The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatchawan10082523, 2019-07-10 21:06:59

Binder1

Binder1

๕๐

๑๓ David C. May, et al., Going to Jail Sucks (And It Really Doesn’t Matter Who You Ask), 39 Am. J. Crim. Just. 250, 251
(2014), ท่ี http://link.springer.com/article/10.1007/s12103- 013-9215-5#enumeration.

๑๔ Nicholas Freudenberg, Jails, Prisons, and the Health of Urban Populations: A Review of the Impact of the
Correctional System on Community Health, 78 J. of Urban Health: Bulletin of the New York Academy of Medicine
214 (มถิ นุ ายน ๒๐๐๑).

๑๕ Justice Pol’y Inst., Bailing on Baltimore: Voices from the Front Lines of the Justice System 15 (กันยายน ๒๐๑๒), ท่ี
http:// www.justicepolicy.org/uploads/justicepolicy/documents/ bailingonbaltimore-final.pdf.

๑๖ โปรดดู Norimitsu Onishi, In California, County Jails Face Bigger Load, N.Y. Times, August 6, 2012, ที่
http://www.nytimes. com/2012/08/06/us/in-california-prison-overhaul-county-jails- face-bigger-load.html?_r=0.

๑๗ Subramanian et al., อา้ งแล้ว, เชิงอรรถท่ี ๓, หน้า ๑๒.

๑๘ Noonan et al., U.S. Dept. of Justice, Bureau of Justice Statistics, Mortality in Local Jails and State Prisons, 2000 -
2013, Statistical Tables 1 (สิงหาคม ๒๐๑๕), ที่ http://www.bjs.gov/content/ pub/pdf/mljsp0013st.pdf.

๑๙ โปรดดู Laura Sullivan, Inmates Who Can’t Make Bail Face Stark Options, Nat’l Public Radio (๒๒ มกราคม ๒๐๑๐), ที่
http:// www.npr.org/templates/story/story.php?storyId=122725819. See also Barker v. Wingo, 407 U.S. 514, 532-
33 (1972) (“การที่ต้องรอการพิจารณาอยู่ในเรือนจาน้ันส่งผลกระทบทางร้ายแก่ผู้ต้องหาหรือจาเลย โดยส่วนมากคือการท่ีผู้ต้องหาหรือ
จาเลยต้องตกงาน สร้างความบาดหมางในครอบครัว และย่ิงทาให้เกิดความเฉ่ือยเนือย เรือนจาส่วนใหญ่มิได้มีกิจกรรมในการแก้ไขฟ้ืนฟูหรือ
นันทนาการ เวลาในเรือนจาจึงผ่านไปโดยผู้ต้องขังไม่มีอะไรจะทา ย่ิงกว่าน้ัน หากผู้ต้องหาหรือจาเลยต้องขัง การรวบรวมพยานหลักฐาน
ติดต่อพยานบุคคลหรือเตรียมการต่อสู้ทางคดีของผู้ต้องหาหรือจาเลยย่อมมีอุปสรรค การทาให้บุคคลผู้ซ่ึงยังไม่ถูกตัดสินว่ามีความผิดต้องมา
ประสบภาวะเช่นน้ีเป็นเร่ืองร้ายแรง และย่ิงถือว่าเป็นการบันดาลเคราะห์กรรมทีเดียวหากผู้ต้องหาหรือจาเลยผู้น้ันศาลตัดสินว่าเป็นผู้
บริสุทธิ์”).

๒๐ Laura & John Arnold Found., Pretrial Criminal Justice Research2 (2013), ท่ี http://www.arnoldfoundation.org/wp-
content/uploads/2014/02/LJAF-Pretrial-CJResearch-brief_FNL.pdf

๒๑ โปรดดู id.
๒๒ Megan Stevenson, Distortion of Justice: How the Inability to Pay Bail Affects Case Outcomes 22 (Working Paper,
2016), ท่ี https://www.law.upenn.edu/cf/faculty/mstevens/workingpapers/Distortion-of-Justice-April-2016.pdf;
Heaton et al., The Downstream Consequences of Misdemeanor Pretrial Detention 3 (July 2016), ท่ี
http://ssrn.com/ abstract=2809840.

