The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suphawadee Panthumas, 2019-04-10 21:35:50

Proceeding of the 2nd Public Health Conference

Proceeding

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

1

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

สารจากหวั หนา้ สาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์

การประชุมวิชาการหลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ครั้งที่ 2 คร้ังน้ี จัดภายใต้แนวคิด “จากภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ิน สู่ปัญญาแผน่ ดิ” From Local to Wisdom of the Land เกิดจากความสาเร็จของการจัดประชุมวชิ าการ
คร้ังท่ี 1 ในปีท่ีผ่านมา ท่ีนักศึกษาได้นาผลงานวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน จากการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ
ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล มาแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน มีนวัตกรรมที่หลากหลายที่เกิดข้ึนและท่ีสาคัญ
เป็นนวัตกรรมเล็กๆ ท่ีดาเนินการในระยะเวลาอันสั้น แต่กลับเกิดผลการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพ และ
ผลลัพธ์ทางด้านสุขภาพ ได้อย่างเป็นรูปธรรม จนทาให้ทางหลักสูตรฯ ได้นาผลงานเหล่านั้นไปเผยแพร่ในเวที
วิชาการสาธารณสุขระดับจังหวัด และเขตสุขภาพที่ 10 และมีผลงานท่ีคว้ารางวัลสร้างชื่อเสียงให้กับหลักสูตรฯ
และโครงการจัดต้งั วทิ ยาเขตอานาจเจรญิ

สาหรับการจัดประชุมวิชาการฯ คร้ังน้ี เป็นการต่อยอดจากปีท่ี 1 ท่ีเป็นผลจากการกระตุ้น หนุนเสริมให้
นักศึกษาได้ใช้กระบวนการศึกษาชุมชน ท่ีต้องค้นหาปัญหาและต้นทุนชุมชน โดยเฉพาะภูมิปัญญาท้องถิ่น มา
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน จนทาให้สามารถลดปัญหาและผลกระทบต่อ
สุขภาพของประชาชนได้อย่างแท้จริง โดยศักยภาพของนักศึกษาที่กาลังจะก้าวออกไปเป็นบัณฑิตท่ีทาหน้าที่รับใช้
สงั คม สมกับเป็น “ปัญญาของแผน่ ดนิ ” อย่างที่หลักสูตรฯ คาดหวัง

เอกสารรวมบทคัดย่อในการประชุมวิชาการหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต คร้ังที่ 2 ท่ีได้จัดทาขึ้นใน
คร้ังน้ี จึงเป็นความภาคภูมิใจของคณาจารย์ ท่ีหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเกิดประโยชน์ต่อนักศึกษา บุคลากรทางด้าน
สขุ ภาพ ทจี่ ะนาไปใชใ้ นการดูแลประชาชนให้มีสขุ ภาพดีในอนาคตตอ่ ไป

ดร.ประเสรฐิ ประสมรักษ์
หัวหนา้ สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์

10 เมษายน 2562

2

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

คณะกรรมการจัดงาน

1. อาจารย์ ดร.ประเสริฐ ประสมรกั ษ์ หวั หนา้ สาขาสาธารณสุขศาสตร์
2. อาจารย์ ดร.อาไพ โสรส รองหวั หนา้ สาธารณสขุ ศาสตร์
3. อาจารย์ ดร. อสิ ระพงศ์ โพธ์ิสุข กรรมการ
4. อาจารย์ ดร. พรพรรณ ประพัฒน์พงษ์ กรรมการ
5. อาจารย์ พิศมยั นาทนั กรรมการ
6. อาจารย.์ ดร. สภุ าวดี พนั ธมุ าศ กรรมการและเลขานุการ

3

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

สารบญั หน้า
6
เรื่อง 7

Conference Programme 8
Abstract of Oral Presentations and Abstract of Poster Presentations
9
1. ผลของโปรแกรม อสม. เส่ยี วฮกั ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้าตาล
ในเลอื ดของผ้ปู ่วยโรคเบาหวาน บา้ นนาผาง หมทู่ ี่ 6 ตาบลห้วย 10
อาเภอปทุมราชวงศา จงั หวัดอานาจเจรญิ 11

2. ประสิทธิผลของการพัฒนาศนู ยจ์ ัดการความรดู้ ้านสขุ ภาพในชมุ ชนโดยใช้ตวั แบบ 12
และข้อมูลสขุ ภาพระดับบุคคลเปน็ ฐาน ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนดิ ที่ 2: กรณีศึกษา
หมู่ท่ี 1 บา้ นห้วยไร่ ตาบลห้วยไร่ อาเภอเมอื งอานาจเจริญ จงั หวดั อานาจเจริญ 13

3. ผลของโปรแกรมการมสี ว่ นรว่ มของครอบครัวตอ่ พฤติกรรมสขุ ภาพและระดบั นา้ ตาล 14
ในเลอื ดของกลุ่มเส่ียงเบาหวานในชมุ ชนบา้ นไม้กลอน ตาบลไม้กลอน 15
อาเภอพนา จังหวัดอานาจเจริญ
4
4. ผลของโปรแกรมพิชิตนา้ ตาลในผูป้ ่วยเบาหวานด้วย “ส่ือรกั เพลงลกู ทงุ่ เต้นต้านพุง
มงุ่ ลดข้าวเหนยี ว” ในพื้นที่ตาบลหนองไฮ อาเภอเสนางคนิคม จงั หวัดอานาจเจริญ

5. ผลของโปรแกรมส่งเสรมิ ความรู้และการออกกาลังกายด้วยแอโรบิค
ต่อระดับความรแู้ ละพฤตกิ รรมการดแู ลตนเอง ในกลุม่ เส่ียงโรคความดันโลหติ สูง
บา้ นภักดีเจรญิ หมู่ที่ 10 ตาบลหว้ ยไร่ อาเภอเมือง

6. ผลของโปรแกรมการใหค้ วามรูแ้ ละการออกกาลังกายดว้ ยราผ้าขาวมา้ ต่อพฤติกรรม
การดูแลตนเองและความดนั โลหิตของกลมุ่ ผ้ปู ่วยโรคความดนั โลหติ สงู
หมู่ 1 บา้ นนาปา่ แซง อาเภอปทุมราชวงศา จงั หวดั อานาจเจริญ

7. ประสทิ ธิผลของโปรแกรมเสริมสรา้ งการรับรู้ด้านพฤติกรรมการใช้ยาโดยใชส้ อื่ ผสม
ร่วมกบั ตะกร้ายานาฬิกาเตือนความจาสาหรับผู้ปว่ ยโรคความดันโลหิตสูง
บ้านถอ่ นใหญ่ หมู่ 8 ตาบลปลาคา้ ว อาเภอเมือง จงั หวดั อานาจเจรญิ

8. การพฒั นารปู แบบการจัดการขยะในครวั เรือนอยา่ งมสี ว่ นร่วมของชุมชนบ้านสมสะอาด
ตาบลหนองสามสี อาเภอเสนางคนคิ ม จังหวดั อานาจเจรญิ

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

สารบัญ (ต่อ)

เร่อื ง หน้า

9. ผลของโปรแกรมการสรา้ งเสรมิ ความรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพตอ่ การปรับเปล่ยี นพฤติกรรม 16
การปอ้ งกันโรคอุจจาระร่วงในตัวแทนครัวเรอื นบา้ นนาล้อม หมู่ที่ 8 ตาบลไรข่ ี 17
อาเภอลืออานาจ จงั หวดั อานาจเจรญิ 18
19
10. ผลของการเสริมสรา้ งความรอบรดู้ ้านการปอ้ งกนั โรคไข้เลอื ดออกโดยวิทยากรชมุ ชน 20
คนสองวยั บ้านสรา้ งถ่อนอก ตาบลสร้างถอ่ น้อย อาเภอหวั ตะพาน จังหวัดอานาจเจรญิ

11. ประสิทธิผลของศนู ย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยปี ราบลกู นา้ ยงุ ลายประจาคมุ้ รว่ มกับ
นวตั กรรมปนู แดงสมุนไพรในพ้ืนทีบ่ า้ นชะแงะ หมทู่ ี่ 4 ตาบลโพนเมอื งน้อย
อาเภอหัวตะพาน จังหวัดอานาจเจรญิ

12. ผลของโปรแกรมหา้ หอไม่งอ้ บหุ รี่ต่อความรู้ พฤติกรรม และความจุปอดของผูต้ ดิ บหุ รี่
หมู่ 11 บ้านนาสะแบง อาเภอพนา จังหวดั อานาจเจรญิ

