ๙. กรงุ เทพฯ : มวี งษม์ ีเดีย.
หอการค้าไทย, มหาวทิ ยาลัย คณะมนษุ ยศาสตร์. (๒๕๔๒). ภาษาไทยเพือ่ การสอ่ื สาร.

พมิ พค์ รั้งท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : ดับเบิล้ นายน์ พริ้นต้งิ จากดั .

๑๙ ชุดการเรียน วชิ าภาษาไทยเพ่ือส่อื สารในงานอาชพี

แบบประเมนิ ตนเองหลงั เรียน

หนว่ ยที่ ๔

http://bit.ly/thai-test4

ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาไทยเพ่อื สื่อสารในงานอาชพี ๒๐

ภาคผนวก

๒๑ ชดุ การเรียน วิชาภาษาไทยเพ่อื สือ่ สารในงานอาชีพ

แบบประเมนิ การพดู ................................................................
ชือ่ ผ้พู ดู .........................................................................................................
นกั ศกึ ษา ปวส. ๑ กลมุ่ ......... สาขางาน....................................................

รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้
๑. บคุ ลิกภาพ ๕ คะแนน
๒. นา้ เสยี ง ๕ คะแนน
๓. อกั ขระ ๕ คะแนน
๔. องค์ประกอบของเนื้อหา ๑๐ คะแนน
๒๕ คะแนน
รวมคะแนน

ประเมนิ โดย  ตนเอง  เพ่ือน  ครู

ลงชอื่ .....................................................ผู้ประเมิน

ชดุ การเรยี น วชิ าภาษาไทยเพื่อส่อื สารในงานอาชพี ๒๒

คณะกรรมการ

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

• คณะที่ปรกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นายประชาคม จนั ทรชติ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นายธวัชชยั อุ่ยพานชิ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
นายพรี ะพล พูลทวี ผชู้ านาญการด้านการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี
นายสรุ ตั น์ จ่นั แย้ม ในสถานศกึ ษาของรัฐและเอกชน
ผชู้ านาญการด้านการจดั การเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา
นางสาววัลลภา อยทู่ อง และกระบวนการเรียนรู้
ผู้อานวยการศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคี
นางรุ่งนภา จติ ต์ประสงค์ ผอู้ านวยศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนือ
นายวิทยา ใจวถิ ี

• คณะกรรมการวชิ าการ ผ้ชู านาญการด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษา
นางสาววลั ลภา อยูท่ อง และกระบวนการเรียนรู้
ผูอ้ านวยศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนอื
นายวทิ ยา ใจวถิ ี หน่วยศึกษานิเทศก์
นายประพนธ์ จุนทวเิ ทศ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนอื
นางสาวพิมพร ศะริจันทร์ ศนู ย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ
นางสดุ สาย ศรศี ักดา

• คณะกรรมการวชิ าการดา้ นการจดั ทาเน้อื หาชดุ การเรียนภาษาไทย

นางนวภรณ์ อนุ่ เรือน ขา้ ราชการบานาญ

นางนยั รตั น์ กลา้ วิเศษ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชียงราย

นางสาวศรเี พญ็ มะโน วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา

นางยอดขวญั ศรีม่วง วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาพิษณุโลก

นางสาวดาวสกาย พูลเกษ วทิ ยาลัยเทคนคิ กาแพงเพชร

นางกีระติกาญน์ มาอยูว่ ัง วทิ ยาลัยเทคนคิ เพชรบรู ณ์

นายตะวัน ชัยรัต วทิ ยาลัยสารพดั ช่างเชยี งใหม่

นายอานนท์ ลสี ีคา วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาอุดรธานี

๒๓ ชุดการเรยี น วชิ าภาษาไทยเพ่ือสอ่ื สารในงานอาชพี

คณะกรรมการ (ตอ่ )

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

• คณะกรรมการวิชาการด้านการจัดทาส่อื ชุดการเรยี น

นางสาวพมิ พร ศะริจันทร์ ศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนอื

นายธนสาร รจุ ริ า หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์

นายนพิ นธ์ ร่องพชื วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาแพร่

นายภมู ิพฒั น์ วนพพิ ฒั นพ์ งศ์ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาพิษณุโลก

นางกนกขวัญ ลืมนัด วทิ ยาลยั สารพดั ช่างสมุทรสงคราม

• คณะบรรณาธกิ ารและรูปเล่ม หนว่ ยศึกษานิเทศก์
นายประพนธ์ จนุ ทวิเทศ ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนอื
นางสาวพมิ พร ศะริจนั ทร์

• ออกแบบปก หนว่ ยศึกษานิเทศก์
นายธนสาร รจุ ริ า

ชดุ การเรียน วชิ าภาษาไทยเพือ่ สื่อสารในงานอาชีพ ๒๔


Click to View FlipBook Version