The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanisr.ton, 2020-03-12 23:48:03

เรือเครื่องผูก ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์นับพันปี

เรือเครื่องผูก
ประวัติศาสตรความสัมพันธนับพันป
เอิบเปรม และ ยุวดี วัชรางกูร: เขียน
ราคา 320 บาท

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแหงชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
เอิบเปรม วัชรางกูร.
เรือเครื่องผูก ประวัติศาสตรความสัมพันธนับพันป.-- กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุป, 2562.
384 หนา.
1. ความสัมพันธระหวางประเทศ. l. ยุวดี วัชรางกูร, ผูแตงรวม. II. ชื่อเรื่อง.
327
ISBN 978-616-301-692-8

©
ขอความในหนังสือเลมนี้ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558
การคัดลอกสวนใดๆ ในหนังสือเลมนี้ไปเผยแพรไมวาในรูปแบบใดตองไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์กอน
ยกเวนเพื่อการอางอิง การวิจารณ และประชาสัมพันธ

บรรณาธิการอำนวยการ : คธาวุฒิ เกนุย
บรรณาธิการบริหาร : สุรชัย พิงชัยภูมิ
ผูชวยบรรณาธิการบริหาร : วาสนา ชูรัตน
กองบรรณาธิการ : คณิตา สุตราม พรรณิกา ครโสภา ดารียา ครโสภา
เลขากองบรรณาธิการ : อรทัย ดีสวัสดิ์
พิสูจนอักษร : บริิมาส ฐิติธรรม
รูปเลม : Evolution Art
ออกแบบปก : Rabbithood Studio
ผูอำนวยการฝายการตลาด : นุชนันท ทักษิณาบัณฑิต
ผูจัดการฝายการตลาด : ชิตพล จันสด
ผูจัดการทั่วไป : เวชพงษ รัตนมาลี
จัดพิมพโดย : บริษัท ยิปซี กรุป จำกัด เลขที่ 37/145 รามคำแหง 98
แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
โทร. 0 2728 0939 โทรสาร. 0 2728 0939 ตอ 108
www.gypsygroup.net
พิมพที่ : บริษัท วิชั่น พรีเพรส จำกัด โทร. 0 2147 3175-6
จัดจำหนาย : บริษัท ยิปซี กรุป จำกัด โทร. 0 2728 0939
www.facebook.com/gypsygroup.co.ltd
LINE ID : @gypzy

สนใจสั่งซื้อหนังสือจำนวนมากเพื่อสนับสนุนทางการศึกษา สำนักพิมพลดราคาพิเศษ ติดตอ โทร. 0 2728 0939


เรือเครองผก


Sewn Ship



ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์นับพันปี


ของชาวทะเลอาหรับกับชาวทะเลจีนใต้...และชาวสยาม


















แกะรอยการเดินทางติดต่อค้าขายของบรรพชนสองซีกโลก
เอิบเปรม และ ยุวดี วัชรางกูร




คานาสานักพิมพ์





แม่นาลาคลองเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ท่ไหลหล่อเล้ยงผู้คนมา






ต้งแต่โบราณกาล ถ้าไม่มีแม่นาลาคลอง การสัญจรในห้วงเวลาน้นอาจถึงกับ


เป็นอัมพาตขาดความคล่องตัวในการขนส่งสินค้าและการเดินทาง
เรอ เป็นหน่งปัจจัยท่ (ทุกบ้าน) ต้องมี ไม่ว่าจะเป็นเรือเล็กหรือเรือใหญ่