13. ประสทิ ธผิ ลของโปรแกรมประยุกตใ์ ช้ทฤษฏกี ารรบั ร้คู วามสามารถแห่งตน
ในการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมการบริโภคอาหารและการออกกาลังกายผสมผสาน
บาสโลบม้าย่องและเต้นแอโรบิค ของคนในชุมชนบ้านนาโนนทีม่ ภี าวะอว้ น

5

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

Conference Programme

วันที่ 11 เม.ย. 2562

เวลา กิจกรรม
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน
08.30-08.40 น. วีดที ศั น์ “BPH transformation จากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น สปู่ ญั ญาของแผ่นดนิ ”
08.40-09.00 น. พิธีเปิด โดยรองอธิการบดีฝา่ ยโครงการจดั ตัง้ วิทยาเขตอานาจเจริญ
09.00-10.00 น. บรรยายพเิ ศษ “ทาไมตอ้ งสอบใบประกอบวชิ าชีพสาธารณสขุ ชมุ ชน”
10.00-10.45 น. ประสบการณจ์ ากพ่ี “โอกาสการมงี านทาและการเตรยี มความพร้อม”
10.45-11.15 น. Poster Session
11.15-12.15 น. Oral Presentation Session 1

Group: Diabetes Mellitus Care System
(1. รพ.สต.นาผาง, 2. รพ.สต.ห้วยไร่, 3. รพ.สต.โพนเมอื ง)
12.15-13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.20 น. Oral Presentation Session 2
Group: Diabetes Mellitus Care System Cont.
(1. รพ.สต.หนองไฮ)
Group: Hypertension Care System
(2. รพ.สต.ภักดีเจรญิ , 3. รพ.สต.นาปา่ แซง, 4. สอน.ปลาค้าว)
14.20-14.30 น. พกั รับประทานอาหารวา่ ง
14.30-15.10 น. Oral Presentation Session 3
Group: Diarrhea and Waste Management
(รพ.สต.หนองสามสี, รพ.สต.ไรข่ ี)
15.10-15.50 น. Oral Presentation Session 4 (ไข้เลอื ดออก)
Group: DHF Prevention and Control
(รพ.สต.สรา้ งถ่อใน, รพ.สต.โพนเมอื งนอ้ ย)
15.50-16.30 น. Oral Presentation Session 5
Group: Behavioral Change
(รพ.สต.นาสะแบง, รพ.สต.อ่มุ ยาง)
16.30-17.00 น. พธิ ีมอบใบประกาศเกียรติคุณ

-อาจารยพ์ เี่ ล้ียง
-ผลงาน Popular Vote

6

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

Abstract of Oral Presentations
and

Abstract of Poster Presentations

7

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ผลของโปรแกรม อสม. เสี่ยวฮัก ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดบั น้าตาลในเลอื ดของผู้ปว่ ย
โรคเบาหวาน บ้านนาผาง หม่ทู ่ี 6 ต้าบลห้วย อ้าเภอปทุมราชวงศา จงั หวัดอา้ นาจเจรญิ

ชนิ วัตร ป่าอ้อย1 รัฐธรรมนญู อระบุตร1 รุจโิ รจน์ ตูด้ า1 Xaiya Sisomboun2 Phounsavanh Sinnavong2
ธนภรณ์ สงั ฆวตั ร์3 ทนงศักดิ์ มุลจนั ดา3 ขนษิ ฐา ตะลตุ ะกา3 ประเสรฐิ ประสมรักษ์, PhD.1

บทคัดย่อ

หลักการและวัตถุประสงค์: โรคเบาหวานเป็นปัญหาสาคัญระดับโลก มีแนวโน้มผู้ป่วยท่ีมีภาวะแทรกซ้อน
เพ่ิมขึ้น ท่ีเป็นผลมาจากพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่ดีและควบคุมระดับน้าตาลในเลือดไม่ได้ ดังน้ันการศึกษาน้ี จึงมี
วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลของโปรแกรม อสม. เส่ียวฮัก ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้าตาลในเลือดของ
ผ้ปู ่วยโรคเบาหวาน เน่ืองจาก อสม. เปน็ กลุม่ ที่มีอทิ ธิพลตอ่ การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมของคนในชมุ ชน

วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบมกี ล่มุ เปรียบเทียบวัดผลก่อน-หลังการทดลอง ในประชากรผู้ปว่ ย
โรคเบาหวาน จานวน 46 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุม่ ควบคมุ กลมุ่ ละ 23 คน กลุ่มทดลองไดร้ บั โปรแกรม อส
ม. เส่ียวฮัก ประกอบด้วย 1) อบรมให้ความรู้แก่เสี่ยวที่เป็น อสม. 2) ผูกเสี่ยว อสม. กับผู้ป่วยเบาหวาน 3) เสี่ยวบ้าน
ชวนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคอาหาร การรับประทานยา และชวนออกกาลังกาย ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแล
ตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามและแบบบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติ
เชงิ อนมุ าน Wilcoxon signed ranks test และ Mann-Whitney U test ที่ระดบั นัยสาคัญ .05

ผลการศึกษา: จากการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างท้ังสองกลุ่ม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (87.0% และ 73.9%)
จบการศึกษาระดับประถมศึกษา/ต่ากว่า (87.1% และ 69.6%) ก่อนการทดลองกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมมี
พฤตกิ รรมการดูแลตนเองทั้ง 3 ด้านและระดบั นา้ ตาลในเลือดไม่แตกต่างกนั แตภ่ ายหลงั การทดลองพบว่า กลุ่มทดลอง
มีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร การออกกาลังกาย เพ่ิมขึ้น แต่ค่าเฉล่ียพฤติกรรมการรบั ประทานยาลดลง ส่วน
กลุ่มควบคุม มีค่าเฉล่ียพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การรับประทานยา เพ่ิมข้ึน แต่ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกาลัง
กายลดลง ซึ่งพฤติกรรมการดูแลตนเองภาพรวมในกลุ่มทดลองมีความแตกต่างจากก่อนทดลองอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถติ ิ p-value =.049 ส่วนกลมุ่ ควบคุมพบวา่ ไมแ่ ตกต่าง เช่นเดียวกนั กบั ระดับน้าตาลในเลอื ด ท่พี บว่า หลังการทดลอง
ไม่มคี วามแตกตา่ งกัน ระหว่างกลุม่ ทดลองกบั กลมุ่ ควบคมุ

สรปุ : ภายหลังได้รบั โปรแกรม อสม. เสยี่ วฮกั ทาใหพ้ ฤติกรรมดแู ลตนเองด้านการบรโิ ภคอาหาร และการออก
กาลังกายดีข้ึน แตร่ ะดับนา้ ตาลในเลือดไม่แตกตา่ งกนั

ค้าสา้ คัญ: โรคเบาหวาน, พฤตกิ รรมการดูแลตนเอง, ระดบั น้าตาลในเลือด, อสม., เสี่ยวฮกั

1โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอานาจเจริญ มหาวทิ ยาลัยมหิดล, 2College of Health Science Savannakhet,
3โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาผาง

8

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ประสิทธิผลของการพฒั นาศูนย์จัดการความรดู้ า้ นสุขภาพในชมุ ชน โดยใช้ตัวแบบและขอ้ มูลสุขภาพระดับ
บุคคลเปน็ ฐาน ในผูป้ ่วยโรคเบาหวานชนดิ ที่ 2: กรณีศึกษาหมทู่ ี่ 1 บา้ นห้วยไร่ ต้าบลห้วยไร่ อา้ เภอเมือง
อ้านาจเจรญิ จงั หวัดอ้านาจเจริญ

นภพล มิตรวงค1์ จารุศริ ิ อทุ กุ พรรค1 ศศิธร เฉลมิ วงศ์1 วิภาภรณ์ ดาแก้ว1 สดุ ารตั น์ โมระดา2 อุบล ศรสี มภาร3
นลนิ รตั น์ พลอาษา2 มยุรา ออ่ นหวาน2 ประเสริฐ ประสมรกั ษ์, PhD.1

บทคัดย่อ

หลักการและวัตถุประสงค์: ผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ และมี
พฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ีไม่เหมาะสม ขณะทีช่ มุ ชนมีแหล่งเรียนรู้ท่ีสามารถพัฒนาเปน็ ศูนย์ถ่ายทอดความรู้ได้
พรอ้ มท้ังมีผู้ปว่ ยตน้ แบบที่สามารถถา่ ยทอดประสบการณใ์ ห้แกผ่ ู้ปว่ ยรายอืน่ ได้ ดงั นั้นการศึกษานี้ จึงมีวตั ถุประสงค์
เพ่ือศึกษาประสิทธิผลของการพัฒนาศูนย์จัดการความรู้ด้านสุขภาพในชุมชน โดยใช้ตัวแบบและข้อมูลสุขภาพ
ระดับบคุ คลเป็นฐานในผูป้ ่วยโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2

วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Research) แบบหน่ึงกลุ่มวัดผลก่อนและ
หลังการทดลอง (One-group pre-test post-test experiment) ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดท่ี 2 เป็น
การศกึ ษาประชากรจานวน 21 ราย เก็บรวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยแบบสอบถามความรแู้ ละพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารท่ี
มีค่าความเชื่อม่ัน เท่ากับ .78 และ .76 ตามลาดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ซึ่งแบ่งเป็นการ
วเิ คราะห์ขอ้ มูลดว้ ยสถิตเิ ชงิ พรรณนา ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานและค่าต่าสดุ -สูงสุด
และสถิติเชิงอนุมานเพ่ือวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยภายในกลุ่มทดลอง ระหว่างก่อน
ทดลองและหลงั ทดลอง ด้วยสถิติ Paired sample t-test ทีร่ ะดับนยั สาคัญ .05

ผลการศึกษา: จากการศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 61.9 มีช่วงอายุระหว่าง
60-69 ปี (รอ้ ยละ 61.8) จบระดบั ชั้นประถมศึกษา รอ้ ยละ 95.2 โดยภายหลังการทดลอง พบว่า (1) กลมุ่ ตัวอย่าง
มีคะแนนเฉล่ียของความรเู้ พิ่มเป็น 11.48 คะแนน (S.D.=.31) จากก่อนการทดลองที่เทา่ กับ 9.19 คะแนน (S.D.=.
63) โดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ p-value =.002 (2) มีค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพ่ิมเป็น
63.09 คะแนน (S.D.=1.01) จากก่อนการทดลองที่เท่ากับ 56.38 คะแนน (S.D.=1.32) และ โดยมีความแตกต่าง
อยา่ งมนี ยั สาคัญ p-value <.001 (3) มีคา่ ระดับนา้ ตาลในเลือด (FBS) ลดลง 14 คน (ร้อยละ 66.6)

สรุป: ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีเฉล่ียคะแนนความรู้ และพฤติกรรม
การบรโิ ภคอาหารสูงกวา่ กอ่ นการทดลอง และผู้ปว่ ยสว่ นใหญ่มีระดบั นา้ ตาลลดลง

คา้ สา้ คญั : ศนู ย์จดั การความรดู้ า้ นสุขภาพในชุมชน, พฤติกรรมการบริโภคอาหาร, ระดับน้าตาลในเลอื ด
1โครงการจดั ตงั้ วิทยาเขตอานาจเจรญิ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, 2โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลหว้ ยไร่

9

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ผลของโปรแกรมการมสี ่วนร่วมของครอบครวั ต่อพฤตกิ รรมสขุ ภาพและระดับนา้ ตาลในเลอื ดของกลุ่มเส่ียง
เบาหวานในชมุ ชนบ้านไม้กลอน ตา้ บลไมก้ ลอน อา้ เภอพนา จงั หวดั อ้านาจเจริญ

ศริ ิรตั น์ ใจหาญู1 แสงเดือน พิมพป์ ัด1 สริ นิ ทร์ หมวดแกว้ 1 Inthisone Vorasane2 มนูญ พูลเพิม่ 3
นริ ตุ ต์ พันธ์ออ่ น3 นสิ สนั พนั ทะนาม3 ประเสริฐ ประสมรักษ์, PhD.1

บทคดั ย่อ

หลักการและวัตถุประสงค์ : พฤตกิ รรมสุขภาพท่ีไม่เหมาะสมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน สง่ ผลให้กลมุ่ เส่ียง
กลายเป็นผูป้ ว่ ยเบาหวานรายใหม่ ดงั น้นั การศกึ ษาน้จี ึงมีวตั ถุประสงค์เพ่ือศกึ ษาผลของโปรแกรมการมีสว่ นร่วมของ
ครอบครัวตอ่ พฤติกรรมสุขภาพและระดับน้าตาลในเลือดของกล่มุ เส่ยี งโรคเบาหวาน

วิธีการศึกษา : เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ในกลุ่มเส่ียงโรคเบาหวานในตาบลบ้านไม้กลอน อาเภอพนา
จังหวัดอานาจเจริญ 32 ราย คานวณขนาดตัวอย่างด้วยการประมาณค่าเฉลี่ย สุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย และทา
การจับคู่กลุ่มตัวอย่างให้มีลักษณะท่ีเหมือนหรือใกล้เคียงกันมากท่ีสุด เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามท่ีมีค่าความ
เชอ่ื มน่ั .81 และ .85 วเิ คราะหข์ อ้ มูลด้วยสถิตเิ ชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
และสถิติเชิงอนมุ าน ได้แก่ Paired sample t-test และ Independent t-test ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05

ผลการศึกษา : จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 35-59 ปี
ร้อยละ 56.25 และความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์แบบสามี-ภรรยา ร้อยละ 50 ภายหลัง
การทดลองพบว่า (1) ความรู้ของกลุ่มทดลองมากกว่าก่อนทดลองและมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติท่ีระดับ p <.00 (2) พฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มทดลองมากกว่าก่อนทดลองและมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ p <.00 (3) ระดับน้าตาลในเลือดของกลุ่มทดลองต่ากว่าก่อนทดลองและต่ากว่ากลุ่ม
ควบคมุ อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั p <.00

สรุป : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพมากข้ึน และมีระดับน้าตาลในเลือดลดลง
หลังจากได้รับโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อพฤติกรรมสุขภาพ และระดับน้าตาลในเลือดของกลุ่มเสีย่ ง
โรคเบาหวาน ดังนั้นโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพ เพ่อื ปอ้ งกนั การเกดิ โรคเบาหวานของกล่มุ เสี่ยงในชุมชนได้

คา้ ส้าคญั : โปรแกรมการมสี ว่ นร่วมของครอบครัว, พฤตกิ รรมสขุ ภาพ, ระดบั นา้ ตาลในเลอื ด

1โครงการจัดตัง้ วิทยาเขตอานาจเจรญิ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, 2College of Health Science Savannakhet,
3โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบา้ นโพนเมือง

10

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ผลของโปรแกรมพชิ ติ น้าตาลในผปู้ ่วยเบาหวานดว้ ย “สื่อรกั เพลงลูกทุ่ง เต้นต้านพุง มงุ่ ลดขา้ วเหนยี ว”
ในพืนทีต่ า้ บลหนองไฮ อา้ เภอเสนางคนิคม จังหวดั อ้านาจเจรญิ

นมิ ติ รา ศรมี ลู 1 กริษฐา เกยี รตริ ุ่งวไิ ลกลุ 1 พรรณราย จนั ทรเ์ ป็ง1 Phengphan Anousinh2 ดาวนภา จารสุ าร3 มนัสนนั ท์
พันธเ์ุ ลิศ3, ภณฐั ฎา สุวะมาตย์3, ปรียานุช บุญทศ3 ประเสรฐิ ประสมรกั ษ์, PhD.1

บทคดั ย่อ

หลักการและวัตถุประสงค์ : โรคเบาหวานก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบ ส่งผลกระทบต่อการ
ดารงชวี ิต ผูป้ ่วยจาเป็นต้องมีพฤติกรรมควบคุมอาหาร การออกกาลงั กายท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะปัญหาการบริโภคข้าว
เหนียวท่ีไม่จากัดปริมาณ ดังนั้นการศกึ ษานี้มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ ศึกษาผลของโปรแกรมพชิ ิตน้าตาลในผู้ป่วยเบาหวานไม่
สามารถควบคุมระดับน้าตาลได้ด้วย “สื่อรักเพลงลูกทุ่ง เต้นต้านพุง มุ่งลดข้าวเหนียว” ในพื้นที่ตาบลหนองไฮ อาเภอ
เสนางคนคิ ม จงั หวดั อานาจเจริญ

วิธีการศึกษา : เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ชนิดสองกลุ่มวัดผลก่อน-หลังการทดลอง ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่
สามารถควบคุมระดับน้าตาลในเลือด โดยเป็นการศึกษาประชากร จานวน 36 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม
เปรียบเทียบ กลุ่มละ 18 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมพิชิตน้าตาล เป็นเวลา 2 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดย
แบบบันทึก และแบบสอบถามท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน มีค่าความเชื่อม่ันเท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา
และสถิติเชิงอนุมานด้วย Paired-Samples t–test, Independent-Samples t-test และ Mann-Whitney U Test
ท่รี ะดบั นยั สาคัญทางสถิติที่ .05

