The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 SDG4 Roadmap 2565 จังหวัดน่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by podchanun36, 2021-09-20 04:11:39

แผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 SDG4 Roadmap 2565 จังหวัดน่าน

แผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 SDG4 Roadmap 2565 จังหวัดน่าน

คำนำ

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีการดำเนินโครงการ
จัดทำฐานขอมูลและระบบ ตดิ ตามประเมินผลระดับพื้นท่ีเพ่ือสนับสนุนการขับเคลอ่ื นเปาหมายของสหประชาชาติ
วาดวยการพัฒนา ท่ียั่งยืนดานการศึกษา SDG 4 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ พ.ศ. 2563 โดยการสราง
การรบั รู ความเขาใจเก่ยี วกบั การขบั เคลื่อนเปา หมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดา นการศกึ ษา รวมกับสำนักงานศกึ ษาธกิ าร
ภาค 18 ภาค และสำนกั บรู ณาการกิจการการศึกษา สป. (สำนกั บูรณาการยุทธศาสตรการศึกษา สป. เดิม) เพอ่ื ให
การดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี4 ที่กระทรวงศึกษาธิการเปนหนวยงาน
รบั ผดิ ชอบหลัก และเปน ไปตามนโยบายของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เปนไปดวยความเรยี บรอย บรรลุ
เปาหมายท่ีกำหนด และ สอดคลอ งกับสถานการณความเปลีย่ นแปลงท่เี กดิ ขึน้

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน ไดจัดทำแผนการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
เปา หมายที่ 4 SDG4 Roadmap 2565 จังหวัดนาน เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการสรางหลกั ประกันวา ทุกคน
ในจังหวัดนานจะมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอด
ชีวิต(SDG4 Roadmap)และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ มีแผนงาน โครงการหรือกิจกรรม เพื่อดำเนินการตาม SDG4
Roadmap ซึ่งเปนแผนระยะสั้นในปง บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน ขอขอบคุณทุก
ทานท่ใี หความรวมมือในการจัดทำแผนฯ ฉบับนี้ และหวังเปนอยางยิ่งวา การดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัด
การศึกษาจะบรรลุผลสำเรจ็ ตาม Roadmap ท่ีกำหนดตอ ไป

สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั นา น
กันยายน 2564

สารบัญ

เนอ้ื หา หนา
1 - 17
สวนท่ี 1 18 - 21
บทนำ
2๒ -๒๔
สวนที่ 2 2๕ - ๒๙
ความสำคัญของเปาหมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื เปา หมายที่ 4 ๓๐ - 34
๔๐
สวนท่ี 3
ความสำคญั และความกา วหนาการดำเนนิ งานขับเคลอ่ื นเปาหมาย
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน เปาหมายที่ 4

สวนที่ 4
การดำเนินการขบั เคล่ือนเปา หมายการพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื ดา นการศกึ ษา
 ความเชื่อมโยงเปาหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยืนกับเปาหมายยอยของ
แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ
 การดำเนนิ งานเพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืน
 การวิเคราะหจ ัดทำแผนงาน/โครงการ ฯ

สวนท่ี 5
การตดิ ตามประเมินผลการขบั เคลอ่ื นเปา หมายการพฒั นาที่ย่ังยนื

บทที่ 1
บทนำ

1. ขอมูลสภาพทว่ั ไปของจงั หวัดนา น
1.1 ขอ มลู พื้นฐานจงั หวดั นา น
ประวัติความเปนมา
เมืองนา นในอดีตเปนนครรัฐเลก็ ๆ กอตั้งขนึ้ ราวกลางพุทธศตวรรษที่ 18 บรเิ วณท่ีราบลุม แมน ้ำ

นาน และแมน ้ำสาขาในหุบเขาทางตะวันออกของภาคเหนอื ประวัตศิ าสตรเมืองนา นเริ่มปรากฏขึ้นราว พ.ศ. 1825
ภายใตการนำของพญาภคู า ศูนยการปกครองอยูท่ีเมืองยาง (เช่ือกันวาคือบริเวณริมฝงดานใต ของแมน้ำยาง ใกล
เทือกเขาดอยภูคาในเขตบานเส้ยี ว ตำบลยม อำเภอทาวังผา)เพราะปรากฏรองรอยชุมชนในสภาพท่เี ปน คูนำ้ คันดิน
กำแพงเมืองซอนกันอยู ตอ มาพระยาภูคาไดขยายอาณาเขตปกครองของตนออกไปใหกวางขวางยง่ิ ข้ึน โดยสง ราช
บุตรบุญธรรม 2 คน ไปสรางเมืองใหมโดยขุนนุนผูพ่ีไปสรางเมืองจันทบุรี(เมืองพระบาง) และขุนฟองผูนองสราง
เมอื งวรนครหรือเมืองปว

ภายหลังขุนฟองถึงแกพิราลัย เจาเกาเถื่อนราชบุตรจึงไดขึ้นครองเมืองปวแทน ดานพญาภูคา
ครองเมืองยางมานานและมีอายุมากขึ้น มีความประสงคจะใหเจาเกาเถ่ือนผูหลานมาครองเมืองยางแทน จึงให
เสนาอำมาตยไปเชิญเจาเกาเถ่ือนเกรงใจปูจึงยอมไปอยูเมืองยางและมอบใหชายา คือนางพญาแมทาวคำปนดูแล
รักษาเมืองปวแทน เมื่อพญาภูคาถึงแกพิราลัย เจาเกาเถื่อนจึงครองเมืองยางแทนในชวงที่เมืองปววางจากผูนำ
เน่ืองจากเจาเกาเถ่ือนไปครองเมืองยางแทนปูคือพญาภูคา พญางำเมืองเจาผูครองเมืองพะเยาจึงไดขยายอิทธิพล
เขาครอบครองบานเมอื งในเขตเมืองนานทั้งหมดนางพญาแมเทา คำปนพรอมดวยบตุ รในครรภไดห ลบหนีไปอยูบา น
หวยแรงจนคลอดไดบุตรชายชื่อวาเจาขุนใสเติบใหญไดเปนขุนนาง รับใชพญางำเมืองจนเปนท่ีโปรดปราน พญางำ
เมืองจึงสถาปนาใหเปนเจาขุนใสยศครองเมืองปราด ภายหลังมีกำลังพลมากข้ึนจึงยกทัพมาตอสูจนหลุดพนจาก
อำนาจเมืองพะเยา และไดรับการสถาปนาเปนพญาผานองขึ้นครองเมอื งปวอยางอิสระระหวางป 1865 -1894
รวม 30 ป จงึ พริ าลยั

ในสมัยของพญาการเมือง เมืองปวโอรสของพญาผานอง (กรานเมือง) ไดขยายเมืองมากข้ึน
ตลอดจนมีความสัมพันธกับเมอื งสุโขทัยอยางใกลช ิด พงศาวดารเมืองนานกลาวถึงพญาการเมืองวาไดรับเชิญจาก
เจาเมืองสุโขทัย (พระมหาธรรมราชาลิไท) ไปรวมสรางวัดหลวงอภัย ขากลับเจา เมืองสุโขทัยไดพระราชทานพระ
ธาตุ7องค พระพิมพทองคา 20 องค พระพิมพเงิน 20 องค ใหกับพญาการเมืองมาบูชา ณ เมอื งปวดวย พญา
การเมืองไดปรกึ ษาพระมหาเถรธรรมบาล จึงไดกอสรา งพระธาตุแชแหงข้ึนที่บนภูเพยี งแชแหง พรอมทั้งไดอ พยพ
ผูค นจากเมืองปวลงมาสรา งเมืองใหมท ่ีบรเิ วณพระธาตุแชแหง เรียกวา ภูเพียงแชแหงในป พ .ศ.1902 โดยมีพระ
ธาตุแชแหงเปนศูนยกลางเมืองหลังจากพญาการเมืองถึงแกพิราลัย โอรสคือ พญาผากองขึ้นครองแทนอยูมาเกิด
ปญหาความแหงแลง จึงยายเมืองมาสรางใหมที่ริมแมน ้ำนานดานตะวันตกบริเวณบานหวยไค คือบรเิ วณที่ตั้งของ
จังหวดั นานในปจจุบัน เม่ือป พ.ศ. 1911 ในสมัยเจาปูเ ขงครองเมืองระหวางป พ.ศ. 1950 - 1960 ไดสรางวัด
พระธาตุชางค้ำวรวิหาร วัดพระธาตุเขานอย วัดพญาภู แตสรางไมทันเสร็จก็ถึงแกพิราลัยเสียกอ น พญาง่ัวฬารผา
สุมผูเปนหลานไดสรางตอจนแลวเสร็จและไดสรางพระพุทธรูปทองคำปางลีลาปจจุบันคือ พระพุทธนันทบุรีศรี
ศากยมุนี ประดษิ ฐานอยใู นวิหารวัดพระธาตุชางคำ้ วรวิหาร

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 1

ในป พ.ศ. 1993 พระเจาติโลกราชกษัตริษนครเชียงใหม มีความประสงคจะครอบครองเมือง
นาน และแหลงเกลือ บอมาง (ตำบลบอเกลือใต อำเภอบอเกลือ) ท่ีมีอยางอุดมสมบูรณและหาไดยากทาง
ภาคเหนือ จึงไดจ ดั กองทัพเขายึดเมืองนา น พญาอินตะแกนทา วไมอาจตานทานได จึงอพยพหนีไปอาศัยอยูที่เมือง
เชลียง (ศรีสัชนาลัย) เมืองนานจึงถูกผนวกเขาไวในอาณาจักรลานนาตั้งแตนั้นเปนตนมาตลอดระยะเวลาเกือบ
100 ปท ี่เมอื งนา นอยใู นครอบครองของอาณาจกั รลา นนาไดค อยๆ ซมึ ชบั เอาศิลปวัฒนธรรมของลา นนามาไวในวิถี
ชวี ิต โดยเฉพาะการรับเอาศิลปกรรมทางดานศาสนา ปรากฏศิลปกรรมแบบลานนาเขามาแทนที่ศิลปกรรมแบบ
สโุ ขทยั อยางชัดเจน ดงั เชน เจดียว ัดพระธาตแุ ชแ หง เจดียวัดสวนตาล เจดยี วัดพระธาตชุ างค้ำ แมจ ะเหลอื สวนฐาน
ท่ีมชี างลอมรอบซงึ่ เปนลักษณะศิลปะแบบสโุ ขทัยอยู แตสว นองคเ จดยี ขึน้ ไปถงึ สวนยอด เปลย่ี นเปนศิลปกรรมแบบ
ลานนาไปจนหมดส้นิ

ในระหวางป พ.ศ. 2103 - 2328 เมืองนานไดตกเปนเมืองขึ้นของพมาอยูหลายครั้งและตอง
เปนเมืองรางไรผูคนถึง 2 ครั้ง คือ คร้ังแรก ป พ.ศ. 2247 - 2249 ครั้งท่ี 2 ป พ.ศ2321 – 2344 ปพ.ศ.
2331 เจาอัตถวรปญโญ ไดล งมาเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชรัชกาลที่1เพ่ือขอเปน
ขาขอบขันทสีมา เจาอัตถวรปญโญหลังจากข้ึนครองเมืองนานยังมิไดเขา ไปอยูเมืองนานเสียทีเดียว เนอื่ งจากเมอื ง
นานยังรกรางอยู ไดยายไปอาศัยอยูตามท่ีตางๆ คือ บานตึ๊ดบุญเรือง เมืองง้ัว (บริเวณอำเภอนานอย) เมืองพอ
(บรเิ วณอำเภอเวียงสา) หลังจากไดบูรณะซอมแซมเมืองนานแลวพรอมท้ังไดขอพระบรมราชานุญาตกลับเขามาอยู
ในเมืองนาน ในปพ .ศ. 2344 ในยคุ สมยั กรงุ รตั นโกสินทรเมืองนาน มีฐานะเปนหัวเมอื งประเทศราชเจาผูค รองนครนาน
ในชั้นหลังทุกองคตางปฏิบัติหนาท่ีราชการดวยความเท่ียงธรรม มีความซ่ือสัตย จงรักภักดีตอพระมหากษัตริย
ราชวงศจ ักรี ไดช ว ยราชการบานเมืองสำคัญหลายครั้งหลายคราดวยกนั นอกจากนี้เจา ผูครองนครนาน ตางไดทำนุ
บำรุง กิจการพุทธศาสนาในเมืองนาน และอปุ ถมั ภคำ้ จุนพระพุทธศาสนาเปน สำคญั ไดสรา งธรรมนิทานชาดก การ
จารพระไตรปฎกลงในคมั ภีรใบลาน นับเปนคัมภีรได 335 คมั ภีร นับเปนผูกได 2,606 ผูก ไดนำไปมอบใหเมือง
ตางๆ มีเมืองลำปาง เมืองลำพูน เมืองเชียงใหม เมืองเชียงราย และเมืองหลวงพระบางในป พ .ศ.2446
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว ไดท รงมีพระกรณุ าโปรดเกลาฯสถาปนาใหเ จาสุริยพงษผลติ เดชฯ เล่ือน
ยศฐานนั ดรศักดิ์ข้ึนเปน "พระเจานครนาน" มีพระนามปรากฏตามสุพรรณปฏวา พระสุริยพงษผลิตเดช กุลเชษฐ
มหันต ไชยนันทบุรมหาราชวงศาธิบดี สุริตจารีราชนุภาวรรักษ วิบลู ยศักด์ิกิติไพศาล ภูบาลบพิตรสถิตย ณ นันท
ราชวงษ เปนพระเจานครนานองคแรกและองคเดยี วในประวัติศาสตรน า น ภายหลังไดรับการสถาปนาเปน พระเจา
นาน พระเจาสุริยพงษผริตเดชฯ จงึ ไดส รา งหอคำ (คมุ หลวง) ขึ้นแทนหลงั เดมิ ซงึ่ สรา งในสมยั ของ เจา อนันตวรฤิทธิ
เดชฯ และดา นหนา หอคำ มีขวงไวทำหนาที่คลายสนามหลวง สำหรับจัดงานพิธีตา งๆ ตลอดจนเปน ที่จดั ขบวนทพั ออกสู
ศึก จัดขบวนนำเสด็จหรือขบวนรับแขกเมืองสำคัญ และในป พ .ศ.2474 เจามหาพรหมสุรธาดา เจาผูครองนคร
นานถึงแกพิราลัยตำแหนงเจาผูครองนครก็ถูกยบุ เลิกตั้งแตน้ันมา สวนหอคำไดใชเปนศาลากลางจังหวัดนา น จนป
พ .ศ.2511 จังหวัดนาน ไดมอบหอคาใหกรมศิลปากร ใชเปนสถานท่ีจัดต้ังพิพิธภัณฑสถานแหงชาตินาน
จนกระทัง่ ปจ จบุ ัน1

1.2 คำขวญั ของจงั หวดั นา น
“แขง เรือลือเลอื่ ง เมืองงาชา งดำ จิตรกรรมวัดภูมนิ ทร แดนดนิ สม สีทอง เรอื งรองพระธาตุแชแ หง”

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1คณะกรรมการฝา ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตใุ นคณะกรรมการอำนวยการจดั งานเฉลมิ พระเกยี รติ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั .2544.วัฒนธรรม พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร เอกลักษณแ ละภูมิปญญา จังหวดั นา น.
กรุงเทพฯ:กระทรวงมหาดไทย, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และ กรมศิลปากร.