๒๓ Heaton et al., อ้างแล้ว, เชงิ อรรถที่ ๒๒, หนา้ ๓.

๒๔ Id. หน้า ๓ – ๔, ๑๙, ๒๑.

๒๕ โปรดดตู วั อย่างใน Rakesh Kochhar & Richard Fry, Pew Research Ctr., Wealth Inequality has Widened Along Racial,
Ethnic Lines Since End of Great Recession, ๑๒ ธันวาคม ๒๐๑๔, ท่ี http://www. pewresearch.org/fact-
tank/2014/12/12/racial-wealth-gaps-great- recession (อภิปรายช่องว่างความมั่งคั่งระหว่างครัวเรือนคนผิวขาวกับคนผิว
ดา). การศึกษาหลายชิ้นยังพบวา่ ผ้ตู ้องหาหรอื จาเลยผิวขาวไดร้ ับอนุญาตใหป้ ลอ่ ยชั่วคราวง่ายกว่าและเขม้ งวดนอ้ ยกว่าผตู้ อ้ งหาหรือจาเลยอัฟริกนั
อเมรกิ นั ท่ีมีพฤติการณ์คดีอย่างเดียวกัน ซ่ึงอาจเป็นเพราะผู้พิจารณาส่ังมีอคติทางสีผิวที่ชัดแจ้งหรือมีอคติท่ีผู้สั่งเองก็มิได้ตระหนักว่า
มีอยู่. Cynthia E. Jones, Give Us Free, 16 Legis. & Pub. Pol’y 919, 943 (2013).

๒๖ โปรดดูตวั อย่างใน Traci Schlesinger, Racial and Ethnic Disparities in Pretrial Criminal Justice Processing, 22 Justice Quarterly
170, 187-88 (2005); Stephen DeMuth, Racial and Ethnic Differences in Pretrial Release Decisions and Outcomes: A
Comparison of Hispanic, Black and White Felony Arrestees, 41 Criminology 873, 895, 897 (2003); Ian Ayres & Joel
Waldfogel, A Market Test for Race Discrimination in Bail Setting, 46 Stanford L. Rev. 987 (1994).

๕๑

๒๗ โปรดดูตวั อยา่ งใน Arpit Gupta, et al., The Heavy Costs of High Bail: Evidence from Judge Randomization 3, 19 (๒
พฤษภาคม ๒๐๑๖), ที่ http://www.columbia.edu/~cjh2182/GuptaHansmanFrenchman.pdf (ประเมินผลของการปล่อย
ช่ัวคราวโดยเรียกเงินประกันโดยศาลในเมืองฟิลาเดลเฟียและเมืองพิตตส์เบิร์ก และพบว่าการเรียกเงินประกันนาไปสู่การกระทาผิดซ้าท่ีเพิ่มขึ้น
ร้อยละ ๖ ถึง ๙ ต่อปี); Laura & John Arnold Found., อ้ า ง แ ล้ ว , เ ชิ ง อ ร ร ถ ที่ ๒ ๐ , หน้า ๕ (“เปรยี บเทียบกับกรณีท่ีผู้ต้องหาหรือ
จาเลยได้รบั การปล่อยภายใน ๒๔ ชวั่ โมงหลังถูกจบั แลว้ ผู้ต้องหาหรือจาเลยผู้มีความเสีย่ งตา่ ที่ถกู ขังมา ๒ – ๓ วนั มแี นวโนม้ ท่ีจะกระทาผิดอกี
ภายใน ๒ ปี สูงกวา่ ร้อยละ ๑๗. ผู้ ต้ อ ง ห า ห รือ จา เ ล ย ท่ี ถู ก ขั ง น า น ๔ – ๗ วั น มี อั ต ร า ก า รก ร ะ ทา ค ว า ม ผิ ด ซ้า ร้ อ ย ละ ๓ ๕
และผู้ต้องหาหรือจาเลยที่ถูกขังนาน ๘ – ๑๔ วัน มีแนวโน้มท่ีจะทาผดิ อีกสงู กว่ารายท่ีถูกขงั น้อยกวา่ ๒๔ ชั่วโมงรอ้ ยละ ๕๑”).

