แผนยทุ ธศาสตรม หาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580)
มตสิ ภามหาวทิ ยาลัย คร้ังที่ 9/2562
วนั ที่ 16 ตุลาคม 2562
แผนยทุ ธศาสตรม หาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580)
มตสิ ภามหาวทิ ยาลัย คร้ังที่ 9/2562
วนั ที่ 16 ตุลาคม 2562
คาํ นํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ มีปณิธาน “มุงม่ันที่จะพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีความเปนเลิศทางวิชาการดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี และวิชาการช้ันสูงท่ีเกี่ยวของ ใหมีความรูคูคุณธรรม เพ่ือเปนผูพัฒนาและสรางเทคโนโลยีที่เหมาะสม อันกอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน” โดยมีการดําเนินงานตามพันธกิจหลักทั้ง 4 ดาน แตดวยสภาวการณและบริบทภายนอกท่ีมีผลกระทบตอมหาวิทยาลัยและความทาทาย
ที่มหาวิทยาลัยตองเผชิญ ตลอดจนกระแสการเปล่ียนแปลงท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคต กอปรกับประเทศมีแผนยุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพัฒนาประเทศ
อยางยง่ั ยืนตามหลักธรรมาภบิ าลเพอื่ ใชเปน กรอบในการจัดทําแผนตา ง ๆ ใหสอดคลองและบรู ณาการกนั เพอื่ ใหเ กิดเปนพลังผลักดันรวมกันไปสเู ปา หมายตามท่ีกําหนด
จากสถานการณตาง ๆ สงผลกระทบตอสถาบันการศึกษาอยางหลีกเล่ียงไมได ดังน้ัน เพื่อใหมหาวิทยาลัยมีแผนการพัฒนาอยางชัดเจนรองรับการเปลี่ยนแปลง
และสอดคลองกับแนวนโยบายการพัฒนาประเทศและแนวโนมในอนาคตที่จะเกิดขึ้น มหาวิทยาลัยจึงจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา
พระนครเหนือ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ขึ้น ผานกระบวนการการมีสวนรวมของทุกภาคสวนภายในมหาวิทยาลัยและมุมมองของผูทรงคุณวุฒิภายนอก
ดวยการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ จํานวน 2 ครั้ง โดยมีการนําขอมูลสําคัญมาวิเคราะหประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตร และจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการทั้ง 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยไดกรอบแผนยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 20 ป ที่เปนแผนการพัฒนาระยะยาวของมหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนามหาวิทยาลัยท้ัง 3
วิทยาเขต และการพฒั นาภาพรวมดวยการกาํ หนดยุทธศาสตรการพฒั นาไปสูความเปน เลิศใน 4 ยทุ ธศาสตร
แผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ฉบับน้ี จึงเปนแผนแมบทที่มุงสูเปาหมายการพัฒนา
มหาวิทยาลัยระยะยาว ที่ใหความสําคัญและมุงเนนการพัฒนามหาวิทยาลัยทั้ง 3 วิทยาเขตไปสู “ความเปนผูนําองคกรดานความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม
(Leader in University Industry Cooperation)” ผานยุทธศาสตรเพ่ือความเปนเลิศ 4 ยุทธศาสตร และสอดคลองตอเปาหมายการพัฒนาประเทศระยะยาว
ตามแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) และ
นโยบายตาง ๆ ที่สาํ คญั ของประเทศ ตลอดจนบริบทท่เี ปลยี่ นแปลงไปของสังคมไทยทม่ี ีผลกระทบตอสถาบันการศึกษา
ขอขอบคุณกรรมการสภามหาวิทยาลัย กรรมการสงเสริมและพัฒนากิจการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการดําเนินการจัดสัมมนาและจัดทําแผนยุทธศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป ผูบริหารทุกสวนงานภายในมหาวิทยาลัยและผูท่ีเก่ียวของ ที่รวมแรงรวมใจในการจัดทําแผน
ยทุ ธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) สาํ เร็จลุลวงดวยดี และหวงั เปน อยางย่ิงวา แผนยุทธศาสตรฉบับนี้ จะ
เปน แผนแมบทช้นี ําทิศทางการขบั เคลื่อนมหาวทิ ยาลัยไปสคู วามเปนเลิศตามเจตนารมณที่ต้ังไวร วมกัน รวมถึงเปนกําลงั สําคัญในการพฒั นาทรัพยากรมนุษย เศรษฐกิจ
และสังคม ตามวิสัยทัศนและเปา หมายการพฒั นาประเทศระยะยาวตอไป
(ศาสตราจารย ดร.สชุ าติ เซีย่ งฉิน)
อธิการบดี
สารบัญ หนา
ก
บทสรปุ สําหรับผบู รหิ าร
ยุทธศาสตรส คู วามเปนเลิศ 4 ดา น 1
8
ดา นการจดั การศกึ ษา (Academic Excellence) 11
ดานการวิจัย สรางสรรคป ระดิษฐกรรมและนวัตกรรม (Research, Invention & Innovation Excellence) 13
ดา นบรกิ ารวชิ าการ (Academic Service Excellence) 16
ดา นการจดั การ (Management Excellence)
ภาคผนวก
ก
บทสรปุ สาํ หรับผูบริหาร
ตามที่รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย มาตรา 65 กําหนดใหรัฐพงึ จดั ใหมียทุ ธศาสตรช าติเปน เปาหมายการพัฒนาประเทศอยางย่ังยนื ตามหลกั ธรรมาภิบาลเพื่อ
ใชเปนกรอบในการจัดทําแผนตาง ๆ ใหสอดคลองและบูรณาการกันเพื่อใหเกิดเปนพลังผลักดันรวมกันไปสูเปาหมายดังกลาว และเพื่อใหประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยทุกสวนราชการตองดําเนินการบริหารงาน
ภายใตก รอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป ซ่งึ เปน เปาหมายการพฒั นาประเทศอยา งยั่งยนื
แผนยุทธศาสตรม หาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ไดจัดทําข้ึนในชวงท่ีมีบริบทแวดลอมสงผลกระทบตอความ
ทาทายที่มหาวิทยาลัยตองเผชิญทั้งในปจจุบันและอนาคต กอปรกับประเทศไทยมีแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) รวมถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) นโยบาย Thailand 4.0 และปจจัยตาง ๆ ท่ีมผี ลตอ การเปลี่ยนแปลงของสังคม
อาทิ เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ความกาวหนา ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ การเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรไทยและสงั คมโลก การปฏิรปู ระบบการอุดมศึกษา
ทักษะในศตวรรษที่ 21 แผนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศใน 10 กลุมอุตสาหกรรมอนาคต และการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีของโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
