The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการสัมมนา การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 620113102039, 2023-01-08 06:17:45

โครงการสัมมนา การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

โครงการสัมมนา การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

โครงการสัมมนา การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ
เร่อื ง การพัฒนาความม่นั ใจในการใชภ้ าษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสารของนกั เรียน

Developing students' self-assurance in using English for communication.
1.หลกั การและเหตผุ ล

ในโลกสงั คมปัจจบุ นั ภาษาองั กฤษเป็นภาษาสากลทีม่ คี วามสำคญั อย่างมากต่อการจดั การเรยี นการ
สอน ซ่ึงในปัจจบุ นั ต่างมุง่ เนน้ เป้าหมายให้ผ้เู รียนไดม้ คี วามรู้ความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษท้ังการฟัง การ
พูด การอ่าน และการเขยี นในระดบั ที่พรอ้ มทีจ่ ะสามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ แต่
ปจั จุบนั นักเรียนไทยยงั มปี ญั หาในการใช้ภาษาอังกฤษอยู่ เนือ่ งจากพนื้ ฐานในการศกึ ษาภาษาอังกฤษของ
ผู้เรียนยงั ไม่ไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพพอ นอกจากนีย้ งั ขาดคณุ ครผู สู้ อนทม่ี คี วามรู้และ
ความสามารถในดา้ นการสอนภาษาอังกฤษและรวมไปถงึ การขาดสอ่ื การสอนท่เี หมาะสม ขาดเทคนคิ การสอน
ที่ใช้ในการจูงใจ ในการเสริมสร้างความม่ันใจในการใชภ้ าษาอังกฤษของนกั เรียน และเนอ่ื งจากตัวนักเรยี น
สว่ นมากเองท่มี องว่ารายวิชาภาษาอังกฤษเป็นวิชาทยี่ ากและไกลตัว มีโอกาสนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั นอ้ ย
และยงั ขาดโอกาสในการฝึกการใช้ภาษาองั กฤษ ทำใหผ้ ู้เรยี นขาดความสนใจในการเรียน เปน็ ผลทำใหน้ ักเรยี น
ปิดโอกาสในการเรียนร้ใู นรายวิชาภาษาองั กฤษของตนเอง และสง่ ผลใหน้ กั เรียนไม่มีความรูใ้ นเนอ้ื หาท่เี รียน ไม่
กล้าตอบคำถามของคณุ ครู ไม่กล้าแสดงออก ไม่ม่นั ใจในตนเองในดา้ นของการสอื่ สารภาษาองั กฤษ เป็นผลทำ
ให้ผู้เรียนไมส่ ามารถส่ือสารภาษาองั กฤษได้เทา่ ที่ควร อีกทงั้ ยงั ทำให้ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผเู้ รยี นตำ่ กว่า
เกณฑม์ าตรฐาน

ความเช่ือมั่นในตนเอง (Self-Confident) คอื ความสามารถของการกลา้ แสดงออกกล้าพูด กลา้ ทำสง่ิ
ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง ทำให้มีความภาคภูมใิ จในตวั เองและมองเหน็ คุณคา่ ของความสามารถของ ตนเองและของ
ผู้อ่ืนและสามารถปรับตัวเข]ากบั ทกุ สถานการณไ์ ด้ (เอกราช จันทร์กรุง, 2554) ซ่ึงความ เช่อื ม่นั ในตนเองยงั ได้
ถูกกล่าวไว้วา่ ความเช่อื มน่ั ในตนเองเป็นกุญแจสำคญั สคู่ วามสำเร็จของบคุ คล ทั้งนี้ความเชือ่ มนั่ ในตนเองคอื
ความภูมใิ จและความมน่ั ใจวา่ ส่ิงทต่ี นเองได้ปฏิบัติไดเ้ รียนร้คู ือส่งิ ท่ี ถกู ตอ้ ง อกี ทัง้ ผูท้ ่ีมคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง
เป็นบุคคลทม่ี ีพลงั เชงิ บวกทจ่ี ะสามารถทำสง่ิ ท่คี ดิ วา่ ตนเองจะ ทำไดอ้ ย่างมั่นใจมากขนึ้ (Roland Benabou &
Jean Tirole, 2001) นอกจากน้คี วามเชอื่ มัน่ ในตนเองยังมีผลต่อการเรยี นร้ทู างภาษาของผูเ้ รียน โดยเฉพาะ

อย่างยิ่งปจั จยั ทางดา้ นจติ ใจท่ีมีสว่ นช่วยสนบั สนนุ การเรียนรภู้ าษา ทำให้ผูเ้ รียนเรยี นรไู้ ด้รวดเรว็ และมี
ประสทิ ธิภาพยิ่งขึน้ ( ชนิตสิรี ศภุ พมิ ล 2545 : 44 )

2.วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพอื่ ศกึ ษาระดับความเช่ือม่ันในตนเองของ นักศกึ ษาครุศาสตร์ สาขาภาษาองั กฤษ กอ่ นเขา้ สู่การ
ฝกึ ประสบการณ์สอน ในด้านความร้คู วามสามารถทางวชิ าการ ด้านความรู้ ความสามารถพื้นฐานทสี่ ง่ ผลต่อ
การทํางาน และด้านคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ

2.2 เพอ่ื สนทนาแลกเปล่ยี นขอ้ มูลเรอื่ งทัศนคติของผู้เรียนต่อการเรยี นรใู้ นรายวชิ าภาษาองั กฤษ
2.3 เพอ่ื หาแนวทางแก้ไขปัญหาด้านทัศนคตใิ นแง่ลบของผู้เรยี นทีม่ ีต่อรายวิชาภาษาอังกฤษ
2.4 เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นมีความมน่ั ใจในการพูดและสามารถพดู สอ่ื สารภาษาอังกฤษในชีวิตประจาํ วันได้
คลอ่ งแคลว่ ย่งิ ขึ้น

3.ระยะเวลา/สถานทด่ี ําเนนิ การ

วันอังคาร ท่ี 9 มกราคม 2566
ณ หอ้ งประชมุ ศิรวิ ชิ ญากรณ์ อาคารศิริวิชญากรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบรุ ีรมั ย์ จงั หวัดบุรรี มั ย์

4.ข้ันตอนการดำเนนิ การ ระยะเวลา ผดู้ ำเนินการ
ลำดบั ขนั้ ตอน ดำเนนิ การ

ขัน้ เตรียมการและวางแผน 18 ตุลาคม 2565 นายธนกร แกว้ บา้ น
1.แตง่ ตั้งคณะกรรมการ เหลา่
01 พฤศจิกายน เบอร์โทร 099 682
2.ประชมุ และเลอื กประเด็นท่สี นใจ 2565 7276

นายธนกร แกว้ บ้านเหลา่
เบอรโ์ ทร 099 682
7276

3.นำเสนอหวั ขอ้ สมั มนา 15 พฤศจิกายน นางสาวคีตยา เนมขนุ
2565 ทด
4.เขียนโครงการเพอื่ ขอนุมัติจัดโครงการสัมมนา เบอรโ์ ทร 093 245
22 พฤศจกิ ายน 4519
5.ตดิ ตอ่ ประสานงานกับวทิ ยากรที่เกี่ยวขอ้ ง 2565
นายภูวดล ทองปล่งั
6.จดั เตรียมข้อมลู รายละเอยี ด/เอกสารประกอบการ 29 พฤศจิกายน เบอรโ์ ทร 099 735
สมั มนา 2565 9007
7.ทำหนังสือเชิญผู้เข้ารว่ มโครงการ
8.จัดเตรียมสถานที่จัดงานสมั มนา 13 ธันวาคม 2565 นางสาวมยรุ ฉัตร ภตู อ้ ม
เบอร์โทร 091 345
ข้ันตอนการดำเนนิ การ 20 ธันวาคม 2565 4815
1.ดำเนนิ การจัดโครงการสัมมนา
ข้นั ตอนตดิ ตามและตรวจสอบขณะดำเนินการ 27 ธนั วาคม 2566 นายภวู ดล ทองปล่ัง
1.จดั ทำและสรปุ แบบประเมนิ เบอรโ์ ทร 099 735
2. ประชุมสรปุ งาน (ถอดบทเรยี น) 9007