ผลการศึกษา : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีระดับการศึกษาประถมศึกษา ภายหลังการ
ทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง พฤติกรรมการบริโภคข้าวเหนียว
และการรับรู้การบริโภคข้าวเหนียว ดีกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (p-value <.05)
และมีคา่ เฉลีย่ ระดับน้าตาลในเลือด ภายในกลมุ่ ทดลอง และระหว่างกลมุ่ ทดลองกับกลมุ่ ควบคุมตา่ กว่ากอ่ นการทดลอง
และกลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ัยสาคัญ ทางสถติ ิ (p-value <.05)

สรุป: โปรแกรมพิชิตน้าตาลในผู้ป่วยเบาหวาน ด้วย “สื่อรักเพลงลูกทุ่ง เต้นต้านพุง มุ่งลดข้าวเหนียว” มีผล
ทาให้ผู้ปว่ ยเบาหวานมีการรับรูด้ า้ นสุขภาพ พฤตกิ รรมการดูแลตนเองทด่ี ขี ึน้ และสามารถลดระดบั นา้ ตาลในเลือดได้

คา้ ส้าคัญ : โปรแกรมพิชติ น้าตาล, โรคเบาหวาน, ระดบั นา้ ตาลในเลอื ด

1โครงการจดั ตั้งวิทยาเขตอานาจเจรญิ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสะหวันนะเขต,
3โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลหนองไฮ

11

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ผลของโปรแกรมส่งเสริมความรู้และการออกก้าลังกายด้วยแอโรบิคต่อระดับความรู้และพฤติกรรมการดูแล
ตนเอง ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง บ้านภักดีเจริญ หมู่ที่ 10 ต้าบลห้วยไร่ อ้าเภอเมือง จังหวัด
อ้านาจเจรญิ

พิมพว์ ิภา แสนสหี า1 ทัชวรรณ ธรรมวตั ิ1 สนุ สิ า ศรีสขุ 1 Tickta Kongneomadalai2 ทพิ วรรณ ทพิ ยวงศ์3
พรพรรณ ประพฒั พงษ์, PhD.1

บทคัดย่อ

หลักการและวัตถุประสงค์: จากการศึกษาชุมชน พบว่า ปีงบประมาณ 2561 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ราย
ใหม่เพิ่มข้ึน 4 ราย มีสาเหตุหลักมาจาก ขาดการออกกาลังกาย บริโภคอาหารมัน เค็ม ดังนั้น การวิจัยครั้งน้ี จึงมี
วตั ถุประสงค์ เพือ่ ศกึ ษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความรู้และการออกกาลังกายด้วยแอโรบิคต่อระดับความรู้และพฤติกรรม
การดูแลตนเอง ในกลุ่มเส่ียงโรคความดนั โลหติ สูง

วธิ ีการศกึ ษา: เป็นการวิจัยก่งึ ทดลอง วัดผลกอ่ นและหลังการทดลอง ในกลุม่ เสย่ี งโรคความดันโลหติ สูง บ้านภักดี
เจริญ หมู่ที่ 10 ตาบลห้วยไร่ อาเภอเมือง จังหวัดอานาจเจริญ สุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์คัดเข้าและเกณฑ์คัดออก เก็บ
รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 2 ชุด ท่ีมีค่าความเชื่อมั่น KR 20 = .76 และค่าความเชื่อมั่น .81 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย
สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถ่ี ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Paired sample t-test และ
Wilcoxon signed ranks test

ผลการศกึ ษา: หลงั การได้รบั โปรแกรม พบวา่ (1) ความรขู้ องกลุ่มตัวอยา่ งหลงั การได้รบั โปรแกรมสูงกวา่ ก่อนการ
ได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญทางสตถิ ิทรี่ ะดับ p <.000 (2) พฤตกิ รรมการดแู ลตนเองโดยรวมหลงั การไดร้ บั โปรแกรมสูง
กว่าก่อนการได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ p <.000 ซึ่งพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ไม่แตกต่างกัน
อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติ (3) ค่าความดันโลหติ ลดลงกวา่ กอ่ นไดร้ บั โปรแกรมอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั p <.001

สรุป: กลุ่มเสี่ยงโรคความดนั โลหิตสูง มีความรู้และพฤติกรรมการดแู ลตนเอง ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
พฤติกรรมการออกกาลังกาย พฤติกรรมการจัดการความเครียดสูงขึ้นและระดับความดันโลหิตลดลง หลังการได้รับ
โปรแกรมสง่ เสรมิ ความรแู้ ละการออกกาลังกายด้วยแอโรบิค ดังนั้น โปรแกรมสง่ เสรมิ ความรแู้ ละการออกกาลังกายด้วยแอ
โรบคิ สามารถเป็นแนวทางในการป้องกนั ผปู้ ว่ ยรายใหมโ่ รคความดนั โลหติ สงู ใหก้ ับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลภักดี
เจริญ

ส้าคัญ: ความรู้, พฤติกรรมการดูแลตนเอง, การส่งเสริมความรู้, การออกกาลังกายด้วยแอโรบิค, กลุ่มเส่ียงโรคความดัน
โลหิต

1โครงการจัดตง้ั วิทยาเขตอานาจเจรญิ มหาวทิ ยาลัยมหิดล, 2College of Health Science Savannakhet,
3โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลภกั ดีเจริญ

12

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ผลของโปรแกรมการให้ความรู้และการออกก้าลังกายด้วยร้าผ้าขาวม้าต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ
ความดันโลหิตของกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ 1 บ้านนาป่าแซง อ้าเภอปทุมราชวงศา จังหวัด
อ้านาจเจริญ

ศศกิ ัญญา คมวงษ์เทพ1 จริ ารัตน์ บวั สิม1 จิราพัชร ชษิ สวัสดิ์1 Thepthida Souvanhnasan2 สนุ ันทา มานะพมิ พ3์
นวลอนงค์ ปะตะสังค3์ สุภาวดี พนั ธมุ าศ, Dr.PH.1

บทคัดย่อ

หลักการและวัตถปุ ระสงค:์ จากการศึกษาชุมชน พบว่า หมู่ที่ 1 บ้านนาป่าแซง มปี ระชากรปว่ ยด้วยโรคความดนั โลหติ สงู
จานวน 55 คน (รอ้ ยละ 8.45) ของประชากรทง้ั หมดในหมูบ่ า้ น สาเหตขุ องผ้ปู ว่ ยความดนั โลหติ สงู ควบคุมระดบั ความดันโลหติ ไมไ่ ด้
คือ การไม่ออกกาลังกาย (58%) บริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม (55%) ด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอออล์ (23%) สูบบุหร่ี (19%) และกินยา
ไม่ต่อเน่ือง (3%) คณะผู้วิจัยจึงประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อทางสุขภาพมาเป็นกรอบแนวคิดโดยมวี ัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา
ผลของโปรแกรมการใหค้ วามรแู้ ละการออกกาลงั กายราผ้าขาวม้าตอ่ พฤตกิ รรมการดแู ลตนเองและความดนั โลหิตของกลมุ่ ผ้ปู ่วยโรค
ความดนั โลหติ สงู

วิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคความดนั โลหติ สงู หมู่ 1 บ้านนาป่า
แซง อาเภอปทมุ ราชวงศา จงั หวัดอานาจเจริญ จานวน 15 ราย จัดกิจกรรมรวม 3 สปั ดาห์ เก็บรวบรวมข้อมลู โดยใช้แบบสมั ภาษณ์
ความรู้เกยี่ วกับโรคความดันโลหติ สูงและพฤตกิ รรมการดูแลตนเอง ค่าความเชื่อมั่น .78 และ .80 ตามลาดบั วิเคราะห์ข้อมูลทวั่ ไป
ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด และเปรียบเทียบคะแนนความรู้
เก่ยี วกบั โรคความดนั โลหติ สูง พฤตกิ รรมการดแู ลตนเอง และคา่ ความดันโลหิต ก่อนและหลงั การเข้ารว่ มโปรแกรมด้วยสถติ ิทดสอบ
Paired sample t-test

ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุระหว่าง 42-72 ปี อายุเฉลี่ย 58.26 (S.D. 8.99) ปี ร้อยละ 86.7
(n = 13) เปน็ เพศหญงิ ส่วนใหญจ่ บการศกึ ษาชน้ั ประถมศึกษา (93.30%, n = 14) และร้อยละ 53.3 (n = 8) เป็นผูป้ ว่ ยโรคความ
ดนั โลหติ สงู มาแล้ว 6-10 ปี เปรยี บเทยี บก่อนและหลังเข้ารว่ มโปรแกรม พบว่า (1) คะแนนความรูเ้ กีย่ วกบั โรคความดันโลหิตสูงหลงั
เขา้ รว่ มโปรแกรมเพม่ิ ข้ึนมากกว่ากอ่ นเขา้ รว่ มโปรแกรมอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสตถิ ิ (t = -3.407, p =.004) (2) คะแนนพฤตกิ รรมการ
ดูแลตนเองโดยรวมหลังเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (t = -13.091, p =.000) และ
(3) ค่าความดันซิสโทลกิ (t = 5.83, p <.05) และค่าความดันไดแอสโทลกิ สถิติ (t =2.19 , p <.05) ลดลงจากก่อนทดลองอยา่ งมี
นัยสาคัญทางสถติ ิ

สรุป:โปรแกรมการให้ความรู้และการออกกาลังกายดว้ ยราผ้าขาวม้ามีผลต่อการเพิ่มความรูเ้ กี่ยวกับโรคความดนั โลหติ สงู
พฤติกรรมการดูแลตนเอง และลดค่าความดันโลหิตของกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ จึงมีข้อเสนอแนะต่อบุคลากรทาง
การแพทย์ เชน่ นักสาธารณสุขชมุ ชน พยาบาล ใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและป้องกนั การเกดิ ภาวะแทรกซ้อนในกลุ่ม
ผปู้ ว่ ยโรคความดนั โลหิตสงู ต่อไป

คา้ ส้าคญั : ความรู้, การออกกาลงั กาย, ราผา้ ขาวม้า, พฤตกิ รรมการดูแลตนเอง, ความดันโลหิตสูง
1โครงการจดั ตั้งวิทยาเขตอานาจเจริญ มหาวิทยาลยั มหดิ ล, 2College of Health Science Savannakhet,
3โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลนาป่าแซง

13

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ประสิทธผิ ลของโปรแกรมเสริมสร้างการรับรู้ดา้ นพฤติกรรมการใช้ยาโดยใช้สื่อผสมร่วมกบั ตะกร้ายานาฬิกา
เตือนความจ้าส้าหรับผู้ปว่ ยโรคความดันโลหติ สูง บ้านถ่อนใหญ่ หมู่ 8 ตา้ บลปลาค้าว อา้ เภอเมือง จังหวัด
อา้ นาจเจริญ

ปรชั ย์นนั ท์ ทรัพยอ์ ดุ ม1 ปลิ ันธนา พนั ธ์ศุ รี1 ศริ ิยาพร สาระวนั 1 Phengsy Noymanyvan2 ธญั มล ช่วงโชติ3
พัชราภรณ์ สขุ ขา3 พิสมัย นาทนั , PhD.1

บทคดั ยอ่

หลักการและวัตถุประสงค์: ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงต้องรับประทานยารักษาความดันโลหิตสูงอย่างต่อเน่ือง
การวิจัยน้ีเป็นงานวิจัยก่ึงทดลอง เพ่ือศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างการรับรู้ด้านพฤติกรรมการใช้ยาโดยใช้ส่ือผสม
รว่ มกบั ตะกร้ายานาฬกิ าเตอื นความจาสาหรับผู้ป่วยโรคความดนั โลหิตสูง บา้ นถ่อนใหญ่ หมู่ 8 ตาบลปลาค้าว อาเภอเมือง
จงั หวดั อานาจเจรญิ

วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยก่ึงทดลองแบบ วดั ผลก่อนและหลงั การทดลอง ประชากรศกึ ษา จานวน 50 คน กลมุ่
ทดลอง ได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่อาศัยอยู่ในบ้านถ่อนใหญ่ หมู่ 8 ตาบลปลาค้าว อาเภอเมือง จังหวัด
อานาจเจริญ จานวน 20 คน ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างการรับรู้ด้านพฤติกรรมการใช้ยาโดยใช้ส่ือผสมร่วมกับตะกร้ายา
นาฬิกาเตือนความจา ส่วนกลุ่มควบคุม เป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงบ้านดอนก่อ หมู่ 9 ตาบลปลาค้าว จานวน 30 คน
ได้รับการรักษาปกติ อัตราส่วนกลุ่มทดลองตอ่ กลุ่มควบคุมเท่ากับ 1:1.5 ระยะเวลาในการศึกษา 2 สัปดาห์ เคร่ืองมือท่ีใช้
ได้แก่ แบบประเมินพฤติกรรมความร่วมมือในการรับประทานยา และแบบสัมภาษณ์การรับรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรค
ความดันโลหิตสูง ผ่านการตรวจสอบคุณภาพความตรงของเน้ือหา และค่าความเชื่อมั่นของเคร่ืองมือ เท่ากับ .67 เท่ากัน
และเครอื่ งวดั ความดนั โลหิตได้รับการสอบเทียบปลี ะ 1 ครั้ง วิเคราะห์ขอ้ มลู โดยใชส้ ถิติเชิงพรรณนาและสถิติอนมุ าน ไดแ้ ก่
Independent t-test และ Paired sample t-test ที่ระดับนัยสาคญั .05

ผลการศกึ ษา: ผลการศกึ ษา พบว่า ผ้ปู ว่ ยโรคความดันโลหิตสงู ในกลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคุม สว่ นใหญ่เปน็ เพศ
หญิง (70.00% และ 70.00% ตามลาดับ) อายุอยู่ในช่วง 50-59 ปี ร้อยละ 24.0 เท่ากัน ภายหลังได้รับโปรแกรม กลุ่ม
ทดลอง มคี ะแนนเฉลยี่ พฤติกรรมการใช้ยา และการรบั รูด้ ้านสขุ ภาพเพิ่มขึน้ จากก่อนการทดลองอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติ
p-value<.001 เท่ากัน แต่ระดับความดันโลหิตไม่แตกต่างกัน ส่วนเม่ือเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม
พบว่า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการใช้ยา การรับรู้ด้านสุขภาพ และระดับความดันโลหิต แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติ p-value<.001

สรุป: โปรแกรมเสริมสร้างการรับรู้ด้านพฤติกรรมการใช้ยาโดยใช้สอื่ ผสมร่วมกับตะกร้ายานาฬกิ าเตือนความจา
สาหรับผ้ปู ว่ ยโรคความดนั โลหิตสงู ทาให้ผปู้ ่วยมพี ฤตกิ รรมการกนิ ยาและมีการรับร้ทู ด่ี ีขน้ึ

คา้ ส้าคญั : เสริมสรา้ งการรับรดู้ ้านพฤติกรรมการใช้ยา, ผปู้ ว่ ยโรคความดนั โลหิตสูง

1โครงการจดั ต้ังวิทยาเขตอานาจเจรญิ มหาวิทยาลยั มหดิ ล, 2College of Health Science Savannakhet,
3สถานีอนามยั เฉลมิ พระเกียรติ นวมิทราชนิ ีปลาคา้ ว

14

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

การพฒั นารูปแบบการจดั การขยะในครัวเรือนอยา่ งมีส่วนร่วมของชุมชนบา้ นสมสะอาด ตา้ บลหนองสามสี
อ้าเภอเสนางคนิคม จงั หวดั อ้านาจเจริญ

วรรญาพร กติ ยิ วงศ์1 ทารกิ า มลู ผม1 นนั ทยิ า แสงประจักษ์1 Souphaphet Thonnaleth2
เทคนิค ทองศร3ี ณิรชั ช์ฎา รตั นตรยั พร3 ชุติมา มรีรตั น์3 พศิ มยั นาทนั , PhD.1

บทคัดย่อ

หลักการและวัตถุประสงค์:การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ1.เพ่ือศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะ
อย่างมีส่วนร่วมของชุมชน 2. ศึกษาเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือนก่อนและ
หลังดาเนินการ ของคนในชุมชน บ้านสมสะอาดหมูท่ ่ี5ตาบลหนองสามสี อาเภอเสนางคนคิ ม จังหวดั อานาจเจรญิ

วิธีการศึกษา: รูปแบบวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ ครัวเรือนท่ีมีการจัดการส่ิงแวดล้อมไม่ผ่านเกณฑ์ท้ังหมด 141 ครัวเรือนกลุ่มผู้วิจัยได้
เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์จากแบบสอบถามความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมมีค่าความเช่ือม่ันที่ .78 โดยแบ่งเป็น 7 คุ้ม
และเก็บข้อมูลปรมิ าณขยะท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ ด้วยแบบบนั ทึกข้อมลู จากการสุ่มตวั อยา่ งแบบบงั เอิญสถิตทิ ีใ่ ช้ ไดแ้ ก่ จานวน รอ้ ยละ
และ Wilcoxon sing rang test