ภาคตะวันออก (ECC) ซึ่งผลกระทบเหลานี้สงผลใหมหาวิทยาลัยตองปรับตัวรองรับการทํางานที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถของแตละ
วทิ ยาเขตใหมีความโดดเดน รวมถึงใหค วามสําคัญการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรของมหาวิทยาลยั ใหส ามารถปฏิบัติงานไดอยา งเหมาะสมกับสภาวการณที่คาดวา จะเกดิ ขึ้นใน
อนาคต มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือจงึ ไดด ําเนนิ การจดั ทําแผนยุทธศาสตรมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป ขน้ึ ซ่ึง
แผนดังกลาวเกิดจากหลักการความมีสวนรวมจากทุกภาคสวนภายในมหาวิทยาลัย ผานกระบวนการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ 2 ครั้ง คือ คร้ังท่ี 1 เปนการสัมมนาระดับ
ผูบริหารระดับสูง ต้ังแตกรรมการสภามหาวิทยาลัย กรรมการสงเสริมและพัฒนากิจการมหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี ผูชวยอธิการบดี ที่ปรึกษาอธิการบดี และ
คณะกรรมการดําเนินการจัดสัมมนาและจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป และคร้ังท่ี 2 เปนการสัมมนาระดับ
ผูบริหารมหาวิทยาลัย ต้ังแตอธิการบดี ที่ปรึกษาอธิการบดี รองอธิการบดี ผูชวยอธิการบดี คณบดี/ผูอํานวยการ รองคณบดี/รองผูอํานวยการ ท่ีปฏิบัติงานทางดานการ
บรหิ าร ดา นการวางแผน ดานวิชาการและดา นวจิ ยั ซงึ่ ผลการสมั มนาไดผา นกระบวนการพิจารณากล่นั กรองจากคณะกรรมการฯ ทเ่ี ก่ียวของ (คณะกรรมการดําเนนิ การจัด
สัมมนาและจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยฯ ระยะ 20 ป และคณะกรรมการนโยบายและแผน) อยางครบถวนสมบูรณจนไดแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป ท่ีมีทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยอยางชัดเจน สอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาประเทศในระยะยาวและผลักดันให
มหาวทิ ยาลยั ไปสูความเปนเลศิ ตามวสิ ัยทัศน “มหาวทิ ยาลัยช้นั นําดา นวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวตั กรรม เปน ที่ยอมรบั ในระดบั นานาชาติ” อยางแทจ ริง
ข
การบรรลุเปาหมายสูความเปนเลิศตามยุทธศาสตรท้ัง 4 ดานนี้มีความทาทายและตองอาศัยการวางแผนและระบบกลไกการขับเคลื่อนท่ีเปนรูปธรรม ตลอดจน
ความเขาใจความเปนนํ้าหน่ึงใจเดียวกันขององคกรท่ีจะนําพาไปสูเปาหมายท่ีมุงหวังไวรวมกัน ซึ่งแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ฉบับนี้ ไดกําหนดยุทธศาสตรสูความเปนเลิศ 4 ดาน โดยติดตามความสําเร็จผานตัวชี้วัด 50 ตัวชี้วัด และขับเคลื่อนดวยกลยุทธทั้งหมด
41 กลยุทธ ดังน้ี
ความเปน เลศิ เปา ประสงค จํานวน กลยทุ ธ
ตัวชวี้ ดั เปาประสงค 14
1. ดา นการจดั การศกึ ษา 1.1 การจัดการศกึ ษาแบบปรญิ ญา (Degree) และประกาศนียบัตร (Non-Degree) ทมี่ คี ณุ ภาพ 7
(Academic Excellence) และเปนท่ียอมรับ 12 10
2. ดา นการวิจัย สรา งสรรคป ระดิษฐกรรมและ 2.1 วจิ ัยเพอ่ื ความเปนเลิศเชงิ วชิ าการ
นวตั กรรม 2.2 วิจัยเพือ่ ความเปน เลศิ เชิงสรางสรรคนวตั กรรม 7 10
(Research, Invention & Innovation 2.3 วิจัยเพ่อื ความเปนเลศิ เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของภาคอุตสาหกรรม ชุมชน และสังคม 5
Excellence) 4
3. ดา นบริการวิชาการ 3.1 พ่งึ พาตนเองดว ยการหารายไดทงั้ ในรปู ของคา ใชจา ย (In Cash) และในรูปมลู คา (In Kind)
(Academic Service Excellence) จากงานบริการวิชาการ 2
4. ดา นการจัดการ 3.2 มรี ะบบนเิ วศ (Ecosystem) การบริการวิชาการทสี่ อดคลองกับความตอ งการ
(Management Excellence) 3.3 เปน องคกรทมี่ ีภาพลกั ษณ (Branding) ท่ไี ดรบั ความเช่อื ถอื เชือ่ มั่น จากหนวยงานภายนอก 3
มหาวทิ ยาลยั 1
4.1 พฒั นาบคุ ลากรใหม คี ณุ ลักษณะเฉพาะ (SMART People)
4.2 เปน มหาวทิ ยาลยั ดิจิทลั (Digital University) 3
4.3 ระบบบรหิ ารจดั การมีประสิทธภิ าพและรองรบั การเปลี่ยนแปลง 6
4.4 เปนมหาวทิ ยาลัยท่มี กี ารจดั การสภาพแวดลอมและส่ิงอาํ นวยความสะดวกเพ่อื การพฒั นาท่ี 4
ยั่งยืน 3
ค
แผนยทุ ธศาสตรมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนอื ระยะ 20 ป
วสิ ัยทศั น มหาวิทยาลยั ชน้ั นําดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เปนทย่ี อมรบั ในระดบั นานาชาติ
(Vision)
(To guide KMUTNB towards professionalism regarding science, technology and innovation)
พันธกจิ 1. ผลติ บณั ฑติ ที่พึงประสงค (To supply qualified graduates to the society)
2. วิจยั และพัฒนา (To encourage research and academic work)
(Missions) 3. บริการวชิ าการแกส งั คม (To support public academic services)
4. ทาํ นุบํารุงศิลปะและวฒั นธรรม (To maintain national arts and culture)
อตั ลักษณ บณั ฑิตท่ีคิดเปน ทําเปน (Graduates with Creativity and Workability)
มจพ. คอื มหาวิทยาลัยแหง การสรา งสรรคป ระดษิ ฐกรรมสูนวตั กรรม (KMUTNB : University of Creative Invention to Innovation)
(Identity)
เอกลกั ษณ
(Uniqueness)
ยุทธศาสตร ยุทธศาสตรที่ 1 ความเปน เลิศดา นการจดั การศกึ ษา (G1: Academic Excellence)
(Strategic ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 ความเปนเลิศดานการวิจัย สรา งสรรคป ระดิษฐกรรม และนวตั กรรม (G2: Research, Invention & Innovation Excellence)
Issues) ยุทธศาสตรท ี่ 3 ความเปน เลิศดา นบริการวชิ าการ (G3: Academic Service Excellence)
ยทุ ธศาสตรท่ี 4 ความเปนเลศิ ดานการจดั การ (G4: Management Excellence)
ง
วสิ ยั ทศั น : มหาวทิ ยาลยั ช้นั นําดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เปน ทยี่ อมรับในระดบั นานาชาติ
• การจดั การศกึ ษาแบบปริญญา (Degree) • วิจัยเพื่อความเปนเลิศเชิงวชิ าการ
และประกาศนยี บัตร (Non-Degree) • วิจยั เพ่ือความเปน เลศิ เชิงสรางสรรค