ท่มีไว้ใช้ในครัวเรือนยามจาเป็น กระท่งใช้เป็นพาหนะในการทามาหากินหรือ

ล่องเรือค้าขายสินค้าต่างๆ





3 ใน 4 ของนาท่มีอยู่บนโลกจึงเป็นเส้นทางการเดินเรือท่เช่อมโยงโลก

ตะวันออกกับโลกตะวันตกและท่วท้งโลกใบน้ ประวัติศาสตร์ของเส้นทางการ



เดินเรือจึงมีท่มายาวนานกว่าจะมาสู่พัฒนาการของเรือในรูปแบบหลากหลาย
ในยุคปัจจุบัน





การนาพาของสายนาน่เองท่ผลักนาให้การเดินทางของ เรือเคร่องผูก


ให้เคล่อนไหลผ่านกาลเวลามายาวนาน จากรูปลักษณ์หน่ง ค่อยๆ เปล่ยนไป







สู่อีกรูปแบบหน่งตามวันเวลา สถานการณ์และภูมิประเทศของพ้นท่น้นๆ ตาม
แต่ความเหมาะสม

กว่า 4,500 ปีท่นักโบราณคดีชาวอียิปต์ได้พบซากเรือบริเวณสุสาน


ฟาโรห์คูฟู น่นอาจหมายความว่า เทคนิคการต่อเรือเคร่องผูกมีต้นกาเนิดมา




จากแถบทะเลแดง ก่อนจะไหลเล่อนไปยังย่านน�าต่างๆ ท้งแถบอ่าวเปอร์เซีย
มหาสมทรอินเดย ทะเลเมดเตอร์เรเนียน ไปจนถงชายฝั่งตะวันออกของ




แอฟริกา หมู่เกาะอินโดนีเซีย จนถึงหมู่เกาะฟิลิปปินส์ และมาถึงสยามประเทศ


ดังท่กองโบราณคดีใต้นา กรมศิลปากร ได้ขุดค้นพบในพ้นท่ท่เป็นบ่อกุ้งของ




ชาวบ้านในอาเภอพันท้ายนรสิงห์ จังหวัดสมุทรสาคร เม่อปลายปี พ.ศ. 2556





เป็น “ซากเรือเคร่องผูก” อายุราว 1,300-1,200 ปี ท่มีสภาพเกือบสมบูรณ์


ท่สุดท่พบในภาคพ้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เลยทีเดียว

เรือท่ถูกขุดพบในบริเวณบ่อกุ้งลาน้ต้งช่อตามเจ้าของสถานท่ท่ขุดพบ







คือ นายสุรินทร์และนางพนม ศรีงามดี จึงได้ช่อว่า “แหล่งเรือโบราณพนม



สุรินทร์” จากการขุดค้นคร้งน้ นักวิชาการหลายคนลงความเห็นตรงกันว่า

แหล่งเรือโบราณอายุเกินพันปีแห่งน้ถือเป็นมรดกวัฒนธรรมทางโบราณคด ี
ท่ทรงคุณค่ามากท่สุดแห่งหน่งของโลก หรืออาจไม่ต่างกันมากจากยุคสมัย



ของกาหลิบฮารูน อัล รอชีด แห่งราชวงศ์อับบาสิยะฮ์ และจักรพรรดิถังเจ๋อ
ตง แห่งราชวงศ์ถัง ก็เป็นได้
แหล่งกาเนิด ท่มาท่ไป มีกลุ่มประเทศใดบ้างท่เก่ยวข้องเช่อมโยงกับ












เรือเคร่องผูก และความจรงของเส้นทางการนาพาเรอพนมสุรนทร์ลานมาสู่


สยามประเทศ รวมถึงพัฒนาการเรือเคร่องผูกของเหล่าอาณาอารยประเทศ

จะเป็นเช่นไรน้น เชิญผู้อ่านเปิดหนังสือเล่มน้โดยพลัน


ด้วยปรารถนาด ี

สานักพิมพ์ยิปซ ี

คานาผู้เขียน






ในประเทศไทยมีนักวิชาการค้นคว้าวิจัยเก่ยวกับ ‘เรือ’ อย่างละเอียด



ลึกซ้งน้อยมาก คงมีเพียงการศึกษาเก่ยวกับรูปแบบลักษณะ การสะสม แยก

ประเภท หมวดหมู่ไว้บ้างเท่าน้น มิได้ลงรายละเอียดไปถึงประวัติศาสตร์ความ

สัมพันธ์ของชุมชนและกลุ่มคนท่ใช้เรือมาแต่อดีต อันส่งสะท้อนมาถึงลักษณะ
รูปแบบเรือ หน้าท่ใช้สอย เทคนิคและวัสดุท่ใช้ต่อเรือ รวมถึงเหตุและผลใน