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 2

1.3 ท่ีต้ังและแผนที่ของจังหวัดนา น

จังหวัดนานตั้งอยูติดกับชายแดนทางดานทิศตะวันออกของภาคเหนือตอนบน ติดกับ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) หางจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนตประมาณ 668
กิโลเมตร บริเวณเสนรุงที่ 18 องศา 46 ลิปดา 30 ฟลิปดาเหนือ เสนแวงท่ี 18องศา 46 ลิปดา 44 ฟลิปดา
ตะวันออก ระดับความสูงของพื้นท่ี 2 ,112 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีพ้ืนที่ประมาณ 7,581,035.02ไร2
(สำนักงานรฐั บาลอเิ ล็กทรอนิกส ,2559)

1.4 อาณาเขตของจงั หวดั นาน
ทิศเหนือประกอบดว ย อำเภอเชยี งกลาง อำเภอปว มีอำเภอทงุ ชา ง อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ

อำเภอบอเกลือ ท่ีมพี น้ื ท่ีติดตอกับเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ เชยี งฮอน - หงสา (สปป.ลาว)
ทศิ ตะวนั ออกประกอบดวย อำเภอภูเพียง อำเภอสนั ติสขุ โดยมีอำเภอแมจริม อำเภอเวียงสา

มีพ้นื ท่ตี ิดตอ กบั แขวงไชยบุรี (สปป.ลาว)
ทิศใตประกอบดวย อำเภอนานอย อำเภอนาหมน่ื มีพ้นื ทต่ี ิดตอ กบั จังหวัดอตุ รดติ ถ อำเภอ

นานอย มีพื้นทตี่ ิดตอกบั จังหวัดแพร อำเภอเวยี งสา มพี ื้นท่ีตดิ ตอ กบั จงั หวัดแพร
ทศิ ตะวันตกประกับดว ย อำเภอบา นหลวง มพี ้นื ท่ตี ดิ ตอกับอำเภอเชียงมวนจงั หวดั พะเยา

อำเภอทา วงั ผา มพี ้นื ทีต่ ิดกบั อำเภอปง จังหวัดพะเยา อำเภอสองแคว มพี นื้ ทต่ี ิดตอกบั อำเภอเชยี งคำ จงั หวดั พะเยา
จังหวัดนานมีจุดผานแดนสากล 1 จุด คือ ดานบานหวยโกน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

ดานตรงขามของ สปป.ลาว คือ บานน้ำเงิน เมืองเงิน แขวงไชยะบุลี (ดานสากล) และจุดผอนปรนดาน
บา นใหมช นแดน อำเภอสองแคว และบา นหว ยสะแตง อำเภอทงุ ชาง กับเมอื งเชียงฮอนสปป.ลาว

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 3

1.5 สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศของจงั หวัดนา น

จงั หวัดนา น มีทวิ เขาหลวงพระบางและทิวเขาผีปนนำ้ ซึง่ เปนทิวเขาหนิ แกรนติ ทม่ี คี วามสูง 600
- 1,200เมตร เหนือระดบั น้ำทะเลทอดผา นท่ัวจังหวัด คิดเปนพื้นท่ปี ระมาณรอยละ 40 ของพ้ืนท่ีทงั้ จังหวดั ขนาด
พ้ืนที่ของจังหวัดนานโดยท่ัวไปมีสภาพพื้นท่ีเปนลูกคลื่นลอนชันเกิน 30 องศา ประมาณรอยละ85 ของพ้ืนที่
จังหวัด สวนลูกคลื่นลอนลาดตามลุมน้ำ จะเปนที่ราบแคบๆ ระหวางหบุ เขาตามแนวยาวของลุมน้ำนาน สา วา ปว
และกอนจังหวัดนานมีพื้นที่รวมท้ังส้ิน 7,581,035.02ไร (สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน)
(สรอ.), 2559)จำแนกเปน พื้นที่ปาไมและภูเขา 4,654,853.32 ไร คิดเปนรอยละ 61.40พื้นท่ีท่ีไมใชปาไม
2,926,181.70 ไร คดิ เปน รอ ยละ 38.60

ภูมิอากาศของจังหวัดนานมีความแตกตางกันของฤดูกาล โดยอากาศจะรอนอบอาวในฤดูรอน
และหนาวเย็นในฤดูหนาว โดยไดรับอทิ ธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต พัดพาเอาความชุมชื้นมาสูภมู ิภาค ทำให
มีฝนตกชุก ในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน ซ่ึงเปนชวงฤดูฝน และจะไดรับอิทธิพลจากลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ พัดพาเอาความหนาวเย็นสภู ูมิภาค ในเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ และในชว งเดือนมีนาคมถึง
เมษายน จะไดร ับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงใต ทำใหมีสภาพอากาศรอนนอกจากน้ีจงั หวดั นานยังมีสภาพ
ภูมิประเทศโดยรอบเปนหุบเขาและภูเขาสูงชันมาก ทิวเขาวางตัวในแนวเหนือใต ทำใหบริเวณยอดเขาสามารถรับ
ความกดอากาศสูงที่แผมาจากประเทศจีนในฤดูหนาวไดอยา งทั่วถึงและเต็มท่ี ขณะเดียวกนั ท่ีทิวเขาวางตัวเหนือใต
ทำใหเสมือนกำแพงปดกั้นลมมรสมุ ทางทศิ ตะวนั ออก รวมท้ังยงั มีระดบั ความสูงเฉลีย่ บนยอดเขากับความสูงเฉลี่ยท่ี
ผิวแตกตางกันมาก และยังมีระดับความสูงเหนือระดับน้ำทะเล จากปจจัยทั้งหลายเหลานี้ ในตอนกลางวัน ถูก
อิทธิพลของแสงแดดเผาทำใหอุณหภูมิรอ นมาก และในตอนกลางคืนจะไดรับอิทธิพลของลมภูเขา พัดลงสูหุบเขา
ทำใหอากาศเย็นในตอนกลางคนื

1.6 เขตการปกครองของจังหวดั นาน2แบง การปกครองแบงออกเปน 15 อำเภอ 99 ตำบล
893 หมูบา น ดังนี้

ที่ ชื่ออำเภอ จำนวนตำบล จำนวนหมูบา น
1 เมืองนา น 11 109
2 แมจริม 5 38
3 บานหลวง 4 26
4 นานอ ย 7 68
5 ปว 12 107
6 ทาวังผา 10 91
7 เวียงสา 17 128
8 ทุง ชา ง 5 40
9 เชยี งกลาง 5 60
10 นาหม่นื 4 48
11 สนั ตสิ ุข 3 31
12 บอ เกลือ 4 39
13 สองแคว 3 25
14 ภูเพียง 7 61
15 เฉลิมพระเกียรติ 2 22

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 4

จงั หวดั นานมีองคก รปกครองสวนทองถน่ิ ประกอบดวย องคก ารบรหิ ารสวนจังหวัด 1 แหง

เทศบาลเมอื ง 1 แหง เทศบาลตำบล 18 แหง และองคก ารบรหิ ารสวนตำบล 80 แหง ดังนี้

ชอ่ื อำเภอ องคก รปกครองสวนทองถน่ิ

1. อำเภอเมืองนาน 1. องคการบริหารสว นจงั หวัดนา น

2. เทศบาลเมืองนา น

3. เทศบาลตำบลดใู ต

4. อบต.ผาสิงห

5. อบต.บอ

6. อบต.เรอื ง

7. อบต.บอสวก

8. อบต.ไชยสถาน

9. อบต.สะเนียน

10. อบต.นาซาว

11. เทศบาลตำบลกองควาย

12. อบต.ถมื ตอง

2. อำเภอเวียงสา 1. เทศบาลตำบลเวียงสา

2. อบต.จอมจนั ทร

3. อบต.นาเหลอื ง

4. เทศบาลตำบลกลางเวยี ง

5. อบต.สา น

6. อบต.ตาลชมุ

7. อบต.น้ำมวบ

8. อบต.ทงุ ศรที อง

9. อบต.ยาบหัวนา

10. อบต.แมสา

11. อบต.ไหลน าน

12. เทศบาลตำบลขง่ึ

13. อบต.อายนาไลย

14. อบต.นำ้ ปว

15. อบต.แมขะนิง

16. อบต.แมสาคร

๑๗. อบต.ปงสนกุ

3. อำเภอปว 1. เทศบาลตำบลปว

2. เทศบาลตำบลศลิ าแลง

3. อบต.แงง

4. อบต.เจดยี ช ยั

5. อบต.สถาน

6. อบต.ภูคา

7. อบต.อวน

8. อบต.ปา กลาง

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 5

ชือ่ อำเภอ องคกรปกครองสว นทองถิน่
4. อำเภอนานอ ย 9. อบต.ไชยวฒั นา
5. อำเภอทา วงั ผา 10. อบต.วรนคร
11. อบต.สกาด
6. อำเภอเชยี งกลาง 12. อบต.ศลิ าเพชร
7. อำเภอภูเพียง 1. เทศบาลตำบลนานอ ย
8. อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 2. อบต.สนั ทะ
9. อำเภอบา นหลวง 3. อบต.บวั ใหญ
4. เทศบาลตำบลศรษี ะเกษ
5. อบต.สถาน
6. อบต.น้ำตก
7. อบต.เชยี งของ
1. เทศบาลตำบลทาวงั ผา
2. อบต.ยม
3. อบต.ริม
4. อบต.ผาทอง
5. อบต.จอมพระ
6. อบต.ผาตอ
7. อบต.แสนทอง
8. อบต.ตาลชุม
9. อบต.ปาคา
10. อบต.ศรีภูมิ
1. เทศบาลตำบลเชียงกลาง
2. อบต.เชียงกลางพญาแกว
3. เทศบาลตำบลพระพทุ ธบาทเชยี งคาน
4. อบต.พระธาตุ
5. อบต.เปอ
1. อบต.นาปง
2. อบต.เมอื งจัง
3. อบต.ฝายแกว
4. อบต.น้ำแกน
5. อบต.นำ้ เกย๋ี น
6. อบต.ทา นาว
7. อบต.มวงตึด๊
1. อบต.ขนุ นาน
2. อบต.หว ยโกน
1. อบต.ปาคาหลวง
2. อบต.สวด
3. อบต.บา นพี้
4. อบต.บานฟา

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 6

ชือ่ อำเภอ องคกรปกครองสว นทอ งถ่ิน
10. อำเภอสองแคว 1. เทศบาลตำบลยอด
11. อำเภอนาหม่ืน 2. อบต.ชนแดน
12. อำเภอบอเกลอื 3. อบต.นาไรห ลวง
1. อบต.นาทะนงุ
13. อำเภอแมจรมิ 2. อบต.เมอื งลี
3. อบต.ปงหลวง
14. อำเภอทุงชาง 4. เทศบาลตำบลบอแกว
1. อบต.บอ เกลือเหนือ
15. อำเภอสันติสขุ 2. เทศบาลตำบลบอ เกลอื ใต
3. อบต.ภูฟา
4. อบต.ดงพญา

1. เทศบาลตำบลหนองแดง
2. อบต.หนองแดง
3. อบต.หมอเมือง
4. อบต.นำ้ พาง
5. อบต.แมจ ริม
1. เทศบาลตำบลทงุ ชา ง
2. เทศบาลตำบลงอบ
3. อบต.และ
4. อบต.ทุงชา ง
5. อบต.ปอน
1. อบต.ปาแลวหลวง
2. อบต.พงษ
3. อบต.ดพู งษ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2ท่มี าของขอ มูล : สำนกั งานทองถิน่ จังหวัดนาน ขอ มูล ณ เดอื นธนั วาคม 2563

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 7

1.7 ประชากรของจังหวัดนา น3
สัดสวนประชากรจังหวัดนานมีประชากรท้ังสน้ิ 164,962 หลังคาเรือน รวมท้งั ส้ิน ๔๗๘,๒๒๗

คน แยกเปนชาย ๒๓๙,๖๖๑ คน หญงิ 238,๕๖๖ คน จำแนกตามเพศและอำเภอ ดงั น้ี

อำเภอ/เทศบาล ชาย หญิง รวม หลังคาเรอื น(หลัง)
อำเภอเมืองนาน 31,๔๐๖ ๓๑,๒๙๐ ๖๒,๖๙๖ ๒๔,๔๗๑
อำเภอแมจ รมิ ๘,๒๙๔ ๗,๙๗๑ ๑๖,๒๖๕ ๔,8๙๒
อำเภอบานหลวง ๕,๗๙๑ 5,๗๕๙ 11,๕๕๐ 3,๙๔๙
อำเภอนานอย 15,๐๐๙ ๑๔,๙๐๑ ๒๙,๙๑๐ 10,๓๒๘
อำเภอปว 26,๗๗๓ 2๗,๐๖๕ ๕๓,๘๓๘ 15,๙๑๓
อำเภอทาวังผา 22,๖๙๘ 22,๖๖๒ 45,๓๖๐ 14,๔๙๓
อำเภอเวียงสา ๓๓,๖๖๗ ๓๓,๓๐๙ ๖๖,๙๗๖ 2๔,๓๙๒
อำเภอทงุ ชาง ๗,๘๕๕ ๗,๗๔๐ ๑๕,๕๙๕ ๕,๑๙๑
อำเภอเชยี งกลาง ๘,๗๕๑ ๘,๘๓๑ ๑๗,๕๘๒ 5,๗๖๓
อำเภอนาหม่นื 7,๒๖๐ ๗,๐๗๕ ๑๔,๓๓๕ 4,4๘๑
อำเภอสนั ตสิ ขุ ๘,๐๕๐ ๗,๖๕๕ ๑๕,๗๐๕ ๕,๑๐๕
อำเภอบอเกลือ 7,7๙๑ ๗,๔๕๐ ๑๕,๒๔๑ 4,๙๐๕
อำเภอสองแคว ๖,๔๑๗ ๕,๙๙๘ ๑๒,๔๑๕ 3,๗๘๓
อำเภอภูเพยี ง ๑๗,๘๕๔ ๑๘,๑๖๘ ๓๖,๐๒๒ 13,๕๕๓
อำเภอเฉลิมพระเกยี รติ 5,0๒๘ ๔,๗๙๐ ๙,๘๑๘ 3,๓๖๘
เทศบาลตำบลเชียงกลาง ๔,๗๓๒ ๔,๙๒๗ ๙,๖๕๙ 3,๙๑๐
เทศบาลตำบลทงุ ชาง ๑,๗๐๗ ๑,๖๔๐ ๓,๓๔๗ 1,๔๑๙
เทศบาลตำบลเวยี งสา ๑,๓๑๘ ๑,๕๔๒ ๒,๘๖๐ 1,2๙๕
เทศบาลตำบลทา วงั ผา 2,๔๗๙ ๒,๖๘๕ ๕,๑๖๔ 2,๗00
เทศบาลตำบลปว ๕,๐๔๓ ๕,๔๐๖ ๑๐,๔๔๙ 4,๘๔๕
เทศบาลตำบลนานอย ๑,๑๓๘ ๑,๒๘๑ ๒,๔๑๙ 1,๒๒๑
เทศบาลเมืองนาน ๙,๖๕๕ ๙,๘๓๗ ๑๙,๔๙๒ ๑๐,๗๗๓
รวมท้ังสนิ้ ๒๓๘,๗๑๖ ๒๓๗,๙๘๒ ๔๗๖,๖๙๘ 1๗๐,๗๕๐

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------

3ทีม่ าของขอมลู : ทที่ ำการปกครองจังหวดั นาน กระทรวงมหาดไทย ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 256๓

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 8

2. ขอมูลหนวยงานทางการศกึ ษาและสถานศกึ ษาของจังหวัดนา น
2.1 หนวยงานทางการศกึ ษา
จังหวัดนานมีหนวยงานทางการศึกษาและมีสถานศึกษาในสังกัด ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่จัด

