The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanisr.ton, 2020-03-16 03:06:07

พิพากษานาซี

THE NUREMBERG TRIALS THE NAZIS BROUGHT TO JUSTICE
พิพากษานาซี

อเล็กซานเดอร แมคโดนัลด: เขียน
ธนัย เจริญกุล: แปล
ราคา 295 บาท
ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแหงชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
แมคโดนัลด, อเล็กซานเดอร.
The nuremberg trials the Nazis brought to justice พิพากษานาซี.--กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุป, 2562.
232 หนา.
1. สงครามโลก, ค.ศ. 1939-1945--เยอรมัน. 2. สงครามกับอาชญากรรม. I. ธนัย เจริญกุล, ผูแปล. II. ชื่อเรื่อง.

341.6 9 0268
ISBN 978-616-301-674-4
c ขอความในหนังสือเลมนี้ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558

การคัดลอกสวนใดๆ ในหนังสือเลมนี้ไปเผยแพรไมวาในรูปแบบใดตองไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์กอน
ยกเวนเพื่อการอางอิง การวิจารณ และประชาสัมพันธ
บรรณาธิการอำนวยการ : คธาวุฒิ เกนุย
บรรณาธิการบริหาร : สุรชัย พิงชัยภูมิ
ผูชวยบรรณาธิการบริหาร : วาสนา ชูรัตน
บรรณาธิการเลม : สินีนาถ เศรษฐพิศาล
กองบรรณาธิการ : คณิตา สุตราม พรรณิกา ครโสภา ดารียา ครโสภา
เลขากองบรรณาธิการ : อรทัย ดีสวัสดิ์
พิสูจนอักษร : รีดเดอรปารตี
รูปเลม : Evolution Art
ออกแบบปก : Rabbithood Studio
ผูอำนวยการฝายการตลาด : นุชนันท ทักษิณาบัณฑิต
ผูจัดการฝายการตลาด : ชิตพล จันสด
ผูจัดการทั่วไป : เวชพงษ รัตนมาลี
จัดพิมพโดย : บริษัท ยิปซี กรุป จำกัด เลขที่ 37/145 รามคำแหง 98
แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
โทร. 0 2728 0939 โทรสาร. 0 2728 0939 ตอ 108
www.gypsygroup.net
พิมพที่ : บริษัท วิชั่น พรีเพรส จำกัด โทร. 0 2882 9981-2
จัดจำหนาย : บริษัท ยิปซี กรุป จำกัด โทร. 0 2728 0939
www.facebook.com/gypsygroup.co.ltd
LINE ID : @gypzy

สนใจสั่งซื้อหนังสือจำนวนมากเพื่อสนับสนุนทางการศึกษา สำนักพิมพลดราคาพิเศษ ติดตอ โทร. 0 2728 0939

THE NUREMBERG TRIALS THE NAZIS BROUGHT TO JUSTICE
พิพากษานาซี

อเล็กซานเดอร แมคโดนัลด: เขียน
ธนัย เจริญกุล: แปล
ราคา 295 บาท
ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแหงชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
แมคโดนัลด, อเล็กซานเดอร.
The nuremberg trials the Nazis brought to justice พิพากษานาซี.--กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุป, 2562.
232 หนา.
1. สงครามโลก, ค.ศ. 1939-1945--เยอรมัน. 2. สงครามกับอาชญากรรม. I. ธนัย เจริญกุล, ผูแปล. II. ชื่อเรื่อง.

341.6 9 0268
ISBN 978-616-301-674-4
c ขอความในหนังสือเลมนี้ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558

การคัดลอกสวนใดๆ ในหนังสือเลมนี้ไปเผยแพรไมวาในรูปแบบใดตองไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์กอน
ยกเวนเพื่อการอางอิง การวิจารณ และประชาสัมพันธ
บรรณาธิการอำนวยการ : คธาวุฒิ เกนุย
บรรณาธิการบริหาร : สุรชัย พิงชัยภูมิ
ผูชวยบรรณาธิการบริหาร : วาสนา ชูรัตน
บรรณาธิการเลม : สินีนาถ เศรษฐพิศาล
กองบรรณาธิการ : คณิตา สุตราม พรรณิกา ครโสภา ดารียา ครโสภา
เลขากองบรรณาธิการ : อรทัย ดีสวัสดิ์
พิสูจนอักษร : รีดเดอรปารตี พิพากษานาซี
รูปเลม : Evolution Art
ออกแบบปก : Rabbithood Studio อเล็กซานเดอร์ แมคโดนัลด์
ผูอำนวยการฝายการตลาด : นุชนันท ทักษิณาบัณฑิต
ผูจัดการฝายการตลาด : ชิตพล จันสด ธนัย เจริญกุล: แปล
ผูจัดการทั่วไป : เวชพงษ รัตนมาลี
จัดพิมพโดย : บริษัท ยิปซี กรุป จำกัด เลขที่ 37/145 รามคำแหง 98
แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
โทร. 0 2728 0939 โทรสาร. 0 2728 0939 ตอ 108
www.gypsygroup.net
พิมพที่ : บริษัท วิชั่น พรีเพรส จำกัด โทร. 0 2882 9981-2
จัดจำหนาย : บริษัท ยิปซี กรุป จำกัด โทร. 0 2728 0939
www.facebook.com/gypsygroup.co.ltd
LINE ID : @gypzy