ทมี่ คี ุณภาพและเปนท่ยี อมรับ G2: Research, นวัตกรรม
• วจิ ัยเพอื่ ความเปน เลศิ เพอ่ื ตอบสนอง
G1: Academic Invention &
ความตองการของภาคอุตสาหกรรม
Excellence Innovation ชมุ ชน และสังคม
Excellence
LEADER • พฒั นาบคุ ลากรใหม ีคณุ ลักษณะเฉพาะ
(SMART People)
IN UNIVERSITY
• เปน มหาวิทยาลัยดิจิทัล (Digital
• พึ่งพาตนเองดวยการหารายได INDUSTRY University)
ทง้ั ในรูปของคาใชจา ย (In Cash)
และในรูปมลู คา (In Kind) จากงาน G3: Academic COOPERATION G4: • ระบบบรหิ ารจัดการมปี ระสทิ ธภิ าพ และ
บรกิ ารวชิ าการ รองรบั การเปลย่ี นแปลง
Service Management
• มรี ะบบนิเวศ (Ecosystem) การบริการ Excellence Excellence • เปน มหาวิทยาลัยทมี่ ีการจัดการ
วชิ าการทส่ี อดคลองกับความตองการ สภาพแวดลอมและส่ิงอาํ นวยความสะดวก
เพ่อื การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน
• เปนองคกรท่ีมภี าพลักษณ (Branding)
ที่ไดรับความเชื่อถือ เช่อื ม่ัน จาก
หนวยงานภายนอกมหาวิทยาลยั
1
แผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนอื ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580)
*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*
ยุทธศาสตรท ี่ 1 ความเปน เลศิ ดา นการจดั การศึกษา (Academic Excellence)
เปา ประสงค ตัวชว้ี ัดระดับเปา ประสงค หนว ยนบั คาเปาหมายตวั ชีว้ ัด
รอ ยละ/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
1.1 การจัดการศึกษาแบบปริญญา 1.1.1 รอ ยละของหลกั สตู รทม่ี กี ารจดั การเรียนการสอนแบบ
รอยละ/ป 60 100 100 100
(Degree) และประกาศนียบัตร มุงเนนผลลพั ธการศึกษา (Outcome Based
รอ ยละ/ป 10 25 75 100
(Non-Degree) ที่มีคุณภาพ และเปน Education) รายวชิ า/ป
10 20 30 40
ทยี่ อมรบั 1.1.2 รอยละของหลักสูตรท่ีไดร บั การรับรองคุณภาพตาม หลกั สูตร/ป 10 20 30 40
รอ ยละ/ป
มาตรฐานระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 5 10 15 20
50 60 70 80
(Accreditation)
1.1.3 รอยละของหลักสตู รท่มี ีกิจกรรมการเรยี นการสอน
แบบออนไลน
1.1.4 จาํ นวนรายวชิ าของหลกั สตู รแบบปรญิ ญา (Degree)
และประกาศนยี บัตร (Non-degree) ที่มกี ารเรยี น
การสอนออนไลน
1.1.5 จาํ นวนหลกั สตู รทม่ี คี วามยืดหยนุ เปด โอกาสใหผ เู รยี น
สามารถเลอื กเรยี นไดตามความตอ งการ
1.1.6 รอยละของหลักสูตรทีม่ ีการบูรณาการการเรียน
การสอนรวมกับองคกรภาครัฐและภาคเอกชน
2
เปาประสงค ตวั ชว้ี ดั ระดับเปา ประสงค หนว ยนับ คาเปาหมายตวั ช้ีวดั
รอ ยละ/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
1.1 การจัดการศึกษาแบบปริญญา 1.1.7 รอ ยละของนักศึกษาตา งชาติ และนกั ศึกษา จาํ นวน/ป
รอ ยละ/ป 1 234
(Degree) และประกาศนียบตั ร แลกเปลีย่ น ระดบั /ป
รอ ยละ/ป 150 200 250 300
(Non-Degree) ที่มีคุณภาพ และเปน 1.1.8 จาํ นวนกจิ กรรมภายใตบ ันทึกขอ ตกลงความรวมมือ
รอยละ/ป 85 85 85 85
ทย่ี อมรับ (ตอ) ทางวิชาการระหวางประเทศ (MOU)
มาก มาก มากท่ีสุด มากทีส่ ุด
1.1.9 รอ ยละของบัณฑติ ท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชพี 50 80 100 100
อสิ ระ 80 80 80 80
1.1.10 ระดบั ความพึงพอใจของนายจางตอ คุณภาพบัณฑติ
1.1.11 รอยละของหลักสูตรเสรมิ ทกั ษะภาษาองั กฤษหลักสตู ร
สองภาษา หลักสตู รภาษาองั กฤษ หรือหลกั สูตร
นานาชาติ
1.1.12 รอยละของบุคลากรสายวิชาการทไี่ ดรับการเพิ่มพนู
สมรรถนะทเี่ กีย่ วของกบั พันธกิจในการสงเสรมิ การ
จดั การเรยี นการสอน
กลยทุ ธ
1. นาํ เทคโนโลยที ี่ทันสมัยและบูรณาการเทคนคิ การสอนแบบตา ง ๆ มาใชในการจดั การเรียนการสอน เพ่ือใหเกดิ การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา
2. พัฒนาและปรับปรงุ หลักสูตรเพอ่ื ตอบโจทยภาครัฐและเอกชน และเกิดการบรู ณาการการเรยี นรูคกู ับการทาํ งานในรปู แบบตา ง ๆ
3. เพิ่มจํานวนหลกั สตู รท่ีมีการสงเสริมการใชภาษาองั กฤษ จดั โครงการสง เสรมิ ความเปนนานาชาติของนักศึกษาและทักษะดานอ่นื ๆ ใหส อดคลองกบั บริบทความ
เปนสากล
3
4. พัฒนาหลกั สูตรท้งั แบบปรญิ ญา (Degree) และประกาศนียบัตร (Non-Degree) ที่ตอบสนองตอยุทธศาสตรชาติดา นการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากร
มนษุ ย
5. สง เสรมิ การแลกเปลี่ยนนักศึกษา และคณาจารยก ับมหาวิทยาลยั ท่มี ีช่อื เสยี งในระดบั ชาติและนานาชาติ
6. สงเสริมใหมีการจัดการเรยี นการสอนทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและมีส่งิ สนบั สนุนการเรยี นการสอนทีท่ ันสมัยและเพยี งพอ
7. พฒั นาอาจารยและบุคลากรใหมีศักยภาพดานการศึกษาและกจิ กรรมนักศึกษา โดยใหมีทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ความเปนผูประกอบการ
(Entrepreneurship) ความเปนสากล (Internationalization) การบรหิ ารการศึกษา และการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
8. สงเสริมใหผ เู รยี นเปนผปู ระกอบการดา นเทคโนโลยี (Technopreneurship) ผูสรา งสรรคนวัตกรรม มีทกั ษะชวี ิต (Soft Skills) ทกั ษะในศตวรรษที่ 21
(21st Century Skills) และความเปนสากล (Internationalization)
9. พฒั นาศักยภาพหนวยงานใหทาํ หนา ที่สงเสรมิ สนบั สนุน ใหค าํ แนะนําในการจดั การเรียนการสอนท่ีมงุ เนนผลลพั ธก ารศกึ ษา (Outcome Based Education)
และมที ักษะท่ีตองการในศตวรรษท่ี 21
10. สง เสริมใหหลกั สตู รไดรบั การรับรองจากองคกรวชิ าชีพตามเกณฑมาตรฐานระดับชาตแิ ละระดบั นานาชาติ
11. สง เสรมิ ให มจพ. วิทยาเขตปราจนี บรุ ี และ มจพ. วิทยาเขตระยอง มหี ลักสูตรทม่ี งุ เนนเพื่อการพฒั นารวมกับชมุ ชน ภาครัฐ และภาคเอกชนในพื้นท่ี
12. พฒั นาหลักสตู รทีม่ ีการบูรณาการระหวางสาขาวิชาตาง ๆ โดยมีความรวมมือระหวา งชุมชน ภาครฐั ภาคเอกชน ทั้งในประเทศและ/หรอื ตา งประเทศ
13. พัฒนาระบบธนาคารหนว ยกิต (Credit Bank) เพ่ือการเทียบโอนทัง้ รายวิชาและประสบการณ