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การอาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
มีสถานศึกษา 662 แหง ดงั น้ี

1) สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดนาน
ตั้งอยูเลขที่ 506/2 ถนนสุมนเทวราช ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนาน รหัสไปรษณีย
55000 สงั กดั สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

2) สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานาน เขต 1
ตั้งอยูเลขท่ี114 หมู 6 บานพญาวัด ถนนยันตรกิจโกศล ตำบลดูใต อำเภอเมือง จังหวัดนาน
รหสั ไปรษณยี  55000มสี ถานศกึ ษาในสงั กัด 194 แหง

3)สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานาน เขต 2
ตั้งอยูท่ีต้ัง เลขท่ี 418 ตำบลปว อำเภอปว จังหวัดนาน รหัสไปรษณีย 55120 มีสถานศึกษา
ในสังกัด 148 แหง

4) สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 37 (แพร-นาน)
ตั้งอยูเลขท่ี2 รองซอ ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร รหัสไปรษณีย 54000
มสี ถานศึกษาในสงั กัด 46 แหง อยูใ นจงั หวัดแพร 16 แหง จงั หวดั นาน 30 แหง

5) สำนกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดนาน
ตั้งอยูเลขท่ี 84 หมู 6 บานพญาวัด ถนนสุมนเทวราช ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนาน
รหสั ไปรษณยี  55000มศี นู ย กศน.อำเภอ 15 อำเภอ

6) สถานศึกษาเอกชนจังหวดั นาน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ มีสถานศึกษาในสังกัด 15 แหงในจังหวัดนานอยูในการกำกับดูแลของ
สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนา น

7) สถานศึกษาสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา มี 4 แหง ดงั น้ี
วทิ ยาลยั เทคนิคนา น
ต้ังอยูเลขท่ี 2 ถนนรอบกำแพงเมืองดานตะวันตก ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนาน
รหสั ไปรษณยี  55000
วิทยาลยั เทคนคิ ปว
ตัง้ อยเู ลขที่ 237 ถนนนา น-ทุงชา ง ตำบลปว อำเภอปว จงั หวัดนาน รหัสไปรษณยี  55120
วิทยาลยั สารพดั ชา งนาน
ตั้งอยเู ลขท่ี 150 ถนนสุมนเทวราช ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนาน รหัสไปรษณยี  55000
วิทยาลัยการอาชพี เวยี งสา
ตัง้ อยูเลขที่ 138 ตำบลนาเหลือง อำเภอเวียงสา จงั หวัดนา น รหัสไปรษณยี  55110

8) สถานศึกษาสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา มี 5 แหง ดงั น้ี
วิทยาลัยชมุ ชนนา น
ตง้ั อยูเลขที่ 10 หมู 5 ถนนยันตรกิจโกศล ตำบลดูใต อำเภอเมือง จังหวัดนา น รหสั ไปรษณีย 55000
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา นนานาน
ตง้ั อยูเลขที่ 59 หมู 13 ตำบลฝายแกว อำเภอภูเพียง จงั หวัดนาน รหัสไปรษณยี  55000

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 9

วทิ ยาลัยนา น มหาวิทยาลัยราชภฎั อตุ รดิตถ
ตั้งอยูเลขท่ี 199 ถนน โยธาธกิ ารนา น บา นนาเคยี นเหนอื หมู 8-บานนาแสนหมู 4
บานจอมจันทรเหนือหมู 7 ตำบลจอมจนั ทร อำเภอเวยี งสา จงั หวัดนาน 55110
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ศนู ยการเรยี นรแู ละบริการวิชาการเครอื ขาย)
ตัง้ อยูเลขที่ถนนนาน-ทงุ ชา ง ตำบลผาสิงห อำเภอเมอื ง จังหวัดนา น รหสั ไปรษณยี  55000
วทิ ยาลัยสงฆนครนาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ตง้ั อยู ณ วัดพระธาตุแชแหง ตำบลฝายแกว อำเภอภูเพียง จังหวดั นาน รหัสไปรษณีย 55000
จัดการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สำหรบั บรรพชิตและคฤหัสถ
9) สถานศกึ ษาในสงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษมี 3 แหง ดังน้ี
ศนู ยก ารศึกษาพิเศษ
จัดการศึกษาระดับข้ันพ้ืนฐาน สำหรับผูเรียนมีความบกพรองทางสติปญญา เด็กดอยโอกาสทาง
การศกึ ษา ต้ังอยูเลขท่ี 3 หมู 11 ถนน นา น-พะเยา ตำบลไชยสถาน อำเภอเมอื ง จงั หวัดนาน
โรงเรยี นนา นปญ ญานกุ ูล
จัดการศกึ ษาระดบั ข้นั พ้ืนฐาน สำหรับผูเ รยี นทมี่ คี วามบกพรองทางสติปญญา ตั้งอยูเลขท่ี 103
หมทู ี่ 15 ตำบลฝายแกว อำเภอภูเพียง จังหวัดนา น 55000
โรงเรียนราชประชานเุ คราะห 56
จัดการศึกษาระดับข้ันพ้ืนฐาน สำหรับผูเรยี นดอ ยโอกาส ตง้ั อยูเลขท่ี 198 หมู 10 ถนนยนั ตรกิจ
โกศล ตำบลกลางเวียง อำเภอเวยี งสา จังหวัดนา น 55110
10) สถานศึกษาสังกัดองคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ มดี ังน้ี
สถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน
สงั กัดองคก ารบรหิ ารสวนจังหวัดนา น จำนวน 1 แหง
สงั กดั องคก ารบริหารสวนตำบลแมสา จำนวน 1 แหง
สังกัดเทศบาลเมืองนาน จำนวน 3 แหง
สงั กดั เทศบาลตำบลกลางเวียง จำนวน 1 แหง
ศูนยพ ฒั นาเด็กเล็ก
สังกดั องคก ารบริหารสว นตำบล จำนวน 183 แหง
สงั กัดเทศบาล จำนวน 37 แหง
11) สถานศกึ ษาสังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดน
ที่ 32 คายพญางำเมอื ง จงั หวัดพะเยา
ตัง้ อยูตำบลบา นตอ ม อำเภอเมือง จงั หวัดพะเยา 56000 มสี ถานศกึ ษา 2 แหง
12) สำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั นาน
ต้ังอยู 43 ถนนหนอคำ ตำบล ในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนาน 55000 มีสถานศึกษา 15 แหง
13) สำนกั งานสงเสริมการปกครองทองถน่ิ จังหวัดนา น
ต้งั อยู ณ ศูนยราชการจังหวัดนา น ช้ัน 5 ตำบลไชยสถาน อำเภอเมอื ง จงั หวัดนา น 55000

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 10

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 11

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 12

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 13

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 14

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 15

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 16

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 17

บทที่ 2

ความสำคญั ของเปา หมายการพฒั นาทีย่ ั่งยนื เปาหมายท่ี 4

หลักการและเหตผุ ล
เปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs ) เปนวาระการ

พัฒนาระยะ 15 ป ( ค.ศ. 2016-2030/พ.ศ. 2559-2573) ที่ผูนำประเทศสมาชิกสหประชาชาติ จำนวน
193 ประเทศรวมทั้งประเทศไทย ไดรวมกันลงนามรับรองพันธะสัญญาทางการเมืองระดับผูนำในเอกสาร
“Transforming Our World: The 2030 Agenda for Sustainable Development” เป น ก า ร ยื น ยั น
เจตนารมณและกำหนด ทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกดานตาง ๆ ใน 15 ปขางหนารวมกัน เพื่อผลักดันและ
ขับเคลื่อนการแกไขปญหา ในทุกมิติรวมทั้งสานตอภารกิจท่ียังไมบรรลุผลสำเรจ็ ภายใตเปาหมายการพัฒนาแหง
สหสั วรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) (ค.ศ. 2000-2015) ประกอบดวย เปาหมายหลัก 17
ขอ (Goals) ที่ครอบคลุมดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ซึ่งเปน 3 เสาหลักดานการพัฒนาท่ียั่งยืน
โดยเฉพาะเปาหมายหลกั ที่ 4 สรางหลกั ประกันวา ทกุ คนมกี ารศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพอยางครอบคลมุ และเทาเทียม และ
สนับสนุนโอกาสในการเรียนรู ตลอดชีวิต ประกอบดวย 10 เปาหมาย (Targets) ท่ีมุงพัฒนาและแกไขโจทยการ
พัฒนาการศกึ ษาของโลก ทั้งโอกาสทางการศึกษา คุณภาพการศึกษา และปจจัยที่สนับสนุนการจัดการศึกษาและ
การเรียนรูที่มีคุณภาพ ทุกมิติ ทุกระดับ ทุกประเภท อยางครอบคลุม ท่ัวถึง และเทาเทียมรัฐบาลไทยไดกำหนด
กลไกการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ในรูปแบบคณะกรรมการ เพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน (กพย.) ซึ่งมี
นายกรัฐมนตรีเปนประธาน ปลัดกระทรวง ผูแทนสวนราชการ และหนวยงานตาง ๆรวมเปนกรรมการ โดยมี
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ (สศช.) เปนฝายเลขานกุ าร และไดมอบหมายใหมีหนว ยงาน
หลักรับผิดชอบแตละเปาหมาย ทั้ง 17 เปาหมายหลัก ตั้งแตหวงป พ.ศ. 2559 ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการไดรับ
มอบหมายใหเปนหนว ยงานรับผิดชอบหลกั ในการขับเคลอ่ื นเปาหมายการพฒั นา ที่ยั่งยนื เปาหมายหลักท่ี 4 สรา ง
หลักประกันวา ทุกคนมีการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทา เทียม และสนับสนนุ โอกาสในการเรยี นรูต ลอด
ชีวิต (SDG 4) ทั้งน้ี กพย. ใหความสำคัญกับการขับเคลื่อนเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนที่ตองเร่ิมตนจากการ
ดำเนินการในระดับพื้นที่ (Localizing SDGs) โดยมุงเนนใหทุกภาคสวน ที่เกี่ยวของวิเคราะหและสังเคราะห
เปาหมายการพฒั นาที่ยั่งยืน ซึ่งเปนเปาหมายรวมระดับโลก ใหเปนเปาหมาย ระดับประเทศและระดับพ้ืนท่ี และ
ขับเคลื่อนและดำเนินการตามประเด็น บรบิ ท ความพรอมของหนวยงาน และภาคสวนตา ง ๆ ในพื้นท่ี เพื่อน าไปสู
การปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนจากระดับพนื้ ท่ี อนึง่ SDGs มีเปาหมายหลัก 17 ขอ ครอบคลุม 3
เสาหลกั ดา นการพัฒนาทย่ี ่งั ยนื คือ เศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดลอ ม

เปาหมายท่ี 1 ขจัดความยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นที่ (End poverty in all its forms
everywhere)

เปาหมายท่ี 2 ยุติความหิวโหย บรรลุความม่ันคงทางอาหารและยกระดบั โภชนาการและสงเสริม
เก ษ ต รก รรม ที่ ยั่ งยื น (End hunger, achieve food security and improved nutrition and promote
sustainable agriculture)

เปาหมายที่ 3 สรางหลักประกันวาคนมชี ีวิตท่ีมีสุขภาพดีและสง เสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนใน
ทกุ วัย (Ensure healthy lives and promote well-being for all at all ages)

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 18

เปาหมายที่ 4 สรางหลักประกันวาทุกคนมีการศึกษาที่มคี ุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม
และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต (Ensure inclusive and equitable quality education and
promote lifelong learning opportunities for all)

เปาหมายท่ี 5 บรรลุความเทาเทียมระหวางเพศ และเสริมสรางความเขมแข็งใหแกสตรี และ
เด็กหญิง (Achieve gender equality and empower all women and girls)

เปาหมายที่ 6 สรางหลักประกันวาจะมีการจัดใหมีน้ำและสุขอนามัยสำหรับทุกคนและมีการ
บริหารจัดการที่ย่ังยืน (Ensure availability and sustainable management of water and sanitation for
all)

เปาหมายท่ี 7 สรางหลักประกันใหทุกคนสามารถเขาถึงพลังงานสมัยใหมที่ยั่งยืน ในราคาที่
ยอมเยา (Ensure access to affordable, reliable, sustainable and modern energy for all)

เปาหมายท่ี 8 สงเสรมิ การเตบิ โตทางเศรษฐกิจที่ตอเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจางงานที่มี
ผลิตภาพ และการมีงานที่เหมาะสมสำหรับทุกคน (Promote sustained, inclusive and sustainable
economic growth, full and productive employment and decent work for all)

เปาหมายที่ 9 สรางโครงสรางพ้ืนฐานท่ีมีความทนทาน สงเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมท่ี
ครอบคลุมและยั่งยืน และสงเสริมนวัตกรรม (Build resilient infrastructure, promote inclusive and
sustainable industrialization and foster innovation)

เปาหมายที่ 10 ลดความไมเสมอภาคภายในประเทศและระหวางประเทศ (Reduce
inequality within and among countries)

เปาหมายที่ 11 ทำใหเมืองและการตั้งถ่ินฐานของมนุษยมีความครอบคลุม ปลอดภัยมีภูมิ
ตานทานและยั่งยืน (Make cities and human settlements inclusive, safe, resilient and sustainable)

เปาหมายที่ 12 สรางหลักประกันใหมีรูปแบบการผลิตและการบริโภคท่ียั่งยืน (Ensure
sustainable consumption and production patterns)

เปาหมายที่ 13 เรงตอสูกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดข้ึน
(Take urgent action to combat climate change and its impacts)

เปาหมายท่ี 14 อนุรักษและใชประโยชนจากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเล อยาง
ย่ั ง ยื น เพ่ื อ ก า ร พั ฒ น า ท่ี ยั่ ง ยื น (Conserve and sustainably use the oceans, seas and marine
resources for sustainable development)

เปาหมายที่ 15 ปกปอง ฟนฟู และสนับสนุนการใชระบบนิเวศบนบกอยางย่ังยืน จัดการปาไม
อยางยั่งยืนตอสูกับการกลายสภาพเปนทะเลทราย หยุดการเส่ือมโทรมของท่ีดินและฟนสภาพกลับมา ใหม และ
หยุดการสูญ เสีย ความหลากหลายทางชีวภาพ (Protect, restore and promote sustainable use of
terrestrial ecosystems, sustainably manage forests, combat desertification, and halt and reverse
land degradation and halt biodiversity loss)

เปาหมายที่ 16 สงเสริมสังคมท่ีสงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน ใหทุกคน เขาถึง
ความยุติธรรมและสรางสถาบันท่ีมีประสิทธผิ ลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ (Promote peaceful and
inclusive societies for sustainable development, provide access to justice for all and build
effective, accountable and inclusive institutions at all levels)

เปาหมายที่ 17 เสริมความเขม แข็งใหแกกลไกการดำเนินงานและฟนฟูสภาพหุน สว น ความรวมมือ
ระดบั โลกสำหรับการพัฒนาที่ยัง่ ยืน (Strengthen the means of implementation and revitalize the global

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 19

partnership for sustainable development) กระทรวงศึกษาธิการไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบเปาประสงคท่ี
4 สรา งหลกั ประกนั วาทุกคนมกี ารศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทา เทียมและสนับสนนุ โอกาสในการเรยี นรู
ต ล อ ด ชี วิ ต (Ensure inclusive and equitable quality education and promote lifelong learning
opportunities for all) ซึง่ มที ง้ั หมด 10 เปาประสงค ดงั น้ี