นางสาวมยรุ ฉตั ร ภตู อ้ ม
091 345 4815

นางสาวคีตยา เนมขนุ
ทด
093 245 4519

9 มกราคม 2566 นายธนกร แกว้ บา้ นเหลา่
099 682 7276

07 กมุ ภาพันธ์ 2566 นายภวู ดล ทองปลงั่
099 735 9007

31 กมุ ภาพนั ธ์ 2566 นายธนกร แกว้ บา้ นเหลา่
099 682 7276

5.ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ
นักศกึ ษา คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ชน้ั ปที ี่ 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์

จำนวน 56 คน

6.ตัวช้ีวัด

6.1 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการสามารถนำหลักการท่ีได้จากการเขา้ รว่ มโครงการไปใช้พฒั นาการจดั การเรยี นรู้
และนกั เรยี นของตนไดไ้ มต่ ำ่ กว่าร้อยละ80 วัดจากการท่ใี ห้นกั เรียนของผูเ้ ข้ารว่ มทำแบบประเมนิ ทศั นคตติ ่อ
การเรยี นภาษาอังกฤษท้งั pre-test และ post-test

6.2 ผู้เขา้ รว่ มโครงการมแี นวคิดใหก้ ารใหค้ วามสำคญั ตอ่ การพัฒนาทัศนคตติ ่อวิชาภาษาองั กฤษของ
นกั เรยี นของตน

7.งบดำเนินการ

งบประมาณเงินกองทนุ พัฒนาและสง่ เสรมิ กจิ กรรมนกั ศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2565
โครงการตามยธุ ศาสตรร์ ายการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของฝา่ ยบรหิ ารงานนักศึกษาคณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรรี มั ย์

รายการ งบประมาณ ผรู้ ับผิดชอบ
ค่าวิทยากร 4 ชม. 2,400 บาท นายธนกร แกว้ บ้านเหล่า
ค่าอาหารวา่ ง 60 คน 1,200 บาท
ค่าอาหารกลางวนั 60 คน 6,000 บาท นายภูวดล ทองปล่ัง
คา่ เอกสารในโครงการ 4,000 บาท นางสาวคตี ยา เนมขุนทด
ค่าใชจ้ า่ ยอ่นื ๆ 2,500 บาท นางสาวมยรุ ฉตั ร ภตู อ้ ม
รวม นายธนกร แก้วบา้ นเหลา่

16,100บาท

8.ผรู้ ับผดิ ชอบดำเนนิ การ
1. ผ้ชู ว่ ยศาตราจารย์ ดร.นยิ ม อานไมล์
2. นกั ศึกษาช้ันปที 4่ี หมู่2 สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรรี มั ย์

9.ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั

9.1 นกั ศกึ ษาครุศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มรี ะดับความเช่ือมั่นในตนเองก่อนเข้าสู่การฝกึ
ประสบการณส์ อน ในดา้ นความร้คู วามสามารถทางวิชาการ ดา้ นความรู้ ความสามารถพ้นื ฐานทีส่ ่งผลตอ่ การ
ทาํ งาน และดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณในวชิ าชีพในระดบั ผา่ น

9.2 นักศกึ ษาครศุ าสตร์ สาขาภาษาอังกฤษสามารถสนทนาแลกเปล่ียนข้อมูลเรอ่ื งทัศนคตขิ องผูเ้ รียน
ตอ่ การเรยี นรใู้ นรายวชิ าภาษาองั กฤษ

9.3 มีแนวทางแกไ้ ขปัญหาด้านทศั นคตใิ นแงล่ บของผเู้ รียนที่มตี อ่ รายวิชาภาษาอังกฤษ
9.4 ผเู้ รยี นมีความม่ันใจในการพูดและสามารถพดู ส่อื สารภาษาอังกฤษในชีวิตประจาํ วนั ได้ คล่องแคล่ว
ย่งิ ขึ้น

กำหนดการ
โครงการสมั มนา เรอ่ื ง
การพัฒนาความมั่นใจในการเรียนของนกั เรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ
วันท่ี 9 มกราคม 2566
ณ หอ้ งประชมุ ศิรวิ ชิ ญากรณ์ อาคารศริ วิ ชิ ญากรณ์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บุรรี ัมย์ จังหวัดบรุ รี มั ย์

เวลา กจิ กรรม

08.30 - 09.00 ลงทะเบยี นเข้าร่วมโครงการ
น.

09.00-09.30 พธิ ีเปิดโครงการสัมมนา การจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ
น. เรือ่ ง การพฒั นาความม่ันใจในการเรียนของนักเรียนในรายวิชาภาษาองั กฤษ โดย ผู้ชว่ ย
ศาสตราจารย…์ ….

09.30-10.30 การบรรยายเร่อื ง คน้ หาศตั รขู องความมน่ั ใจในตวั เอง….
น. โดย…

10.30-10.45 พกั รับประทานอาหารว่าง
น.

10.45-12.00 กิจกรรม Work shop การสร้าง Hero Self ตวั ตนในอดุ มคติ
น. รายบคุ คลของนกั ศึกษาชั้นปีที่4

12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
น.

13.00-15.30 การบรรยาย จติ วิทยาการนำเสนอเพ่ือผลสำเร็จในงาน
น. โดย……..

15.30-16.00 กล่าวสรุปปิดโครงการสัมมนา เร่อื ง
น. การพัฒนาความมั่นใจในการเรยี นของนักเรยี นในรายวชิ าภาษาอังกฤษ

หมายเหต:ุ กำหนดการอาจมีการปรบั เปลยี่ นตามความเหมาะสม

ความสำคญั ความมนั่ ใจ
ความมนั่ ใจในตนเอง เปน็ สว่ นหนง่ึ ท่ีสำคญั ของความเป็นมนุษย์ท่ีมาจากความรูส้ กึ นึกคิดภายใน เป็นผลท่ีมจี าก
การภาคภูมใิ จและเห็นคณุ คา่ ในตัวเอง ซง่ึ ส่งผลตอ่ การดำเนินชวี ติ และการประสบความสำเร็จของคนได้ เพราะ
ความมั่นใจกค็ ลา้ ยกับความเชือ่ ถ้าหากเราเชอื่ วา่ จะสามารถบรรลุเปา้ หมายท่วี างไว้ได้ เรากจ็ ะมีกำลงั ใจและ
แรงบรรดาลใจทีจ่ ะบรรลุเปา้ หมายได้ แตห่ ากเราไมม่ คี วามมัน่ ใจในตวั เอง ก็จะไม่มแี รงท่ีจะเดนิ ทางไปยงั
เป้าหมายนน้ั ๆ ได้

ความหมายของความเช่อื มั่นหรือความมั่นใจในตนเอง

คำวา่ "ความเชอื่ มั่นในตนเอง” นนั้ ไดม้ ผี ใู้ หค้ วามหมายไว้มากมาย ดงั น้ี
สมิท (Smith, 1961, p. 185) ใหค้ วามหมายของความเชื่อมั่นในตนเองวา่ หมายถึง ความพีงพอใจในตนเอง
ความภาคภมู ิใจในตนเอง หรอื การยอมรบั ตนเอง ความเชื่อม่นั ในตนเอง จะมีในบคุ คลมากน้อยเพยี งใด
สามารถพิจารณาไดจ้ ากความขัดแยง้ ระหว่างคนตาม ภาพ (real self) กบั คนตามปณิธาน (ideal self) ถ้า
ความขัดแยง้ มากจะเป็นเหตทุ ำให้คนมีความรู้สึกว่าไม่มคี า่ ไม่เหมาะสมและไม่พึงพอใจในตนเอง อนั หมายถงึ
ขาดความเชอื่ มน่ั ในตนเอง เกิดความวิตกกังวล ขาดความอบอ่นุ และชอบพ่ึงพาผูอ้ ่ืน

ไซมอน (Symond, 1964, pp. 85-89) ไดก้ ล่าวถึงความเชอ่ื ม่นั ในตนเองพอสรปุ ได้ว่า บคุ คลทีม่ คี วามเชื่อมนั่
ในตนเองจะไม่ยอมจำนนตอ่ 1 ในเชิงทเี ดียว งาน บาคา และไมแ่ นใ่ จในตนเอง ซ่งึ จะใช้เวลาส่วนใหญไ่ ปในทาง
นักวาดภาพในส่งิ ทีต่ นตอ้ งการหรอื ปรารถนา ไม่ทำสิ่งใดตามลำดับขั้นแห่งความเปน็ จริง เนือ่ งจากเกดิ ความ
กลัวและหวนั่ วิตกจนกลาย เป็นคนไมก่ ล้าทำอะไรเลย ฉะนั้นความเช่อื มัน่ ในตนเองซึ่งเกดิ ขึ้นได้ด้วย
องค์ประกอบ 4 อย่าง ดงั นี้
1. ทราบในส่งิ ทตี่ นต้องการ
2. คิดในสงิ่ ท่ีตนเห็นว่าจะกระทำสำเรจ็
3. สามารถตัดสนิ ใจได้
4. ลงมอื กระทำจรงิ ๆ กบั สิง่ ที่ตนตัดสินใจแล้ว