14. สง เสริมบคุ คลในทุกชว งวยั ใหมคี วามรู ทักษะ และประสบการณใหส อดคลอ งกบั ความตองการท่ีเปลย่ี นแปลง
นิยามศพั ทเ ฉพาะ
ทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ประกอบดวย 3Rs+8Cs ดงั นี้
3Rs ประกอบดว ย
1) การอานออก (Reading)
2) การเขยี นได (‘Riting)
3) การคิดเลขเปน (‘Rithmetic)
4
8Cs ประกอบดวย
1) ทักษะดานการคิดอยา งมีวิจารณญาณ และทกั ษะในการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving)
2) ทักษะดานการสรา งสรรคแ ละนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
3) ทกั ษะดา นความเขา ใจตา งวัฒนธรรม ตา งกระบวนทัศน (Cross-Cultural Understanding)
4) ทกั ษะดานความรว มมอื การทาํ งานเปนทมี และภาวะผูน ํา (Collaboration, Teamwork and Leadership)
5) ทกั ษะดา นการสอ่ื สาร สารสนเทศ และการรเู ทา ทนั สื่อ (Communication, Information and Media Literacy)
6) ทกั ษะดา นคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)
7) ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู (Career and Learning Skills)
8) ความมีเมตตา กรณุ า มีวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)
ซึ่งสอดคลองกบั คณุ ลักษณะบัณฑติ ทีพ่ ึงประสงคของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนอื ดังน้ี
คณุ ลกั ษณะพ้นื ฐานรวมกันของบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงค
1) มคี วามรูค วามสามารถในวชิ าชีพ และมีทกั ษะดา นความคิดสรา งสรรค (Professional and Thinking Skills)
2) ซือ่ สตั ย รบั ผดิ ชอบ มคี ุณธรรม จริยธรรม ทําประโยชนเ พือ่ สงั คมและเปนที่พึ่งทางวิชาการ (Social Responsibility)
3) มฐี านคิดและความเปน ผูป ระกอบการดา นนวัตกรรมและเทคโนโลยี (Innovative and Technopreneur Mindset)
4) สามารถแขง ขนั ไดในระดับชาตแิ ละนานาชาติ (Global Competence)
ทกั ษะและความสามารถท่จี าํ เปน ของบัณฑิตทีพ่ ึงประสงค
ในการดําเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการผลิตบัณฑิตท่ีพึงประสงคของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ซ่ึงประกอบดวยปจจัยและ
กระบวนการตาง ๆ เชน การออกแบบ/พัฒนาหลักสูตร การบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมนักศึกษา ตลอดจนการประเมินคุณภาพ
หลักสูตร จะตองสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะและความสามารถที่จําเปน 3 ดาน ไดแก ดานการจัดการตนเอง (Intrapersonal Domain) ดานการจัดการองคความรู
(Cognitive Domain) ดานการรูจักสัมพันธเกี่ยวของกับผูอื่น (Interpersonal Domain) โดยรวมถึงทักษะในศตวรรษท่ี 21 อันจะเปนพ้ืนฐานสําคัญในการเตรียมความ
พรอ มใหกับนักศึกษากอนการสําเร็จการศึกษาออกไปสูสังคมเพื่อพัฒนาประเทศชาตแิ ละสสู งั คมโลกอยา งประสบความสําเร็จตอไป
5
ดงั นน้ั ทกั ษะและความสามารถทจ่ี ําเปน ของบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนอื มดี งั น้ี
1) ดา นการจดั การตนเอง (Intrapersonal Domain)
1.1) ทกั ษะการเรยี นรูต ลอดชวี ติ (lifelong learning skills)
1.2) การสรา งความสุขทางกายและใจ (well-being)
1.3) แรงจูงใจใฝรู (intrinsic motivation)
1.4) ทักษะการทํางานแบบมืออาชีพ (professional skills)
1.5) ความยืดหยนุ และการปรบั ตวั (flexibility and adaptability)
1.6) บุคลิกภาพทดี่ ี (personality)
1.7) ความคิดเชงิ บวก (positive thinking)
1.8) ความอยากรแู ละความคิดริเริ่ม (curiosity and initiative)
1.9) ความวริ ยิ ะอุตสาหะ/ความพากเพยี ร (persistence /perseverance)
2) ดา นการจัดการองคค วามรู (Cognitive Domain)
2.1) ความรหู ลักและความรเู ฉพาะทาง (core and specialized knowledge)
2.2) ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหและการแกไ ขปญ หา (critical thinking and problem solving skills)
2.3) ทกั ษะการจัดการธุรกิจและการเงนิ (business and financial management skills)
2.4) ความเขา ใจและการใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทัล (digital literacy and technology management)
2.5) ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม (creativity and innovation)
2.6) การวางแผนอยา งมรี ะบบ (systematic planning)
3) ดา นการรจู ักสัมพนั ธเ กย่ี วของกับผอู นื่ (Interpersonal Domain)
3.1) คุณธรรมและจรยิ ธรรม (moral and ethics)
3.2) ทักษะการสอื่ สาร (communication skills)
3.3) ทกั ษะการทาํ งานรวมกันและการมจี ติ บริการ (collaboration and service mind)
6
3.4) ทกั ษะทางดานภาษา (language skills)
3.5) ทกั ษะความเปนผูนาํ และการทาํ งานเปน ทมี (leadership and team work)
3.6) ทกั ษะความรบั ผดิ ชอบและการสํานกึ รคู ณุ ในหนา ท่ีตอตนเอง สังคม และโลก (responsibility and accountability: self, social and global)
3.7) ทกั ษะทางสังคมและการเรียนรูขามวฒั นธรรม (social and cross-cultural skills)
ทักษะชีวิต (Soft Skills) หมายถึง ความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา ที่จะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และมี
ความสามารถที่จะปรับตัวไดในอนาคต ทักษะชีวิตจะมีสวนชวยใหวัยรุนสามารถนําความรูในเร่ืองตาง ๆ มาเช่ือมโยงกับทัศนคติ ผานการคิดวิเคราะหไตรตรองถึงผลท่ีจะ
เกิดข้ึนและตัดสินใจปฏิบัติในส่ิงที่เหมาะสมได ซ่ึงจําเปนอยางมากในเร่ืองของการดูแลสุขภาพ การปองกันการติดเชื้อเอชไอวี ยาเสพติด การทองไมพรอม ความปลอดภัย
คณุ ธรรมจริยธรรม ฯลฯ ทาํ ใหเด็กสามารถอยใู นสงั คมไดอ ยา งมีความสขุ และรบั มือกบั ปญ หาและความเปล่ยี นแปลงตาง ๆ ได
การรบั รองคณุ ภาพ (Accreditation) หมายถงึ กระบวนการการรับรองระบบงาน (Official approval) หรอื การรบั รองวทิ ยฐานะ โดยมกี ารควบคมุ ดแู ล และตรวจสอบ