4.1 สรา งหลักประกนั วาเดก็ หญิงและเด็กชายทุกคนสำเรจ็ การศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษา
ที่มีคณุ ภาพเทาเทยี มและไมมคี า ใชจ า ย นำไปสูผลลพั ธท างการเรียนทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ลภายในป 2573

4.2 สรางหลักประกันวาเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเขาถึงการพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษา
ระดับกอนประถมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยท่มี คี ุณภาพ ภายในป 2573 เพ่ือใหเดก็ เหลานั้นมคี วามพรอ มสำหรบั
การศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา

4.3 สรางหลักประกันวาเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเขาถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาอุดมศึกษา
รวมถงึ มหาวิทยาลยั ทีม่ คี ุณภาพในราคาทีส่ ามารถจา ยได ภายในป 2573

4.4 เพ่ิมจำนวนเยาวชนและผูใหญทีม่ ีทักษะที่เกีย่ วขอ ง รวมถงึ ทักษะทางดา นเทคนคิ และอาชีพสำหรับ
การจางงานการมีงานทมี่ ีคุณคา และการเปน ผูประกอบการ ภายในป 2573

4.5 ขจัดความเหลื่อมล าทางเพศในการศึกษา และสรางหลักประกันวากลุมที่เปราะบาง ซ่ึงรวมถึงผู
พิการ ชนพืน้ เมืองและเดก็ เขา ถึงการศึกษาและการฝก อาชพี ทกุ ระดบั อยางเทา เทียม ภายในป 2573

4.6 สรา งหลักประกันวาเยาวชนทุกคนและผูใหญในสัดสวนสูง ท้ังหญิงและชายสามารถอานออกเขียน
ไดและคำนวณได ภายในป 2573

4.7 สรา งหลักประกันวาผเู รียนทุกคนไดร ับความรูและทักษะท่จี ำเปน สำหรับสง เสรมิ การพฒั นาอยา ง
ยงั่ ยืน รวมไปถงึ การศึกษาสำหรบั การพฒั นาอยา งยั่งยนื และการมวี ิถีชีวิตท่ียัง่ ยืน สทิ ธมิ นุษยชน ความเสมอภาค
ระหวางเพศ การสง เสรมิ วัฒนธรรมแหง ความสงบสุขและไมใชค วามรนุ แรง การเปน พลเมืองของโลกและความ
นิยมในความหลากหลายทางวฒั นธรรมและการมีสวนรวมของวัฒนธรรมตอการพฒั นาท่ียั่งยนื ภายในป 2573

4.A สรางและยกระดบั อุปกรณแ ละเครื่องมอื ทางการศึกษาท่อี อนไหวตอเด็กผพู ิการ และเพศภาวะและให
มสี ภาพแวดลอมทางการเรยี นรูท่ปี ลอดภัยปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมีประสิทธิผลสำหรบั ทกุ คน

4.B ขยายจำนวนทุนการศกึ ษาในทวั่ โลกที่ใหส ำหรับประเทศกำลังพฒั นาโดยเฉพาะประเทศพัฒนานอย
ทสี่ ุดรฐั กำลังพัฒนาท่เี ปน เกาะขนาดเล็กและประเทศในแอฟรกิ าในการสมัครเขาศึกษาตอ
ในระดบั อดุ มศึกษา รวมถึงการฝกอาชพี และโปรแกรมดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ดา นเทคนิค
วศิ วกรรม และวิทยาศาสตร ในประเทศพัฒนาแลวและประเทศกำลังพฒั นาอ่ืน ๆ ภายในป 2573

4.C เพิ่มจำนวนครูท่ีมีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการผานทางความรวมมือระหวางประเทศในการ
ฝก อบรมครูในประเทศกำลงั พัฒนา โดยเฉพาะอยางย่ิงในประเทศพฒั นานอยที่สุดและรัฐกำลังพัฒนาที่เปนเกาะ
ขนาดเลก็ ภายในป 2573

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 20

ความทาทายของเปาหมายการพัฒนาท่ีย่งั ยนื ดา นการศกึ ษา
เปาหมายท่ี 4 การศึกษาที่มีคุณภาพ) เปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนดานการศึกษา (เปาหมายที่ 4
การศึกษาท่ีมีคุณภาพ) ทำใหเกิดความทาทายในการสลายขอบเขตในเรื่อง ตอไปน้ี - การสลายขอบเขตของ
การศึกษาในระบบและนอกระบบให เจือจางลง โดยเฉพาะอยางยิ่งสิทธิในการศึกษา และบทบาทของครู - การ
สลายขอบเขตของคำวา ภาครัฐและเอกชนใหเจือจางลง ในเรื่องของการเพ่ิมการมีสว นรวมของภาคเอกชนในเร่ือง
การศึกษาและ การปรบั เปล่ียนบทบาทของรฐั และการปรบั เปลี่ยนสาระของการศึกษา เปนการสรางผลผลติ ของ
สวนรวม - การสลายขอบเขตของการเปนระดบั โลกและกบั การเปนทองถ่ิน ใหเจือจางลง โดยการใหการศึกษาใน
เร่ืองการเปนพลเมืองโลกท่ีเชื่อมตอ ถึงกันและเปนอันหนึ่งอนั เดียวกัน ภูมิปญญาทองถิ่น ภาษาและโลกาภิวัตน
มุงเนนการเจริญเติบโตในศตวรรษที่ 21 และทักษะเฉพาะ Transversal Skills) ตลอดจนมีการติดตามทั้งใน
ระดบั โลก ระดบั ชาติ และระดบั ทอ งถิน่

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 21

บทที่ 3

ความสำคญั และความกาวหนาการดำเนินงาน
ขบั เคลือ่ นเปา หมายการพฒั นาที่ย่งั ยนื เปาหมายท่ี 4

เปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในประเทศไทยและการทำงานของหนวยงาน ท้ัง 19 แหงของสห ประชาชาติ
ในประเทศไทยครอบคลุมเปาหมายการพฒั นาท่ียง่ั ยืนทั้งหมดในฐานะประเทศผูมีรายไดป านกลางระดับสงู จากการ
ประเมินโดยองคการสหประชาชาติ ทีมสหประชาชาติประจำประเทศจะสนับสนุนกิจกรรมท่ีใหความสำคัญเปน
พิเศษกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดังตอไปน้ี ขอ 1.3 การขยายขอบเขตการคุมครองทางสงั คม ขอ 3.4 การ
แกปญหาเก่ียวกับโรคไมติดตอ ขอ 4.1 การชวย ใหทุกคนเขาถึงการศึกษา โดยมุงเนนไปที่เยาวชนอพยพ
ขอ 5.5 การสนบั สนุนเพ่ือใหสตรมี ีสว นรวมในการตัดสนิ ใจทางการเมอื งมากข้นึ ขอ 8.3 การสนบั สนุนธุรกจิ ขนาด
กลางและขนาดยอมและนวัตกรรมโดยเยาวชน ขอ 10.2 การเปดรับคนชายขอบ โดยเฉพาะชุมชน LGBTI
ขอ 10.7 การดูแลการโยกยายถ่ินฐาน ขอ 13.2 ยุทธศาสตรเพ่ือรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใน
ระดับชาติและระดับทองถิ่น ขอ 16.1 การสนับสนุนความสามัคคีในสังคมเพ่ือยุติความรุนแรงในภาคใตของประเทศไทย
ขอ 16.9 การผลกั ดันและสนบั สนุนการยุตปิ ญ หาคนไรส ญั ชาติ ขอ 17.7 การเปนพนั ธมิตรกบั ภาคเอกชนเพือ่ การ
พัฒนาที่ยั่งยืน และขอ 17.9 การแบงปนประสบการณของประเทศไทยและแนวทางปฏิบัติท่ีดีที่สุดผานการ
แลกเปลย่ี นใต – ใต

เปาหมายที่ 4 สรางหลักประกันใหการศึกษามีคุณภาพอยาง เทาเทียมและครอบคลุม สงเสริม
โอกาสในการเรยี นรตู ลอดชวี ิตสำหรับ ทกุ คน (Quality Education) เปาหมายในดานการศึกษามีความกาวหนาข้ึน
ตั้งแตป 2543 มีความคืบหนาเปนอยางมากในการบรรลุเปาหมายเรื่องของผูท่ีไดรับการศึกษาในระดับ
ประถมศึกษา อัตราการลงทะเบียนเรียนรวมในประเทศกำลังพัฒนาเพมิ่ ขึ้นถึงรอยละ 91 ในป 2558และจำนวน
ของเด็กท่ัวโลกท่ไี มไดรบั การศึกษาลดลงไดเ กอื บครง่ึ หนง่ึ นอกจากน้ี อัตราผทู มี่ คี วามสามารถในการอานออกเขียน
ไดยงั เพิม่ ขน้ึ เปน อยางมาก และเด็กผูห ญงิ ไดไปโรงเรียนมากขึ้นกวา เดิม สงิ่ เหลานลี้ ว นเปน ความสำเร็จอนั ยอดเยยี่ ม
การประสบความสำเร็จครอบคลมุ ถึงการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพ ซ่งึ ตอกย้ำความเชือ่ ท่ีพิสจู นแ ลว วา การศกึ ษาเปนหนึง่ ใน
แรงขับเคลอ่ื นท่ีมีประสทิ ธภิ าพสำหรับการพัฒนาอยางยง่ั ยืน เปาหมายนท้ี ำใหแนใจวา เด็กผูหญิงและเด็กผชู ายทุก
คนจะไดรับสำเร็จศึกษาฟรีในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา นอกจากนี้ยังมีวัตถุประสงคเพื่อจัดใหมีการ
ฝกอบรมอาชีพในราคาที่เหมาะสมอยางเทา เทียมกัน และขจัดความไมเ สมอภาคทางเพศและความเหล่ือมลำ้ ดวย
ความมุงหมายท่ีจะประสบผลสำเร็จในการเขาถึงหลักสากลเพื่อการศึกษาท่ีสูงขึ้นอยางมีคุณภาพ มีวัตถุประสงค
เพ่ือจัดใหมีการฝกอบรมอาชีพในราคาที่เหมาะสม อยางเทาเทียมกัน ตลอดจนขจัดความไมเสมอภาคทางเพศและ
ความเหลือ่ มลำ้ และเขาถึงหลักสากลเพอ่ื การศึกษาทส่ี ูงขน้ึ อยางมีคณุ ภาพ เปาหมายที่ 4 : สรางหลักประกนั วาทุก
คนมีการศึกษาที่มี คุณภาพอยางครอบคลมุ และเทาเทียมและ สนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต (Ensure
inclusive and equitable quality education and promote lifelong learning opportunities for all)

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 22

กระทรวงศึกษาธิการเปนเจาภาพหลักของ SDG4 และทำงานภายใตกรอบงานของUNESCO Education
2030:Incheon Declaration and Framework for Actionfor the implementation of Sustainable Development Goal 46
เปาหมายที่ 4 ดานการศึกษา : สรางหลักประกันวาทุกคนมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และ
สนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต ประกอบดวย 10 เปาประสงค ท่ีมุงพัฒนาและแกไขโจทยการพัฒนา
การศึกษาของโลก ท้ังโอกาสทางการศึกษา คุณภาพการศึกษา และปจจัยท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษาและการ
เรียนรูที่มีคุณภาพทุกมิติ ทุกระดับ ทุกประเภท อยางครอบคลุม ทั่วถึง และเทาเทียม สนับสนุนโอกาสในการเรียนรู
ตลอดชีวิตโดยมีกลไกขับเคล่ือนสำคัญในรูปแบบ “คณะกรรมการอำนวยการการขับเคลื่อนเปาหมายของ
สหประชาชาตวิ าดวยการพัฒนาทีย่ ั่งยืนดานการศึกษา” ไดแ ก

* ปญ หาความเหลอ่ื มล้ำของโอกาสทางการศกึ ษา
* ปญหาการไมรจู ักตนเอง
* ผลการประเมนิ โครงการ PISA 2015
* การจัดการศึกษาและการเรียนรทู ่ตี องปรับตวั รองรบั ยุคดิจิทลั

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะฝายเลขานุการหนวยงานหลักในการ
ดำเนินการขับเคล่ือนเปาหมายของสหประชาชาติวาดว ยการพัฒนาที่ย่ังยืนดานการศึกษา ไดรวมกับภาคเี ครอื ขาย
ภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม โดยมวี ตั ถปุ ระสงค 2 ขอ ดงั นี้

1. เพ่ือสรา งการรบั รูเขาใจถึงที่มา หลักการสำคัญ และความเช่ือมโยงเก่ียวกบั เปาหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน
กับนโยบายและแผนการดำเนินงานของประเทศไทย

2. เพอ่ื วเิ คราะหบริบทและจดั ทำยทุ ธศาสตรใ นการขับเคลอื่ นเปาหมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน

ดานการศึกษาในระดับจังหวัดและภูมิภาครวมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในโครงการ
ประสานงานวิจัย เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาท่ีย่ังยืน (SDG MOVE) มีความประสงคใหเกิดความรูความเขาใจท่ี
ถูกตอง เร่ือง SDG4เพื่อพัฒนาเช่ือมโยงกับการทำงานใหเขมขนรวมไปถึงการรสรางการรับรูใหกับหนวยงานใน
ระดับตางๆ มากขึ้นและเปนประโยชนกับบุคลากรของหนวยงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ พ.ศ. 2563
โดยการสรางการรับรู ความเขาใจ เก่ียวกับการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศึกษา รวมกับ
สำนักงานศึกษาธิการภาค 18 ภาคและสำนักบูรณาการกิจการการศึกษา สป. (สำนักบูรณาการยุทธศาสตร
การศึกษา สป. เดิม) และมีการคัดเลือกจังหวัดนำรองเพื่อขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศกึ ษาใน
ระดับพ้ืนที่ (SDG 4 Lab) จำนวน 6จังหวดั ไดแก เชียงราย อุดรธานี ลพบุรี ปราจีนบุรี สตูล และปตตานี รวมถึง

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 23

ดำเนินการสรา งการรับรู ในการจัดทำแผนเพื่อสนับสนุนการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนดานการศึกษา
SDG 4 โดยใช หลกั การความสัมพันธเ ชงิ เหตุและผล (XYZ) ดำเนินการดังน้ี

1. แตงต้ังคณะกรรมการขับเคลือ่ น เปาหมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืนดานการศึกษา และคณะทำงาน
จัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศกึ ษา และ เพื่อจัดทำรา งแผนท่ีนำ
ทางฯ สำหรบั ใช เปนกรอบแนวทางในการดำเนนิ งานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยัง่ ยืนดานการศึกษา (เปาหมายที่ ๔)
ของหนวยงาน ท่เี กยี่ วขอ งทั้งในสวนกลางและระดบั พน้ื ที่ ซึง่ เปน ไปตามมติคณะกรรมการเพ่อื การพัฒนาท่ี 1 ย่ังยืน (กพย.)
และแนวทางการดำเนินงานท่ีสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงขาติ (สศข.)ในฐานะฝายเลขานุการ
คณะกรรมการเพื่อการพฒั นาทยี่ งั่ ยืนกำหนด ใหดำเนินการตามกรอบแนวทางของแผนการขบั เคล่ือนเปา หมาย การพัฒนาท่ี
ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Country’s Roadmap for SDGs) รวมทั้ง เพ่ือนำเสนอคณะกรรมการขับเคล่ือน เปาหมายการ
พัฒนาที่ยั่งยนื ดา นการศึกษาตอ ไป