ผลการศึกษา:ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนมีการพัฒนารูปแบบในการจัดการขยะ 4 ระยะ ได้แก่ 1. ระยะวางแผน
การดาเนินงาน ชุมชนได้แผนการดาเนินงานภายใต้ กิจกรรมรี ปรับ ลด มั่นใจไร้ขยะ (5Rs for zero waste) 2. ระยะ
ดาเนินการตามแผน ได้แก่ กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในการตัดแยกขยะตามหลัก 5Rs การดาเนินการคัดแยกขยะใน
ชุมชน และการจัดประกวดผลิตภัณฑแ์ ปรรูปจากขยะ 3. ระยะติดตามและประเมินผล ดาเนินการเก็บขอ้ มูลปริมาณขยะใน
ชมุ ชนในแตล่ ะสัปดาห์ 4. ระยะประเมนิ ผล สรปุ ผลโครงการ หลงั การดาเนนิ การ พบว่า คะแนนความรู้หลังการจดั การขยะ
หลังเขา้ รว่ มกจิ กรรม (X̄ =11.35, S.D. =2.11) มีค่าคะแนนแตกต่างจากกอ่ นการเขา้ รว่ มกจิ กรรม (X̄ =15.45, S.D. =1.81)
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p <.01) คะแนนทัศนคติหลงั การจัดการขยะหลงั เข้าร่วมกิจกรรม (X̄ =19.33, S.D. =1.48 ) มี
ค่าคะแนนแตกต่างจากก่อนการเข้าร่วมกิจกรรม (X̄ =19.93, S.D. =1.12 ) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p <.01) คะแนน
พฤติกรรมหลังการจัดการขยะหลังเข้าร่วมกิจกรรม (X̄ =9.41, S.D. =1.49) มีค่าคะแนนแตกต่างจากก่อนการเข้าร่วม
กิจกรรม (X̄ =13.25, S.D. =1.77 ) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p <.01) และปริมาณขยะที่เหลอื ใช้ใน 1 สัปดาห์มีปรมิ าณ
ต่ากว่าคา่ มาตรฐาน คือ 7.98 กิโลกรมั /สัปดาห์ รอ้ ยละ 100

สรุป:การพฒั นารปู แบบการจดั การขยะในชุมชนอย่างมสี ่วนร่วมเปน็ กลวธิ ีทสี่ ามารถลดปรมิ าณขยะในชุมชน และ
ยังสามารถสร้างนวตั กรรมจากขยะเพื่อเพิ่มมลู คา่ ขยะในชมุ ชนได้

คา้ ส้าคญั ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และการจัดการขยะ

1โครงการจดั ต้งั วิทยาเขตอานาจเจรญิ มหาวิทยาลยั มหิดล, 2College of Health Science Savannakhet,
3โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลหนองสามสี

15

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรค
อุจจาระรว่ งในตวั แทนครัวเรอื นบา้ นนาลอ้ ม หมู่ที่ 8 ต้าบลไร่ขี อา้ เภอลอื อา้ นาจ จังหวดั อา้ นาจเจรญิ

สชุ าวดี แพงโคตร1 สุดารัตน์ เหลาสงิ ห์1 นูรูลอสั นา สาและ1 Daoathit Thepbouaheuang2
ชยั ณรงค์ บรุ ตั น์3 อรชร สดุ ตา3 สวัสดิ์ งามเถอื่ น3 อาไพ โสรส, PhD.1

บทคดั ยอ่

หลักการและวัตถุประสงค์: โรคอุจจาระร่วงเป็นโรคติดเชื้อต้องเฝ้าระวังที่มีอัตราป่วยเป็นอันดับ 1 ของโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตาบลไร่ขี การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการ
ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในตัวแทนครัวเรือนบ้านนาล้อม หมู่ที่ 8 ตาบลไร่ขี อาเภอลืออานาจ จังหวัด
อานาจเจริญ

วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง โดยประยกุ ต์ใช้ทฤษฎีความรอบรูด้ า้ น
สุขภาพ (Health literacy) ของ Nutbeam กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปรุงประกอบอาหารตัวแทนครัวเรือน จานวน 30 ราย คานวณ
ขนาดตัวอย่างด้วยการประมาณคา่ สัดส่วน สุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบง่าย (simple random sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย
แบบสอบถามซ่ึงมีค่าความเช่ือมั่น เท่ากับ .88 และ ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรียบนมือ (SI-2) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิง
พรรณนา ได้แก่ ความถี่ รอ้ ยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถติ ิเชงิ อนมุ าน ไดแ้ ก่ paired sample t-test

ผลการศึกษา: จากการศึกษาพบวา่ 1) ความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพในการปอ้ งกันโรคอจุ จาระร่วงกอ่ นการทดลองอยู่ในระดับ
ปานกลาง (mean=66.03, S.D.=14.17) หลังการทดลองมีความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงอยู่ในระดับดี
(mean=93.16, S.D.=4.33) 2) พฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงก่อนการทดลองอยู่ในระดับปานกลาง (mean=17.56,
S.D.=3.50) หลังการทดลองมีพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงอยู่ในระดบั ดี (mean=26.73, S.D.=2.09) 3) การทดสอบเช้อื
โคลิฟอร์มแบคทีเรียบนมือก่อนการทดลอง พบเช้ือบนมือ จานวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 56.67 หลังการทดลอง พบเช้ือบนมือ
จานวน 9 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 30 และหลงั การติดตามเพมิ่ เติม 1 สัปดาห์ พบเชื้อบนมือ จานวน 7 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.34

สรปุ : โปรแกรมการสรา้ งเสรมิ ความรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปอ้ งกันโรคอจุ จาระร่วงในการวจิ ยั
นี้ มผี ลสง่ เสรมิ ให้ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพและพฤตกิ รรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงดขี ้นึ อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั .05 ทั้งนี้
โปรแกรมประกอบด้วย 7 กิจกรรม ได้แก่ 1) การให้ความรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง 2) สอนและสาธิตวิธีการล้างมือท่ีถูกต้อง 7
ขั้นตอน 3) สอนและร่วมกันทาสบู่เหลวล้างมือจากมะกรูด 4) ตรวจเช้ือโคลิฟอร์มแบคทีเรียบนมือ 5) ติดตามเยี่ยม-สังเกตแบบมี
ส่วนรว่ ม 2 ครง้ั /สัปดาห์ วันอังคารและวนั พฤหัสบดี 6) ตดิ ปา้ ยสัญลกั ษณ์ “บา้ นนล้ี ้างมือสะอาด” ใหบ้ า้ นที่มพี ฤติกรรมการลา้ งมอื
ท่ีดีขึ้นจากเดิม 7) เปิดเพลง”ล้างมือบ่อยๆ” เป็นโครงการเสียงตามสาย 3 วัน ต่อสัปดาห์ คือ วันจันทร์ พุธ ศุกร์ จากการติดตาม
ภายหลังส้ินสุดโปรแกรม 1 สัปดาห์พบว่าจานวนผู้ปรุงประกอบอาหารที่ตรวจพบเช้ือโคลิฟอร์มแบคทีเรียบนมือมีจานวนน้อยลง
แสดงให้เหน็ วา่ โปรแกรมนที้ าใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมการป้องกันโรคอจุ จาระรว่ งใหด้ ีขึ้นในระยะยาวได้ ดังนั้น จึงควรนา
รูปแบบนี้ไปประยุกต์ใช้ และขยายผลไปสู่หม่บู ้านอนื่ ๆ ตอ่ ไป

ค้าส้าคัญ: โปรแกรมการสรา้ งเสรมิ ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ พฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคอจุ จาระร่วง

1โครงการจดั ตัง้ วทิ ยาเขตอานาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2College of Health Science Savannakhet,
3โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไร่ขี

16

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ผลของการเสริมสร้างความรอบรดู้ า้ นการปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลอื ดออกโดยวิทยากรชุมชนคนสองวัย บา้ นสร้าง
ถอ่ นอก ต้าบลสร้างถ่อน้อย อ้าเภอหัวตะพาน จงั หวดั อา้ นาจเจริญ

กมลวรรณ พลิ าบตุ ร1, นาถฤดี ศิรนิ าม1, ชนนิกานต์ สมพงษ1์ Santisouk Chanthilath2 สมเกยี รติ ธรรมสาร3 ทบั ทมิ ลอยหา
3 อมรรัตน์ บุตรจันทร์3 กมลรัตน์ ชณิ สทิ ธิ์3 พรพรรณ ประพฒั พงษ์, PhD.1