ใหสอดคลองตามมาตรฐานสากล เปนการประกาศอยางเปนทางการ ซ่ึงองคกรท่ีไดรับมอบหมายในการรับรองมาตรฐานมีการพิจารณาเกี่ยวกับระบบขอมูลสารสนเทศ
(Information system) ระดับความเส่ียงที่ยอมรับได โดยยึดตามการนําไปใชในการปฏิบัติเพ่ือการยืนยันในเทคนิควิธีการ การจัดการ และวิธีการควบคุมระบบความ
ปลอดภยั
การจดั การเรียนการสอนเชงิ บูรณาการกับการทํางาน (Work Integrated Learning: WiL) หมายถึง การจดั การเรียนการสอนผสมผสานระหวางความรูทางทฤษฎีที่ได
จากการเรยี นในหองเรยี นกับประสบการณการทาํ งานหรือฝกปฏิบัติทางวิชาชีพนอกหองเรยี น ซึ่งเปนสว นหนงึ่ ของการศึกษาในหลักสูตรทตี่ องอยูในสภาพแวดลอมของการ
ทํางานจริง งานท่ีฝกปฏิบัติตองเปนงานที่มีคุณภาพหรือสามารถพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาได ยังหมายถึงการรวมกันระหวางเรียนรูเชิงทฤษฎีและการฝกปฏิบัติโดยใช
การเรยี นรทู ฤษฎี (Formal - Learning) กับกระบวนการฝกปฏิบัตดิ ว ยการทํางานที่มปี ระสทิ ธภิ าพ (Productive - Work) จึงเปน ระบบหน่ึงของการสรา งความรูจากแหลง
ความรหู ลายๆ แหลง การเรยี นรูเชิงประสบการณที่ชวยใหนกั ศกึ ษามโี อกาสในการประยุกตความรู ทักษะการทํางาน และทักษะเฉพาะทส่ี มั พันธก ับวชิ าชพี
การบูรณาการการเรียนการสอน หมายถงึ การจัดการเรยี นการสอนโดยการเชื่อมโยงเน้ือหาความรูทเ่ี ก่ียวของจากศาสตรตาง ๆ ของรายวชิ าเดยี วกันหรือหลายรายวิชามา
ใชใ นการจัดการเรียนรเู พอื่ ใหผเู รยี นสามารถนําความคิดรวบยอดของศาสตรต าง ๆ มาใชใ นชีวติ จริงได
7
หลักสตู ร Non-Degree หมายถึง หลกั สูตรประกาศนียบัตร (Non degree) ท่ีสวนงานหรือคณะดําเนนิ การจดั การอบรม มีการสอนและทําวจิ ัย เปน ระยะเวลา 6-12 เดือน
ที่มีกลุมเปาหมายเปนคนทํางาน และนักศึกษา ซ่ึงตองการเขามาอบรมและศึกษาบางรายวิชา/ทําวิจัยเพื่อเพ่ิมศักยภาพและเพ่ิมทักษะในการทํางาน เมื่อจบตามเกณฑที่
กําหนดในหลกั สูตรจะไดร บั ประกาศนียบัตร
ผูประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง ผูที่ศึกษาการสรางธุรกิจ รวมถึงกระบวนการทําธุรกิจใหม ๆ นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึงผูที่ผลิตสินคาหรือบริการใหแก
ผซู อ้ื โดยสรางรานหรอื องคกรเพื่อการขายสนิ คาและบรกิ ารเหลา นัน้
ความเปนสากล (Internationalization) หมายถึง การกําหนดกลยุทธในการบริหารท่ีเนนการมีสวนรวมของคณาจารย บุคลากร และนักศึกษา เพื่อยอมรับตอการ
เปลี่ยนแปลง ปรับความเชื่อ คานิยม และสรา งวฒั นธรรมความเปนนานาชาติ ผานบทบาทจากผบู ริหารมหาวิทยาลัย บทบาทของผูสอนในการจดั การเรียนการสอน การจัด
กิจกรรมดา นตา ง ๆ และการสรา งวัฒนธรรมองคการเพื่อมุงสูความเปนนานาชาติ พรอมตอการอยูร ว มกันบนความหลากหลายและการผสมผสาน ซึง่ จะเปน แนวทางใหเกิด
ความเขม แขง็ ในการเพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง ขนั ยกระดับการเปน มหาวิทยาลัยชน้ั นําระดบั โลก และเกิดการยอมรบั จากนานาประเทศ
ผูประกอบการดานเทคโนโลยี (Technopreneurship) หมายถึง บุคลากรที่มีความรู ทักษะ และศักยภาพในการบูรณาการองคความรู โดยมีฐานคิดความเปน
ผูป ระกอบการจากใชวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยรี วมกบั การจัดการนวัตกรรม เพอ่ื การพฒั นาผลงานนวตั กรรมทีน่ ําไปใชไ ดใ นเชิงพาณชิ ย
ระบบธนาคารหนวยกิต (Credit Bank) หมายถึง การจัดการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษาท่ีใหผูเรียนสามารถนําผลการเรียนท่ีไดจากการศึกษาในระบบ และผล
การเรียนรูที่ไดจากการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และจากประสบการณของบุคคล มาเก็บสะสมไวในธนาคารหนวยกิตของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อรับ
ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร สัมฤทธิบัตร อนุปริญญาหรือปริญญาตรี ตามหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษา โดยไมจํากัดอายุของผูเรียน คุณวุฒิผูเรียน ระยะเวลาในการสะสม
หนวยกติ และระยะเวลาในการเรียน
บัณฑิตพันธุใหม หมายถึง บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ท่ีบูรณาการศาสตร
หลากหลายและหรือสาขาวิชา (Multidisciplinary) เพื่อสามารถสรางทักษะ สมรรถนะเรงดวนใหม แกบัณฑิตหรือกําลังคนภาคการผลิตใหมีความสามารถและศักยภาพ
ตอบโจทยภ าคการผลติ สอู ุตสาหกรรมเปา หมาย 10 S-Curve โดยหลกั สูตรดังกลา วตองเปน หลักสตู รท่ีไดร ับการคดั เลอื ก และจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบทก่ี ําหนด
8
ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 ความเปนเลิศดา นการวจิ ยั สรางสรรคป ระดิษฐกรรมและนวัตกรรม (Research, Invention & Innovation Excellence)
เปาประสงค ตัวช้วี ดั ระดับเปาประสงค หนว ยนับ คาเปาหมายตัวชีว้ ัด
2.1 วิจัยเพื่อความเปนเลิศเชิงวิชาการ เรื่อง/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
2.1.1 จํานวนบทความวิจัย (Research article) หรอื 1,000 1,200 1,500 2,000
2.2 วจิ ยั เพ่อื ความเปนเลศิ เชงิ สรางสรรค บทความทางวชิ าการจากการประชุมวิชาการ เรอ่ื ง/ป
นวัตกรรม ทต่ี ีพมิ พแ ละจดั อยูในฐานขอมูล Scopus ครั้ง/ป 10 20 30 40
รอยละ/ป 2,000 2,400 3,000 4,000
2.1.2 จํานวนบทความปริทศั น (Review article) ครง้ั หรือ 15 18 22 25
ท่ตี ีพิมพในฐานขอมลู Scopus โครงการ/ป 50 60 75 90
รอ ยละ/ป 20 30 40 50
2.1.3 จาํ นวน Citation ทีถ่ กู อางองิ ในฐานขอมลู ทนุ /ป 40 60 80 100
Scopus
เรอื่ ง/ป 2 345
2.1.4 รอยละของอาจารยท ี่ตีพิมพในฐานขอมลู Scopus
2.1.5. จํานวนการตพี มิ พห รือโครงการวจิ ยั รว มกับ
ชาวตา งประเทศ
2.1.6 รอยละของผมู สี วนไดสวนเสยี (stakeholder) ท่ี
ตอบรับและยอมรับช่ือเสียงของมหาวิทยาลยั
2.1.7 จาํ นวนการย่นื ขอเสนอ (submitted proposal)
เพ่ือขอทุนวิจัยจากหนวยงานในเครอื ขายองคก ร
บรหิ ารงานวิจัยแหงชาติ (คอบช.)