2. จัดทำแผนท่ีนำทาง (Roadmap) การขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนดานการศึกษา
(ระดับภาคและจังหวัด) เพื่อใชเ ปนกรอบแนวทางการในการดำเนินงานขับเคล่ือนแผนทนี่ ำทางฯ ของภาคและจังหวัด โดยใช
สาระสำคัญของแผนที่นำทางฯ (SDG4 Roadmap) ที่สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจัดทำขึ้นเปนกรอบในการจัดทำ
เพื่อใหแผนที่นำทางฯ มีความสอดคลองเข่ือมโยงกัน และเปนการแสดงใหเห็นการถายทอดเปาหมายการพัฒนาของแผนท่ี
นำทางๆ จากระดับนโยบายไปสูการปฏิบัติไดอยางชัดเจน เปนรูปธรรมและจัดพิมพเอกสารแผนท่ีนำทางฯ เพ่ือเผยแพร
ประชาสัมพันธส รา งความรคู วามเขาใจกับหนว ยงานที่เก่ยี วของในพนื้ ท่ี

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 24

บทที่ 4
การดำเนนิ การขับเคลอ่ื นเปา หมายเปา หมายการพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื

ดานการศึกษาของจงั หวดั นา น

ความเช่ือมโยงเปา หมายการพฒั นาที่ยง่ั ยนื กบั เปา หมายแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ

กระทรวงศึกษาธิการไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบเปาประสงคท่ี 4 สรางหลักประกัน วาทุกคน
มีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียมและสนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต (Ensure inclusive and
equitable quality education and promote lifelong learning opportunities for all) ซึ่งมีทั้งหมด 10
เปาประสงค ดงั นี้

4.1 สรา งหลกั ประกันวา เด็กหญงิ และเดก็ ชายทกุ คนสำเร็จการศกึ ษาระดับประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษาท่ี
มีคุณภาพเทา เทยี มและไมม คี า ใชจ า ย น าไปสูผลลพั ธท างการเรียนทม่ี ีประสิทธิผลภายในป 2573

4.2 สรางหลักประกันวาเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเขาถึงการพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษา
ระดับกอนประถมศกึ ษาสำหรับเด็กปฐมวัยท่ีมคี ุณภาพ ภายในป 2573 เพอื่ ใหเดก็ เหลาน้ันมคี วามพรอ มสำหรบั
การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา

4.3 สรา งหลักประกันวาเด็กหญงิ และเด็กชายทุกคนเขา ถึงการศึกษาระดับอาชีวศกึ ษาอดุ มศึกษา รวมถงึ
มหาวิทยาลยั ที่มีคณุ ภาพในราคาทสี่ ามารถจายได ภายในป 2573

4.4 เพิ่มจำนวนเยาวชนและผูใหญท่ีมีทักษะทเ่ี กีย่ วขอ ง รวมถงึ ทักษะทางดานเทคนคิ และอาชีพสำหรบั
การจางงานการมีงานท่ีมีคณุ คา และการเปนผูป ระกอบการ ภายในป 2573

4.5 ขจัดความเหลอื่ มล้ำทางเพศในการศึกษา และสรา งหลักประกันวากลุมท่ีเปราะบาง ซ่ึงรวมถงึ ผพู ิการ
ชนพืน้ เมอื งและเดก็ เขาถึงการศึกษาและการฝก อาชพี ทุกระดับอยางเทาเทยี ม ภายในป 2573

4.6 สรา งหลักประกันวาเยาวชนทกุ คนและผใู หญใ นสดั สว นสูง ทง้ั หญิงและชายสามารถอานออกเขียนได
และคำนวณได ภายในป 2573

4.7 สรางหลักประกันวาผูเรียนทุกคนไดรับความรูและทักษะท่ีจำเปนสำหรับสงเสริมการพัฒนาอยาง
ย่ังยืน รวมไปถึงการศึกษาสำหรับการพัฒนาอยางย่ังยืนและการมีวิถีชีวิตท่ีย่ังยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค
ระหวางเพศ การสงเสริมวัฒนธรรมแหงความสงบสุขและไมใชความรุนแรง การเปนพลเมืองของโลกและความ
นิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการมสี วนรว มของวฒั นธรรมตอ การพัฒนาท่ียัง่ ยนื ภายในป 2573

4.A สรา งและยกระดับอปุ กรณแ ละเครอ่ื งมือทางการศกึ ษาทอี่ อนไหวตอ เด็กผูพิการ และเพศภาวะและให
มีสภาพแวดลอ มทางการเรียนรูท่ปี ลอดภัยปราศจากความรุนแรง ครอบคลมุ และมีประสิทธผิ ลสำหรับทุกคน

4.B ขยายจำนวนทุนการศกึ ษาในทว่ั โลกที่ใหส ำหรับประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศพัฒนานอย
ท่สี ุดรัฐกำลังพฒั นาทเ่ี ปน เกาะขนาดเล็กและประเทศในแอฟริกาในการสมัครเขา ศึกษาตอ
ในระดับอุดมศึกษา รวมถึงการฝก อาชีพและโปรแกรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ดานเทคนิค
วศิ วกรรม และวทิ ยาศาสตร ในประเทศพฒั นาแลว และประเทศกำลังพัฒนาอนื่ ๆ ภายในป 2573

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 25

4.C เพิ่มจำนวนครูท่ีมีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการผานทางความรวมมือระหวางประเทศในการ
ฝก อบรมครูในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางย่ิงในประเทศพฒั นานอยท่ีสุดและรฐั กำลังพัฒนาท่ีเปนเกาะ
ขนาดเล็ก ภายในป 2573

กรอบแนวคิดแผนระดับ 1 ระดับ 2 และแนวนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอรัฐสภา
แผนการศึกษาแหงชาติ นโยบาย ยุทธศาสตร จุดเนน แผน รายงานและผลการปฏิบัติราชการท่ีเกี่ยวของกับ
ภารกิจของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน รวมท้ังเชื่อมโยงขอมูลสูระบบติดตามและประเมินผลแหงชาติ
( Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform :
eMENSCR) ดงั น้ี

1) ยทุ ธศาสตรช าติ พ.ศ.2561-2580
2) แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ
3) แผนการปฏิรูปประเทศ

1) ยทุ ธศาสตรชาติ พ.ศ.2561-2580

รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 บัญญัติใหรัฐพงึ จัดใหม ยี ุทธศาสตรชาติ เปนเปาหมายการ
พัฒนาประเทศอยางยงั่ ยนื ตามหลกั ธรรมาภิบาล เพ่อื ใชเ ปนกรอบในการจัดทำแผนตาง ๆ
ใหสอดคลอ งและบรู ณาการกันเพ่อื ใหเกิดเปนพลังผลักดันรวมกันไปสูเปา หมาย

วิสัยทัศน “ประเทศไทย มีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

เปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยาง
ตอเนอื่ ง สงั คมเปน ธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาติยัง่ ยืน”

ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ 6 ดาน และภารกจิ สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารสนบั สนนุ ใหบรรลุ
เปา หมายการพัฒนาทส่ี ำคญั ทัง้ 6 ดาน ดงั น้ี

1) ยุทธศาสตรด า นความมั่นคง
2) ยทุ ธศาสตรชาติดา นการสรางความสามารถในการแขง ขนั
3) ยุทธศาสตรชาตดิ า นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย
4) ยุทธศาสตรชาตดิ า นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
5) ยุทธศาสตรช าตดิ า นการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ปน มิตรกับส่ิงแวดลอม
6) ยทุ ธศาสตรช าติดานการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
การประเมินผลการพัฒนาตามยทุ ธศาสตรชาติ
1) ความอยดู ีมสี ุขของคนไทยและสังคมไทย
2) ขีดความสามารถในการแขงขนั การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได
3) การพัฒนาทรพั ยากรมนุษยของประเทศ
4) ความเทาเทียมและความเสมอภาคของสังคม
5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพส่ิงแวดลอ ม และความยง่ั ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการและการเขาถงึ การใหบ ริการของภาครัฐ

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 26

2) แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ
แผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ เปนแผนแมบ ทเพ่ือบรรลุเปาหมายตามท่ีกำหนดไวในยุทธศาสตรชาติ

มีผลผูกพันตอหนวยงานของรฐั ท่ีเก่ียวของจะตองปฏบิ ัติใหเปนไปตามน้ัน รวมทั้งการจัดทำงบประมาณรายจาย
ประจำปตองสอดคลองกับแผนแมบทดว ย โดยแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติ ประกอบดว ย 23 ประเด็น 62
แผนยอย (ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เร่ือง การประกาศแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.2561-
2580) ณ วันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ซึ่งเกี่ยวของกับภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 12
ประเดน็ 16 แผนยอย แตไดรับจัดสรรงบประมาณ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 11 ประเด็น 18
แผนยอย ดังนี้

(1) ประเด็นความมั่นคง ใน 2 แผนยอ ย ไดแ ก 3.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ
3.2 การปอ งกนั และแกไขปญ หาที่มผี ลกระทบตอความมน่ั คง

(6) ประเด็นพ้นื ทแี่ ละเมอื งนาอยูอ ัจฉรยิ ะ ใน 1 แผนยอย ไดแ ก 3.1 การพัฒนาเมอื งนา อยูอ จั ฉริยะ
(10) ประเด็นการปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม ใน 1 แผนยอย คือ 3.1 การปลูกฝงคุณธรรม
จรยิ ธรรม คานิยม และการเสริมสรางจิตสาธารณะและการเปน พลเมอื งที่ดี
(11) ประเด็นการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว งชีวิต ใน 4 แผนยอ ย ไดแก 3.2 การพฒั นาเด็กต้งั แตชว ง
การตั้งครรภจนถึงปฐมวัย 3.3 การพัฒนาชวงวัยเรียน/วัยรนุ 3.4 การพัฒนาและยกระดบั ศกั ยภาพวัยแรงงาน
3.5 การสง เสริมศกั ยภาพผูสูงอายุ
(12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ใน 1 แผนยอย ไดแก 3.1 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูท่ี
ตอบสนองตอ การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21
(17) ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม ใน 1 แผนยอ ย คอื 3.1
การคมุ ครองทางสงั คมขน้ั พื้นฐานและหลักประกันทางเศรษฐกจิ สังคม และสุขภาพ
(18) ประเด็นการเติบโตอยางยั่งยืน ใน 1 แผนยอย ไดแก 3.5 การยกระดับกระบวนทัศนเพื่อกำหนด
อนาคตประเทศ
(20) ประเดน็ การบริการประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครัฐ ใน 4 แผนยอ ย ไดแ ก 3.1
การพัฒนา บริการประชาชน 3.2 การบริหารจัดการการเงินการคลัง 3.4 การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ
3.5 การสรางและพฒั นาบุคลากรภาครฐั
(21) ประเด็นการตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ ใน 1 แผนยอย คือ 3.1 การปองกันการทุจรติ
และประพฤตมิ ชิ อบ
(22) ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม ใน 1 แผนยอ ย คอื 3.1 การพฒั นากฎหมาย
(23) ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ใน 1 แผนยอย ไดแก 3.4 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
ดา นองคความรพู นื้ ฐาน

3) แผนการปฏิรูปประเทศ

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 27

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กำหนดใหรัฐจัดใหมียุทธศาสตรชาติเพื่อเปนเปาหมาย
ระยะยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับมาตรา 257 และมาตรา 259 กำหนดใหทำการปฏริ ูปประเทศเพ่ือ
วางรากฐานการพัฒนาไปสูประเทศที่มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอยางยั่งยืนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง และมคี วามสมดลุ ประชาชนในสังคมมีโอกาสทัดเทยี มกนั และมคี ณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี รวมท้ังมสี วน
รวมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข โดย
จะตอ งดำเนินการปฏริ ูปอยางตอเนื่องในชวงหาปขา งหนา เพื่อใหบรรลุเปาหมายท่กี ำหนดไวในแผนการปฏิรปู แต
ละดาน รวม 13 ดาน ซง่ึ เกย่ี วขอ งกบั ภารกิจสำนกั งานปลัด กระทรวงศกึ ษาธิการ รวม 8 ดา น

(1) แผนการปฏิรูปประเทศดานการเมือง ในเปาหมายท่ี1 ใหประชาชนมีความรูความเขาใจท่ีถูกตอง
เกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขฯ ประเด็นปฏิรูปท่ี 1 การ
เสริมสรา งวฒั นธรรมทางการเมืองและการมีสวนรว มของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมขุ

(2) แผนการปฏริ ูปประเทศดานการบรหิ ารราชการแผน ดนิ ใน 5 ประเด็นปฏิรปู ไดแ ก ประเด็นปฏิรูปที่
2 ระบบขอมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเช่ือมโยงกัน กาวสูรัฐบาลดิจิทัล ประเด็นปฏิรูปท่ี 3 โครงสราง
ภาครัฐ กะทัดรัด ปรับตัวไดเร็ว และระบบงานมีผลสัมฤทธิ์สูง ประเด็นปฏิรูปท่ี 4 กำลังคนภาครัฐมีขนาดที่
เหมาะสมและมีสมรรถนะสูงพรอมขับเคล่ือนยุทธศาสตรชาติ ประเด็นปฏิรูปท่ี 5 ระบบบริหารงานบุคคลท่ี
สามารถดึงดูด สราง และรักษาคนดีคนเกงไวในภาครัฐ ประเด็นปฏิรูปท่ี 6 การจัดซื้อจัดจางภาครัฐ คลองตัว
โปรงใส และมกี ลไกปอ งกนั การทุจรติ ทกุ ขั้นตอน

(3) แผนการปฏิรูปประเทศดานกฎหมาย ในเปาหมายท่ี 1 ประเด็นปฏิรูปท่ี 1 มีกลไกให การออก
กฎหมายเปนกฎหมายที่ดีและเทาท่ีจำเปน รวมท้ังมีกลไกในการทบทวนกฎหมายที่มีผลบังคับแลว เพ่ือให
สอดคลอ งกับหลักการ ตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย

(6) แผนการปฏิรูปประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ในเปาหมายท่ี 1 ระบบบริหาร
จัดการมลพิษที่แหลงกำเนิดมีประสิทธิภาพสงผลตอคุณภาพส่ิงแวดลอมและคุณภาพชีวิตท่ีดีสำหรับประชาชน
ประเด็นปฏริ ูปท่ี 1 เสริมสรา งระบบบรหิ ารจัดการมลพษิ ท่แี หลงกำเนิดใหมีประสิทธภิ าพ

(8) แผนการปฏิรูปประเทศดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ในเปาหมายท่ี 2 สอ่ื เปนโรงเรยี น
ของสังคม ในการใหความรแู กประชาชน ปลูกฝง วัฒนธรรมของชาติ และปลูกฝง ทัศนคตทิ ่ีดี ประเด็นการปฏิรูปที่
1 การปฏิรปู การรเู ทา ทันสื่อของประชาชน

(9) แผนการปฏิรูปประเทศดานสังคม ในเปาหมาย คนไทยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสูการมีจิต
สาธารณะเพ่มิ ข้ึน ประเด็นการปฏิรปู ท่ี 5 การมสี วนรวม การเรยี นรู การรบั รูแ ละการสง เสรมิ กิจกรรมทางสงั คม

(11) แผนการปฏิรปู ประเทศดานการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ
ในเปาหมาย ประเทศไทยมีระดับคะแนนดัชนกี ารรับรูการทุจรติ (Corruption Perceptions Index : CPI) อยูใน
20 อันดับแรกของโลกในป 2579 ประเดน็ การปฏริ ูปท่ี 1 ดา นการปอ งกนั และเฝาระวัง และประเด็นการปฏริ ูป
ที่ 2 ดานการปองปราม

(12) แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ใน 7 เรื่อง รวม 22 ประเดน็