สนใจสั่งซื้อหนังสือจำนวนมากเพื่อสนับสนุนทางการศึกษา สำนักพิมพลดราคาพิเศษ ติดตอ โทร. 0 2728 0939



ค�าน�าส�านักพิมพ์




20 พฤศจิกายน ค.ศ.1945 คือวันแรกของการพิจารณาคดีนูเรมเบิร์ก



ซึ่งเป็นการพิจารณาคดีทางทหารท่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกคร้งท่ 2

เป็นผู้จัดตั้ง



คดีน้เป็นการตัดสินผู้กระทาความผิดอาญาสงครามของศาลทหาร

ระหว่างประเทศ และถือเป็นคดีดัง เพราะจ�าเลยล้วนเป็นเจ้าหน้าท่นาซีระดับสูง
24 คน (แต่ผู้ชักใยอยู่เบ้องหลังสงครามอย่าง อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์



และโยเซฟ เกิบเบิลส์ น้นชิงฆ่าตัวตายไปก่อนต้งแต่เร่มเห็นเค้าลางแห่งความ

พ่ายแพ้แล้ว) โดยมีการตั้งข้อกล่าวหา 4 กระทง คือ
1. วางแผนสมคบคิดในการก่ออาชญากรรมต่อสันติภาพ
2. วางแผน ริเริ่มและก่อสงครามเพื่อการรุกรานดินแดน
3. อาชญากรรมสงคราม

4. อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ



คดีใช้เวลาพิจารณา 11 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ.
1945 ถึง 1 ตุลาคม ค.ศ.1946 จ�าเลยถูกตัดสินลงโทษแตกต่างกันออกไป ทั้ง
ประหารชีวิตไปถึงจ�าคุก มีจ�าเลยบางคนได้ฆ่าตัวตายระหว่างการพิจารณาคด ี

และรอการลงโทษ


ความผิดท่ดูหนักท่สุดในบรรดาความผิด 4 กระทง เห็นจะเป็นข้อหา

อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ (ซึ่งข้อหาน้ถูกต้งข้นคร้งแรกในการพิจารณาคดีนูเรม



เบิร์ก) เมื่อนึกถึงโฮโลคอสต์ (the Holocaust) ผู้อ่านจะเห็นภาพชัดในข้อหาน ้ ี

เพราะเป็นเหตุการณ์อันเน่องมาจากกลไกในนโยบายของรัฐ และเป็นความโหด
ร้ายป่าเถื่อนอันเกิดจากการกระท�าผิดซึ่งแผ่ขยายออกเป็นวงกว้าง โดยที่รัฐเพิก

เฉยกับการกระท�านั้น





โฮโลคอสต์โดยนาซีในสมัยสงครามโลกครงท 2 ไม่ได้จ�ากดอย่เพยงแค่



ชาวยิวเท่าน้น แต่ยังรวมถึงชาวสลาฟโรมาเนีย นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต
พลเรือนโปแลนด์ คู่แข่งทางการเมือง ไปจนถึงผู้พิการ ประมาณกันว่าจานวน

เหยื่อโฮโลคอสต์ครั้งนี้เกินสิบล้านคน

กระน้นก็ตาม คดีนูเรมเบิร์กก่อให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่าการตัดสิน






โทษคานงถงหลกการแห่งมนษยธรรมและถกต้องตามกระบวนการยตธรรม


เพียงใด


ในโลกตะวันตกน้นมีแนวคิดท่ว่า ความโลภเป็นต้นเหตุให้มนุษย์ทาผิด


บาป และถ้าใครคนใดคนหน่งกระทาความชั่ว น่นคือเขาคิดมันข้นด้วยตัวเอง







ซึ่งแนวคิดน้ได้มองข้ามประเด็นท่ดูเหมือนจะเป็นเร่องเล็กน้อยเรื่องหน่งไป น่น

ก็คือในบางสังคมอาจมีภาวะท่ก่อให้คนสามารถทาผิดบาป เพราะพวกเขาถูก


ท�าให้ “คิดเองไม่ได้” (หรืออาจจะเรียกได้ว่า “คิดเองไม่เป็น”) และสิ่งที่พวกเขา




กระทาน้นเกิดข้นเพราะการร่วมเป็นฟันเฟืองหน่งในกลไกภายใต้ระบอบรัฐ ซึ่ง
มีพลังอ�านาจเหนือกว่าความเป็นปัจเจก—ระบอบนาซีเป็นเช่นนั้น