บทคดั ยอ่

หลักการและวัตถุประสงค์: พบว่า บ้านสร้างถ่อนอกมีผู้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกมีอัตราป่วยเท่ากับ 18 ต่อแสนประชากร
โดยภายในชุมชนมกี ระบวนการแก้ไขปัญหาโรคไขเ้ ลอื ดออก แตย่ งั ไมส่ ามารถแก้ไขปญั หาไข้เลอื ดออกในชมุ ชนได้ เนอ่ื งจากอาสาสมคั ร
สาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ นยงั ไมส่ ามารถสร้างความรอบรใู้ ห้แกค่ นในชุมชนที่นาไปสกู่ ารปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการจัดการกบั ความชกุ ของ
ลูกน้ายุงลายในชุมชนและยังไม่สามารถทาให้จานวนผู้ป่วยลดลงได้ คนในชุมชนจึงจาเป็นต้องมีความรอบรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
เพื่อนาไปสู่การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกและดัชนีความชุกชุมของลูกน้ายุงลายลดลง ดังนั้นการศึกษาน้ี จึงมี
วัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ศกึ ษาผลของการเสรมิ สร้างความรอบรดู้ า้ นการปอ้ งกันโรคไขเ้ ลือดออกโดยวทิ ยากรชุมชนคนสองวัย บ้านสรา้ งถ่อนอก
ตาบลสร้างถอ่ น้อย อาเภอหวั ตะพาน จังหวัดอานาจเจริญ

วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi - Experimental Research) ครัวเรือนที่เส่ียงเป็นโรคไข้เลือดออกบ้านสร้าง
ถ่อนอก ตาบลสร้างถอ่ นอ้ ย อาเภอหวั ตะพาน จงั หวัดอานาจเจรญิ จานวน 146 ครัวเรอื น คานวณขนาดตัวอยา่ งจากสตู รศึกษาคา่ เฉลีย่
แบบสองกลุ่ม สุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) และสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย
แบบสอบถามทมี่ ีคา่ ความเชื่อม่ัน .83 วเิ คราะหข์ ้อมลู ด้วยสถติ เิ ชงิ พรรณนา และสถติ ิเชิงอนุมาน

ผลการศึกษา: จากการศึกษาพบว่า (1) ค่าเฉลี่ยความรอบรู้ด้านการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพมิ่ ข้ึนหลังได้รับการเสริมสรา้ ง
ความรอบรู้ ด้านการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยวิทยากรชุมชนคนสองวัย อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (2) พฤติกรรมการ
ป้องกนั โรคไข้เลือดออกเพ่ิมขึ้นหลงั ไดร้ ับการเสริมสรา้ งความรอบรู้ด้านการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยวิทยากรชุมชนคนสองวัย อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ .05 (3) กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียความรอบรู้ด้านการป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่แตกต่างกัน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) กลุ่มทดลองมีค่าดัชนีลูกน้ายุงลายที่พบภายในครัวเรือน (House Index) HI=11.53 และค่า
ดัชนีลูกน้ายุงลายท่ีพบในภาชนะ (Container Index) CI=4.73 หลังได้รับการเสริมสร้างความรอบรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกมีค่า
HI=7.6 สามารถลดลงจากกอ่ นดาเนินการและมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และมีค่า CI=2.84 ลดลงจากก่อนดาเนินแต่มีค่าเกินในเกณฑ์
มาตรฐาน และกลุ่มควบคุมหลังได้รับความรู้โรคไข้เลือดออกแบบปกติค่า HI=7.6 เท่ากับก่อนดาเนินการ และค่า CI=1.9 ลดลงจาก
ก่อนดาเนนิ การ

สรปุ : กล่มุ ทดลองภายหลังได้รับการเสรมิ สรา้ งความรอบร้กู ารป้องกันโรคไขเ้ ลอื ดออก ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย ความรคู้ วามเขา้ ใจ
การเขา้ ถงึ การส่อื สาร การร้เู ท่าทันสอื่ และการจัดการตนเอง โดยวิทยากรชมุ ชนคนสองวัยส่วนใหญม่ คี ะแนนความรอบรแู้ ละพฤติกรรม
การป้องกันโรคไข้เลอื ดออกอยู่ในระดับดี สามารถลดคา่ ดัชนีลูกนา้ ยุงลายท่ีพบภายในครวั ครวั เรือน (House Index) และค่าดัชนีลกู น้า
ยงุ ลายที่พบในภาชนะ (Container Index) จากก่อนดาเนินการและมีค่าอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานทอี่ งค์การอนามยั โลกกาหนดไว้

ค้าสา้ คญั : ความรอบรดู้ า้ นการปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลอื ดออก, ดชั นีลกู นา้ ยุงลาย, วทิ ยากรชมุ ชนคนสองวัย

1โครงการจัดตงั้ วทิ ยาเขตอานาจเจริญ มหาวทิ ยาลยั มหิดล, 2College of Health Science Savannakhet,
3โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลสร้างถ่อใน

17

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ประสทิ ธิผลของศนู ย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยีปราบลูกน้ายุงลายประจา้ คุ้ม ร่วมกับนวัตกรรมปนู แดงสมนุ ไพรใน
พืนทบ่ี ้านชะแงะ หมู่ที่ 4 ตา้ บลโพนเมืองน้อย อ้าเภอหัวตะพาน จังหวัดอ้านาจเจรญิ
ชนากานต์ ทองดา1, ชาลสิ า บดุ ดาวงค์1, วิภารัตน์ วรชยั 1, ธนสิ รา ช้างสาร1, กรรณิการ์ แสวงศรี2 ปราณี สิงห์
ขนั ธ์2 อสิ ระพงศ์ โพธส์ิ ุข, PhD.1

บทคัดย่อ

หลักการและวตั ถุประสงค:์ โรคไขเ้ ลือดออกเป็นโรคท่ีมีการแพร่ระบาดโดยมียุงลายเปน็ พาหะนาโรค การ
ป้องกนั และควบคุมโรคไข้เลือดออกจงึ ต้องอาศยั การมีสว่ นร่วมของคนในชมุ ชน โดยอาศยั ต้นแบบการเรยี นรูใ้ นด้าน
การปฏิบัติตน ดังน้ันการศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
ของตัวแทนครัวเรือน คะแนนเฉล่ียสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ปลอดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และดัชนีความชุกของ
ลกู น้ายงุ ลาย ไดแ้ ก่ คา่ House Index (HI) และค่า Container Index (CI) กอ่ นและหลงั การทดลอง

วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง ศึกษากลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง ในครัวเรือนและ
ตัวแทนครัวเรือน บ้านชะแงะ หมู่ 4 จานวน 62 หลังคาเรือน คานวณขนาดตัวอย่างด้วยการประมาณค่าสัดส่วน
สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และแบบประเมินส่ิงแวดล้อมที่มีค่าความเที่ยง
0.741 และ0.617 ตามลาดับ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีปราบลูกน้ายุงลาย
ประจาคุ้ม ร่วมกับนวัตกรรมปูนแดงสมุนไพร แบบสอบถามความรู้เก่ียวกับโรคไข้เลือดออก และแบบประเมิน
สง่ิ แวดล้อมในครัวเรือนที่ปลอดแหลง่ เพาะพนั ธ์ยุงลาย วิเคราะหข์ อ้ มลู ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ไดแ้ ก่ ความถ่ี รอ้ ยละ
ค่าเฉล่ยี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และสถิติเชงิ อนุมาน ไดแ้ ก่ Paired sample t-test และWilcoxon signed rank
test

ผลการศึกษา: จากการศึกษาพบวา่ 1) คะแนนเฉลย่ี ความรเู้ ก่ยี วกับโรคไขเ้ ลือดออกหลงั การทดลองสูงกว่า
ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ p-value <.05 2) คะแนนเฉลี่ยสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนท่ีปลอด
แหลง่ เพาะพันธย์ งุ ลายหลงั การทดลองสูงกวา่ ก่อนการทดลองอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดบั p-value <.05 และ
3) ดัชนีความชุกของลูกน้ายุงลาย ได้แก่ ค่า HI และค่า CI หลังการทดลองต่ากว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคญั
ทางสถิตทิ ี่ระดับ p-value <.05

สรุป: ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีปราบลูกน้ายุงลายประจาคุ้ม ร่วมกับนวัตกรรมปูนแดงสมุนไพร สามารถ
ส่งเสริมให้ตัวแทนครวั เรือน มีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลอื ดออก และส่ิงแวดลอ้ มในครัวเรือนท่ีปลอดแหล่งเพาะพันธ์
ยงุ ลายเพมิ่ มากขึ้น และยังสามารถลดค่าดชั นีความชกุ ของลูกน้ายงุ ลายในครัวเรอื น