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 28

เร่ืองท่ี 1 การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรูโดยรวมของประเทศ ประเด็นท่ี 1.1)
การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. .... และมีการทบทวน จัดทำ แกไข และปรับปรุงกฎหมายท่ี
เกี่ยวของ ประเดน็ ท่ี 1.2) การสรา งความรวมมือระหวางรฐั องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ และเอกชน
เพื่อการจัดการศึกษา ประเด็นที่ 1.3) การขับเคล่ือนการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพ่ือ
การเรยี นรตู ลอดชีวิตเพ่อื รองรบั การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว งชวี ิต

เร่ืองท่ี 2 การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กวัยเรียน ประเด็นท่ี 2.1) การพัฒนาระบบการ
ดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรูเพ่ือใหเด็กปฐมวัยไดรับการพัฒนา รางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และ
สตปิ ญญาให สมกับวัย ประเดน็ ท่ี 2.2) การส่ือสารสงั คมเพอ่ื สรา งความเขาใจในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

เร่อื งที่ 3 การปฏิรูปเพื่อลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา ประเด็นท่ี 3.1) การดำเนินการเพื่อ
ลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา ประเด็นท่ี 3.3) การยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษาในพ้ืนท่ีหา งไกลหรือใน
สถานศึกษา ทีต่ อ งมีการยกระดบั คณุ ภาพอยา งเรง ดว น

เร่ืองท่ี 4 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตคัดกรองและพัฒนาผูประกอบวิชาชพี ครอู าจารย
ประเด็นที่ 4.1) การผลิตครู และการคัดกรองครู เพ่ือใหไดค รูท่ีมีคุณภาพตรงกับความตองการของประเทศ และ
มจี ิตวิญญาณของความเปนครู ประเดน็ ที่ 4.2) การพัฒนาวิชาชีพครู ประเดน็ ท่ี 4.3) เสนทางวิชาชีพครู เพื่อให
ครูมคี วามกาวหนาไดรับคาตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม ประเด็นที่ 4.4) การพัฒนาผูบริหารสถานศึกษา
เพื่อยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา ประเด็นที่ 4.5) องคกรวิชาชพี ครู และปรบั ปรงุ กฎหมายท่ี
เกี่ยวของ

เร่อื งท่ี 5 การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21
ประเดน็ ท่ี 5.1) การปรับหลกั สูตรพรอมกระบวนการจัดการเรยี นการสอน และการประเมินเพอ่ื พัฒนาการเรียนรู
เปนหลักสูตรฐานสมรรถนะ ประเด็นที่ 5.2) การจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สรางคณุ ธรรมและจริยธรรม ประเด็นที่
5.3) การประเมนิ คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาระดบั ชาตแิ ละระบบคัดเลือกเขาศึกษาตอ ประเดน็ ท่ี 5.4) การพฒั นา
คุณภาพระบบการศึกษา

เร่ืองท่ี 6 การปรับโครงสรางของหนวยงานในระบบการศึกษา ประเดน็ ท่ี 6.1) สถานศึกษา มี
ความเปนอิสระในการบรหิ ารและจัดการศกึ ษาประเดน็ ที่ 6.3) การปรับปรุงโครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการ

เร่อื งที่ 7 การปฏิรปู การศกึ ษาและการเรียนรโู ดยการพลิกโฉมดวยระบบดิจิทัล (Digitalization
for Educational and Learning Reform) ประเด็นท่ี 7.1) การปฏิรูปการเรียนรูดวยดิจิทัลผานแพลตฟอรม
การเรยี นรดู วยดิจิทัลแหง ชาติ ประเด็นที่ 7.2) ระบบขอ มลู สารสนเทศเพือ่ การศกึ ษา
(Big Data for Education)ประเด็นท่ี 7.3) การพัฒนาความเปนพลเมืองดิจิทัล (digital citizenship) ในดาน
ความฉลาดรูด จิ ิทลั (digital literacy) ความฉลาดรสู ารสนเทศ (information literacy) ความฉลาดรูสื่อ (media
literacy) เพอื่ การรูวิธีการเรียนรู (learning how to learn) ในการเรียนรูตลอดชวี ิต ตลอดจนการมพี ฤตกิ รรม
ท่สี ะทอนการรกู ติกา มารยาท จรยิ ธรรมเกยี่ วกบั การใชส ่ือและการสอ่ื สารบนอนิ เทอรเ น็ต

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 29

การดำเนินงานเพอื่ บรรลุเปา หมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืน
สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั นา นตระหนักในความสำคญั ของการพัฒนาการศึกษา ภายใตกรอบ

แนวทางและนโยบายการจัดการศกึ ษา SDG4 เปาหมายที่ 4 สรางหลักประกันวาทุกคนมีการศกึ ษาที่มีคุณภาพ
อยางครอบคลุมและเทาเทียมและสนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต (Ensure inclusive and equitable quality
education and promote lifelong learning opportunities for all)จัดทำแผนการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
เปาหมายท่ี 4 SDG4 Roadmap 2565 จังหวัดนาน เพื่อสรา งหลักประกันวา ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอยางครอบคลุม
และเทาเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรตู ลอดชีวิต (SDG4 Roadmap)และใหหนวยงานท่ีเกี่ยวของ มีแผนงาน
หรือโครงการ เพ่ือดำเนินการตาม SDG4 Roadmap ซ่ึงเปนแผนระยะสั้นในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมี

โครงการและกิจกรรม ดังน้ี

1. เปาหมายยอย 4.1 สรางหลักประกันวาเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษาทม่ี คี ุณภาพเทา เทียม และไมม คี าใชจาย นำไปสูผลลพั ธท างการเรยี นท่ีมีประสิทธิภาพภายในป 2573

ตัวชี้วัด SDG040101 สดั สวนของเด็ก/เยาวชนใน (ก) ระดบั ชน้ั ป.2หรอื ป.3 (ข) ป.6 และ (ค) ม.3 ท่มี ี
ความสามารถตามเกณฑขน้ั ต่ำเปน อยา งนอย ใน (1) ดา นการอา น และ (2) ดา นคณติ ศาสตร หรือการคดิ คำนวณ
จำแนกตาม เพศ

ตวั ชวี้ ดั เทียบเคียง คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับ (ก)
ป.6 และ (ข) ม.3 จำแนกตามรายวชิ า (1) ภาษาไทย
(2) คณติ ศาสตร (3) วทิ ยาศาสตร
(4) สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และ (5)ภาษาตางประเทศ (ภาษาองั กฤษ)

SDG040102 อัตราการสำเร็จการศึกษา (ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษา
ตอนปลาย)

ที่ ชื่อโครงการ กจิ กรรม(แนวทางการ วัตถุประสงค เปา หมาย ตัวชีวดั 2565 งบประมาณ(หนว ย:แสน) 2569 ผรู ับ
ของโครงการ ของ และคา 2566 2567 2568 ผดิ
พฒั นา) เปาหมาย ชอบ
โครงการ

๑ การจดั การ ๑.ศึกษาวิเคราะหผ ลสมั ฤทธ์ิ ๑.เพือ่ จัดทำ ประชากรวยั รอยละ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ สนง.

เรยี นรทู งั้ ระบบสู และจัดทำสารสนเทศ สารสนเทศและ เรียนใน ๑๐๐ ศธจ.
การยกระดับ ทางการศกึ ษาและจัดทำ มาตรฐานในการ จังหวดั นา น นาน

ผลสมั ฤทธิ์ แผนยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ พัฒนาทกั ษะใน ครแู ละผมู ี

ทางการเรียน ๒. สง เสรมิ พฒั นาครูทุกมิติ ศตวรรษที่๒๑ สวน

และการเตรียม -การจดั การเรยี นรู ๒.เพ่ือพฒั นาการ เก่ยี วขอ งใน

ผูเรยี นให -การวัดผลประเมนิ ผล จดั การเรยี นรู Active การจัด

สอดคลอ งกับ -นวัตกรรม PLC Learning และการ การศกึ ษา

ทศวรรษท่ี ๒๑ ๓. การนิเทศตดิ ตาม วดั ประเมนิ ผล

๔.การพัฒนาผูเรยี นใหม ี ๓.เพ่อื สง เสรมิ ใหม

ทักษะตามศตวรรษที่๒๑ ทกั ษะในศตวรรษที่

๕. สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ๒๑

๔.เสรมิ สรา ง

เครอื ขา ยการเรียนรู

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 30

เปาหมายยอย 4.2 สรางหลักประกันวาเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเขาถึงการพัฒนา การดูแล และ
การจัดการศกึ ษาระดบั กอนประถมศึกษาสำหรับเดก็ ปฐมวัยที่มีคณุ ภาพ ภายในป 2573 เพอื่ ใหเด็กเหลา น้นั
มคี วามพรอมสำหรับการศกึ ษาระดับประถมศึกษา

ตวั ชีว้ ัด SDG040201 รอยละของเดก็ อายุต่ำกวา5 ป ท่ีมีพัฒนาการทางดานสุขภาพ การเรียนรู และ
พฒั นาการทำงานบุคลกิ ภาพตามวยั จำแนกตามเพศ

ตวั ชี้วัด SDG040202 อัตราการเขา เรียนปฐมวยั (อยางนอย 1 ปกอ นถงึ เกณฑอายเุ ขาเรยี น
ประถมศกึ ษา) จำแนกตามเพศ

ชื่อ กิจกรรม(แนว วตั ถุประสงค เปา หมายของ ตัวชีวัดและ งบประมาณ(หนว ย:แสน) ผรู บั ผิด
โครงการ ของโครงการ โครงการ คา
ที่ ทางการพฒั นา) 2565 2566 2567 2568 2569 ชอบ
เปาหมาย

๑ การพัฒนา ๑.อบรมเชงิ ๑.เพือ่ พฒั นาครใู หมี เด็กอายตุ ่ำกวา รอ ยละ ๙๐ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ สนง.ศธจ.

ทักษะ EF ปฏิบัตกิ ารการพัฒนา ความรใู นทกั ษะEF ๖ ป ไดรบั การ ของเดก็ อายตุ ำ่ นาน

ในเด็กปฐม ทักษะ EF ให ๒.เพอ่ื พัฒนาทกั ษะ พัฒนาใหม ี กวา ๖ ป มี

ใมวัย ครผู สู อนทกุ สังกดั ใน EF ในผูเรยี นปฐมวยั พัฒนาการท่ี พฒั นาการ

จังหวดั นา น จงั หวดั นา น สมวัยทกุ ดา น สมวยั ทุกดา น

๒.การจัด ๓.เพือ่ นเิ ทศตดิ ตาม

ประสบการณเ พ่ือ และรายงานผลการ

พฒั นาทักษะEF ลงสู พฒั นา

เดก็ ปฐมวัย

๓.นเิ ทศตดิ ตามสรปุ

และรายงานผลการ

พฒั นาทักษะ EF

๒ การพฒั นา ๑.อบรมเชิง ๑.เพอื่ พัฒนาครูใหมี ครูและผเู รยี น รอยละ ๑๐๐ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ สนง.ศธจ.

ทกั ษะการ ปฏิบัติการทกั ษะการ ความรคู วามสามารถ ระดบั อ๒-อ๓ ของเดก็ มี นาน

ติดวเิ คราะห คิดวเิ คราะหดวย ในการจัด ของโรงเรยี นทกุ พฒั นาการ

เดก็ ปฐมวัย กระบวนการ ประสบการณโ ดยใช สงั กัดในจ.นาน ดานสขุ ภาพ

ดว ย โปรแกรม Coding กระบวนการCoding รอ ยละ๕๐ ไดร ับ การเรยี นรแู ละ

โปรแกรม บรู ณาการใน ๖ สำหรับเดก็ ปฐมวัย การพัฒนาทักษะ พัฒนาการทาง

Coding กิจกรรม ๒.เพื่อพฒั นาทักษะ การคิดวิเคราะห บุคลกิ ภาพ

๒.การจัด การคดิ ของเด็ก ดว ยโปรแกรม ตามวยั

ประสบการณเ พ่ือ ปฐมวัยจงั หวัดนา น Coding

พัฒนาทักษะการคดิ อยา งเปน ระบบ

ดว ยกระบวนการ

Coding ใหกับเด็ก

ปฐมวัย

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 31

3. เปาหมายยอย 4.3 สรางหลักประกันวาเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเขาถึงการศึกษาระดับ

อาชีวศกึ ษาอดุ มศึกษา รวมถงึ มหาวิทยาลัยท่มี คี ุณภาพในราคาทีส่ ามารถจายได ภายในป 2573

ตัวช้ีวัด SDG040301 อัตราการเขาเรียนของเยาวชนและผูใหญ ท้ังในระบบ นอกระบบการศึกษา

รวมท้ังการฝกอบรมในชวง 12 เดือนท่ีผา นมาจำแนกตามเพศ

ท่ี ช่อื กิจกรรม(แนว วัตถุประสงค เปาหมายของ ตัวชีวดั งบประมาณ(หนว ย:แสน) ผรู บั ผิด
โครงการ ของโครงการ โครงการ และคา 2565 2566 2567 2568 2569 ชอบ
ทางการพัฒนา) เปา หมาย

๑ เสรมิ สรา ง 1.สรา งความเขาใจ 1. เพือ่ พัฒนา ผูเรียน สรา ง อัตราการ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ กลมุ

ศักยภาพ ใหกบั ภาคีเครอื ขาย ในระดับอาชวี ศึกษา หลักประกัน ให เขา เรยี น พฒั นา

ความ ทางการศกึ ษา และอุดมศึกษาใหมี ชายและหญิงทกุ ของเยาวชน การศกึ ษา

เขมแขง็ ของ 2.ทำขอ ตกลงรวมกนั ศักยภาพและทกั ษะท่ี คนเขา ถงึ และผูใ หญ และกลุม

เครือขา ย เพอ่ื รวมมอื การ มคี วามสอดคลอ งกับ การศึกษา (๑๕-๖๐ ป) นิเทศ

ความ ทำงาน ในการ ความตองการของ อาชีวศกึ ษา ท้งั ในระบบ สนง.ศธจ.

รว มมือ ขับเคลือ่ นรูปแบบ ประเทศ อุดมศกึ ษา และนอก นา น

แบบบรู ณา กระบวนการผลติ และ ๒.เพ่อื สง เสรมิ ความ รวมถงึ ระบบและ

การ พัฒนากำลงั คนให เขมแข็งเครอื ขาย มหาวทิ ยาลัยที่มี การ

สอดคลอ งกบั ความ ทางการศกึ ษาและ คณุ ภาพในราคา ฝก อบรม

ตอ งการของ รวมมือการทำงาน ทีส่ ามารถจายได รอ ยละ ๘๕

ตลาดแรงงานของ แบบบูรณาการ ภายในป พ.ศ.