๒๘ Justice Pol’y Inst., Bail Fail: Why the U.S. Should End the Practice of Using Money for Bail 25 (2012), ท่ี http://www.
justicepolicy.org/uploads/justicepolicy/documents/bailfail.pdf.

๒๙ Id. หน้า ๒๖.
๓๐ Laura & John Arnold Found., อ้ า ง แ ล้ ว เชิงอรรถท่ี ๒๗, หน้า ๕ (พบว่า “ผู้ต้องหาหรือจาเลยผู้มีความเส่ยี งต่าที่ถูกขังนาน ๒
– ๓ วัน มีแนวโน้มที่จะไม่มาศาลสูงกว่าผู้ต้องหาหรือจาเลยที่มีพฤติการณ์คล้ายกัน (ในแง่ของประวัติอาชญากรรม ข้อหา ภูมิ
หลัง และลักษณะทางประชากรศาสตร์) ซึ่งถูกขังน้อยกว่า ๒๔ ชั่วโมง ร้อยละ ๒๒”).

๓๑ Colo. H.B. 13-1236 (2013). See also, Timothy R. Schnacke, Best Practices in Bond Setting: Colorado’s New Pretrial
Bail Law 20-24 (๓ กรกฎาคม ๒๐๑๓), ท่ี http://www.pretrial.org/download/law-
policy/Best%20Practices%20in%20Bond%20Setting%20 -%20Colorado.pdf.

๓๒ N.J. P.L. 2014, Ch. 31, §1-20. โปรดดเู พ่ิมเตมิ Amer. Civil Liberties Union, ACLU-NJ Hails Passage of NJ Bail Reform as
Historic Day for Civil Rights, (๔ สิงหาคม ๒๐๑๔), ที่ https://www.aclu.org/news/aclu-nj-hails-passage-nj-bail-reform-
historic-day-civil-rights.

๓๓ Christine Stuart, Malloy Pitches Bail Reform as Part of Connecticut’s Second Chance Society 2.0, New Haven
Register, ๒๘ มกราคม ๒๐๑๖, ที่ http://www.nhregister.com/article/ NH/20160128/NEWS/160129552.

๓๔ N.M. State Legis., Final Senate Joint Resolution 1, ท่ี
http://www.nmlegis.gov/Sessions/16%20Regular/final/SJR01.pdf. โปรดดูเพิม่ เติม New Mexico House GOP, Senate
Dems Reach Deal on Bail Reform, KQRE News 13, ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๐๑๖, ที่ http:// krqe.com/2016/02/12/new-
mexico-house-gop-senate-dems- reach-deal-on-bail-reform/.

๓๕ โปรดดู State v. Brown, 338 P.3d 1276, 1278 (N.M. 2014) (สรุปว่า “ศาลชั้นต้นผิดหลงในการเรียกให้วางหลักประกันใน
ราคา ๒๕๐,๐๐๐ เหรียญ ในเม่ือมีหลักฐานช้ีว่าเง่ือนไขในการปล่อยช่ัวคราวท่ีเป็นภาระน้อยกว่าก็เพียงพอ ”).