การต่อเรือ ไม่ว่าจะเป็นขนาดและความสาคัญขององค์ประกอบต่างๆ

ประการส�าคัญคือ ยังไม่เคยมีใครศึกษาไปถึงวิวัฒนาการการต่อเรือ โดย

เฉพาะอย่างย่งสายสัมพันธ์ของวิวัฒนาการในพ้นท่ต่างๆ ท่วโลก ท่ามกลาง




ลาดับเวลาทางประวัติศาสตร์



อาจเป็นเพราะในบ้านเรา เรือเป็นส่วนหน่งของวิถีชีวิตชาวนา ผู้คน

อาศัยอยู่ในบ้านเรือนริมทางนา มีโครงสร้างของชีวิตอยู่กับนาจนเกิดความ



คุ้นชิน เรือเป็นท้งพาหนะสาหรับเดินทาง ขนส่งข้าวของ สินค้า เป็นได้ถึง


ที่อยู่อาศัยรอนแรมไปต่างถิ่น ตลอดถึงเป็นพาหนะพาสู่สรวงสวรรค์ในโลกหน้า
ตามคติความเช่อของชุมชนโบราณหลายแห่ง

ผู้เขียนเร่มเรียนรู้และศึกษาค้นคว้าเก่ยวกับโบราณคดีใต้นา ต้งแต่









ครงเป็นนกศึกษาคณะโบราณคด มหาวทยาลัยศลปากร เมอปี พ.ศ. 2517






ระยะแรกขอบข่ายความสนใจจากัดเพียง ‘เคร่องสังคโลก’ ซ่งเป็นสินค้าท่พบ




เป็นจานวนมากในซากเรือสาเภาบริเวณอ่าวไทย สมัยน้นความรู้เร่องตัวเรือ



สาเภามีข้อจากัดอยู่เพียงเอกสารประวัติศาสตร์ท่กล่าวถึงบ้าง การขุดค้นทาง




โบราณคดกับซากเรอมปรมาณน้อยจนกระทงเราไม่อาจประมาณได้ว่าขนาด




ของตัวเรือแต่ละลามีขนาด ระวาง ความจุเท่าไร




เม่อแรกรับราชการ ผู้เขียนมีโอกาสทางานโบราณคดีในเขตจังหวัด





สุโขทัย กาแพงเพชร พิษณุโลก จนกระท่งมาทางานโบราณคดีใต้นา สังกัด


กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ได้ด่งใจรักและมุ่งม่นต่อเน่องเป็นเวลา 24


ปี ก่อนเกษียณอายุราชการเม่อเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2559
อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนมีความสนใจใคร่รู้เก่ยวกับประวัติศาสตร์ของเรือ


เสมอมา โดยเฉพาะการค้นคว้าวิจัยเก่ยวกับ ‘เรือเคร่องผูก’ ซ่งเป็นองค์ความ




รู้ใหม่สาหรับประเทศไทย จาเป็นต้องผลักดันและสร้างนักวิชาการรุ่นใหม่ๆ
มาศึกษาต่อยอดเก่ยวกับเรือเคร่องผูกอีกมาก