เหล่าเจ้าหน้าท่ระดับสูงของนาซีคือจักรกลมนุษย์ท่ทางานตามกลไกของ


ระบอบซ่งก่อร่างสร้างมาจากสถาบันท่มีพลานุภาพ พวกเขาล้วนติดอยู่ภายใต้คา


ปฏิญาณตนต่อชาติและ “ท่านฟือเรอร์” ดังจะเห็นได้จากแถลงการณ์ท่แฮร์มันน์











เกอรง (ผูนาระดบสูงของพรรคนาซี) ไดรางไวเพอนาขนพดในศาล แตถกหามอาน







‘ในฐานะจอมทัพหรือไรช์สมาร์ชาล์ลแห่งจักรวรรดิไรช์เยอรมันอันไพศาล


ข้าพเจ้าพร้อมยอมรับผิดชอบทางการเมืองในกรณีท่ข้าฯ กระทาทุกประการ รวม
ทั้งการกระท�าที่เป็นไปตามบัญชาของข้าฯ การกระท�าดังกล่าวนั้นด�าเนินไปเพื่อ
มุ่งหมายให้ปวงชนเยอรมันเกิดความผาสุก รวมท้งยังเป็นสัตย์ปฏิญาณท่ข้าฯ มี





แก่ท่านฟือเรอร์ และการกระทาท้งหมดท่เกิดข้นแล้วน้น เป็นไปตามพันธะท่มี




ตอปวงชนเยอรมัน และยอมถูกตรวจสอบไดโดยศาลยุติธรรมเยอรมันเทานั้น...’





การกลายเป็นปีศาจอาจเกิดข้นได้ในมนุษย์ทุกคนท่ต้องอยู่ภายใต้ระบอบ

อ�านาจรัฐที่เลวร้ายและตกอยู่ในภาวะถูกท�าให้ “คิดเองไม่เป็น” อย่าว่าแต่คนที่
อยู่ในระบอบนาซีเลย
The Nuremberg Trials เปรียบเหมือนสรุปส�านวนการไต่สวนซึ่งเอาผิด


ต่อผู้แพ้สงคราม ต้งแต่วันแรกจนถึงวันส้นสุดการพิจารณาคดี บางแง่มุมจาก






คาให้การหรืออากัปกิริยาของจาเลยท่เกิดข้นในศาลอาจทาให้เรามองเห็น
‘คุณธรรมสีเทา’ และอาจเข้าใจถึงความเป็นชายชาติทหารและการเป็นผู้ภักด ี
ต่อชาติและผู้น�าของผู้ต้องหา
อเล็กซานเดอร์ แมคโดนัลด์ ผู้เขียนหนังสือเล่มน้ได้บรรยายเหตุการณ์

ภายในห้องพิจารณาคดีอย่างละเอียดเป็นฉากๆ และ ธนัย เจริญกุล ผู้แปล
ได้ถ่ายทอดส�านวนคดความออกมาเป็นภาษาไทยด้วยภาษาทอ่านเข้าใจง่าย










สานกพมพ์ยปซีขอนาท่านผู้อ่านย้อนเวลากลบไปทศาลสถตยตธรรม เมือง





นเรมเบิร์ก ในวนท่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ.1945 เวลา 10:00 น. เซอร์เจฟฟรีย์


ลอว์เรนซ์ โขกค้อนไม้ลงบนโต๊ะ ในฐานะประธานองค์คณะผู้พิพากษา เขาแถลง
เปิดศาลว่า
‘การพิจารณาคดีที่จะเริ่ม ณ บัดนี้ ถือเป็นจุดเริ่มต้นครั้งยิ่งใหญ่
ในประวัติศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการยุติธรรมโลก’ ...
ด้วยมิตรภาพ
ส�ำนักพิมพ์ยิปซี

สารบัญ













10 เกริ่นน�า 14 บทที่หนึ่ง

เส้นทางสู่นูเรมเบิร์ก




24 บทที่สอง 31 บทที่สาม

ผู้ต้องหา
องค์คณะพิจารณาคดี



40 บทที่สี่ 53 บทที่ห้า
ไม่ได้เป็นเพียงเครื่อง
แถลงเปิดคดี
มือ


67 บทที่หก 75 บทที่เจ็ด
เสนอพยานหลักฐาน
อาชญากรรมสงคราม




85 บทที่แปด 98 บทที่เก้า
ความพินาศในแนวรบ จ�าเลยแถลงเปิดคดี
ตะวันออก

111 บทที่สิบ 124 บทที่สิบเอ็ด
ผู้สถาปนากลไก
สาวกของฮิตเลอร์
ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์