๓๖ โปรดดู See Walker v. City of Calhoun, 2016 WL 361580 (N.D. Ga. 2016) (คาสั่งศาลอนุญาตให้ดาเนินคดีแบบกลุ่มเพ่ือร้องขอ
การรับรองสิทธิและขอให้จาเลยในคดกี ระทาการสาหรบั “ผู้ตอ้ งหาทุกคนท่ีไม่อาจหาหลักประกันเพื่อขอปล่อยช่ัวคราวและต้องถูกควบคุมตวั โดย
เทศบาลเมืองคาลฮูน โดยเป็นผู้ต้องหาในข้อหาความผิดลหุโทษ ความผิดเกี่ยวกับการจราจร หรือฝุาฝืนคาส่ังทางปกครอง”); Jones v. City of
Clanton, 2015 WL 5387219, at *4-5 (M.D. Ala.2015) (ศาลพิพากษารับรองสิทธิตามท่ฟี ูองรอ้ ง); Rodriguez v. Providence Cmty.
Corr., Inc., 155 F. Supp. 3d 758, 767 (M.D. Tenn. 2015) (พิพากษาห้ามการจับและขังผู้ถูกคุมความประพฤติอันเน่ืองจากการไม่
ชาระค่าฤชาธรรมเนียมของศาล); Pierce v. City of Velda City, 2015 WL10013006, at *1 (E.D. Mo. 2015) (ศาลพพิ ากษารบั รองสิทธิ
วา่ “ภายใต้บทบัญญัติแกไ้ ขรัฐธรรมนูญฉบับท่ี ๑๔ วา่ ด้วยการคมุ้ ครองสิทธิเสรีภาพอยา่ งเสมอภาค ต้องไม่มีผใู้ ดถูกขังภายหลงั การจบั
เนื่องจากยากจนเกินกว่าจะหาหลักประกันมาวางตอ่ ศาล”); Thompson v. Moss Point, 2015 WL 10322003, at *1 (S.D. Miss. 2015)
(ศาลพิพากษารับรองสิทธิ); Mitchell v. City of Montgomery, 2014 WL 11099432 (M.D. Ala. 2014) (ศาลพพิ ากษารับรองสทิ ธิและ
ส่ังให้จาเลยในคดีกระทาการ).

๓๗ โปรดดู City of Riverside v. McLaughlin, 500 U.S. 44 (1991) (กาหนดใหต้ ้องมีการตรวจสอบหาเหตุสมควรในการจบั ภายใน ๔๘
ชั่วโมงหลังการจับ); Gerstein v. Pugh, 420 U.S. 103 (1975) (วินิจฉัยว่าบทบัญญัติแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับท่ี ๔ กาหนดให้ศาลต้อง
ตรวจสอบว่ามีการจับมีเหตุสมควรหรือไม่ก่อนจะมีการควบคุมตัวภายหลังจับต่อไปได้ ).

๓๘ U.S. Const. amend. VIII

๕๒

๓๙ โปรดดู U.S. v. Salerno, 481 U.S. 739, 752 (1987); Carlson v. Landon, 342 U.S. 524, 546 (1952) (“ถ้อยคาของตัวบทกฎหมาย
มไิ ด้ระบไุ วช้ ดั แจ้งวา่ ผู้ถูกจบั ทกุ คนตอ้ งได้รบั การประกันตวั ”).

๔๐ Stack v. Boyle, 342 U.S. 1, 3 (1951).

๔๑ Id. หน้า ๕.

๔๒ Id.

๔๓ โปรดดู Salerno, 481 U.S. at 754 (วินิจฉัยว่าอันเนื่องด้วยบทบัญญัติว่าด้วยการเรียกประกันเกินสมควร “เง่ือนไขการปล่อย
ชั่วคราวหรือการขังที่เสนอแนะ” จะต้องไม่เกินสมควร).

๔๔ Id. หนา้ ๗๕๑.

๔๕ Reno v. Flores, 507 U.S. 292, 302 (1993); โปรดดูเพม่ิ เติม Washington v. Glucksberg, 521 U.S. 702, 721 (1997); Salerno,
481 U.S. at 749-51.

๔๖ โปรดดู Mathews v. Eldridge, 424 U.S. 319, 335 (1976); โ ป ร ด ดู เ พิ่ ม เ ติ ม Salerno, 481 U.S. at 751-52.