คร้นผู้เขียนดาริว่าน่าจะถอดบทเรียนความรู้จากประสบการณ์การ


ทางานเก่ยวกับเรือโบราณมาโดยตลอดออกมาเป็นหนังสืออีกสักเล่ม ผู้เขียน

จึงปักธงว่าจะต้องเขียนเก่ยวกับ ‘เรือเครื่องผูก’ ภายใต้ข้อจากัดของชุดความ


รู้เท่าท่เสาะแสวงหาได้ในปัจจุบัน โดยบูรณาการแขนงวิชาสาขาต่างๆ เข้าไว้
ด้วยกัน ได้แก่ โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ธรณีวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา
และวรรณกรรม เป็นต้น
การเก็บข้อมูลนอกจากรวบรวมเอกสารและงานวิจัยท่เก่ยวข้องแล้ว


ผู้เขียนยังได้ชักชวนภรรยา คือ คุณยุวดี วัชรางกูร นักเขียนสารคดีและ
บรรณาธิการสารคดีด้านวัฒนธรรมโดยวิชาชีพ ร่วมเขียนหนังสือเล่มน้ด้วย

กัน โดยเธอรับผิดชอบเน้อหาเก่ยวกับการลงพ้นท่เก็บข้อมูลภาคสนาม ท้ง






ในประเทศไทยและต่างประเทศ จากการส่งสมประสบการณ์เดินทางค้นคว้า

ข้อมูลสาหรับงานเขียนสารคดีมาตลอด 25 ปีของเธอ โดยเฉพาะอย่างย่งการ

เดินทางสารวจและค้นคว้าข้อมูลพร้อมกันของเรา




พ้นท่สารวจเก่ยวกับเรือเคร่องผูกท่ปรากฏในหนังสือเล่มน้ นอกจาก




ในประเทศไทยแล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านร่วมเดินทางไปยังประเทศ
ต่างๆ ได้แก่ โอมาน จอร์แดน อียิปต์ อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย จีน และ
โปรตุเกส เพ่อฉายภาพความสัมพันธ์อันเก่ยวโยงกันของผู้คนสองซีกโลกผ่าน



ประวัติศาสตร์ของเรือ
ผู้เขียนขอขอบคุณชุดความรู้ด้านโบราณคดีจากสายงานด้งเดิมคือ กอง





โบราณคดีใต้นา ข้อมูลจากสานักศิลปากรท่ 1 ราชบุรี ข้อมูลเอกสารจากกอง


โบราณคดี และหน่วยงานอ่นๆ ท่เก่ยวข้องในสังกัดกรมศิลปากร กระทรวง

วัฒนธรรม

หวังเป็นอย่างย่งว่าประสบการณ์ในฐานะนักโบราณคดี และนักเขียน








สารคดีของผ้เขยนทงสองคนจะนาพาท่านผ้อ่านเข้าส่โลกแห่งการเรยนร้เก่ยว


กับประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ของผู้คนในสมัยโบราณผ่านพาหนะเก่าแก่คือ
เรือ ตามพ้นฐานความสนใจของแต่ละท่าน


เราเช่อว่าท่านผู้อ่านจะเพลิดเพลินไปกับการท่องนาวาประวัติศาสตร์
ต้งแต่เร่มกางใบเรือกระท่งม้วนใบเรือ ก่อนส่งท่านกลับข้นฝั่งโดยสวัสดิภาพ




ขอความสวัสดีจงมีแก่ทุกท่าน...
เอิบเปรม วัชรางกูร

สารบัญ







บทนา (กางใบเรือ) 13

ความหมายและพัฒนาการของเรือเคร่องผูก 15
หลักฐานเก่าแก่ว่าด้วยเรือเคร่องผูก 16

ส่วนประกอบท่วไปของเรือ 22




บทท่ 1 แคมป์ข้างเมรุ กับ ซากเรือใต้บ่อกุ้ง 29




โบราณ (วิบาก) คดี...ในพ้นท่ชุ่มนา 30
ข้าวของเก่าแก่ เบาะแสปูมเรือ 37
อักษรปริศนาบนปากไห 50