135 บทที่สิบสอง 142 บทที่สิบสาม
มนุษย์การเงิน
ม้าศึก




153 บทที่สิบสี่ 172 บทที่สิบห้า
ผู้รักชาติตาขาว
แถลงปิดคดี




187 บทที่สิบหก 196 บทที่สิบเจ็ด
องค์กรเถื่อน ถ้อยแถลงอ�าลา





200 บทที่สิบแปด 203 ปัจฉิมบท
ค�าพิพากษา




206 เชิงอรรถ 217 ดัชนี

เกริ่นน�า











ท่ศาลสถิตยุติธรรม (Palace of Justice) เมืองนูเรมเบิร์ก ในวันท่ 20 พฤศจิกายน
ค.ศ.1945 เวลา 10.00 น. เซอร์เจฟฟรีย์ ลอว์เรนซ์ (Sir Geoffrey Lawrence) โขก
ค้อนไม้ลงบนโต๊ะ ในฐานะประธานองค์คณะผู้พิพากษา เขาแถลงเปิดศาลว่า:



‘การพิจารณาคดีท่จะเร่ม ณ บัดน้ ถือเป็นจุดเริ่มต้นคร้งย่งใหญ่ในประวัติศาสตร์


ว่าด้วยกระบวนการยุติธรรมโลก’

























เดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1945 สายตาคนทั่วโลกจับจ้องไปยังศาลสถิตยุติธรรม
เมื่อผู้พิพากษาศาลฎีกาสหรัฐฯ โรเบิร์ต เอช. แจ็คสัน แถลงเปิดค�าฟ้อง


10

เกริ่นน�ำ













นบเป็นครงแรกทฝ่ายปราชัยในสงคราม ถกนาตวขนไต่สวนในศาล

นานาชาติของฝ่ายผู้มีชัย กระบวนการดาเนินพิจารณาคดีท้งหมดอยู่ในกากับ


ของสหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียต


เหตุท่ชาติท้งส่เลือกวิถีทางดังกล่าวมากระจ่างในวันท่สองของการ


พิจารณาคดี เมื่อผู้พิพากษาศาลฎีกาสหรัฐฯ โรเบิร์ต เอช. แจ็คสัน (Robert H.
Jackson) ได้แถลงเปิดค�าฟ้อง

‘ความผิดท่พวกเรากาลังจะกล่าวโทษและลงทัณฑ์ครั้งน้ เป็นการกระทา



ที่ได้ไตร่ตรองไว้แล้ว จนสร้างหายนะและท�าลายล้างขั้นสาหัส ผู้มีอารยะมิควร








เพกเฉยต่อส่งท่พวกเขาทา เราไม่ควรปล่อยให้เรืองเช่นน้เกิดขนซ้าอีกครั้ง’




เขากาชับ ‘ประเทศมหาอานาจท้งส่ต่างได้ชัยชนะบนความย่อยยับ และยังคง

เจ็บปวดรวดร้าว ย่อมคุกรุ่นไปด้วยความพยาบาทอาฆาตแค้น แต่กลับเต็มใจ

ส่งมอบตัวศัตรูท่โดนตีตรวนแล้ว เข้าสู่การพิจารณาคดีตามกฎหมาย นับว่า

เป็นการกระทาอันน่ายกย่องและควรจดจ�าว่า เหล่ามหาอ�านาจพร้อมน้อมรับ
หลักยุติธรรม’
เขายอมรับว่าการพิจารณาคดีคราวน้ ถือเป็นเรื่องใหม่และยังขาด


ประสบการณ์ ทว่าชาติท้งส่ท่จัดต้งกระบวนการพิจารณาคดีคร้งน้ ได้รับเสียง





สนับสนุนจากอีก 17 ชาติ เพื่อมุ่งหมายให้ ‘บังคับใช้กฎหมายระหว่างประเทศ

อย่างเท่าทันต่อมหันตภัยครั้งย่งใหญ่ในยุคปัจจุบัน น่นคือ สงครามรุกราน

ประเทศอื่นๆ’
ขณะกราดสายตาไปยังเหล่าจ�าเลย แจ็คสันกล่าวว่า: ‘โมฆบุรุษ 20 กว่า



คนท่น่งในคอกจ�าเลยน้น ข้อกล่าวหาของพวกเขาก็คือความอัปยศอดสูท่พวกเขา

ได้กระท�า จนสร้างความย่อยยับขมขื่น พอๆ กับความหดหู่สิ้นหวังของผู้คนที่ถูก
พวกเขาคุกคาม วิสัยอันชั่วช้าของพวกเขาน้น จะต้องเป็นอดีตไปตลอดกาล เป็น