๔๗ Griffin v. Illinois, 351 U.S. 12, 19 (1956); โปรดดูเพิ่มเติม Williams v. Illinois, 399 U.S. 235, 241 (1970).

๔๘ Bearden v. Georgia, 461 U.S. 660, 672–73 (1983).

๔๙ โปรดดตู วั อยา่ งใน Pugh v. Rainwater, 572 F.2d 1053, 1058 (5th Cir. 1978) (en banc) (“ศาลไม่มีข้อสงสัยว่าสาหรับบุคคล
ยากจนผู้ซึ่งการปล่อยช่ัวคราวภายใต้เงื่อนไขอ่ืนก็เพียงพอแล้วในการทาให้มาศาล การขังในระหว่างการพิจารณาเน่ืองจากการท่ีไม่อาจ
หาหลักประกันมาวางศาลได้น้ันเป็นการกาหนดเง่ือนไขที่เกินสมควร”); Jones v. City of Clanton, 2015 WL 5387219, at *3 (M.D.
Ala. 2015) (“ผูต้ ้องหาหรือจาเลยในคดีอาญาผู้ซ่ึงตอ้ งได้รับการสนั นิษฐานวา่ บริสุทธ์ิตอ้ งไมถ่ กู ขังเพยี งเพราะความยากจน ความยตุ ธิ รรมที่มืด
บอดตอ่ ความยากจนและบีบบังคบั ให้ผู้ต้องหาหรอื จาเลยตอ้ งชาระเงินแลกกับอิสรภาพของตนนั้นหาใช่ความยุตธิ รรมไม่”); Pierce v. City of
Velda City, 2015 WL 10013006, at *1 (E.D. Mo. 2015) (“ภายใต้บทบัญญัติแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
อย่างเสมอภาคนั้น ต้องไม่มีผู้ใดถูกขังหลังถูกจับเพียงเพราะว่ายากจนเกินกว่าจะหาหลักประกันมาวางศาลได้ ”); Walker v. City of Calhoun,
2016 WL361580 at *49 (N.D. Ga. 2016) (“ระบบท่ใี หป้ ล่อยชว่ั คราวโดยเรยี กใหว้ างประกนั ในราคาทก่ี าหนดไว้แล้วลว่ งหน้า โดยไมเ่ ปิดให้พิจารณา
ปัจจยั ความยากจนหรือปัจจยั อ่ืนๆน้ันขดั บทบญั ญัตวิ า่ ด้วยการคมุ้ ครองสิทธเิ สรภี าพอยา่ งเสมอภาค”); Williams v. Farrior, 626 F.Supp. 983, 985
(S.D. Miss. 1986) (“ตามเจตนารมณ์ของบทบัญญัติแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพอย่างเสมอภาคนั้น เห็นได้
ชัดเจนว่าระบบปล่อยชั่วคราวที่ให้เรยี กแต่เงินประกันโดยมิได้เปิดให้ศาลพิจารณาทางเลือกอืน่ ที่เป็นไปได้สาหรับผู้ตอ้ งหาหรอื จาเลยผยู้ ากจนฝุา
ฝืนท้ังบทบัญญัติว่าดว้ ยการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพอยา่ งเสมอภาคและบททวี่ ่าดว้ ยกระบวนการอันชอบด้วยกฎหมาย”)

๕๐ Ariana Lindermayer, Note, What The Right Hand Gives: Prohibitive Interpretation of the State Constitutional
Right to Bail, 78 Fordham L. Rev. 267, 275 (2009).

๕๑ โปรดดูตวั อย่างใน Henley v. Taylor, 918 S.W.2d 713, 714 (Ark. 1996) ( “ดังท่ีปรากฏในรัฐธรรมนูญและกฎว่าด้วยวิธีพิจารณาความ
อาญา [ซึง่ บัญญัติเง่ือนไขการปล่อยช่ัวคราวทีศ่ าลอาจกาหนดไดส้ าหรบั ผู้ต้องหาหรือจาเลยท่ีมีแนวโน้มจะก่อคดีอีก] สิทธิเด็ดขาดในการได้รับ
การปล่อยช่ัวคราวของผู้ต้องหาหรือจาเลยท่ีต้องข้อหาซึ่งมีอตั ราโทษไม่ถงึ ประหารชวี ิตอาจถูกจากัดได้ด้วยการกาหนดเง่ือนไขในการปลอ่ ย
บางประการเท่านัน้ มิใชก่ ารไม่อนุญาตให้ปลอ่ ยชว่ั คราว”); Sprinkle v. State, 368 So.2d 554, 559 (Ala. Crim. App. 1978) (“ในรัฐอลา
บามา ผ้ตู อ้ งหาเม่อื ถกู จับจนถึงกอ่ นศาลมีคาพพิ ากษาย่อมมสี ิทธิเดด็ ขาดในการได้รับการปล่อยช่ัวคราว ตราบใดท่มี ีหลักประกันที่เพยี งพอมาวาง
ศาล ศาลอาจไม่อนญุ าตใหป้ ลอ่ ยช่ัวคราวได้เฉพาะในคดที มี่ อี ัตราโทษถงึ ประหารชวี ติ เม่ือพยานหลักฐานชัดเจนหรือข้อสันนิษฐานหนักแน่น”);
โปรดดเู พ่ิมเติม Lindermayer, อา้ งแลว้ เชิงอรรถที่ ๕๐, หน้า ๒๗๖.