ประเทศ ๒๕๗๓

4. เปาหมายยอย 4.4 เพ่ิมจำนวนเยาวชนและผูใหญที่มีทักษะที่เกี่ยวของ รวมถึงทักษะทางดาน

เทคนคิ และอาชพี สำหรับการจางงานการมงี านทมี่ ีคุณคา และการเปนผูประกอบการ ภายในป 2573

ตัวช้ีวัด SDG040401 สัดสวนของเยาวชน/ผูใหญท่ีมีทักษะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสารจำแนกตามประเภททักษะหมายเหตุ: มีขอมูลสถิติบางสวน และยังไมมีขอมูลชัดเจนเก่ียวกับทักษะ
ทางดา นเทคโนโลยแี ละการสื่อสารจึงใชตวั ชีว้ ัด proxy แทน
1. รอ ยละของผมู งี านทำทีใ่ ชคอมพิวเตอร
2. รอ ยละของผมู ีงานทำที่ใชอนิ เตอรเ นต (จำแนกตามกลุมอายุ 15 ปขึ้นไป, 15 - 24 ป, 25 - 64 ป)

กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค เปาหมายของ ตัวชีวัด งบประมาณ(หนว ย:แสน) ผูรบั ผิด
ของโครงการ โครงการ และคา 2566 2567 2568 ชอบ
ที่ ชอ่ื โครงการ (แนว เปาหมาย 2565 2569
ทางการ

พัฒนา)

๑ สง เสรมิ และ ๑.พัฒนา ๑.เพื่อพัฒนา เพิ่มจำนวน สัดสวนของ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ กลมุ พฒั นา

พฒั นาทกั ษะ รปู แบบและ กระบวนการเรยี น เยาวชนและ เยาวชน การศึกษา
อาชีพเพอื่ เปน หลักสตู ร การสอนท่ีมีคุณภาพ ผูใหญท ่มี ีทักษะ ผูใ หญท ี่มี และกลมุ
ผปู ระกอบการ การ และจดั กจิ กรรมเสรมิ ทีเ่ ก่ยี วขอ ง ทักษะ นเิ ทศ สนง.
ประกอบ ทกั ษะพฒั นาผูเ รยี น จำเปน รวมถึง ทางดาน ศธจ.นาน
อาชีพ ในรปู แบบท่ี ทกั ษะดาน เทคโนโลยี

๒.สงเสรมิ หลากหลายเพอื่ สรา ง เทคนคิ และ สารสนเทศ

อาชีพประช ทักษะความรูทจ่ี ำเปน อาชพี สำหรบั และการ

สากรเพื่อ ตอการทำงาน การจา งงานท่มี ี สือ่ สาร

เพม่ิ พนู ๒.สงเสริมและ คุณคา และการ จำแนกตาม

คุณภาพชวี ิต สนับสนนุ การสรา ง เปน ประเภท

๓.สง เสริม ความรูท างดาน ผปู ระกอบการ ทักษะ รอย

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 32

เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ ภายในป พ.ศ. ละ ๘๕
๒๕๗๓ จำแนกราย
อาชีพ และการส่อื สารท่ี กลมุ อายุ
๔.พัฒนา จำเปน ตอตอการ 15-๖๐ ป
แหลง เรียนรู ประกอบอาชีพ
ตลอดชวี าต ๓.สงเสรมิ และ
สนับสนนุ ให
ประชาชนเขา ถึงการฝ
ทกึ อาชีพและการ

อบรมที่มีคณุ ภาพ
ตอบสนองการสราง
อาชพี และเพ่มิ
คุณภาพชวี ิต
๔.พัฒนาแหลง เรียนรู
ในชมุ ชนเพอ่ื การ
เรยี นรตู ลอดชีวิต

5. เปาหมายยอย 4.5 ขจัดความเหล่ือมล าทางเพศในการศึกษา และสรางหลักประกันวากลุมท่ี
เปราะบาง ซึ่งรวมถึงผูพ ิการ ชนพ้ืนเมืองและเด็กเขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทุกระดับอยางเทาเทียม
ภายในป 2573

ตัวช้ีวัด SDG040501 ดัชนีความเทาเทียมกัน (ผูหญิง-ผูชาย/ ในเขต-นอกเขตเมือง/ความมงั่ ค่ังสูง-ต่ำ
และอื่นๆ เชน สถานะความพกิ าร คนพื้นเมือง และคนที่ไดร บั ผลกระทบจากความขดั แยงหากมีขอมูล) สำหรบั ทุก
ตัวชี้วัดท่ีในรายการนี้ที่สามารถแยกไดตัวช้ีวัดของไทย ดัชนีความเทาเทียมกัน จำแนกตามเพศ และระดับ
การศกึ ษา (ปฐมวยั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อดุ มศกึ ษา)

ที่ ชื่อโครงการ กิจกรรม(แนว วตั ถุประสงค เปา หมายของ ตวั ชีวัด 2565 งบประมาณ(หนว ย:แสน) 2569 ผรู ับผดิ
ของโครงการ โครงการ และคา 2566 2567 2568 ชอบ
ทางการพัฒนา) เปาหมาย

๑ สรา งระบบการ ๑.สรา งความ ๑.การสรางความ ๑.เด็กดออย ประชากรวยั ๓ ๖ ๓ ๓ ๓ กลมุ

ตดิ ตามประชากร ตระหนกั ใหก ับทกุ ตระหนกั ถึงปญ หา โอกาสกลุม รยี นของ พฒั นา

วัยเรยี นทข่ี สาด ภาคสว นทจ่ี ัด ทางการศกึ ษาของ เปราะบางและ ของจังหวัด การศกึ ษา

โอกาสทาง การศกึ ษาของ กลุมผดู อยดอกาส กลุมทีม่ ีความ นา นเขาถงึ สนง.ศธจ.

การศกึ ษาทกุ า จังหวัดนาน กลุมเปราะบางและ จำเปนตองการ การศึกษา

ระดับในพ้ืนท่ี ๒.สรา งเครอื ขา ย กลมุ ที่มคี วามจำเปน พิเศษมจี ำนวน ทกุ คน

จังหวัดนาน การมสี ว นรวมของ ตอ งการพเิ ศษ เขาถงึ ลดลง

ทกุ ภาคสว นทจ่ี ัด การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ ๒.มีระบบ

การศกึ ษาใน ๒.เพอื่ จัดทำระบบ ติดตามขอ มลู ท่มี ี

จังหวัดนา น ตดิ ตามขอมลู กลาง ประสทิ ธิภาพ

๓.จัดทำระบบการ ของจงั หวัด

จัดเก็บขอมลู ใน

ภาพรวมของทกุ

ภาคสวน

6. เปาหมายยอย 4.6 สรางหลักประกันวาเยาวชนทุกคนและผูใหญในสัดสวนสูง ทั้งหญิงและชาย

สามารถอา นออกเขยี นไดและคำนวณได ภายในป 2573

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 33

ตัวช้ีวัด SDG040601 สัดสวนของประชำกรในกลุมอายุท่ีกำหนดมีความรูความสามารถสำหรับการ
ทำงานในดาน ก) การอานออกเขียนได ข) ทักษะในการคำนวณ จำแนกตามเพศตัวชี้วัดของไทย (ก) อัตราการ
อานออกเขียนไดของประชำกรอำยุ 15 ปขึ้นไป (ข) อัตราการมีทักษะดานการคำนวณของประชำกรอำยุ 15 ป
ข้ึนไป (ค) อตั ราการอานออกเขียนไดและมที ักษะดานการคำนวณของประชำกรอำยุ 15 ปข ึ้นไป

ท่ี ชอื่ โครงการ กิจกรรม(แนว วตั ถปุ ระสงค เปาหมายของ ตวั ชีวดั งบประมาณ(หนว ย:แสน) ผรู บั ผดิ
ของโครงการ โครงการ และคา 2566 2567 2568 ชอบ
ทางการพัฒนา) เปา หมาย
2565 2569

๑ ขับเคลื่อนพัฒนา ๑.พัฒนานวัตกรรม ๑.เพื่อพัฒนา ๑.ครทู ี่ไดรับการ ผเู รียน ๑ ป ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ กลุม นิเทศฯ

รูปแบบการจัด การอา นออกเขยี น นวตั กรรมการอา น พัฒนาสามารถ มีผลการ สนง.ศธจ.
การศกึ ษาเพอื่ ไดแ ละการคดิ ออกเขยี นไดและการ จัดการเรยี นการ ทดสอบ นา น
เพม่ิ คณุ ภาพ คำนวณ คิดคำนวณ สอนท่สี อดคลอ ง PISA มี
ระดบั สงู ข้ึน
การศึกษา และ ๒.พัฒนารูปแบบ ๒.เพือ่ พฒั นารปู แบบ กบั การประเมนิ
ทักษะการอาน การจดั การเรียน การจดั การเรยี นการ PISA

ออกเขียนไดและ การสอนของครใู ห สอนของครใู ห ๒.มสี อ่ื นวตั กรรม

การคดิ คำนวณ สอดคลองกบั การ สอดคลอ งกบั การ การอา นออก

(PISA) ประเมินPISA ๓. ประเมินPISA เขียนไดแ ละการ

นิเทศติดตาม การ คดิ คำนณ

จัดการเรียนการ

สอน

7. เปาหมายยอ ย 4.7 สรางหลักประกันวาผเู รียนทุกคนไดร บั ความรูแ ละทักษะทีจ่ ำเปนสำหรับสงเสริม
การพัฒนาอยางย่ังยืน รวมไปถึงการศึกษาสำหรับการพัฒนาอยางย่ังยืนและการมีวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิ
มนุษยชน ความเสมอภาคระหวางเพศ การสง เสริมวัฒนธรรมแหงความสงบสุขและไมใชความรุนแรง การ
เปนพลเมืองของโลกและความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมของวัฒนธรรมตอ
การพฒั นาท่ียงั่ ยืน ภายในป 2573

ตัวชี้วัด SDG040701 ระดับการดำเนินการเพ่ือบรรจุ(i) การศึกษาเพ่ือความเปนพลเมืองโลก และ
(ii) การจัดการศกึ ษาเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน เปน เร่อื งหลกั ใน(ก) นโยบายการศกึ ษาของประเทศ (ข) หลกั สตู ร (ค)
การศึกษาของครู และ (ง) การประเมินผลนกั เรยี น

ที่ ชื่อโครงการ กจิ กรรม(แนวทางการ วัตถุประสงค เปา หมายของ ตวั ชีวัด งบประมาณ(หนวย:แสน) ผูร บั
ของโครงการ โครงการ และคา 2565 2566 2567 2568 2569 ผดิ
พฒั นา) เปาหมาย ชอบ

พัฒนา 1. สง เสริมสนับสนนุ ให เพือ่ ใหผูบ รหิ ารและ เชิงปรมิ าณ การศกึ ษา ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ กลมุ
หลักสตู ร สถานศึกษาในจังหวัด ครูมคี วามรูค วาม 1.สถานศกึ ษา เพื่อความ นเิ ทศฯ
กระบวนการ นาน จัดการเรยี นรู เขาใจเก่ียวกบั การ รอยละ 100 มี เปนพลเมือง สนง.
จัดการเรียนรู พัฒนาผูเรียนสคู วามเปน พัฒนาหลักสูตร ความตระหนกั โลก และ ศธจ.
สูความเปน สถานศกึ ษา การจดั การ นา น
พลเมอื งและ พลเมอื งที่เขมแข็งและ กระบวนการเรยี น ในการจดั การ ศึกษาเพ่ือ
พลโลกตาม เปนพลเมืองโลกตามหลกั การสอน การวดั เรยี นรู พฒั นา การพฒั นาที่
หลกั ปรัชญา ปรชั ญาของเศรษฐกิจ และประเมินผล ที่ ผเู รยี นสูค วาม
พอเพียง เปน พลเมืองท่ี

2.ประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร เขมแข็งและเปน

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 34

ของเศรษฐกจิ พฒั นาหลกั สตู รฐาน สงเสรมิ สมรรถนะ พลเมอื งโลก ยัง่ ยนื
พอเพียงเพือ่ สมรรถนะ กระบวนการ และทักษะ ความ ตามหลกั
การพฒั นาที่ เปนพลเมืองและ
ยั่งยืน จัดการเรียนรู การวัดและ พลโลกตามหลัก ปรชั ญาของ
ประเมนิ ผล เพือ่ ความ ปรชั ญาของ เศรษฐกิจ
เปน พลเมอื งและพลโลก เศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง
ตามหลักปรัชญาของ 2.ผูบรหิ ารและ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ครไู ดร บั การ
3.นเิ ทศ ตดิ ตาม พัฒนาและมี
ประเมินผล การพัฒนา ความรคู วาม
หลกั สตู รสถานศึกษา เขา ใจเร่อื ง
และการน าหลกั สูตรสชู นั้ หลกั สูตรฐาน

เรียนของโรงเรยี นทีเ่ ขา สมรรถนะ และ
รว มพฒั นา สามารถพัฒนา
4.สรปุ รายงานผลการ หลกั สูตร
ดำเนนิ งาน สถานศึกษา

นำหลักสตู รสู
การปฏบิ ตั ิได
อยางมี
ประสทิ ธภิ าพ
3. สถานศึกษา

รอยละ 100
ไดร บั การนิเทศ
นเิ ทศ ตดิ ตาม
ประเมนิ ผล การ
พฒั นาหลักสตู ร

สถานศกึ ษา
และการน า
หลกั สูตรสชู ้นั
เรยี น

เชิงคุณภาพ
1.สถานศึกษา มี
ความตระหนัก
ในการจัดการ
เรยี นรู พัฒนา

ผูเรยี นสคู วาม
เปนพลเมืองท่ี
เขมแขง็ และเปน
พลเมอื งโลก

ตามหลัก
ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจ
พอเพยี ง
2.ผูบ รหิ ารและ

ครไู ดรบั การ
พฒั นาและมี
ความรคู วาม
เขาใจเรอ่ื ง

หลกั สตู รฐาน
สมรรถนะ และ
สามารถพฒั นา
หลกั สูตร
สถานศกึ ษา

และนำ
หลกั สตู รสูการ

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จังหวดั น่าน หน้า 35

ปฏิบตั ไิ ดอ ยางมี
ประสิทธภิ าพ

3. สถานศกึ ษา
ไดรบั การนเิ ทศ
นิเทศ ติดตาม
ประเมินผล การ

พัฒนาหลกั สตู ร
สถานศึกษา
และการนำ
หลักสูตรสชู นั้
เรียน

8. เปาหมายยอย 4.A สรางและยกระดับอปุ กรณและเคร่ืองมือทางการศึกษาที่ออนไหวตอเด็กผูพิการ
และเพศภาวะและใหมีสภาพแวดลอมทางการเรียนรูท่ีปลอดภัยปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมี
ประสทิ ธิผลสำหรับทกุ คน

ตัวชี้วัด DG040A01 สัดสวนของโรงเรียนท่ีมีการเขาถึงบรกิ ารข้ันพื้นฐาน จำแนกตามประเภทบรกิ าร
(สัดสวนของโรงเรียนท่ีมีการเขาถงึ (a) ไฟฟา (b)อินเทอรเน็ตท่ีใชในการเรียนการสอน (c) เคร่อื งคอมพิวเตอรท ี่
ใชในการเรียนการสอน (d) โครงสรางพื้นฐาน และวัสดุอุปกรณท่ีไดร ับการปรับใหเหมาะสมกับนักเรยี นทีม่ คี วาม
บกพรองทางรางกาย (e) น้ำดมื่ พ้นื ฐาน (f) สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานดานสขุ อนามัยทแี่ บง แยกตามเพศ และ
(g) ส่ิงอำ นวยความสะดวกพ้ืนฐานในการทำความสะอาดมือ (ตามนิยามตัวช้ีวัดของ WASH ในเร่ืองน้ำ
สุขอนามยั และสุขลักษณะสำหรับทุกคน)

ท่ี ช่ือโครงการ กิจกรรม(แนวทางการ วัตถปุ ระสงค เปา หมายของ ตวั ชีวัดและคา งบประมาณ(หนว ย:แสน) ผรู บั
ของโครงการ โครงการ เปา หมาย 2565 2566 2567 2568 2569 ผิด
พัฒนา) ชอบ