เร่องยากท่จะระลึกกันอีกคร้งว่า พวกเขาท่เป็นนักโทษในตอนน้ เคยครองอานาจ








ในฐานะผู้นาพรรคนาซี ซึ่งคร้งหน่งเคยครองโลกไว้เส้ยวส่วนหน่ง พร้อมกับสร้าง


11

เกริ่นน�ำ












ความน่าสะพรึงกลัวอยางถงทสุด ทงทหากแยกเป็นตวบุคคลแล้ว ชะตาชีวิตของ
พวกเขาแต่ละรายแทบไม่กระทบกระเทือนโลกใบนี้เลย
‘การไต่สวนในคดีนี้ส�าคัญอย่างยิ่ง เพราะนักโทษเหล่านี้เป็นตัวแทนของ

อานาจปีศาจร้าย ท่หลบซุ่มในโลกน้มายาวนานหลังจากร่างสลายเป็นธุลีไป




แล้ว เราจะแสดงให้เห็นว่าคนพวกน้มีชีวิตท่เป็นเครื่องหมายแห่งความเกลียดชัง
ทางเชื้อชาติ ลัทธิก่อการร้าย และความรุนแรง รวมทั้งความจองหองโอหังและ
อ�านาจอันทารุณ พวกเขายังเป็นสัญลักษณ์ของลัทธิชาตินิยมและระบอบทหาร

อันป่าเถ่อน แถมยังอาศัยเล่ห์เพทุบายเพ่อก่อสงคราม จนทาให้ผู้คนทุกรุ่นทุกวัย







ท่วยุโรประสาระสาย ท้งบดขย้มนุษย์ ทาลายบ้านเรือน จนชีวิตมนุษย์เข้าสู่

ความเลวร้าย พวกเขาสร้างความชอบธรรมให้ตวเองด้วยหลักปรชญาทแต่ง






ข้นเอง และพวกเขากาชัยโดยอาศัยอานาจท่บงการและจูงใจคนเปราะบาง


ให้กลายเป็นพรรคพวก ท้งยังกระตุ้นให้ปีศาจร้ายเข้าสิงสู่ในวิญญาณของ

พวกเขา’



ผู้นาพรรคนาซี 21 คนน้ ถูกต้งข้อหาฐานก่ออาชญากรรมต่อสันติภาพ
อาชญากรรมสงคราม และอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ รวมท้งยังได้วางแผน





ร่วมมือและสมคบคิดก่ออาชญากรรมเหล่าน้น (ผู้นานาซีถูกต้งข้อหาท่นูเรมเบิร์ก
รวม 24 คน แต่ถูกน�าขึ้นไต่สวนเพียง 21 คนเท่านั้น เพราะรายหนึ่งถูกวินิจฉัย
ว่าป่วยและชราภาพ รายหนึ่งหลบหนีไปได้ และอีกรายหนึ่งฆ่าตัวตายระหว่าง
ถูกคุมขัง)
คดีน้เริ่มต้นเป็นคดีแรกของอีก 12 คดีท่ตามมา ซึ่งดาเนินการในเมือง




นูเรมเบิร์กระหว่าง ค.ศ.1945 ถึง ค.ศ.1949 รวมจ�าเลยท่แยกย้ายกันข้นศาลต่างๆ

กว่าร้อยคน เช่น ในคดีของผู้พิพากษาและข้าราชการกระทรวงยุติธรรมเยอรมัน

16 คน ได้ทาให้เกิดบรรทัดฐานใหม่ว่าด้วยความรับผิดชอบทางอาญาของ


ผู้พิพากษา หากใช้กฎหมายอย่างไร้ทานองคลองธรรม รวมท้งเหล่านายแพทย์ท ี ่
พยายามด�าเนินการทดลองสุดแสนสยดสยอง โดยใช้ผู้ถูกขังในค่ายกักกัน และ
12

เกริ่นน�ำ



สมาชิกหน่วยไอน์ซัทซ์กรุพเพิน (Einsatzgruppen) หรือหน่วยสังหาร (death
squad) ซึ่งมุ่งหมายสังหารพลเรือนโดยไม่เลือกหน้า