๕๒ โปรดดตู ัวอยา่ งใน Rendel v. Mummert, 474 P.2d 824, 828 (Ariz. 1970) (วินิจฉัยว่ารัฐธรรมนูญ “มิได้รับประกันว่าการได้รับการ
ปล่อยช่ัวคราวเป็นสิทธิเด็ดขาด หากแต่อาจมีการตั้งเงื่อนไขว่าด้วยการวาง ‘หลักประกันท่ีเพียงพอ’ ได้ ซึ่งศาลเหน็ ว่าคาวา่ ‘หลักประกนั ที่เพียงพอ’
หมายความว่า อย่างน้อยที่สุด จะต้องมสี ิง่ ทีท่ าให้ศาลม่ันใจไดว้ ่าผตู้ อ้ งหาหรอื จาเลยที่ไดร้ ับการปลอ่ ยชว่ั คราวจะมาศาลตามนัดจนกวา่ ศาลจะ
พิพากษา”); People ex rel. Hemingway v. Elrod, 322 N.E.2d 837, 840 - 41 (Ill.1975) (“ศาลเห็นวา่ ศาลชน้ั ต้นมีอานาจในการ
ตรวจสอบว่าผู้ตอ้ งหาหรือจาเลยเข้าเกณฑ์ที่จะได้รับสิทธิในการปล่อยชั่วคราวหรอื ไม่ ท้ังนี้เพือ่ เป็นการควบคุมกระบวนพิจารณาในศาล การไม่

๕๓

อนุญาตหรือเพิกถอนการอนุญาตใหป้ ลอ่ ยชวั่ คราวนั้นทาได้เม่ือมีเหตุเหมาะสมให้ดาเนินการเพ่ือทาให้กระบวนพิจารณาใน
คดีอาญาดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย”); โปรดดูเพมิ่ เติม Lindermayer, อา้ งแลว้ เชิงอรรถท่ี ๕๐, หน้า ๒๗๖.

๕๓ โปรดดูตวั อย่างใน Rendel, 474 P.2d at 828, (ให้นิยามคาว่าหลักประกันที่เพียงพอว่าเป็นการให้ส่ิงยืนยันต่อศาลว่าผู้ต้องหา
หรือจาเลยที่ได้รับการปล่อยช่ัวคราวจะมาศาลตามนัด).

๕๔ โปรดดูตวั อยา่ งใน Ariz. Const. art II, § 22 (ข้อยกเว้นวา่ ด้วยความปลอดภัยสาธารณะสาหรับความผิดที่โทษสูงกวา่ ลหุโทษ); Cal.
Const. art. I § 12 (ข้อยกเว้นว่าด้วยความปลอดภัยสาธารณะสาหรับความผิดเกี่ยวกับเพศและความผิดเก่ียวกับการใช้กาลังรุนแรง
ท่ีโทษสูงกวา่ ลหุโทษ); Mo. Const. Art. 1 § 32.2 (“โดยไม่คานึงถึงข้อ ๒๐ มาตรา I แหง่ รัฐธรรมนญู [ซง่ึ บัญญัติว่า ‘ผู้ต้องหาหรือจาเลยทุก
คนมีสิทธิได้รับการปล่อยชั่วคราวเมื่อมีหลักประกันที่เพียงพอ'"], เมอื่ มหี ลักฐานแสดงว่าผ้ตู อ้ งหาหรอื จาเลยอาจก่ออันตรายต่อผเู้ สยี หาย สังคม
หรือบุคคลใด ศาลอาจไมอ่ นญุ าตใหป้ ล่อยช่ัวคราวหรือกาหนดเง่ือนไขเป็นพิเศษท่ีผู้ต้องหาหรอื จาเลยและบคุ คลหรือสงิ่ ซ่งึ เป็นหลกั ประกนั ต้อง
รับรองการปฏบิ ตั ิตาม”).