ผลสารวจธรณีฟิสิกส์รอบแหล่งเรือจม 52
ขอบเขตทะเลสมัยทวารวด ี 54





บทท่ 2 ตามรอย...ต้นทางเรือเคร่องผูก 61



การประชุมวิชาการนานาชาติเร่องเรือเคร่องผูกท่โอมาน 64

ช่างต่อเรือเคร่องผูก เมืองอลัปปูจา รัฐเกรละ อินเดีย 70
เรือเคร่องผูก–เรือสาเภา 88


บทท่ 3 เรือพันปี เช่อมอดีตสองซีกโลก 95


ราชวงศ์อับบาสิยะฮ์–ราชวงศ์ถัง 97
เมืองท่าในสุวรรณภูมิและทวารวด ี 109

อาหรับ–อินเดีย–อุษาคเนย์ 119

อาณาจักรศรีวิชัย ไศเลนทร์วงศ์ และเรือท่บุโรพุทโธ 135

แขกมักกะสัน: จากเกาะเซลีเบสสู่กรุงศรีอยุธยา 153




บทท่ 4 บรรพชนแห่งดินแดนพระจันทร์เส้ยว 175

ชาวเบดูอิน เดดซีและแหลมซีนาย 178
เรือเคร่องผูก 4,500 ปี ณ สุสานฟาโรห์ 187





บทท่ 5 บรรพชนแห่งลุ่มนาฮวงโหถึงลุ่มนาแยงซ ี 201



ย้อนไปสมัย ‘พระเจ้าเหา’ 202
เค้าอดีตชนผู้อพยพแห่งนครปา–นครลุง 209
ไหก้นแหลม: เส้นทางสายดินเผาของผู้อพยพ 235

บทท่ 6 เส้นทางสายแพรไหมทางทะเล 243



สาเภาจีนกับประวัติศาสตร์กองเรือเจ้งเหอ 245




มรดกความทรงจาเก่ยวกับเจ้งเหอ ท่รัฐเกรละ อินเดีย 253
สินค้าของป่าสมัยกรุงศรีอยุธยา 260


ลมมรสุมประจาฤดู ปัจจัยกาหนด ‘เวลา’ ทางการค้า 265
การค้าทางทะเลระหว่างโลกตะวันตกกับโลกตะวันออก 267

บทท่ 7 เส้นทางสายเคร่องเทศของชาวยุโรป 281

จาก ‘ลิสบัว’ ถึง ‘กาลิกูฏ’ 282
ค้าทาส: ประวัติศาสตร์ด้านมืดของโปรตุเกส 308
เม่อโปรตุเกสมาถึงกรุงศรีอยุธยา 313



มรดกความทรงจาสยามท่โปรตุเกส 334

บทส่งท้าย (ม้วนใบเรือ) 345



ภาคผนวก 357


แหล่งเรือเคร่องผูกท่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 358


ตารางเปรียบเทียบอายุเรือเคร่องผูกท่พบใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 366




บรรณานุกรม 371



บทน�ำ




กางใบเรือ



คาว่า ‘เรือเคร่องผูก’ เป็นการผูกคาข้นใหม่เพ่อใช้เรียกรูปแบบการ




ต่อเรือประเภทหน่ง นิยมสร้างในกลุ่มประเทศชายฝั่งทะเลอาหรับและชายฝั่ง
มะละบาร์ อินเดียตะวันตกเฉียงใต้ โดยผู้เขียนเจตนาล้อคาว่า ‘เรือนเคร่องผูก’




อันเป็นรูปแบบการสร้างเรือนไทยท้องถ่นประเภทหน่ง
รองศาสตราจารย์เสนอ นิลเดช อธิบายในหนังสือช่อ “เรือนเคร่อง



ผูก” เผยแพร่ปี พ.ศ. 2547 ว่าการสร้างเรือนไทยท้องถ่นแบ่งเป็น 3 รูปแบบ





ได้แก่ เรือนเคร่องผูก เรือนเคร่องสับ และเรือนเคร่องก่อ เรือนเคร่องผูกน้น



สร้างจากวัสดุท้องถ่นโดยจะผูกรัดช้นส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน มีลักษณะช่วคราว

หรือก่งถาวร ต่างจากเรือนเคร่องสับซ่งใช้ไม้เน้อแข็งและตะปูหรือสลัก ส่วน



เรือนเคร่องก่อจะมีโครงสร้างเป็นหิน อิฐ และซีเมนต์

การต่อเรือก็มีความเป็นมาใกล้เคียงกัน...




