สว่ นปจั จยั ทท่ี ำใหค้ นเราขาดความเช่อื มน่ั ในตนเองคอื
1. ขาดความรู้
2. ขาดความกลา้ หาญ
3. ความเกยี จครา้ น

ทักษะการสอื่ สาร

การฟัง(Listening)
ทักษะการคาดเดานั้นเป็นทักษะท่ีสำคัญในการฟงั ในทกุ วนั น้ี สถานการณ์ ผูพ้ ูดและเบาะแสลว้ นช่วยทำใหเ้ รา
ตีความสารทีถ่ กู พูดออกมา การเน้นให้ผู้เรียนฟังเสยี งของภาษานน้ั โดยเฉพาะสามารถเพ่ิมทักษะการฟังได้
วธิ ีการทท่ี ำให้ผ้เู รยี นไดฝ้ ึกฝนการฟงั คอื ใหพ้ ยายามทำความเขา้ ใจคำพูดของคนท่มี ที ่มี าหลากหลาย การฟังท่ี
เข้มข้นน้ีจะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ข้าใจสำเนยี งทใี่ ชแ้ ละการออกเสียงทถี่ กู ต้องไดด้ กี วา่

การพูด(Speaking)
ภาษานน้ั เปน็ เครอ่ื งมอื สำหรบั การส่อื สาร พวกเราสอื่ สารกับผอู้ น่ื เพอ่ื แสดงความคิดและเรยี นรู้ความคดิ ของ
ผู้อื่นเช่นเดยี วกัน วธิ ีการพูดและการท่องจำภาษาองั กฤษในโรงเรยี นประถมหลักๆ แลว้ จะเน้นอยู่ที่เสยี ง เสียง
สมั ผสั และวรรณยกุ ต์ ทักษะน้ีสามารถพัฒนาไดโ้ ดยการทำความเข้าใจลกั ษณะของปริภาษา (para-linguistic
attribute) เชน่ คณุ ภาพของเสยี ง ระดบั ความดังของเสียง นำ้ เสยี ง การปรับเสียง การออกสำเนียง การออก
เสยี ง เปน็ ตน้ ทกั ษะนี้สามารถพัฒนามากข้นึ ได้จากตัวช่วยของการอภปิ รายและการสนทนา

การอ่าน(Reading)
การอา่ นน้นั ช่วยใหค้ ณุ ได้พฒั นาภาษาอังกฤษในทุกๆ ดา้ น กลา่ วคอื คำศพั ท์ การสะกด ไวยากรณแ์ ละการ
เขยี น สิ่งเหล่านจี้ ะช่วยคณุ พัฒนาไหวพริบในการสร้างโครงสร้างภาษาทถี่ ูกต้องได้ จากนน้ั สมองของคุณจะคนุ้
ชนิ กบั มนั และสร้างประโยคทค่ี ลา้ ยๆ กันออกมาใช้ การใชเ้ ทคนิคการอ่านแบบสกิมม่งิ (Skimming) และ การ
อ่านแบบสแกนนิ่ง (Scanning) นน้ั เปน็ การอา่ นอยา่ งรวดเรว็ ซงึ มปี ระโยชนอ์ ยา่ งมาก ในขณะท่ีอา่ นอยกู่ ารขดี
เสน้ ใตเ้ นน้ คำไปด้วยก็ถือวา่ เป็นส่งิ ท่สี ำคญั ทกั ษะการอา่ นน้นี ้ันสามารถช่วยใหผ้ ู้เรียนจบั เน้ือหาและขอ้ สรุปได้
ผู้เรียนสามารถเรยี นรศู้ พั ทเ์ ทคนิคเฉพาะและคำศัพท์ใหมๆ่ ได้จากการอ่านหนงั สอื พิมพ์ บทความ หนังสือและ
นิตยสาร เปน็ ตน้

การเขยี น(Writing)
การเขียนทำใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ ห็นหลกั ฐานของความสำเร็จท่เี ป็นรูปประธรรมและพวกเขายงั สามารถวดั ความพฒั นา
ของพวกเขาไดอ้ ีกด้วย ทกั ษะน้ชี ่วยใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรู้คำศพั ท์ โครงสรา้ งและส่วนเตมิ เตม็ มากย่งิ ขน้ึ การที่
เขียนท่ไี ร้ทต่ี นิ นั้ ผู้เรียนต้องมีทักษะการเขียนทีด่ ีและวิธีการเขยี นที่หลากหลาย การเขยี นที่สรา้ งสรรคแ์ ละมี
องคป์ ระกอบนัน้ ถือว่ามีความสำคญั มาก ส่ิงทผ่ี ู้เรยี นควรเนน้ เมื่อจะเรมิ่ เขยี นคือความสอดคลอ้ งและความ
ตอ่ เนือ่ งกันดว้ ยการมี 4 ทกั ษะภาษาองั กฤษที่กล่าวมาแลว้ ข้างต้นผเู้ รยี นสามารถมนั่ ใจได้เลยวา่ จะมที ักษะการ
สื่อสารท่ีดขี ึน้ ซง่ึ เป็นส่ิงทีจ่ ำเป็นมากในโลกแห่งแขง่ ขันนี้

ประเดน็ ปญั หาการขาดความม่ันใจในการใชภ้ าษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สารของนกั เรียน

ปัจจัยภายใน

เจตคติของนกั เรยี นตอ่ ภาษาองั กฤษ
เจตคติ คอื ความคิด ความรสู้ กึ ความเขา้ ใจของบคุ คล บคุ คลหน่งึ มีตอ่ สิง่ ใดๆ โดยเปน็ ความรู้สกึ ทม่ี า

จากประสบการณท์ ่เี คยเจอมาไมว่ า่ เป็นการเจอมากับตัว หรอื ถกู เลา่ ตอ่ กนั มาก็ตาม โดยความรูส้ กึ น้ันจะถกู
ถ่ายทอดออกมาในรูกแบบของความรสู้ ึก ชอบ หรือไมช่ อบ โดยทเี่ จตคตนิ ้นั มีองคป์ ระกอบอยู่ 3 องค์ประกอบ
คอื 1) การรู้ เป็นการรับรู้ หรอื เขา้ ใจวา่ สงิ่ ๆนัน้ ดหี รือไมด่ ี 2) ความรู้สกึ เป็นการมองสิง่ ๆหนึ่งด้วยความรูส้ ึก
ชอบหรือไมช่ อบ มคี วามเตม็ ใจท่จี ะทำตาม หรอื เชื่อสิง่ ๆนน้ั หรือไม่ และ 3) แนวโนม้ พฤติกรรม เปน็ ความ
พร้อมทจ่ี ะปฏบิ ตั คิ วาม หลกั การ ความเชือ่ นนั้ ๆดว้ ยความเตม็ ใจหรอื ไม่ การด์ เนอรก์ ลา่ ววา่ เจตคติของผเู้ รยี น
มตี อ่ เป็นแรงจูงใจทม่ี ผี ลตอ่ ความสำเรจ็ ในการเรียนภาษาตา่ งประเทศ เนือ่ งจากเจตคติของผูเ้ รียนมีสว่ น
ความสมั พันธ์กับสง่ิ ตา่ ง ๆ เชน่ ความคิด สติปัญญา อารมณ์ ความรสู้ ึก และสังคมคนรอบข้าง ดงั น้นั ปจั จัย
ดา้ นทศั นคตจิ งึ เป็นส่วนหน่ึงทส่ี ำคญั ต่อผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนร้ภู าษาของผู้เรียน นอกจากนพี้ ฤติกรรมของ
ผูเ้ รียนเป็นอกี ปจั จัยหน่ึงที่มอี ทิ ธิพลตอ่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนภาษา

โดยนักเรียนไทยสว่ นมากนั้นมีคา่ การประเมนิ เจตคตทิ ี่มตี อ่ วิชาภาษาองั กฤษอยู่ในระดับทีด่ ี แต่
ผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษาทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ในรายวิชา
ภาษาอังกฤษ พ.ศ.2563 นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวน 365,170 คน คะแนนเฉล่ียอยทู่ ี่ 29.94 คะแนน
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จำนวน 352,119 คน คะแนนเฉลีย่ 34.38 คะแนน และ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 จำนวน
495,217 คน ซึง่ มคี ะแนนทต่ี ่ำกว่าเกณฑ์ ในทกุ ระดบั ชั้น และไมส่ อดคลอ้ งกับแบบประเมินเจตคติ นนั้
หมายความว่า นักเรียนส่วนใหญน่ ้นั รับรู้ถงึ ความสำคญั ของภาษาอังกฤษ แต่ไม่มคี วามรสู้ กึ ชอบท่จี ะเรยี นรู้ อาจ
เป็นเพราะมองว่าวิชาภาษาองั กฤษนัน้ ยาก เปน็ เรือ่ งไกลตวั และไมม่ ีแนวโนม้ พฤติกรรมทีจ่ ะเรียนรู้หรอื พฒั นา
ทกั ษะวิชาภาษาอังกฤษ อา้ งอิงตามการด์ เนอร์ นน้ั หมายความวา่ นักเรยี นไทยส่วนมากขาดเจตคติท่ีเป็น
แรงจงู ใจในการศึกษาและใชภ้ าษา เป็นผลทำให้ผูเ้ รยี นไมส่ ามรถเรยี นรู้ และตอ่ ยอดไปเป็นการใชภ้ าษาเพื่อการ
สื่อสารได้

ขาดองคค์ วามรู้ทม่ี ากพอในการนำไปใช้
อ้างองิ จากคะแนนแบบทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ท่ีกล่าวไปขา้ งต้น

นกั เรยี นไทยสว่ นใหญม่ อี งคค์ วามรใู้ นรายวชิ าภาษาองั กฤษตำ่ กวา่ เกณฑ์ ความรพู้ น้ื ฐานเปน็ ปจั จยั สำคญั ทจ่ี ะ
สร้าง และพฒั นาความสามารถในการส่อื สารภาษาอังกฤษ เพอื่ การสื่อสารของผเู้ รยี น ดงั นั้น ถา้ ตัวผูเ้ รียน มี
ความรูแ้ ละความสามารถทางด้านภาษาที่จำกัด จะก่อให้เกิดเป็นอปุ สรรคในการส่ือสารภาษาอังกฤษ
ตัวอย่างเชน่ การขาดความมน่ั ใจในตนเอง เพราะ มีปัญหาด้านการใช้คำศัพท์ การออกเสียง การใช้ไวยากรณ์
และการเรียงประโยค

ความกลัว ความวิตกกงั วลตอ่ การสื่อสารดว้ ยภาษาอังกฤษ
ความกลัว คอื การตอบสนองตอ่ ส่ิงทม่ี าคกุ คามหรอื เปน็ อันตราย ทัง้ ที่มีอยจู ริงและไม่มอี ยจู รงิ เป็น

ปฏกิ ริ ยิ าทต่ี อบสนองต่ออนั ตรายทบี่ คคลนน้ั ๆ ประเมนิ แล้ววา่ ตนเองมคี วามสามารถน้อยกว่าสิ่งนน้ั
ความวิตกกงั วล หมายถึง อารมณช์ นดิ หนึง่ ทีเ่ กดิ จากความกลัว และความไม่มน่ั ใจในตนเองซ่ึงถอื ว่า

เป็นสาเหตสุ ำคัญท่ีทำาใหเ้ กดิ อปุ สรรคต่อการสอ่ื สารความวติ กกงั วลมสี ว่ นทำให้ ผู้เรียนไม่ประสบความสำเรจ็
ในการเรยี น เน่ืองจากความกังวลมคี วามสัมพันธ์กับความเครียด โดยผเู้ รยี นเกิดความเครยี ดในขณะทีใ่ นขณะ
เรียนย่อมสง่ ผลเสียตอ่ การเรียนรู้ โดยเฉพาะถ้าผูเ้ รียนนน้ั มคี วามสามารถในการสอ่ื สารอยู่อย่างจำกัด กย็ ่ิงจะ
ทำให้ผูเ้ รียนมีความวิตก กงั วลต่อการเรียนสูงตามไปด้วยซง่ึ ทำให้ผเู้ รยี นเกิดความรู้สกึ ย่งุ ยากในการเรยี นรู้ จน
นำมาสู่ความท้อแทใ้ นการเรียนรภู้ าษาท่ีสอง หรอื ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในทกั ษะการพดู เพราะ
ความวติ กกงั วลนั้นจะกอ่ ให้เกดิ ความกลัวท่จี ะตดิ ตอ่ การส่ือสารกบั บุคคลอน่ื ดว้ ยภาษาตา่ งประเทศ

โดยท่ีความกลวั และความวติ กกงั วลทม่ี ผี ลกบั ในนักเรียนขาดความมน่ั ใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษนน้ั
มอี ยู่หลายปัจจยั : กลวั ว่าจะพูดผิด กลวั ว่าจะออกเสียงผดิ กลัววา่ จะลมื สงิ่ ที่ตอ้ งการจะดชพดู กลัวทีจ่ ะถูกต่อ
ว่า
ขาดโอกาสในการเรยี นรู้ และใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร

นกั เรยี นไทยสว่ นใหญน่ ้ันมโี อกาสในการเสรมิ สรา้ งประสบการณใ์ นดา้ นภาษาองั กฤษทน่ี อ้ ยมาก ไมว่ า่
จะเปน็ เรือ่ งวธิ ีการสอนที่ไม่เออื่ ให้นักเรยี นมปี ระสบการณ์โดยตรง เพราะครชู าวต่างชาติทีใ่ ช้ภาษาองั กฤษใน
การสอ่ื สารหลกั เองกไ็ ม่เพยี งตอ่ ทีจ่ ะรองรับนักเรยี น และครสู ่วนใหญเ่ องก็ไม่ได้ใชภ้ าษอังกฤษส่อื สารกับ
นกั เรยี นใหม้ ากพอ อกี ทง้ั นอกหอ้ งเรยี นนกั เรยี นเองกไ็ มไ่ ด้พยายามพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาองั กฤษของ
ตนเอง ทำให้นักเรยี นขาดประสบการณก์ ารใช้งานภาษาองั กฤษไป การ์ดเนอร์กล่าววา่ โอกาสในการเรยี นรู้เป็น
สงิ่ ทส่ี ำคญั อยา่ งยง่ิ สำหรบั การเรียนรูภ้ าษา โอกาสด้งกล่าวคอื โอกาสในการไดใ้ ชภ้ าษาเปา้ หมายในสถานการณ์
จริงๆ ดังนั้น การพดํ คุย กับชาวตา่ งชาติ การได้รบั ความประสบการณจ์ รงิ นอกหอ้ งเรียน โอกาสเหล่านี้จะช่วย
ใหผ้ ู้เรียนมคี วามสามารถทางภาษาที่ดขี ้ึน ดงั น้นั นกั เรียนไทยท่ีขาดประสบการณก์ ารใช้ภาษาองั กฤษเพ่อื สาร
ส่ือสารจริง จึงขาดความสามารถทางด้านภาษาในหลายๆด้าน

ปัจจัยภายนอก
ครผู สู้ อน
ปัจจัยสำคัญทที่ ำให้การเรียนการสอนภาษาองั กฤษไมป่ ระสบผลสําเรจ็ คือ ครผู ้สู อน ทั้งนเี้ พราะว่าครูผสู้ อน
สว่ นใหญม่ กั จะเปน็ ครูประจําชน้ั ทไ่ี ม่มีวุฒกิ ารศกึ ษาทางด้านภาษาองั กฤษ ขาดความแมน่ ยําในเน้ือหาทาํ ให้ไม่
กลา้ ท่จี ะสอน ขาดความมน่ั ใจ ไม่มคี วามรู้ภาษาอังกฤษพน้ื ฐานทมี่ ่ันคง ครูขาดความชํานาญ โดยเฉพาะการ
สอนใหน้ กั เรียนพดู และไมม่ วี ิธกี ารสอนทจ่ี ูงใจให้นักเรยี นเห็นความสําคัญของการเรยี นภาษาอังกฤษ ทาํ ให
นกั เรยี นเกดิ ความเบอ่ื หนา่ ย ขาดความสนใจ และขาดแรงจงใจในการเรยี น ไมเ่ หน็ ประโยชนข์ องการเรยี น
ภาษาอังกฤษ