คดีนูเรมเบิร์กเร่มต้นกระบวนการพิจารณาในแบบท่ไม่มีศาลใดเคย



ปฏิบัติมาก่อน จนต้องวางกรอบปฏิบัติใหม่ข้น ในปีต่อมา (ค.ศ.1946) ผู้นา


กระหายสงครามของญ่ปุ่นก็ถูกนาตัวเข้าสู่การไต่สวนในกรุงโตเกียว ระเบียบ


ปฏิบัติท่สถาปนาไว้ท่นูเรมเบิร์กถูกนามาบัญญัติเป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศ

ต่อมาได้จัดต้งศาลอาญาระหว่างประเทศเพ่อพิจารณาคดีอาชญากรรมสงคราม




ไม่ว่ากรณีรวันดาหรือยูโกสลาเวียในอดีต ต้งแต่ ค.ศ.2002 ท่กรุงเฮก ประเทศ
เนเธอร์แลนด์



































13

บทที่หนึ่ง


เส้นทางสู่นูเรมเบิร์ก







เป็นธรรมดาของสงครามท่ฝ่ายพ่ายแพ้จะต้องถูกลงโทษอย่างสาสม ผู้ปราชัย


ในการรบหากไม่ถูกฆ่าท้งกลางสมรภูมิก็ต้องตกเป็นเชลยศึกในกามือของผู้ชนะ
ซึ่งจะจัดการกับผู้แพ้อย่างไรก็ได้ แต่เมื่อโลกเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ แม้ยังไม่ชัดเจน
นักว่าคดีอาชญากรรมสงครามกินความสักแค่ไหน โดยสังเขปแล้ว ฝ่ายผู้ชนะ

ต้องเฟ้นหาทางที่เหมาะควร ให้ตนเองดูดีเป็นผู้มีอารยะ

กระน้นก็ตาม หลังเกิดการฆ่าฟันอย่างโหดเห้ยมโดยไม่เลือกฝ่ายใดใน





สงครามโลกคร้งท่หน่ง พันธมิตรผู้ชนะสงครามมุ่งต้งข้อหาอาชญากรสงคราม
แก่ฝ่ายศัตรู ตามสนธิสัญญาแวร์ซายซึ่งเป็นบทสรุปของสงคราม คร้งน้น


ไคเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2 (Kaiser Wilhelm II) ถูกตั้งข้อหาเป็นทางการว่า ‘ละเมิด
ศีลธรรมระหว่างประเทศและความเคารพแห่งสนธิสัญญาข้นร้ายแรง’ เขาต้อง






ถูกนาตวมาอยเบ้องหน้าองค์คณะตลาการพเศษ ประกอบด้วยผู้พพากษาหาคน


ู่
จากสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส อิตาลี และญี่ปุ่น
ส่วนคนอื่นๆ ที่ละเมิดกฎหมายและธรรมเนียมสงคราม ต้องถูกน�าตัวขึ้น
ศาลยุติธรรมเพื่อพิจารณาโทษ อีกทั้งยังบังคับให้รัฐบาลเยอรมันต้องส่งมอบตัว
พวกเขาพร้อมด้วยหลักฐานต่างๆ เพื่อมัดการกระท�าผิดของพวกเขาด้วย



สนธสญญาลงนามในวนท 28 มถนายน ค.ศ.1919 จากน้นได้มีบนทก









ไปถึงรัฐบาลดัตช์ สั่งให้ส่งตัวอดีตไคเซอร์ซึ่งพานักล้ภัยในประเทศเนเธอร์แลนด์
หลังสละราชย์เมื่อพฤศจิกายน ค.ศ.1918 อย่างไรก็ตาม รัฐบาลดัตช์ปฏิเสธ
14

เส้นทางสู่นูเรมเบิร์ก



ที่จะปฏิบัติ เพราะจะละเมิดต่อสถานะประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดของตนเอง

ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.1920 ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ย่นบัญชีรายชื่อบุคคล
900 นาย แก่รัฐบาลเยอรมัน ซึ่งรวมถึงหัวหน้าเสนาธิการทหาร จอมพลเพาล์





ฟอน ฮินเดนบวร์ก (Paul von Hindenburg) ผ้ดารงตาแหน่งประธานาธบด ี

เยอรมนีในกาลต่อมา และเป็นคนแต่งต้งอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) ให้
ด�ารงต�าแหน่งนายกรัฐมนตรี (chancellor) เฉกเช่นอดีตไคเซอร์ รัฐบาลเยอรมัน
ปฏิเสธท่จะส่งตัวคนท้งหมด แต่ร้องขอว่าจะจัดการคนพวกน้ในศาลเยอรมันเอง



ฝ่ายสัมพันธมิตรเห็นด้วย แต่รายชื่อคนทั้งหมดถูกตัดออกจนเหลือ 45 คน และ
มีแค่ 12 คนเท่านั้นที่ถูกส่งตัวขึ้นศาล
การพิจารณาคดีกระท�ากันที่ศาลฎีกา หรือไรช์สกริชท์ (Reichsgericht)