ค้าส้าคัญ : ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีปราบลูกน้ายุงลายประจาคุ้ม, นวัตกรรมปูนแดงสมุนไพร, ความรู้เก่ียวกับโรค
ไขเ้ ลอื ดออก, สงิ่ แวดล้อมในครัวเรือนที่ปลอดแหลง่ เพาะพันธ์ยุงลาย

1โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอานาจเจรญิ มหาวิทยาลยั มหดิ ล, 2โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลโพนเมอื งน้อย

18

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ผลของโปรแกรมหา้ หอไม่ง้อบหุ รีต่ ่อความรู้ พฤตกิ รรม และความจุปอดของผตู้ ดิ บุหรี่ หมู่ 11 บ้านนา
สะแบง อา้ เภอพนา จงั หวัดอ้านาจเจรญิ

นลนิ ี เรืองสวัสดิ์1 เบญจพร ตุม่ ประสงค์1 ปรยิ าภรณ์ รู้ขาย1 Phoungphan Panvangthong2 ดิเรก คณะรัตน์3
ประภัสสร ทองเทพ3 รจุ าภา ลุผล3 สภุ าวดี พนั ธมุ าศ, Dr.PH.1

บทคดั ย่อ

หลกั การและวตั ถุประสงค์ : พฤติกรรมการสบู บหุ รย่ี ังคงเป็นปญั หาทางดา้ นสุขภาพและวิธใี นการปรบั เปลี่ยน
พฤติกรรมการสูบบุหรี่สามารถทาได้หลายวิธี ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบความรู้
เกี่ยวกับบุหร่ี พฤติกรรมการสูบบุหรี่ และค่าความจุปอดของผู้ติดบุหร่ีก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมห้าหอไม่ง้อ
บุหรี่

วิธีการศึกษา : การศึกษาน้ีเป็นการวิจัยแบบก่ึงทดลอง กลุ่มตัวอย่างจานวน 17 ราย โดยประยุกต์ใช้แนวคดิ
5D ของโครงการ To Be Number Oneในการจดั กิจกรรมรวม 4 สัปดาห์ เกบ็ รวบรวมข้อมลู 2 ครัง้ คอื กอ่ นและหลงั
การเข้าร่วมโปรแกรมโดยใช้แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการสูบบุหร่ีและความรู้เก่ียวกับบุหรี่มีค่าความเช่ือมั่น เท่ากับ
.804 และ .957 ตามลาดับ เคร่ืองมือท่ีใช้ในวัดค่าความจุปอดได้รับการสอบเทียบตามมาตรฐานแล้ว วิเคราะห์ข้อมูล
ท่ัวไปด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด -ต่าสุด และ
เปรียบเทียบความรู้เก่ียวกับบุหรี่ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ และค่าความจุปอดก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมด้วย
สถิติ Paired Sample t-test

ผลการศึกษา : กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย อายุเฉล่ีย 58.58 (S.D. 12.50) ร้อยละ 88 จบการศึกษาช้ัน
ประถมศกึ ษาและต่ากว่า จากการศึกษาพบว่าคะแนนความรเู้ กี่ยวกบั บหุ รี่ (t =13.50, p <.05) คะแนนพฤติกรรมการ
สูบบบุ ุหร่ี (t = 27.21, p <.05) และคา่ ความจปุ อด (t = 7.25, p <.05) หลงั การเข้ารว่ มโปรแกรมเพิ่มมากข้นึ กว่ากอ่ น
เข้ารว่ มโปรแกรมอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ

สรุปผล : จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมห้าหอไม่ง้อบุหร่ีมีผลต่อการเพิ่มความรู้เกี่ยวกับบุหรี่
พฤตกิ รรมการสบู บหุ รี่ และคา่ ความจปุ อดของผู้ติดบุหร่ี จึงขอเสนอแนะนักสาธารณสขุ ชมุ ชนและบุคลากรทางสุขภาพ
ใชเ้ ปน็ แนวทางในการสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมลดการสบู บุหรี่ โดยปรบั รปู แบบกจิ กรรมให้เหมาะสมในแตล่ ะพนื้ ที่

ค้าสา้ คัญ : โปรแกรมหา้ หอไมง่ ้อบหุ รี่ , ผู้ตดิ บุหรี่ , ความรเู้ กยี่ วกบั การสบู บุหร่ี พฤติกรรมการสบู บหุ ร่ี,ค่าความจุปอด

1 โครงการจัดตง้ั วิทยาเขตอานาจเจรญิ มหาวทิ ยาลัยมหิดล 2 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ สะหวันเขต 3
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาสะแบง

19

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

ประสิทธิผลของโปรแกรมประยุกต์ใช้ทฤษฏีการรับรู้ความสามารถแห่งตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารและการออกก้าลังกายผสมผสานบาสโลบม้าย่องและเต้นแอโรบิค ของคนในชุมชนบ้านนา
โนนทีม่ ีภาวะอว้ น

ธัญญาภรณ์ เรอื งสุวรรณ1 อรัญรัตน์ แซ่เจ็ง1 กนกพร ผอ่ งแผว้ 1 Nicky Vorachit2 โกเวช ทองเทพ3
อสิ ระพงศ์ โพธิ์สขุ , PhD.1

บทคัดยอ่
หลกั การและวัตถุประสงค์: ภาวะอว้ นเปน็ ปัญหาสาธารณสุขทสี่ าคัญระดับโลกและยังเป็นปรากฏการณ์ที่พบ
ในทุกประเทศ สร้างผลกระทบทางสุขภาพมากมาย ทั้งผลกระทบเฉียบพลันและเร้ือรัง มีสาเหตุสาคัญจากการบรโิ ภค
อาหาร กิจกรรมทางกาย และสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาประสิทธิผลของ
โปรแกรมประยุกต์ใช้ทฤษฏกี ารรับรู้ความสามารถแห่งตนในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออก
กาลงั กายผสมผสานบาสโลบม้ายอ่ งและเต้นแอโรบิคของคนในชมุ ชนบา้ นนาโนนที่มภี าวะอว้ น
วธิ กี ารศึกษา: เปน็ การศึกษาแบบก่งึ ทดลอง ศึกษาในกลุ่มเดียวโดยการวดั ผลกอ่ นและหลงั การไดร้ ับโปรแกรม
กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรบ้านนาโนนที่มีภาวะอ้วน 27 ราย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลในคร้ังนี้ดาเนินการเก็บข้อมูล
แบบปฐมภูมิ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเป็นระยะเวลา 5 สัปดาห์ ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือโดยผู้เชี่ยวชาญ 3
ท่านได้ค่าความเท่ียงตรงเท่ากับ .775 และค่าความเชื่อม่ันเท่ากับ .779 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Paired sample t-test และ Wilcoxon signed
rank test
ผลการศึกษา: พบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เกี่ยวกับภาวะอ้วนหลังการได้รับโปรแกรมสูงกว่าก่อนการได้รับ
โปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าเฉล่ียพฤติกรรมการออกกาลังกายหลังการได้รับโปรแกรมสูงกว่า
ก่อนการได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการได้รับ
โปรแกรมต่ากว่าก่อนการได้รับโปรแกรมไม่แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 ค่าเฉลี่ยเส้นรอบเอวหลัง
การได้รับโปรแกรมต่ากว่าก่อนการได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และค่าเฉล่ียดัชนีมวลกายหลังการได้รับ
โปรแกรมต่ากว่ากอ่ นการไดร้ ับโปรแกรมไมแ่ ตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05
สรุป: จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมประยุกต์ใช้ทฤษฏีการรับรู้ความสามารถแห่งตนทาให้คนใน
ชุมชนบ้านนาโนนมีความรู้เกี่ยวกับภาวะอ้วนและการออกกาลังกายที่เหมาะสมเพ่ิมขึ้น สามารถนาโปรแกรมไป
ประยกุ ต์ใช้ในการสง่ เสริมสขุ ภาพของประชาชนได้

ค้าสา้ คญั : การรับรูค้ วามสามารถแห่งตน พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร พฤตกิ รรมการออกกาลงั กาย ดชั นีมวลกาย เส้นรอบเอว
1มหาวิทยาลัยมหดิ ล วทิ ยาเขตอานาจเจรญิ , 2วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ สะหวนั นะเขต,3โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ
ตาบลอ่มุ ยาง

20

The 2nd Public Health Conference April 11, 2019

21


Click to View FlipBook Version