ปจั จัยด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนและปจั จยั ด้านพฤตกิ รรมการสอน
ในด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน จอห์นสนั และมอรโ์ รว์ ได้ให้หลักใน การสอนภาษาเพอ่ื การ

สอ่ื สารไวค้ ือ 1) ผเู้ รยี นควรไดร้ ับการ ฝึกฝนความรคู้ วามสามารถในการสอ่ื สารตั้งแต่เริ่มตน้ เรยี น 2) จดั การ
เรียนการสอนแบบบรู ณาการหรอื ทกั ษะสมั พันธ์ (Integrated skills) 3) ฝึกสมรรถวสิ ัยดา้ นการส่อื สาร
(Communicative competence) คือ ตอ้ งให้ผเู้ รียนทำกจิ กรรม การใชภ้ าษาท่ีมลี กั ษณะเหมือนใน
ชวี ติ ประจำวนั มากทสี่ ดุ เพื่อ ใหผ้ ู้เรยี นนำไปใช้ไดจ้ รงิ 4) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนให้ผู้ เรียนไดใ้ ช้ความรู้
รวมทง้ั ได้รบั ประสบการณ์ทต่ี รงกบั ความ ต้องการของผ้เู รยี นอยา่ งแทจ้ ริง 5)ฝึกใหผ้ ู้เรยี นเคยชินกบั การ ใช้
ภาษาโดยไม่กลวั ผิดและใหส้ อ่ื สารไดค้ ลอ่ ง เนน้ การใชภ้ าษา ตามสถานการณ์มากกวา่ การใช้ แต่รู้แบบการสอน
ภาษาทเ่ี ป็นทน่ี ิยมในชว่ งหลายปที ีผ่ า่ นมาคอื รปู แบบ Grammar–translation Method (GTM) เปน็ การสอน
ที่เนน้ การพัฒนาทักษะด้านการอา่ น ด้านการเขยี น รวมถึงดา้ นหลกั ไวยกรณไ์ ปพร้อม ๆ กัน โดยลกั ษณะการ
สอนแบบนี้จะมีคณุ ครเู ป็นศนู ยก์ ลางในการควบคุมการเรยี นการสอน อย่างการอธบิ ายกฎเกณฑต์ ่าง ๆ ของการ
ใชภ้ าษา สอนคำศพั ท์หลาย ๆ คำ พรอ้ มคำแปล รวมถงึ คำอ่าน ใหท้ ำแบบฝึกหัดที่สอดคลอ้ งกับไวยกรณ์ ซึง่ จะ
เหน็ ไดว้ ่าการสอนเช่นนอี้ าจจะไม่ไดช้ ่วยใหผ้ เู้ รียนมพี ฒั นาการด้านภาษาท่ีดีมากนัก เพราะเสมอื นเปน็ การฟัง
และจดจำตามท่ีคณุ ครบู อก แตต่ วั ผเู้ รยี นเองจะสามารถเข้าใจหลกั การทางภาษาไดอ้ ยา่ งดี รวมถงึ สามารถแปล
ความหมายของคำศพั ท์ต่าง ๆ ได้น่ันเอง

ดว้ ยวิธกี ารสอนภาษาแบบเก่าน้นั ไมเ่ หมาะกับความต้องการในปัจจบุ ัน ในยุคทภี่ าษาองั กฤษเขา้ มามี
บทบาทในชีวติ ประจำวนั มากข้นึ ทำให้นักเรยี นตอ้ งเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใชภ้ าษาองั กฤษทเ่ี นน้ การอ่าน ไป
เปน็ การสือ่ สารทุกๆด้านคือ ฟงั พดู อ่าน เขยี น ทำให้นักเรียนนนั้ ขาดทักษะและความมัน่ ใจในการสอ่ื สาร
เพราะขาดตัวอย่าง และประสบการณ์ในการใชจ้ รงิ

ปัจจัยด้านแรงจูงใจ
แรงจงู ใจ คอื สภาวะทอ่ี ยูภ่ ายในตัวทเี่ ปน็ พลัง ทำใหร้ า่ งกายมีการเคลอื่ นไหวไปในทิศทาง ทมี่ ี

เปา้ หมาย ท่ไี ดเ้ ลอื กไว้แล้ว และเป็นกุญแจสำคญั ทีส่ ร้างความสําเรจ็ ในการเรียนภาษา เพราะแรงจูงใจมอี ทิ ธพิ ล
ตอ่ การสร้างแรงบนั ดาลใจในการบรรลุผลสาํ เร็จ โดยแจงจงู ใจหลกั ๆทส่ี ามารถถกู กระต้นุ โดยปจั จัยภายนอก
ดังนี้ ตามทฤษฎขี องสพอลดิงแรงจงู ใจภายนอก (extrinsic motivation) เป็นส่งิ กระตนุ้ ที่มาจากภายนอกตวั
บุคคลทีท่ ำให้ เกิดการตดั สินใจกระทำหรือแสดงพฤตกิ รรมบางอย่าง และอาจทำใหไ้ ด้มาซ่งึ รางวัล คำชมเชย
เกียรตยิ ศ ชอ่ื เสียง รายได้การยกยอ่ ง หรือหลีกเลี่ยงการได้รบั โทษ แตเ่ พราะสงั คมไทยเป็นสังคมที่ให้
ความสำคัญกบั การศกึ ษาวิชาการคำนวณทางกว่าวิชาทางภาษา ทำให้แรงจูงใจจากคนรอบขา้ ง ไม่วา่ จะเป็น
เพ่อื น หรือครอบครวั ทีม่ ีต่อผู้เรียนภาษาองั กฤษไมม่ ากพอทจ่ี ะกระตนุ้ ความต้องการที่จะพัฒนาทักษะ
ภาษาองั กฤษได้ และ ตามทฤษฎีของการด์ เนอร์ แรงจงู ใจเชงิ เครอ่ื งมอื (instrumental motivation) คือ
การที่บุคคลมคี วามประสงคจ์ ะเรยี น ภาษาเพ่ือนําไปใช้ประโยชนใ์ นลกั ษณะทจ่ี บั ต้องได้ โดยใช้ภาษาเปน็
เคร่ืองมอื เพอ่ื ประโยชนข์ องตนในอนาคต โดยทีป่ จั จัยประเภทนจ้ี ะเปลยี่ นแปลงไปตามความตอ้ งการของสงั คม
เช่น ในสมัยเกา่ ท่ีภาษาองั กฤษไม่มบี ทบาทในชวี ติ ของผ้คู นมากนัก ผูค้ นส่วนมากก็ไม่สนใจท่จี ะเรยี น
ภาษาอังกฤษ แต่ผดิ กบั ปัจจบุ นั ท่ภี าษาอังกฤษน้ันมอี ยทู่ กุ หนทุกอย่าง ทำให้ผ้เู รียนทม่ี ที กั ษะการส่ือสาร
ภาษาอังกฤษทีด่ ีกวา่ น้ันไดเ้ ปรยี บผ้อู ืน่ ในหลายๆดา้ น เช่น ดา้ นการทำงาน ด้านการศกึ ษา ดา้ นการท่องเทยี่ ว

การพฒั นาความมั่นใจในการใช้ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สารของนกั เรียน

เทคนิคและวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาการขาดความม่ันใจในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารของนกั เรยี น
15 เทคนคิ เสรมิ สร้างความมนั่ ใจใหต้ วั เอง
1. คน้ หาด้านดขี องตวั เอง
อนั ดับแรกเลยคือเราต้องมองดตู ัวเองกอ่ นเป็นอันดบั แรก วา่ ดา้ นดขี องเราคืออะไร เรามีจุดแข็งตรงไหน เม่ือ
หาเจอแล้ว ก็ควรนำจุดนม้ี าย้ำกับตัวเองไวเ้ สมอ วา่ เรามีดีนะ เราไม่ไดด้ อ้ ยคา่ ไปกวา่ คนอืน่ จากนัน้ ก็คอ่ ยนำ
ขอ้ ดขี องตัวเองเหล่าน้ี มาปรบั เขา้ กบั การทำงานให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ อกี ท้ังถา้ เรารบั รวู้ า่ ตวั เองมดี ี ก็จะช่วย
เป็นแรงผลักดนั ใหเ้ รามีความกระตือรือร้นในการทำงานมากข้นึ อกี ดว้ ย
2. สนใจในเรอื่ งราวดา้ นบวก มากกว่าด้านลบ
เรือ่ งเหล่านี้ ขอบอกเลยว่ามผี ลเป็นอยา่ งมาก เรมิ่ ต้นกนั กอ่ นทีต่ วั เอง ด้วยการพยายามสนใจแต่เร่อื งท่เี ปน็ บวก
อยา่ สนใจในเรอ่ื งแยๆ่ หรอื เรอ่ื งทเ่ี ปน็ ด้านลบมากจนเกินไป รวมไปถงึ การพาตวั เองไปอยู่ในสงั คมหรืออยู่ใกล้
คนรอบข้างท่ีมีแตเ่ รอ่ื งบวกๆ ดว้ ยล่ะ เพราะถ้าเราอยู่ในสภาพแวดลอ้ มท่ีมแี ตเ่ ร่อื งบวกๆ กจ็ ะชว่ ยสง่ ผลให้
จติ ใจเราสดใส ทำใหเ้ ราอยากทำอะไรมากขนึ้ จนก่อใหเ้ กดิ ความมั่นใจข้นึ มาได้งา่ ยๆ
หากลองมองกลบั กนั ว่า ถ้าวันๆ เราเสพแตเ่ ร่ืองลบๆ อยใู่ นสงั คมทม่ี แี ต่คำกน่ ดา่ อยู่ใกล้คนรอบตัวทม่ี ีแต่เรื่อง
Toxic บอกเลยวา่ ส่งิ เหลา่ นี้จะส่งผลต่อสภาพจติ ใจของเรา 100% เตม็ ๆ แบบไมม่ ีหัก ลองคดิ งา่ ยๆ วา่ ถา้ วัน
นัน้ คุณรู้สึกดาวน์ๆ ไมม่ ่นั ใจในตวั เอง แลว้ ดันเผลอไปเจอพลังงานลบเสริมเข้าไปอกี รบั รองเลยว่ามแี ตค่ ำวา่ พัง
แบบหลกี เลย่ี งไม่ได้
แต่ถ้าวนั นน้ั เราดนั รสู้ กึ ดาวน์ แตโ่ ชคดเี จอพลงั งานบวกเขา้ ไป สิง่ เหลา่ นน้ี แ่ี หละ ทจ่ี ะชว่ ยเปลย่ี นความดาวนใ์ ห้
กลายเปน็ พลังงานแหง่ ความสขุ ขึ้นมาได้
3. ทำในส่งิ ทเ่ี ชอื่ เชอ่ื ในสิง่ ที่ทำ
หากคิดจะลงมอื ทำอะไรสักอย่างแล้ว อยา่ ได้ลงั เล จงเชือ่ ในสง่ิ ทีเ่ ราตดั สนิ ใจเสมอ ว่าสิ่งนน้ั จะตอ้ งออกมาดี แต่
วงเล็บไวน้ ิดหนึง่ นะว่า ก่อนจะทำอะไรสักอย่าง จะตอ้ งผ่านกระบวนการคดิ ใหถ้ ถ่ี ว้ นเสยี ก่อน เพราะถ้าเราคดิ
มาดีแลว้ หากส่ิงท่ที ำดนั เกดิ ผดิ พลาดจริงๆ ก็ไมม่ ีอะไรต้องเสยี ใจ เพราะเรามั่นใจในส่งิ ท่ีทำอย่างท่สี ดุ แลว้
4. เลกิ ใส่ใจคำพูดของคนอนื่
การรบั ฟงั ความเหน็ ของคนอืน่ จริงๆ แลว้ เป็นสิง่ ท่ดี ี หากคำพดู นน้ั เป็นสงิ่ ที่มเี หตผุ ล เพราะคำพูดเหลา่ นั้นจะ
กลายเป็นคำแนะนำ ใหเ้ รานำไปปรับปรงุ และพัฒนาตวั เองได้ แตบ่ างคร้ังในบางคำพูดจากคนอื่น กไ็ ม่ไดเ้ ป็น
คำพูดทีม่ ปี ระโยชน์เสมอไป เพราะฉะน้ันเราควรไตร่ตรองเสมอ วา่ คำวิจารณจ์ ากคนอืน่ ทีเ่ ราได้รับมีประโยชน์
กบั ตวั เรามากน้อยแค่ไหน หากวา่ คำพดู นน้ั ดูไร้สาระจนเกนิ ไป ก้ไม่ควรเก็บมาคดิ มาก จนก่อใหเ้ กดิ ความไม่
มนั่ ใจในตัวเรา
อีกอย่างคอื ลองเลกิ ทำอะไรตามความคาดหวงั ของคนอน่ื หรือคิดวา่ ทำส่งิ น้ันๆ แล้ว จะไมถ่ กู ใจคนบางกลุ่ม
หรือกลัวว่าเขาเหลา่ นั้นจะมองเราในแงล่ บหรอื คิดไมด่ ีกับเรา แต่ใหค้ ดิ ไวเ้ สมอว่าเราไมส่ ามารถทำให้ทุกคน
พอใจในสงิ่ ท่เี ราทำได้

5. ยนิ ดกี ับความสำเร็จที่ผ่านมา
หากเราทำงานชิน้ ไหนแลว้ ประสบความสำเรจ็ ไมว่ ่าผลงานชิ้นน้นั จะเล็กหรอื ใหญก่ ต็ าม ควรยนิ ดีกับ
ความสำเรจ็ นั้นๆ และขอบคณุ ตัวเองเสมอ เพราะทุกกา้ วๆ ในการเดินทางล้วนเปน็ สิง่ ทนี่ ่าจดจำและน่ายินดี
ด้วยกันท้งั ส้นิ หากวนั ไหนที่เจออปุ สรรค ให้นำความสำเรจ็ ท่ีผา่ นมา กลบั มาเปน็ เครือ่ งเตอื นใจวา่ เราเคยทำงาน
ชิน้ นีไ้ ปถึงเป้าหมายได้ จะช่วยเสริมความม่นั ใจกับงานท่ชี นิ้ ทยี่ ากกวา่ วา่ เรากจ็ ะผ่านมันไปได้เช่นเดียวกนั
6. นำความลม้ เหลวมาเปน็ บทเรียน
แต่หากสุดทา้ ยแล้วงานชนิ้ นนั้ ยากเกนิ ความสามารถจนเกนิ ไป แล้วสุดทา้ ยผลออกมาไม่เป็นดงั คาด กไ็ มค่ วรที่
ตอ้ งเสยี ใจเช่นเดยี วกัน แต่ใหน้ ำความล้มเหลวกลับมาเปน็ บทเรยี น ไมน่ ำความล้มเหลวมาบนั่ ทอนจิตใจตวั เอง
จนเสยี ความม่ันใจ แตใ่ หค้ ิดซะว่านี่คือบทเรยี นใหเ้ ราพฒั นาตัวเอง และพรอ้ มตอ่ สกู้ ับความทา้ ทายใหม่ๆ ที่
กำลังจะเข้ามาเสมอ ใหท้ อ่ งไว้ในใจตลอดวา่ ไมใ่ ครจะพบกบั คำว่าชยั ชนะหรอื ประสบความสำเร็จไปไดใ้ นทุกๆ
เรอื่ ง
7. อย่ใู นโลกโซเชียลใหน้ อ้ ยลง อยใู่ นโลกความจริงใหม้ ากขึน้
จริงอยทู่ ย่ี คุ สมัยสมัยนคี้ อื ยคุ แห่งโลกโซเชยี ล ทกุ คนใหค้ วามสนใจและอยู่กับออนไลนม์ ากขึน้ แตโ่ ลกโซเชยี ล
มกั เป็นดาบสองคม และมีตัวอย่างมาใหเ้ ราเห็นอย่างตอ่ เนื่องแล้ววา่ โลกโซเชียลไมไ่ ดม้ แี ต่ด้านดีเสมอไป
เพราะฉะนัน้ ควรเสพเรอ่ื งราวในโลกโซเชยี ลแต่พอเหมาะ หากพบเจอเรอ่ื งราวดๆี ก็ใหน้ ำเก็บไว้เพ่อื เสรมิ สรา้ ง
ความม่นั ใจ แต่หากพลงั งานด้านลบ ใหร้ บี มองข้ามหรอื ลองกด Hide เรอ่ื งนน้ั หรือความคดิ ลบๆ จากบคุ คลน้นั
ออกไปจากหน้า News Feed ของเราบา้ งกไ็ ด้
หรอื อกี วิธหี น่งึ ก็คือลองหกั ดิบเลกิ เขา้ สูโ่ ลกโซเชยี ล แลว้ หันมาสโู่ ลกแห่งความเป็นจรงิ ออกมาใชช้ วี ติ ไปกิน
อาหารอรอ่ ย ไปเทย่ี วทีส่ วยๆ ไปเที่ยวกับเพอ่ื นท่พี ร้อมใหพ้ ลังงานบวก รับรองว่าจะชว่ ยเติมเตม็ พลงั ใจใหค้ ณุ
ไดอ้ ีกมากเลยละ่
8. หาแรงบนั ดาลใจใหมๆ่
เมอ่ื ออกจากโลกโซเชียล แล้วก้าวสูช่ วี ิตจริง หากมีโอกาสได้ไปเท่ยี วตามสถานท่ีตา่ งๆ หรอื พบเจอคนใหมๆ่ ก็
อย่าลืมเกบ็ เกยี่ วแรงบันดาลใจเหล่าน้ัน นำมาปรับใช้กบั ชีวิตการทำงาน ไม่แน่วา่ การทเ่ี ราไดก้ บั พบคอนเนคชัน
ใหมท่ ่ีเปีย่ มไปดว้ ยพลงั บวก เราอาจได้ขอ้ คิดหรือแนวคิดของเขามาเปน็ แรงบันดาลใจในการใช้ชีวติ ของเราก็
เป็นได้
9. ปรับบุคลิกภาพ
เรือ่ งของบคลิกภาพก็มีผลไม่น้อย ลองปรบั เปลยี่ นวธิ ีการนงั่ เดนิ ยืน พดู ตลอดไปจนถงึ การเจรจางานกบั
บคุ คลตา่ งๆ ในบรษิ ทั และอย่าลืมใสร่ อยยมิ้ และความมั่นใจลงไปในทกุ ทว่ งท่า นอกจากจะชว่ ยเสริมบุคลิกภาพ
และความเปน็ Professional ของเราแล้ว แนน่ อนวา่ เราจะได้มีความม่นั ใจในตวั เองขนึ้ อกี มากเลยทีเดียว