ในเมืองไลพซิจ (Leipzig) ประกอบดวยผูพิพากษาเจ็ดคน และพิพากษาลงโทษ


คนผิดได้เพียงหกคนเท่าน้น ยศสูงสุดระดับร้อยเอก ในอัตราโทษจ�าคุกระหว่างหก

เดือนถึงสี่ปี ฝ่ายสัมพันธมิตรรู้ตัวแล้วว่า ‘ปลาตัวใหญ่หลุดจากมือ’ ไปเสียแล้ว


ส่วนคนท่ถูกดาเนินคดีก็ได้รับโทษเพียงเล็กน้อย แต่กระน้นฝ่ายเยอรมนียังรู้สึกว่า

ไม่ยุติธรรมสาหรับพวกตนอยู่ดี เพราะมีเพียงคนเยอรมันเท่าน้นท่ถูกลงโทษ ท้งท ่ ี




ความโหดร้ายป่าเถ่อนนนเกิดจากท้งสองฝ่าย อีกยงเป็นการพจารณาคดีทละเลย








หลักการบรรทัดฐานทางกฎหมาย จนสร้างความคับแค้นอย่างใหญ่หลวงแก่
ประเทศเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบรรดานายทหารเก่า แต่ก็ค่อยๆ สงบลง
ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1922 อย่างไรก็ตาม ความอัปยศอันแสนเจ็บปวดจาก
การถูกดาเนินคดีแต่ฝ่ายเดียวดังกล่าวได้กลายเป็นเชื้อให้เกิด “กบฏโรงเบียร์”

(Beer Hall Putsch) โดยฮิตเลอร์ใน ค.ศ.1923 ซึ่งเป็นความพยายามของ
พรรคนาซีที่จะยึดอ�านาจรัฐ แต่กลับล้มเหลว

ขณะท่ชนชาติเยอรมันท้งมวลถูกลงโทษในฐาน ‘ความรับผิดใน

อาชญากรรมสงคราม’ ตามระบุในสนธิสัญญาแวร์ซาย พร้อมท้งยังถูกบีบบังคับ


ให้จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามก้อนโต ความคับแค้นท้งหลายเหล่าน้ล้วนเก้อหนุนให้


15

บทที่หนึ่ง







ลัทธินาซีเติบใหญ่ จนจบลงด้วยสงครามโลกคร้งท่สอง เหล่าผู้คนท่มาสมาคม






กนยงนเรมเบิร์กในคราวน ต่างตกลงใจกนแล้วว่าจะไม่ยอมให้ความเลวร้าย
ดังว่าเกิดขึ้นอีกครั้ง
สงครามที่ไม่มีครั้งไหนเหมือน









อาจเป็นเรืองปกตสาหรบผู้มีชีวตผ่านสงครามโลกครงท่สอง ซึงไม่มีสงคราม
ครั้งไหนๆ เทียบได้อีกแล้ว นอกจากคนจะล้มตายระหว่างสู้รบกว่า 50 ล้านคน
อีกหลายล้านคนได้รับบาดเจ็บ และอีกมากมายพิการตลอดชีวิต ยังมีบ้านเรือน





นับไม่ถ้วนถูกทาลายจนชีวิตต้องล่มสลาย สงครามคร้งน้เป็นสงครามท่เกิดข้น



เพ่อรับใช้อุดมการณ์ท่ปรารถนาจะยึดครอง การาบ และกาจัดผู้คนบริสุทธ์หลาย


ล้านคน หน่วยสังหาร (death squad) ซึ่งเดินตามกองทหารเยอรมันที่ล่วงหน้า
ไปก่อน ได้ปลิดชีพพลเรือนอย่างไร้ความปรานี คนหลายล้านถูกเกณฑ์ไปเป็น
แรงงานทาส ถูกต้อนเข้าค่ายกกกันและค่ายมรณะ ข้อเทจจริงประการหนงคอ









ข้อกล่าวหาของผู้นานาซีท้ง 24 คนท่นูเรมเบิร์กน้น ได้บัญญัติศัพท์ใหม่ให้เกิดข้น

ในภาษาอังกฤษ นั่นคือฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (genocide) ทั้งนี้ในข้อหาที่ 3 แถลงว่า

‘จ�าเลยดาเนินการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อย่างตระเตรียมการและเป็นระบบ ซึ่งเป็นการ
ท�าลายล้างกลุ่มชาติพันธุ์และชนชาติต่างๆ...’ จนชัดแจ้งว่า เป็นอาชญากรรมที่
ไม่อาจปล่อยไว้โดยไม่ลงโทษทัณฑ์ใดๆ ได้
ฮิตเลอร์หาได้ซ่อนเร้นเจตจ�านงของเขาแต่อย่างใด เขาจดบันทึกแรง