เรือขุด แบบเสริมกราบท่เมืองอัลเลปปี รัฐเกรละ


14 เรือเครื่องผูก


ความหมายและพัฒนาการของเรือเคร่องผูก




เรือเป็นส่งประดิษฐ์ของมนุษยชาติสาหรับเป็นพาหนะในการเดินทาง


ขนส่งต้งแต่ยุคแรกเร่ม บางชุมชนใช้เรือเป็นสัญลักษณ์ในพิธีกรรมของชีวิต

ด้วย มีหลักฐานว่าเรือเป็นประดิษฐกรรมการเดินทางท่เก่าแก่กว่าพาหนะ
แบบล้อเล่อน


พัฒนาการของเรือดั้งเดิมเร่มจากแบบเรียบง่าย ขนาดเรือเป็นแบบเรือ

เล็ก ปรับปรุงไปเป็นแบบซับซ้อน มีขนาดใหญ่สาหรับเดินทางข้ามมหาสมุทร

การเลือกใช้วัสดุสร้างเรือ เร่มจากหาเคร่องมือท่มีน�าหนักเบา ลอยนา







ได้ ช่วยพยุงตัวเรือและส่งของภายในเรือ แล้วดัดแปลงเพ่มเติมมาเป็นเรือขุด

หรือแพตามลาดับ


จากวัสดุท่สามารถใช้ได้เพียงช่วคราว พัฒนาไปเป็นวัสดุทนทานถาวร


มีรูปแบบ วิธีการสร้าง และเคร่องประกอบซับซ้อนมากข้น

เรือเคร่องผูกมีพัฒนาการผสมผสานระหว่าง เรือขุด (dugout


boat) กับ แพ (raft) ซ่งถูกแก้ไขดัดแปลงไปตามสภาพแวดล้อมแต่ละพ้นท ี ่
ภูมิศาสตร์ อาจกล่าวได้ว่าเรือเคร่องผูกมีกาเนิดและพัฒนาการเบ้องต้นด้วย




ตัวเองได้ในแต่ละพ้นท่ ส่วนเทคโนโลยีการต่อเรือให้มีความแข็งแรงทนทาน ม ี


ขนาดและโครงสร้างซับซ้อน อาจได้รับอิทธิพลมาจากต่างถ่นต่างวัฒนธรรม...
หรือไม่ก็ได้
การต่อเรือเคร่องผูกเป็นการข้นรูปทรงเรือด้วยการผูกกระทงเรือเป็น