10. กล้าออกจาก Comfort Zone
บางคนมกั จะตดิ อย่กู ับความเคยชิน ทำอะไรเดมิ ๆ ซำ้ ๆ จนกลายเป็นการ Burn Out หรือหมด Passion
เพราะฉะน้ันลองก้าวออกจาก Comfort Zone ของตวั เอง แลว้ ลองทำอะไรท่ีท้าทายความสามารถของตัวเอง
ไมต่ อ้ งกลวั วา่ จะเกิดความผดิ พลาดหรอื ไมป่ ระสบความสำเร็จ เพราะบางครง้ั การรวบรวมความกล้าทำอะไร
ใหมๆ่ ก็เปน็ วิธกี ารเสรมิ ความมัน่ ใจชัน้ ดีด้วยเช่นกนั แถมยังช่วยใหเ้ ราปรับตัวเขา้ กบั สิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ไดง้ า่ ย
ขึน้ อกี ดว้ ย
11. เมอื่ ทำผดิ ไป ควรใหอ้ ภยั ตัวเอง
ดังท่กี ล่าวไปหากลองทำอะไรใหมๆ่ ดนั เกิดความผดิ พลาด หา้ มโทษตัวเองโดยเด็ดขาด แต่ตอ้ งให้อภัยตวั เอง
เสมอ เก็บเรอ่ื งราวเหล่าน้นั มาเป็นบทเรียน ทอ้ ได้ แต่ห้ามถอย รีบลกุ ข้ึนมาเจอกับเรอ่ื งใหม่ๆ ให้เร็วทส่ี ุด ให้คดิ
ซะว่ายงั สงิ่ มีดีๆ รอเราอยอู่ กี มากมาย
12. หยดุ คิดมากในทุกๆ เรอ่ื ง
ความคิดมากน่แี หละคือตน้ เหตุแห่งความไม่มัน่ ใจ เพราะฉะนัน้ ลองเลิกคิดมากกับเร่อื งเล็กๆ นอ้ ยๆ เลกิ กงั วล
กบั ส่งิ ที่ยงั ไมเ่ กิดขึน้ เลิกจมกบั ความผดิ พลาดในอดีต เลกิ คดิ ถึงคำพูดคนอื่นมากกวา่ ความรสู้ ึกของตัวเอง และ
เลิกเปรียบเทียบตวั เองกบั คนอ่ืน แต่ใหท้ ำทกุ อย่างดว้ ยม่นั ใจ คดิ ซะวา่ เร่อื งท่ที ำน้นั ไม่มผี ดิ ไม่มีถกู
13. หาเวลาออกกำลังกาย
นอกจากจะพฒั นาตนเองทางดา้ นจติ ใจแลว้ ลองหาเวลาไปพฒั นาร่างกายของเราเองด้วยการออกกำลงั กายดู
บ้าง ด้วยการไปฟติ เนสหรือไปวิ่งตามสวนสาธารณะ อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะหนง่ึ ครัง้ กย็ งั ดี เพราะสุขภาพรา่ งกาย
ท่ีแขง็ แรงขึน้ จะให้ชว่ ยใหค้ ณุ เกิดความรสู้ กึ ในด้านบวกไปพร้อมๆ กันดว้ ย
14. เตมิ ความมนั่ ใจให้จติ ใจตวั เอง
เมื่อลองปฏิบัติตามคำแนะนำที่เราใหไ้ ปตามหัวขอ้ ดา้ นบนแลว้ ให้เราตอกย้ำตัวเองเขา้ ไปอีกวา่ เรามคี วามมัน่ ใจ
ท่จี ะทำสิง่ ต่างๆ อยู่เสมอ มั่นใจวา่ เราทำส่ิงต่างๆ ใหป้ ระสบความสำเรจ็ ได้ เพราะบางทีการบอกตัวเองซำ้ ๆ จะ
ช่วยกระตนุ้ ใหค้ วามคดิ ของเราก้าวเขา้ สดู่ า้ นบวกได้มากขึน้
15. ฝกึ ฝนจนกลายเปน็ คนเกง่
เมอื่ มคี วามมัน่ ใจกนั แบบเตม็ เปี่ยมแลว้ อย่าลมื หันกลบั มาฝึกฝนตนเองอย่เู สมอ เพราะไม่มใี ครเก่งค้ำฟา้ แต่
การพฒั นาตวั เองนแี่ หละ คือสง่ิ ที่จำเป็นตอ้ งทำ เพราะอย่างไรวนั หน่ึงเราตอ้ งกลบั ไปเจอกับความผิดพลาดและ
ความลม้ เหลวอกี แนๆ่ แตห่ ากเราฝึกฝนตัวเองอยเู่ รอ่ื ยๆ เราก็จะสามารถรับมอื กบั อปุ สรรคตา่ งๆ ได้ง่ายขนึ้
สรุปเทคนิคการพฒั นาความมัน่ ใจในตนเอง ก้าวสหู่ นทางแห่งความสำเร็จ
เร่อื งของความมั่นใจ บอกเลยว่าไมใ่ ชเ่ รอื่ งยากทีจ่ ะพฒั นา ขอแค่เรามคี วามตงั้ ใจทีจ่ ะตอ่ สู้กับทุกปญั หาทผ่ี า่ น
เขา้ มา หากเรามมี นั่ ใจแบบเต็มรอ้ ยแล้ว คนที่ไดป้ ระโยชน์กค็ อื ตัวเราเอง ทีจ่ ะสามารถเฉดิ ฉายในหน้าทกี่ ารงาน
ของเรา จนเปน็ ที่นา่ ประทบั ใจของบริษทั หัวหนา้ งาน และเพื่อนร่วมงาน และนำมาสคู่ วามกา้ วหน้าในอาชพี ได้
อย่างแนน่ อน