2.2.1 จํานวนอนสุ ิทธิบตั ร สทิ ธบิ ตั รท่ีถูกนําไปใช
เชงิ พาณิชย
9
เปา ประสงค ตัวช้ีวดั ระดับเปาประสงค หนว ยนบั คา เปา หมายตัวชว้ี ดั
2.2 วจิ ัยเพือ่ ความเปน เลิศเชงิ สรา งสรรค ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
2.2.2 จาํ นวนชนิ้ งานและหรือผลงานสรางสรรคที่มี เรื่อง/ป
นวัตกรรม (ตอ) ประโยชนตอสงั คม เศรษฐกจิ หรือส่ิงแวดลอม 8 12 17 22
ในระดับชาติหรือนานาชาติ รอ ยละ/ป
2.3 วิจัยเพ่อื ความเปน เลศิ เพอ่ื ตอบสนอง ครง้ั /ป 10 15 20 25
ความตองการของภาคอุตสาหกรรม 2.2.3 รอ ยละของบุคลากรสายวิชาการท่ีทํางานพัฒนา 52 52 52 52
ชุมชน และสงั คม สิง่ ประดษิ ฐ นวัตกรรม หรืองานสรางสรรค ลา นบาท/ป
โครงการ/ป 10 12 15 20
2.2.4 จํานวนความถขี่ องขา วสารที่ไดป ระชาสัมพนั ธ ลานบาท/ป 160 180 200 220
ผลงานออกสอ่ื ตา ง ๆ ท้งั ในระดบั ชาติและ รอ ยละ/ป 180 200 220 240
นานาชาติ 20 30 40 50
2.2.5 จํานวนรายไดทไ่ี ดรับจากการขาย/เชา ผลงาน
นวัตกรรมและ/หรือสิง่ ประดิษฐ
2.3.1 จํานวนโครงการท่ตี อบสนองภาคอตุ สาหกรรมและ
ภาคธุรกิจที่สนับสนนุ โดยภาครัฐหรอื ภาคเอกชน
2.3.2 จาํ นวนเงินที่ไดจ ากโครงการวิจยั ใน
ภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกจิ
2.3.3 รอ ยละของบุคลากรสายวิชาการ นกั วิจยั
นักวทิ ยาศาสตร และวศิ วกรที่ทาํ กจิ กรรมและ/
หรอื โครงการวิจยั ทต่ี อบสนองภาคอุตสาหกรรม
และภาคธุรกิจ ทส่ี นับสนุนโดยภาครฐั หรือ
ภาคเอกชน
10
เปาประสงค ตวั ชีว้ ัดระดบั เปา ประสงค หนว ยนับ คา เปา หมายตัวชีว้ ัด
รอยละ/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
2.3 วิจยั เพอ่ื ความเปนเลศิ เพือ่ ตอบสนอง 2.3.4 รอยละของหนว ยงานภาคอุตสาหกรรมทร่ี ับรูถงึ
ความตองการของภาคอุตสาหกรรม ช่อื เสยี งเชิงอุตสาหกรรมของมหาวทิ ยาลยั 20 30 40 50
ชมุ ชน และสงั คม (ตอ )
กลยทุ ธ
1. สง เสริมทักษะและองคค วามรูของอาจารยในดานการตีพิมพผลงานทางวชิ าการและสทิ ธิบัตร
2. สง เสรมิ แรงจงู ใจของอาจารยในดา นการตีพมิ พผ ลงานทางวิชาการและสทิ ธิบตั ร
3. สง เสรมิ การเผยแพรช่ือเสียงดานงานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลยั ไปยังผทู ี่เกี่ยวของ
4. พัฒนาระบบการจัดการและบริหารภาระงานสนับสนนุ งานวิจัยและบคุ ลากรเพ่ือใหก ารวจิ ยั ดําเนนิ ไดอยา งคลองตวั มากข้นึ
5. สง เสริมการทํางานรวมกนั ของกลุมอาจารยในงานวิจัยเพ่ือสรางโอกาสในการไดรบั การคัดเลือกจากแหลง ทนุ
6. สงเสรมิ แนวทางเชงิ รกุ ในการสรางเครือขายกับภาคอตุ สาหกรรมเพ่ือตอบสนองการสรางงานวจิ ยั และนวตั กรรมที่มผี ลกระทบตอ การพัฒนาประเทศ
7. สงเสริมระเบยี บและการจัดการในการใชป ระโยชนทรัพยส ินทางปญ ญาท่ีเกิดจากงานวิจัย
11
ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 ความเปน เลิศดานบรกิ ารวชิ าการ (Academic Service Excellence)
เปาประสงค ตวั ช้วี ดั ระดบั เปาประสงค หนว ยนับ คาเปาหมายตัวชี้วัด
ลานบาท/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
3.1 พึ่งพาตนเองดว ยการหารายไดทั้ง 3.1.1 จาํ นวนรายไดจากงานบริการวชิ าการจาก
350 450 550 650
ในรปู ของคาใชจาย (In Cash) และ หนวยงานภาครฐั องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่
ในรปู มูลคา (In Kind) จากงานบริการ ชมุ ชน และสังคม
วชิ าการ 3.1.2 จาํ นวนรายไดจากงานบริการวิชาการจาก ลา นบาท/ป 70 90 110 130
รอ ยละ/ป 30 40 50 60
หนว ยงานภาคเอกชน รอยละ/ป 10 10 10 10
12 20 22 27
3.2 มีระบบนเิ วศ (Ecosystem) การ 3.2.1 รอ ยละของจาํ นวนบุคลากรท่ีมสี ว นรวมในงาน หอ ง 50 75 90 100
รอยละ/ป
บรกิ ารวชิ าการทส่ี อดคลอ งกับความ บริการวิชาการตอบุคลากรของมหาวทิ ยาลัย
ตอ งการ 3.2.2 รอ ยละของจาํ นวนหนว ยงานภายนอกที่
มหาวทิ ยาลัยใหบ รกิ ารวิชาการเพ่มิ ข้ึน
3.2.3 จํานวนหองปฏิบตั ิการและหองทดสอบท่ีได
มาตรฐานระดับชาตหิ รือนานาชาติ
3.3 เปนองคกรทม่ี ภี าพลกั ษณ (Branding) 3.3.1 รอ ยละของผลลัพธทเี่ กิดจากโครงการบริการ
ท่ีไดรบั ความเชอื่ ถือ เช่อื มั่น วิชาการท่ีมกี ารรบั รองการนําไปใชประโยชน
จากหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลยั (ไมรวมโครงการอบรม/สมั มนา/บรรยายพเิ ศษ)
12
กลยทุ ธ
1. สง เสรมิ ใหมีหนว ยงานกลางของมหาวิทยาลัยมีระบบนิเวศ (Ecosystem) ในดานการบริการวิชาการ
2. สง เสริมใหม รี ะบบฐานขอมูลความเช่ียวชาญของบุคลากรและความพรอ มดา นเคร่ืองมือ อุปกรณ สถานท่ี สําหรบั งานบรกิ ารวิชาการ
3. พัฒนาโครงสรา งการบรหิ ารบุคลากร เพ่ือรองรับการใหบริการวิชาการ
4. พฒั นาแนวปฏบิ ัติภายในของมหาวทิ ยาลัยใหเ อื้อตองานบริการวิชาการ เพื่อใหสามารถแขงขันกับหนว ยงานภายนอกได
5. สงเสรมิ ใหม ีหลักสตู รฝก อบรมท่สี ามารถเทียบโอนหนว ยกติ ไปยงั หลกั สตู รการเรยี นการสอนได
6. สรา งแบรนดทางการตลาด (Marketing Brand) และภาพลักษณองคกร (Corporate Image) สาํ หรบั ใชเ พื่อประชาสมั พนั ธงานบรกิ ารวิชาการ
7. สง เสรมิ งานบรกิ ารวิชาการสชู ุมชน สังคมเพื่อสง เสรมิ ภาพลักษณของมหาวทิ ยาลยั
8. สง เสรมิ การพัฒนาศกั ยภาพของบุคลากรเพ่ือรองรบั งานบริการวิชาการอยา งย่งั ยืนโดยการปลูกจิตสํานึกรักองคกร
9. สง เสริมใหเกิดความรว มมอื ระหวา งสวนงานและวทิ ยาเขตในการบริการวชิ าการ
10. สงเสริมแนวทางเชงิ รุกในการสรา งเครือขายกับภาครฐั ภาคเอกชน ชมุ ชน และสงั คมเพื่อตอบสนองการสรางงานบริการวชิ าการที่ยั่งยนื
นยิ ามศัพทเฉพาะ
รายไดในรูปตัวเงนิ (In Cash) หมายถึง รายไดทไี่ ดจ ากงานบริการวชิ าการทง้ั หมดในรูปตวั เงิน