๕๕ State v. Cardinal, 147 Vt. 461, 465 (1986) ("ในกรณีที่ผตู้ ้องหาหรือจาเลยฝุาฝืนเงื่อนไขการปล่อยชั่วคราวที่นอกเหนือจากเงื่อนไข
การมาศาล ศาลอาจกาหนดเงื่อนไขที่เข้มงวดข้ึน หรืออาจเพิกถอนการปล่อยชั่วคราวก็ได้ หากศาลเห็นว่าไมม่ ีเงื่อนไขการปล่อยช่ัวคราวใดที่
รับประกนั การมาศาลตามนดั ได้”) (แหลง่ ทมี่ าละไว้).

๕๖ โปรดดู Ga. Const. art. 1, § 1, ¶ XVII; Haw. Const. art. 1, § 12; Md.Const. [Declaration of rights] art. 25; Ma. Const.
Pt. 1, art. 26; N.H. Const. Pt. 1, art. 33; N.Y. Const. art. 1, § 5; N.C. Const. art. 1, § 27; Va. Const. art. 1, § 9; W.V. Const.
art. 3 § 5.

๕๗ โปรดดูตัวอย่างใน Ala. R. Cr. Proc. 7.2.

๕๘ โปรดดตู วั อยา่ งใน Cal. R. Super. Ct., County of Colusa Local R. Ct. 6.02 (“การปล่อยชั่วคราว”).

๕๙ โปรดดูตวั อยา่ งใน Ala. Code § 15, chapter 13 (“Bail”); Alaska Stat. Ann. §12.30 (“การปล่อยช่ัวคราว”).

๖๐ โปรดดูตวั อยา่ งใน Ariz. Rev. Stat. Ann. § 20, Ch. 2, art. 3.5 (“ผ้ปู ระกันอาชีพและผู้บังคับตามสัญญาประกัน” ปรากฏในบทบญั ญัติว่าด้วย
การกากบั ดูแลการประกันภัยของประมวลกฎหมายนี้).

๖๑ โปรดดตู วั อย่างใน Alaska Stat. Ann. § 12.30.016(d) (กาหนดราคาหลักประกันขัน้ ต่าท่ี ๒๕๐,๐๐๐ เหรยี ญ สาหรบั ผู้ต้องหาหรือจาเลย
ในข้อหาเกย่ี วกับเมทแอมเฟตามีนผเู้ คยตอ้ งคาพิพากษาว่ากระทาความผดิ ฐานครอบครอง ผลิต หรอื จาหน่ายเมทแอมเฟตามีนมากอ่ น).

๖๒ โปรดดตู ัวอยา่ งใน Ga. Code Ann. § 17- 6-1(f)(1) (“ผู้พิพากษาอาจมีคาส่ังเป็นลายลักษณ์อักษรให้จัดทาบัญชีเกณฑ์มาตรฐาน
หลักประกันและนอกจากจะมีคาส่ังเปน็ อย่างอ่ืน ผตู้ อ้ งหาหรอื จาเลยจะไดร้ บั การปล่อยชวั่ คราวได้เมือ่ วางหลักประกนั ตามราคาท่กี าหนดไว้ใน
บญั ชีเกณฑ์มาตรฐานหลกั ประกัน”); Alaska Code § 12.30.016(d) (กาหนดราคาประกนั ที่ ๒๕๐,๐๐๐ เหรียญ สาหรบั ความผิดฐานผลิตเมท
แอมเฟตามนี และผู้ต้องหาหรือจาเลยเคยถูกพิพากษาว่ากระทาผดิ ฐานเดียวกันมาก่อน).

๖๓ ตัวอยา่ งหน่ึงคอื รฐั บัญญัตกิ ารกากับดูแลหลังปลอ่ ยช่วั คราวแหง่ รัฐอลิ ลนิ อยส์ ปี ๑๙๙๐ ซ่ึงวางโครงสรา้ งรองรับกระบวนการกากับดแู ลหลัง
ปล่อยช่วั คราว แต่นา่ เสียดายวา่ สานักงานอานวยการแห่งศาลอิลลินอยส์เห็นว่ากฎหมายดังกลา่ ว “ทะเยอทะยานเกนิ ไป” สาหรบั เทศมณฑลคกุ โดย
สาเหตบุ างสว่ นมาจากความนา่ เชือ่ ถือของการประเมนิ ความเสยี่ งโดยเจา้ หนา้ ท่ีสานักงานปล่อยชว่ั คราว. โปรดดู Illinois Supreme Court,
Administrative Office of the Illinois Courts, Circuit Court of Cook County Pretrial Operational Review 5 (2014) available
at http://www.illinoiscourts.gov/SupremeCourt/Reports/Pretrial/Pretrial_Operational_Review_Report.pdf.