6 วธิ ี พูดภาษาองั กฤษได้อย่างม่ันใจ

1. ฝกึ พูดกับตวั เอง
หลายคนรับฟังคำแนะนำมากมาย แต่ไมเ่ คยนำคำแนะนำเหลา่ น้นั มาใช้ได้เม่อื ถงึ เวลาทีต่ ้องใชจ้ ริงเพราะขาด
การฝกึ ฝน เรมิ่ ฝกึ เล่าเรือ่ งหรอื อะไรเก่ียวกบั ตวั เองงา่ ยๆเป็นภาษาองั กฤษ อยา่ ปล่อยให้สิ่งทเ่ี รยี นรมู้ าหายไป
งา่ ยๆ
2. ฝึกฟังเพลงภาษาองั กฤษพร้อมอา่ นเน้อื เพลงไปดว้ ยให้เปน็ นสิ ัย
หาฟงั เพลงภาษาองั กฤษทก่ี ำลังเปน็ ท่ีนยิ มสกั หนง่ึ หรอื สองเพลงพร้อมกับอา่ นเน้ือรอ้ งไปด้วย สงิ่ นีจ้ ะช่วยให้การ
ออกเสียง การสรา้ งประโยค และคำศัพทข์ องคุณ พัฒนาข้นึ ไดอ้ ย่างรวดเรว็
3. พูดหน้ากระจก
เดนิ ไปทหี่ น้ากระจก ลองนกึ ภาพสถานการณแ์ ละจำลองการพูดคุย ลองถามคำถาม พร้อมตอบคำถาม กระจก
ชว่ ยคุณในการพฒั นาความมัน่ ใจได้ นอกจากน้ี เรายังสามารถใชก้ ระจก สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ บคุ ลิกภาพ สามารถ
นำสงิ่ ทเ่ี หน็ มาใชป้ รับปรุงการแสดงออกทางสีหน้า ทา่ ทาง และภาษากายของเราใหด้ ดู ีขึน้ ได้อกี ด้วย
4. หยดุ กังวลเรอื่ งไวยากรณ์
จดุ สำคัญของการส่ือสารอยา่ งจริงจังคอื การเขา้ ใจความหมายของมัน จริงๆแล้วการพูดนนั้ แตกต่างจากการ
เขยี น ในการเขยี นคุณตอ้ งตรวจสอบทุกสงิ่ ในการเขยี นใหด้ ีและทำใหแ้ น่ใจว่าทกุ อยา่ งออกมาสมบรู ณแ์ บบ ใน
การพดู คุณไม่มีเวลามากพอท่ีจะตรวจสอบความถกู ต้องทุกอยา่ งได้ ขอเพียงแคค่ นท่กี ำลังสอื่ สารเข้าใจสิง่ ท่คี ณุ
พดู กเ็ พียงพอแลว้
5. การฝึกฝนทำใหก้ ารพดู นนั้ สมบรู ณแ์ บบ
คุณควรหยดุ กงั วลเร่ืองไวยากรณ์ก็จรงิ แตน่ ัน่ ไม่ไดห้ มายความวา่ คุณไมจ่ ำเปน็ จะต้องพฒั นาหรือปรับปรุงแกไ้ ข
ให้ประโยคท่พี ดู มคี วามสมบูรณ์ แทนที่จะคดิ ถึงแตค่ วามถกู ตอ้ งของไวยากรณอ์ ย่างเดยี ว ให้คณุ ฝึกพูดให้บ่อย
ทส่ี ดุ เท่าทจ่ี ะทำได้ สิ่งนไี้ ม่เพียงจะทำใหค้ ุณมน่ั ใจมากขน้ึ แต่ยังพัฒนาทักษะการพูดของคณุ คุณจะตระหนกั ถงึ
ความผดิ พลาดในขณะที่พูดและสญั ญากบั ตวั เองวา่ คุณจะพยายามแก้ไขและทำให้ดขี น้ึ ในครงั้ ถดั ไปได้
6. เพียงแคท่ ำมัน
พูดกับตัวเองใหม้ ากและพยายามฟงั คนทมี่ ีประสบการณม์ ากกว่าคณุ ให้เยอะ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งวิตกหรือมคี วาม
กังวลใดใหร้ บกวนจิตใจ เพยี งแคต่ งั้ ใจ และความมนั่ ใจจะมาเอง

สอนวิชาภาษาอังกฤษอย่างไร ให้เดก็ Love English
1. สรา้ งสรรคก์ จิ กรรมใหน้ ักเรยี นไดฟ้ งั เยอะ ๆ

หนึง่ ในการส่ือสารทส่ี ำคญั คอื การฟงั คณุ ครูสามารถหากิจกรรมให้นกั เรียนไดฝ้ กึ การฟงั การสรา้ งกิจกรรม
สนุก ๆ ในระหวา่ งการสอนวิชาภาษาอังกฤษ เชน่ การเปดิ เพลงภาษาอังกฤษ ดภู าพยนตรส์ ัน้ แบบ
SOUNDTRACK ที่ไม่ยากจนเกนิ ไป เพ่ือกระตุ้นการเรียนรแู้ ละสร้างปฏสิ มั พนั ธ์ร่วมกนั ก่อนท่ีจะเรมิ่ ไต่ระดบั
ใหย้ ากขนึ้ เรอื่ ย ๆ คณุ ครอู าจมอบหมายกิจกรรมใหน้ ักเรียนกลบั ไปฟงั ทบ่ี ้าน แลว้ นำมาเล่าให้เพ่ือน ๆ ในหอ้ ง
ฟงั เพอื่ ให้เกดิ ความต่อเนอ่ื งในการฝกึ บ่อย ๆ ให้คุ้นเคย

2. เรยี นรจู้ ากภาพ

การสอนคำศัพท์จากภาพ ให้นักเรียนเรยี นรูแ้ ละเขา้ ใจความหมายของคำศพั ทจ์ ากการเหน็ ภาพมากกวา่ การ
ท่องจำแต่ตำศพั ทอ์ ย่างเดียว กช็ ว่ ยให้นกั เรยี นสนุกกับคำศัพทแ์ ละสามารถจำความหมายได้ดี

3. เลกิ ทอ่ งแกรมมาร์

ลองหาวิธใี ห้นักเรยี นเรียนรู้และเขา้ ใจแกรมมาร์ผา่ นกิจกรรมการสนทนาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ดว้ ยการให้พูด
ประโยคน้นั ๆ เพ่ือให้นกั เรยี นเข้าใจรูปประโยค ความหมาย และการใชแ้ กรมมาร์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่าง
ถกู ตอ้ ง แทนการ

4. สนทนาใหม้ ่นั ใจ ใชค้ วามเขา้ ใจมากกวา่ การแปลคำตอ่ คำ

เมอ่ื มกี ารสนทนาในชนั้ เรยี นเป็นภาษาองั กฤษ บ่อยครงั้ ท่นี ักเรยี นมกั จะนกึ คำศพั ทท์ แี่ ปลจากไทยเปน็ อังกฤษ
ซึ่งนอกจากจะทำให้เสยี เวลาแล้ว คำศัพทบ์ างคำอาจจะไม่ตรงกับความหมายในภาษาไทย และทำให้
ความหมายในประโยคผดิ เพย้ี นไป จนทำใหเ้ ดก็ ๆ ไม่มคี วามกลา้ สนทนาเป็นภาษาองั กฤษ การสอนให้เดก็ ๆ
เข้าใจรปู ประโยต เข้าใจความหมาย ให้เรียนร้วู ่าการสนทนาในชวี ติ ประจำวนั เราสามารถนำความหมายหลกั
ๆ ทีต่ ้องการสอื่ สารก็เพียงพอ เพ่อื การสนทนาได้อยา่ งมน่ั ใจ

5. เช่ือมโยงการใช้ภาษาองั กฤษในชีวิตประจำวัน

คณุ ครูอาจเริม่ จากการต้ังกตกิ าใหน้ กั เรยี นทกุ คนสนทนาเป็นภาษาองั กฤษเท่านนั้ เพอ่ื เป็นจุดเริ่มตน้ ในการ
สรา้ งสภาพแวดลอ้ มในการกล้าทจ่ี ะพดู ภาษาองั กฤษ หรอื อาจจะสร้างกิจกรรมสมมตเิ พอ่ื ให้นกั เรียนเรียนรกู้ าร
นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เป็นภาษาอังกฤษเมือ่ เจอเหตกุ ารณเ์ หล่าน้ัน

การสร้างกิจกรรมในห้องเรยี น คณุ ครตู ้องไม่ลมื ว่านักเรียนแตล่ ะคนมีพนื้ ฐานการเรียนรู้ท่ีไมเ่ ท่ากนั จงึ ต้อง
เอาใจใส่กับการจดั กจิ กรรม ให้เค้าได้เรียนรแู้ ละฝกึ ใช้อยา่ งต่อเนื่อง พรอ้ มทจี่ ะกลา้ ส่อื สารและนำไปปรับใช้ใน
ชีวติ ประจำวันไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ท่องจำ


Click to View FlipBook Version