รายไดท่ไี มใชต ัวเงนิ (In Kind) หมายถึง รายไดท ี่ไดจากงานบรกิ ารวิชาการท้ังหมดทีไ่ มใ ชต วั เงิน แตสามารถนาํ มาประเมนิ เทียบเคียงมูลคา เพือ่ นบั เปน รายได
ระบบนเิ วศดา นการบริการวิชาการ (Ecosystem) หมายถึง การมีทรพั ยากรตาง ๆ ทีส่ นับสนนุ งานบริการวิชาการ เพอ่ื ใหส ามารถทํางานดานบริการวชิ าการไดสะดวกและ
รวดเรว็ ข้นึ อาทิ บคุ ลากร อปุ กรณ สถานที่ และระเบียบทีเ่ อื้อตอการทาํ งาน เปนตน
13
ยทุ ธศาสตรท่ี 4 ความเปนเลศิ ดา นการจัดการ (Management Excellence)
เปา ประสงค ตวั ชวี้ ัดระดบั เปาประสงค หนวยนับ คา เปาหมายตัวชีว้ ดั
รอ ยละ/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
4.1 พฒั นาบคุ ลากรใหม คี ุณลักษณะเฉพาะ 4.1.1 รอยละของบุคลากรที่ไดรบั การพฒั นาตาม
รอยละ/ป 95 100 100 100
(SMART People) สมรรถนะ รอยละ/ป
จาํ นวน 50 60 70 80
(Re-skills/Up-skills/New-skills) บริการ 100 100 100 100
ระดับ/ป 5 10 15 20
4.1.2 รอยละของบุคลากรสามารถใชภ าษาตา งประเทศ รอยละ
มาก มากทส่ี ดุ มากทส่ี ดุ มากทส่ี ดุ
ในการส่อื สารไดตามเกณฑที่กําหนด 20 50 100 100
4.1.3 รอยละของบุคลากรทสี่ ามารถใชเ ทคโนโลยีดิจิทลั
สนับสนุนการปฏิบัตงิ านไดด ระดับ)
4.2 เปน มหาวิทยาลยั ดจิ ทิ ลั 4.2.1 จํานวนบริการหรือนวตั กรรมบรกิ ารระดับ
(Digital University) มหาวิทยาลยั สําหรบั บุคลากรหรือนกั ศึกษาที่
ใหบ ริการผาน Mobile หรอื Smart device
4.2.2 ระดบั ความพงึ พอใจในการใชงานระบบสารสนเทศ
ของมหาวิทยาลยั
4.2.3 รอ ยละของสว นงานท่ีมกี ารบริการสําหรับบคุ ลากร
หรือนักศึกษาผานชองทาง Mobile หรอื Smart
device
14
เปา ประสงค ตัวช้ีวัดระดบั เปาประสงค หนว ยนบั ป 61-65 คา เปา หมายตัวช้วี ัด ป 76-80
4.2 เปนมหาวทิ ยาลัยดิจทิ ลั 60 ป 66-70 ป 71-75 100
4.2.4 รอ ยละของพน้ื ที่ของมหาวิทยาลยั ท่สี ามารถ รอ ยละ
(Digital University) (ตอ) 5 100 100 25
เชื่อมตอ กับเครือขายของมหาวทิ ยาลัยได เฉพาะ 50 100
4.3 ระบบบรหิ ารจัดการมีประสิทธภิ าพ 4 15 20 4
และรองรบั การเปลย่ี นแปลง พืน้ ทใ่ี ชสอยและจัดกจิ กรรมทางการศึกษา 60 70
50 44 80
4.2.5 จาํ นวนกระบวนการภายในของมหาวิทยาลยั ท่ีมี กระบวนการ 6 20
150 60 70 200
การเปล่ียนผานไปสรู ูปแบบดิจิทัล 10 16
200 200
4.2.6 รอยละของสวนงานท่ีมีสว นรว มในการใชระบบ รอยละ
ดิจทิ ัลกลางของมหาวิทยาลยั
4.3.1 จาํ นวนโครงการท่สี งเสริมความรูค วามเขา ใจ โครงการ/ป
เกยี่ วกบั ระเบยี บ ขอ บังคับ ประกาศทเ่ี ก่ียวของกับ
มหาวทิ ยาลัย เพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพในการ
ปฏบิ ัตงิ าน
4.3.2 รอ ยละของบุคลากรที่รบั รู และเขาใจเกี่ยวกบั ระเบยี บ รอ ยละ
ขอบงั คบั ประกาศท่ีเกี่ยวของกับมหาวิทยาลยั
4.3.3 จํานวนหนวยงานที่ไดร บั การรับรอง หนวยงาน
มาตรฐานสากล ดานการบริหารจดั การ
4.3.4 จํานวนผลงานหรือกิจกรรมของมหาวิทยาลยั ท่ี ผลงานหรือ
สรา งช่ือเสยี งและไดรบั การประชาสัมพันธจาก กจิ กรรม/ป
หนว ยงานภายนอก
15
เปาประสงค ตัวชีว้ ดั ระดบั เปา ประสงค หนว ยนับ คา เปา หมายตวั ช้ีวัด
หนวยงาน ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
4.4 เปนมหาวทิ ยาลัยทีม่ กี ารจดั การ 4.4.1 จํานวนหนว ยงานทไ่ี ดรบั การรับรอง
สภาพแวดลอ มและส่งิ อาํ นวยความ มาตรฐานสากล ดา นการจัดการสิ่งแวดลอม - 123
สะดวกเพื่อการพฒั นาทีย่ ั่งยนื
4.4.2 จํานวนหนวยงานทไี่ ดรบั การรบั รองมาตรฐาน หนวยงาน 1 5 10 10
สาํ นกั งานสีเขียว (Green Office)
ระดบั /ป มาก มากทส่ี ดุ มากทส่ี ุด มากทีส่ ุด
4.4.3 ระดับความพงึ พอใจดานสภาพแวดลอ มและ
บรรยากาศในการทาํ งาน และความปลอดภัย
กลยุทธ
1. มงุ สูก ารรบั รองมาตรฐานสากลในระบบบรกิ าร บรหิ ารจัดการ และการจัดการสิง่ แวดลอ ม
2. สงเสรมิ บุคลากรใหมคี ณุ ธรรม จริยธรรม จติ อาสา และจิตสาํ นึกการรักองคกร
3. พฒั นาเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่ือสนับสนุนพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลัย รวมถงึ สรา งฐานขอ มูลกลาง (Big Data) เพ่อื ประกอบการตดั สินใจ
4. สงเสริมและสนับสนนุ การใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั ในการปฏิบตั ิงานอยา งตอเนื่องจนเกิดเปน วัฒนธรรม
5. สรา งเสถยี รภาพและความมน่ั คงทางการเงินการคลัง โดยอาศัยภาคอุตสาหกรรมและหนวยงานท่เี ก่ียวของเปน ฐาน และบรหิ ารสนิ ทรัพยใหค มุ คา และเกดิ ประโยชน
สงู สดุ
6. สงเสริมใหบ ุคลากรมีความรูความเขา ใจระเบียบและขอ บังคับของมหาวทิ ยาลยั
7. สรา งตนแบบการบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอมภายในมหาวิทยาลัย
8. ปรับปรุงสภาพแวดลอ มและบรรยากาศท่เี หมาะสมตอ การปฏบิ ัติงาน
9. สงเสรมิ การประชาสัมพนั ธภาพลักษณองคกรเชิงรุก
10. สรา งกลไกเพื่อเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน
ภาคผนวก
16
ความเชอ่ื มโยงระหวา งยุทธศาสตรช าติ 20 ป แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ป และแผนยุทธศาสตรม หาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนือ ระยะ 20 ป
ประเทศไทยมีความมั่นคง มง่ั ค่งั ยัง่ ยนื เปนประเทศพฒั นาแลว ดวยการพฒั นาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ยทุ ธศาสตรชาติ ความมน่ั คง การสรา งความสามารถในการ การพัฒนาและเสรมิ สราง การสรางโอกาสและความ การสรา งการเตบิ โตบน การปรับสมดุลและพัฒนา
(พ.ศ. 2561 – 2580) แขง ขัน ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย เสมอภาคทางสังคม คณุ ภาพชีวติ ท่เี ปน มติ รตอ ระบบการบริหารจัดการภาครฐั