ปรารถนาท่จะกาจัดประชากรยิวให้หมดไปจากเยอรมนี รวมท้งปราบปราม


คนสลาฟทางตะวันออก เพราะถือว่าคนพวกน้มิใช่มนุษย์ ในช่วงแรกราวเดือน
เมษายน ค.ศ.1940 รัฐบาลอังกฤษและฝรั่งเศส รวมทั้งรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์
ได้ร่วมกันแถลง ‘คาประท้วงเป็นทางการและเปิดเผยเพ่อเรียกร้องมโนส�านึก


คนท้งโลกในพฤติกรรมของรัฐบาลเยอรมัน ผู้ต้องแสดงความรับผิดชอบต่อ

อาชญากรรมเหล่านี้ โดยไม่อาจปล่อยให้ลอยนวลต่อไปอีก’
16

เส้นทางสู่นูเรมเบิร์ก




แม้ก่อนหน้าท่สหรัฐฯ จะเข้าร่วมสงคราม ประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี.
โรสเวลต์ (Franklin D. Roosevelt) ได้เตือนเยอรมนีไว้แล้วว่า ‘สักวันหน่งจะ





ถูกเอาคืนอย่างเห้ยมโหด’ หลังคาส่งประหารชีวิตเชลยสงครามในฝร่งเศสทันท ี
นายกรัฐมนตรีอังกฤษ วินสตัน เชอร์ชิลล์ (Winston Churchill) ก็เห็นพ้องด้วย
เช่นกัน เขากล่าวไว้ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1941 ว่า: ‘การสังหารหมู่ชาว



ฝร่งเศสอย่างรวบรัดฉับพลัน เป็นตัวอย่างท่พวกนาซีของฮิตเลอร์กาลังกระทากัน

ในหลายประเทศ ซึ่งอยู่ใต้อ�านาจของพวกเขา ความโหดร้ายป่าเถื่อนเกิดขึ้นใน
โปแลนด์ ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ ฮอลแลนด์ เบลเยียม และโดยเฉพาะหลังแนวรบ
ของเยอรมันในรัสเซีย เกินเลยไปกว่าจะยอมรับกันได้ว่า เป็นความป่าเถื่อนและ
ความเลวร้ายท่เกิดข้นในยุคแห่งมนุษยชาติ การลงทัณฑ์ต่ออาชญากรรมท้งหมด



ถือเป็นหนึ่งในภารกิจส�าคัญของสงคราม’







ผ้แทนชาติทถูกเยอรมนียดครองเก้าประเทศในยโรปมาประชุมกนยง

พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน พร้อมกับประกาศว่า ‘สงครามท่สาคัญ

ย่งเหนือครั้งใด น่นคือความมุ่งมั่นท่จะลงโทษการกระทาผิดผ่านกระบวนการ




ยุติธรรม หรือแสวงหาความรับผิดชอบในอาชญากรรมทั้งหมด ไม่ว่าพวกเขาจะ
เป็นผู้สั่งการ กระท�าการ หรือมีส่วนร่วมใดๆ ก็ตาม’
ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1942 เชอร์ชิลล์ครุ่นคิดว่าจะจัดการอย่างไร


หากฮตเลอร์ตกอย่ในกามือของอังกฤษ ‘ควรสงประหารเสยเลย’ เขากล่าว




‘ด้วยวิธีนั่งเก้าอี้ไฟฟ้าแบบพวกอันธพาล จะได้ไม่ต้องยืดเยื้อต่อไป’
เดือนกรกฎาคมปีถัดมา เขาตัดสินใจให้ยิงเป้าผู้น�านาซีรายอื่นๆ โดยเร็ว
แทนท่จะนาตัวมาไต่สวน เขายังคิดให้จัดทาบัญชีรายชื่อคนกลุ่มน้สัก 50 ราย






หรือมากกว่าน้น เมื่อใครถูกจับได้ในขณะกองทหารกาลังรุกรบ ก็ให้ประหาร


เสียตรงน้น โดยไม่ต้องรายงานผู้บังคับบัญชาท่เหนือกว่า แต่ก็เป็นเร่องท ่ ี

ผิดกฎหมาย จ�าเป็นต้องท�าให้ถูกต้องโดยให้รัฐสภาผ่านกฎหมายให้มีผลบังคับ
ใช้ย้อนหลังได้ในคดีอาญา อย่างไรก็ตาม กฎหมายท่มีผลบังคับย้อนหลังน้น


17


Click to View FlipBook Version