สง เสรมิ การจัด 1. การอบรมพัฒนา 1.เพ่อื สงเสรมิ เชงิ ปรมิ าณ 1 ผูเรียนกลมุ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ กลุม
การศึกษาเพอ่ื นเิ ทศฯ
พฒั นาศักยภาพ ศักยภาพครผู สู อนกลุม สถานศกึ ษาใน 1. สถานศกึ ษา จำเปนพเิ ศษมี สนง.
ศธจ.
ครูผูสอนสำหรบั เด็กท่ีมีความตอ งการ หนว ยงาน ในหนว ยงาน โอกาสเขา เรียนรวม นา น
ผเู รียนกลมุ ที่มี
ความตองการ พเิ ศษเพื่อพัฒนารปู แบบ การศกึ ษาจังหวัด การศกึ ษา 2 การเรยี นการ
จำเปน พเิ ศษ
การจัดกจิ กรรมการ นา นในการจัดการ จังหวัดนา นรอ ย สอนและการ

เรียนรูที่เหมาะสมการ เรยี นรูที่คำนงึ ถึง ละ 100 มีความ ดำเนนิ กจิ กรรม

และจัดท าสอ่ื หรอื กลุมผูเ รยี นมีความ ตระหนกั และ ตา งๆในช้นั เรียน

นวัตกรรมการเรยี นรู ตอ งการจำเปนและ สง เสรมิ การ เปน ไปอยางราบร่นื

สำหรับผูเรียนกลุมท่ีมี เด็กดอยโอกาส จัดการเรยี นรทู ี่ และมปี ระสิทธภิ าพ

ความตอ งการจำเปน 2. เพอ่ื ใหค รมู ี คำนึงถงึ กลมุ 3.นักเรยี นความ

พิเศษและเดก็ ดอ ย รปู แบบการจดั ผเู รยี นมคี วาม ตองการพิเศษไดร ับ

โอกาส กิจกรรมการเรยี นรู ตอ งการจำเปน การสงเสรมิ

2. การอบรมพัฒนาการ ท่เี หมาะสมและ และเด็กดอ ย พัฒนาการและการ

คดั กรองและประเมิน สามารถจัดหา/ซอ้ื โอกาส เรียนรอู ยางถกู ตอง

ความสามรถข้ันพ้ืนฐาน หรอื ผลติ สื่อหรอื 2. ครผู ูสอนรอย เหมาะสม

ของเด็กนกั เรยี นทีม่ ี นวตั กรรมการ ละ 80 มี 4. เกิดการ

ความตอ งการจำเปน เรียนรเู พอื่ รปู แบบการจัด ประสานงาน

พิเศษและการจัดทำ ผเู รยี นกลุมทมี่ ี กิจกรรมการ ความรูและการ

แผนการจัดการสำ หรับ ความตอ งการ เรยี นรแู ละมสี ื่อ ท างานในชมุ ชน

ผูเ รียนกลมุ จำเปน พิเศษและ หรอื พัฒนาสอื่ / อยางเปนปกติสขุ

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 36

ทม่ี คี วามตองการจำ เดก็ ดอยโอกาส นวตั กรรมใน
เปนพเิ ศษและเด็กดอย 3.เพอ่ื ใหค รูผูสอน การจัดการเรยี น

โอกาส วางแผนการจดั การสอนสำหรับ
3. การนิเทศ ติดตาม การศกึ ษาและ นกั เรยี นทม่ี ี
และประเมนิ ผลการนำ สามารถจดั ทำ ความตองการ
ความรู ความสามารถ แผนการจดั การ พเิ ศษ

และทักษะของครูผูส อน ศกึ ษาท่ีเหมาะสม 3. ครผู ูสอนรอย
ไปใชใ นการ ตอ การพฒั นาและ ละ 80 วาง
จัดการเรยี นการสอน ความตอ งการ แผนการจดั
ใหกบั นักเรยี นที่มคี วาม พเิ ศษของเด็กแต การศกึ ษาและ
ตองการจำเปนพเิ ศษ ละคนและเพิม่ สามารถจดั ท า

และบกพรองทางการ ศักยภาพในการ แผนการจัดการ
เรียนรู (Learning เรยี นการสอน ศกึ ษาท่ี
disability : LD) ในการ ผเู รยี นกลมุ ที่มี เหมาะสมตอ
เรียนรวม ความตองการ การพัฒนาและ

จำเปนพเิ ศษและ ความตองการ
เดก็ ดอ ยโอกาสได พเิ ศษของเดก็
อยางมี แตละคน และ
ประสทิ ธภิ าพ เพ่มิ ศักยภาพใน
4.เพื่อใหน กั เรียน การเรยี นการ

ผูเ รียนกลมุ ทม่ี ี สอนผูเรยี นกลมุ
ความตอ งการ ท่ีมคี วาม
จำเปนพิเศษและ ตอ งการจ าเปน
เดก็ ดอ ยโอกาสทกุ พเิ ศษและเดก็
คนไดรบั การพัฒนา ดอยโอกาสได

ทกั ษะตามความ อยางมี
ถนัดและความ ประสิทธิภาพ
ตอ งการอยา งเตม็ 4. นักเรยี นรอ ย
ศักยภาพเปน ราย ละ 100 กลุมท่ี

บคุ คล มคี วามตอ งการ
5.เพื่อนิเทศ จ าเปนพิเศษ
ติดตาม การนำ และเด็กดอ ย
รปู แบบการจัด โอกาสทกุ คน
กิจกรรมการเรยี น ไดร ับการพฒั นา

การสอนท่ี ทกั ษะตามความ
เหมาะสมกับ ถนดั และความ
ผูเรียน ตอ งการอยา งเต็ม
กลมุ ทีม่ คี วาม ศักยภาพเปน

ตอ งการพิเศษ และ รายบุคคล
ดอ ยโอกาส 5. โรงเรยี นรอ ย
ละ 100 ที่
จัดการเพือ่ ให
นักเรียนผูเรยี น

กลมุ ทีม่ คี วาม
ตองการจำเปน
พิเศษและเดก็
ดอ ยโอกาสไดรบั

การนเิ ทศติดตาม
และประเมนิ ผล
ตามโครงการ
เชงิ คุณภาพ
1. สถานศกึ ษา

ในหนว ยงาน
การศึกษา

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 37

จังหวัดนานมี
ความตระหนกั

และสงเสรมิ การ
จัดการเรยี นรูท ี่
คำนึงถึงกลมุ
ผเู รียนมคี วาม

ตองการจำเปน
และเด็กดอย
โอกาส
2. ครผู สู อนมี
รปู แบบการจัด

กิจกรรมการ
เรยี นรูและมสี ่อื
หรอื พฒั นาส่ือ/
นวัตกรรมใน

การจดั การเรียน
การสอนสำหรบั
นกั เรียนทม่ี ี
ความตอ งการ
พเิ ศษ

9. เปาหมายยอย 4.B ขยายจำนวนทุนการศึกษาในทั่วโลกท่ีใหสำหรับประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะ
ประเทศพฒั นานอยท่ีสดุ รฐั กำลังพฒั นาทเ่ี ปนเกาะขนาดเลก็ และประเทศในแอฟริกาในการสมัครเขา ศกึ ษาตอ
ในระดับอดุ มศึกษา รวมถึงการฝกอาชีพและโปรแกรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ดา นเทคนิค
วศิ วกรรม และวิทยาศาสตร ในประเทศพัฒนาแลวและประเทศกำลังพฒั นาอน่ื ๆ ภายในป 2573

ตัวชี้วัด SDG040B01 ปริมาณความชวยเหลือเพื่อการพัฒนาอยางเปนทางการ (ODA) ที่เปน
ทุนการศึกษา จำแนกตามสาขาและประเภทการศึกษา

ที่ กิจกรรม วัตถปุ ระสงค เปา หมายของ ตัวชีวดั งบประมาณ(หนว ย:แสน) ผูร บั ผิด
ชื่อโครงการ (แนวทางการ ของโครงการ โครงการ และคา 2566 2567 2568 ชอบ
เปา หมาย
พัฒนา) 2565 2569

๑ ขับเคลื่อนการ สรางภาคี ๑. เพอื่ สรา งเครอื ขาย ภาคีเครอื ขาย สามารถ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ กลมุ นเิ ทศฯ
สนับสนนุ
ยกระดับคณุ ภาพ เครอื ขายเพื่อ (ภาครฐั , เอกชน สรา งภาคี สนง.ศธจ.
การศึกษาและ สนับสนุนการ ทนุ การศึกษา , มูลนธิ )ิ เครือขา ย นา น
ประสทิ ธภิ าพ จัดหา ๒. เพือ่ จัดหา มากกวา ๒
การศกึ ษาจงั หวัด ทนุ การศึกษา ทนุ การศึกษา แหง

ผานกลไกของ

คณะกรรมการ

ศกึ ษาธกิ าร

จังหวัด (กศจ.)

10. เปาหมายยอย 4.C เพ่ิมจำนวนครูที่มีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการผานทางความรวมมือ

ระหวางประเทศในการฝก อบรมครใู นประเทศกำลังพฒั นา โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศพฒั นานอ ยที่สุดและ

รฐั กำลังพัฒนาที่เปน เกาะขนาดเลก็ ภายในป 2573

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 38

ตัวชวี้ ัด SDG040C01 สดั สวนของครูท่มี ีคุณวุฒเิ หมาะสมในการจดั การศกึ ษาพ้นื ฐาน จำแนกตามระดบั
การศึกษาสัดสวนของครูในระดับ (a) กอนประถมศึกษา (b)ประถมศึกษา (c) มัธยมศึกษาตอนตน และ (d)
มธั ยมศึกษาตอนปลาย ผูซ่งึ อยางนอยไดรบั การฝก อบรม (เชน การฝก อบรมการสอน) ซึง่ ตอ งดำเนินการกอนหรือ
ระหวางชว งท่ีทำการสอนในระดับทเ่ี กยี่ วของของแตละประเทศ

ที่ ชื่อโครงการ กิจกรรม(แนว วัตถปุ ระสงค เปา หมายของ ตัวชีวัด 2565 งบประมาณ(หนวย:แสน) 2569 ผูรบั ผดิ
ของโครงการ โครงการ และคา 2566 2567 2568 ชอบ
ทางการพฒั นา) เปาหมาย

๑ พัฒนาศกั ยภาพ อบรมพฒั นาครู เพือ่ ใหครมู ีความรู ครไู ดร บั การ รอ ยละ 80 ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ กลมุ

ครูใหมีคุณวฒุ ิ ผา นระบบ ความเขาใจ มที กั ษะ ฝกอบรมครบ ของครูผา น บรหิ ารงาน
การ บุคคล สนง.
เหมาะสมกับการ ออนไลน แนวคดิ ทศั นคติ ตามเน้ือหาที่ ฝกอบรม ศธจ.นา น
ตามเนอ้ื ที่
จัดการศกึ ษาข้ัน กิจกรรมยอย จิตวทิ ยาและ สอดคลอ งกบั
สอดคลอง
พน้ื ฐาน ๑.สำรวจ ประสบการณดา น คุณวุฒิ กับคณุ วุฒิ

ขอ มูลครทู ี่ การจัดการศึกษาใหมี

มีขาดคณุ วุฒิ คณุ วุฒเิ หมาะกับ

2. จดั อบรม การศกึ ษา

พฒั นา

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 39

บทที่ 5

การติดตามประเมนิ ผลการขับเคล่ือนเปาหมายการพฒั นาที่ยัง่ ยนื

การติดตามประเมินผลแผนการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนเปาหมายท่ี 4 SDG4
Roadmap 2565 จังหวดั นา นจดั ทำในรปู แบบของการตดิ ตามและรายงานผลการดำเนินงาน

การรายงานผลการดำเนนิ งาน
สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานเมอื่ ดำเนนิ การแลวเสร็จ/รายไตรมาส ให
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการทราบตามกำหนด โดยจัดทำรายงานผลการดำเนินงานและผลการใชจาย
งบประมาณ พรอมท้ังปญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน จัดสงใหสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือรวบรวม
นำเสนอผูบริหารทราบ โดยรายงานการดำเนินงานเปนรายไตรมาส และใหรายงานตามกำหนดเวลา เมื่อสิ้นสุด
ไตรมาส ดังนี้

ไตรมาสท่ี 1 ผลการดำเนินงานเดอื นตลุ าคม - ธันวาคม
รายงานภายในวันที่ 10 มกราคม

ไตรมาสท่ี 2 ผลการดำเนนิ งานเดือนมกราคม - มีนาคม
รายงานภายในวันที่ 10 เมษายน

ไตรมาสท่ี 3 ผลการดำเนนิ งานเดือนเมษายน - มิถุนายน
รายงานภายในวนั ท่ี 10 กรกฎาคม

ไตรมาสท่ี 4 ผลการดำเนินงานเดือนกรกฎาคม - กนั ยายน
รายงานภายในวนั ที่ 10 ตุลาคม

การเผยแพรผ ลการดำเนนิ งาน
เผยแพรแผนการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน เปาหมายท่ี 4 SDG4 Roadmap 2565
จังหวัดนาน และการดำเนินโครงการใหหนวยงานที่เก่ียวของรับทราบ ผานส่ือหรือชองทางออนไลนตาง ๆ เชน
เวปไซตสำนักงาน Facebook สำนักงาน เอกสารประชาสัมพันธหนวยงาน เพื่อสรางการรับรูค วามเขาใจและความ
รว มรับผิดชอบตอ แนวนโยบาย ทิศทาง และเปาหมายหนวยงานท่ีเก่ียวขอ งในจังหวัด เชน หนวยงานท่ีเก่ียวของกับ
การศึกษา เพื่อเปนการเผยแพรผลการดำเนินงานใหหนวยงาน/ภาคีเครือขายที่เกี่ยวของทราบ และนำไปใชเปน
แนวทางการพฒั นาการขบั เคลอ่ื นโครงการในปง บประมาณตอไป

การทบทวน
มีการทบทวนแผนการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืนดา นการศกึ ษาระดับพ้นื ท่ี
จังหวัดนาน เมือ่ เสร็จส้นิ การดำเนนิ งาน ระยะสน้ั เมอ่ื สิน้ สดุ ในปงบประมาณพ.ศ. 2565

แผนการขบั เคลือนฯ (DSG4 Roadmap) 2565 จงั หวดั น่าน หน้า 39

ภาคผนวก







คณะผูจ ัดทำ

ทปี่ รึกษา

นางณนั ศภรณ นิลอรุณ ศกึ ษาธิการจังหวดั นา น
รองศึกษาธิการจงั หวัดนา น
นางฐติ มิ า เรง ประเสริฐ
ผอู ำนวยการกลุมนโยบายและแผน
บรรณาธิการกิจ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ
นกั วิเคราะหน โยบายและแผนปฏิบัติการ
นายณรงค พนั หนูเทยี น นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร
นางสกนธรัตน วงษสริ ิโชตน นักวเิ คราะหน โยบายและแผนชำนาญการ
นายจีระวฒั น อนิ ทำ นกั วิชาการคอมพวิ เตอรปฏบิ ัตกิ าร
นายเอกพันธ ทพิ ยจำนงค
นางพสชณนั ค พรหมจรรย
นางสาวนนวรัตน ณวี ัง

วเิ คราะหและจดั ทำรปู เลม นกั วิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ

นางพสชณนั ค พรหมจรรย

หนว ยงานผูจัดทำ

กลุมนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดนาน

SDG4

แผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื
เป้าหมายที่ 4 (SDG4) 2565 จงั หวัดน่าน

ส�ำ นกั งานศึกษาธิการจังหวัดนา่ น
506/2 ถนนสมุ นเทวราช ตำ�บลในเวียง อำ�เภอเมอื งน่าน จังหวดั น่าน 55000

โทรศพั ท์ 054-710875 โทรสาร 054-710211
http://peonan.go.th


Click to View FlipBook Version