ส่งิ แวดลอ ม
อุดมศึกษาไทยเปนแหลง สรางปญญาใหสงั คม นาํ ทางไปสูการเปลี่ยนแปลง สรางนวัตกรรม ความรู งานวจิ ยั ท่เี สนอทางเลอื กและแกปญ หา เพ่อื การพฒั นาประเทศ และสรา งขีดความสามารถในการแขง ขนั
อุดมศึกษาเปนแหลงสนับสนุน อุดมศึกษาเปนแหลงพฒั นากําลงั คนและ ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให
การส รางงานและนําความรูไป เสริมสรางศักยภาพท้งั ทักษะความคิดและการ เกิดประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล และมี
แกปญหาผานค วามร วม มื อ กั บ รูคิดเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศตาม ระบบการกํากับดูแลท่ีรับผิดชอบตอผล
ภาคเอกชนและทองถ่ิน ยุทธศาสตรช าติ ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ใ น
การพัฒนาศักยภาพแล ะ คุณภาพ ทุกดาน
นักศึกษา เสริมสรางความรู และทักษะทาง ปรับระบบโครงสรางการตรวจสอบ
แผนอุดมศึกษา อาชีพใหพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะ การจัดสรรงบประมาณ และการติดตาม
ระยะยาว 20 ป เกิดขน้ึ ในอนาคต รายงานผลที่มีประสิทธภิ าพ
(พ.ศ. 2561 – 2580) เสริมสรา งสมรรถนะหลักของอุดมศึกษา
แผนยทุ ธศาสตร ไทยใหเปนแหลงพัฒนาตอยอดความสามารถ
มจพ. ระยะ 20 ป ในการใชความรู สรางผลงานวิจัย คนหา
(พ.ศ. 2561 – 2580) คําตอบ ท่ีจะ นําไป ใชป ระ โ ยช นในการ
แกปญหา และพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งระดับ
ทองถิน่ และระดับประเทศ
อุดมศึกษาเปนแหลงสนับสนุนการสราง
ง า น แ ล ะ นํ า ค ว า ม รู ไ ป แ ก ป ญ ห า ผ า น ค ว า ม
รว มมอื กับภาคเอกชนและทองถนิ่
มหาวทิ ยาลัยชน้ั นาํ ดา นวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เปนทยี่ อมรบั ในระดบั นานาชาติ
ค วามเปนเลิศดานการวิจัย ความเปน เลศิ ดานการจัดการศึกษา ความเปนเลิศดา นการจัดการ ความเปนเลศิ ดานการจดั การ
ส รางส ร ร คป ระ ดิษฐ กรร ม แ ล ะ (Academic Excellence) (Management Excellence) (Management Excellence)
นวัตกรรม(Research, Invention
and Innovation Excellence)
ค วามเปนเลิศ ดานบ ริการ
วิ ช า ก า ร ( Academic Service
Excellence)
17
กรอบในการจดั ทาํ ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนามหาวทิ ยาลยั ระยะ 20 ป
18
อธิการบดีไดมีนําเสนอกรอบในการประชุมบุคลากรของวิทยาเขตปราจีนบุรีและวิทยาเขตระยอง เพ่ือรับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพ่ิมเติม เม่ือวันท่ี 17
มิถนุ ายน 2562 ณ มจพ.วิทยาเขตปราจนี บรุ ี และวันท่ี 19 มถิ ุนายน 2562 ณ มจพ.วทิ ยาเขตระยอง
1) Academic Excellence : ความเปนเลศิ ดา นการจดั การศึกษา
19
2) Research, Invention and Innovation Excellence : ความเปน เลศิ ดา นการวจิ ัย สรางสรรคป ระดษิ ฐกรรมและนวัตกรรม
20
3) Academic Service Excellence: ความเปนเลศิ ดา นบรกิ ารวิชาการ
21
4) Management Excellence : ความเปน เลศิ ดานการจดั การ
22
ขอเสนอแนะจากผทู รงคณุ วุฒิและผูเขา รวมสัมมนา สรุปประเด็นไดดังน้ี
แผนพัฒนาเชงิ พื้นท่ี มจพ.วิทยาเขตปราจนี บรุ ี
- ดานการซอ มบาํ รุงอากาศยาน (Aircraft Maintenance and Service)
- ดานเซรามิก (พนื้ ท่ีสาํ หรบั โรงเตาเผาเซรามิก)
แผนพัฒนาเชิงพน้ื ท่ี มจพ.วิทยาเขตระยอง
- ดาน Bio Technology (สรางกลุม วิจัยเฉพาะทางดานเทคโนโลยชี วี ภาพ)
- ดา น Intelligence Logistic Center (สรา งศนู ยโลจิสติกสอัจฉริยะ)
ขอเสนอแนะอืน่ ๆ
1) มหาวิทยาลัยควรปรับปรุงการบริหารจดั การใหคลองตัวดวยการนําเทคโนโลยีมาใชกับระบบงานตา ง ๆ เชน ระบบการเงิน ระบบบุคลากร ระบบที่เกี่ยวของ
กบั งานวิจัย เปน ตน เพ่อื เปนการประหยดั เวลา ลดภาระงานของบุคลากร และลดการสิ้นเปลอื งทรพั ยากร
2) มหาวิทยาลัยควรมีแนวทางการเขาสูตําแหนงทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการที่เพิ่มดานการสอน นอกเหนือจากการเขาสูตําแหนงทางวิชาการดวย
ผลงานวจิ ยั เพียงอยา งเดยี ว
3) มหาวิทยาลัยควรลดการรับนักศึกษา เพื่อใหไดนักศึกษาใหมที่มีคุณภาพมากขึ้น และควรเนนการจัดการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติในชวง 3 ภาคการศึกษา
สุดทาย ใหเขมขน มากขึน้
4) มหาวิทยาลัยควรสนับสนุนการตั้งกลุมนักวิจัยใหเปนระบบ เชน มีมาตรการกระตุนใหนักวิจัยรวมตัวกันจัดต้ังกลุมวิจัย การสนับสนุนงบประมาณใหกับ
โครงการวิจัยทเี่ กิดจากกลุม นักวจิ ัยภายในมหาวทิ ยาลัย เพอื่ ใหเกดิ ผลงานวจิ ัย และเปน ผลงานวจิ ยั ที่ดําเนนิ การแลว เสร็จตามระยะเวลาทก่ี ําหนด
5) มหาวทิ ยาลยั ตองเนน หนกั ในการประชาสมั พันธภ าพลักษณข องมหาวิทยาลยั ใหเ ปน ที่รจู กั ในวงกวา งมากขนึ้ ดวยวธิ ีการ ดงั น้ี
สรางการรับรูและการจดจํามหาวิทยาลัยดวยการมีตราสัญลักษณ มีช่ือยอ ในรูปแบบไมเปนทางการ สามารถจดจําไดงายเพื่อใชในการประชาสัมพันธ
โดยเฉพาะ และเพ่ือใหตราสัญลักษณ ชื่อยอดังกลาวสามารถปรากฎในสินคาที่ระลึกซ่ึงเปนของใชในชีวิตประจําวันได ท้ังนี้ อาจจําเปนตองวาจาง
ภาคเอกชนทม่ี ปี ระสบการณในการออกแบบตราสนิ คาเพื่อการตลาด มากกวาการจัดประกวดเปน การภายในแลว ไมไ ดน ําผลงานเหลานัน้ มาใช
มีบุคลากรที่ทําหนาทด่ี านการประชาสัมพันธดว ยชอ งทางอนิ เตอรเ นตโดยเฉพาะ โดยตองมคี วามสามารถในการจดั ทําสื่อผสมที่สวยงาม ทันตอเหตกุ ารณ
มีการเก็บขอมูลผูรับบริการและกลุมบุคคลที่คาดวาจะเปนผูรับบริการจากมหาวิทยาลัยในอนาคต และนําขอมูลท่ีไดมาดําเนินการจัดทําสื่อ
ประชาสัมพนั ธทส่ี อดคลองกับพฤตกิ รรมของกลมุ เปา หมาย