ทรงท่ต้องการ แล้วจึงเสริมโครงสร้างเพ่มความแข็งแรง เรียกว่า plank first

แตกต่างจากพฒนาการการต่อเรอในสมยต่อมาทท�าโครงสร้างเพ่อความแข็ง





แรงก่อนแล้วจึงประกอบกระทงเรือเข้าไป เรียกว่า frame first จากน้นจึง


อุด ชันยากันนาเข้าตัวเรือด้วยส่วนผสมยางไม้เค่ยวในนามัน และส่วนผสม






จากวัตถุดิบท่หาได้ในท้องถ่นน้นๆ

Sewn Ship 15



โครงสร้างสาคัญของการต่อเรือข้นกับเง่อนไขสภาพแวดล้อม ท้งเร่อง





การรับและส่งถ่ายกระจายนาหนัก การต่อต้านแรงท่กระทาต่อตัวเรือฯ



เรือจึงมีลักษณะพ้นฐานคล้ายกันท่วโลกโดยไม่จาเป็นต้องมีกาเนิดจาก





ท่เดียวกัน หากแต่ความสลับซับซ้อนท่เกิดภายหลัง ท้งจากการเรียนรู้ด้วยตัว

เอง หรือผสมผสานวิธีการต่อเรือจากคนต่างถ่นต่างวัฒนธรรม ทาให้การศึกษา




เร่องเรือจาต้องอาศัยมิติทางวัฒนธรรมมาพิจารณาด้วย
หลักฐานเก่าแก่ว่าด้วยเรือเครื่องผูก

หลักฐานซากเรือเคร่องผูกเก่าแก่ท่สุด พบทีมหาพีระมิดแห่งกีเซ


ประเทศอียิปต์


นักโบราณคดีชาวอียิปต์พบซากเรอท้งภายในและภายนอกสุสาน

ฟาโรห์คูฟู อายุราว 4,500 ปีมาแล้ว แสดงให้เห็นว่าเทคนิคการต่อเรือเคร่อง
ผูกอาจมีต้นกาเนิดในแถบทะเลแดง ก่อนแพร่กระจายไปยังอ่าวเปอร์เซีย





มหาสมทรอินเดย ทะเลเมดเตอร์เรเนียน ไปจนถงชายฝั่งตะวันออกของ







แอฟรกา หม่เกาะอนโดนเซย และหม่เกาะฟิลปปินส์ โดยรปทรงของเรอม ี


รูปร่างแตกต่างไปตามความนิยมของแต่ละท้องถ่น

ข้อมูลจากหนังสือ “Guide to the Pyramids of Egypt” เขียน

โดย Alberto Siliotti จัดพิมพ์ปี ค.ศ. 1997 (พ.ศ. 2540) ท่ประเทศอียิปต์

อธิบายเก่ยวกับซากเรือโบราณภายในมหาพีระมิดแห่งกีเซ เอาไว้ว่า เรือในแง่

วัฒนธรรมไม่ได้มีหน้าท่เฉพาะเป็นพาหนะสาหรับขนส่ง หรือใช้ในการประมง

เท่าน้น หากมีนัยสาคัญเก่ยวกับคติความเช่อ น่นคือ...เป็นพาหนะของเทพเจ้า!





16 เรือเครื่องผูก

เรือเคร่องผูกอายุ 4,500 ปี จากพีระมิดคูฟูท่ผ่านการอนุรักษ์แล้ว


“...เทพเอเมนท่องไปบนเรือศักด์สิทธ์ระหว่างเผยแผ่ศาสนา เทพรา




หรือองค์สุริยเทพท่องไปท่วแดนสวรรค์ทุกวันด้วยเรือ เพ่อสร้างสมดุลของ

ฤดกาลและกลางวนกลางคนแก่มวลมนษย์ ในแง่นฟาโรห์ซงเป็นบตรแห่ง











เทพราย่อมดาเนินตามรอยทางดังกล่าว พระองค์จาเป็นต้องมีเรือสาหรับท่อง
แดนสวรรค์...”
“...เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) สถาปนิกและนัก
โบราณคดีชาวอียิปต์ นาม Kamal el-Mallakh กับผู้ตรวจการณ์ Zaki Nur
พบร่องดินทรงสามเหล่ยมถูกปิดอย่างมิดชิดแลดูลึกลับ อยู่ใกล้กับท่อน

หินยักษ์ 40 ก้อน แต่ละก้อนมีน�าหนักราว 17-20 ตัน ก้อนหินด้านเหนือสุด



ถูกเปิดออก เผยให้เห็นซากช้นเล็กช้นน้อยของเรือไม้ขนาดใหญ่ลาหน่ง นับ



ได้จานวน 1,224 ช้น...”

Sewn Ship 17


Click to View FlipBook Version