๖๔ โปรดดูตัวอยา่ งใน Cal. Penal Code § 853.6(a)(1) (“เม่ือบุคคลใดถกู จับในข้อหาความผดิ ลหุโทษ ซึง่ รวมถึงการฝุาฝนื กฎระเบยี บของ
เทศบาลเมืองหรือเทศมณฑล และไมม่ ีกฎหมายบัญญตั ิใหต้ อ้ งควบคุมตวั ไปอยูต่ อ่ หน้าผ้พู พิ ากษาแลว้ บุคคลนั้นพึงได้รับการปล่อยชวั่ คราว...”).

๖๕ Amer. Bar Ass’n, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ ๕.

๖๖ Schnacke, อ้ า ง แ ล้ ว เ ชิ ง อ ร ร ถ ท่ี ๖ .

๖๗ Bearden, 461 U.S. at 672-73.

๕๔

๖๘ โปรดดู Prison Pol’y Inst., อ้างแล้ว เชงิ อรรถที่ ๑๐, หน้า ๑ (ระบุว่าผตู้ ้องหาหรือจาเลยร้อยละ ๓๔ ถูกขงั ในเรือนจาเพียงเพราะไร้
ความสามารถในการหาหลักประกนั มาวางศาล และผู้ต้องหาหรือจาเลยส่วนใหญ่ในกลมุ่ นี้อยใู่ นกล่มุ หนึ่งในสามของคนท่ีจนที่สดุ ในอเมริกา);
Marie VanNostrand, New Jersey Jail Population Analysis at 13 (มีนาคม ๒ ๐ ๑ ๓ ) (พบว่าผ้ตู ้องขังในระหว่างพิจารณาในรัฐ
นวิ เจอร์ซียร์ ้อยละ ๓๘.๕ ถกู ขัง “เพยี งเพราะการไมส่ ามารถหาหลกั ประกันมาวางตามที่ศาลกาหนดได้” และผตู้ อ้ งขังราว ๘๐๐ คน ท่ีถูกขัง “อาจ
หาหลักประกันมาวางไดส้ าหรับราคาประกันท่ี ๕๐๐ เหรียญหรอื ต่ากวา่ นั้น”), ท่ี
https://www.drugpolicy.org/sites/default/files/New_Jersey_Jail_Population_ Analysis_March_2013.pdf; Human
Rights Watch, The Price of Freedom: Bail and Pretrial Detention of Low Income Nonfelony Defendants in New York
City at 20-21 (ธันวาคม ๒๐๑๐) ที่ https://www.hrw.org/sites/default/files/reports/us1210webwcover_0.pdf
(รายงานว่า “ประชากรเรือนจาแห่งนครนิวยอร์กตลอดเวลาจานวนรอ้ ยละ ๓๙ คือผู้ต้องขังระหว่างพจิ ารณาทีถ่ ูกขังเพราะไมอ่ าจวางหลักประกันตอ่
ศาลได้”).

๖๙ Turner v. Rogers, 131 S. Ct. 2507, 2520 (2011).

๗๐ Id. หน้า ๒๕๑๑.

๗๑ Id. หน้า ๒๕๑๙.

๗๒ โปรดดู Agreement to Settle Injunctive and Declaratory Relief Claims, Mitchell v. City of Montgomery, No. 2:14 -cv-
186-MHT-CSC (M.D. Ala. Nov. 17, 2014), ที่ http://equaljusticeunderlaw.org/wp/wp-
content/uploads/2014/07/Final-Settlement-Agreement.pdf (กาหนด “แบบพิมพ์คารับรองความเป็นผู้ยากจน” เพ่ือปูองกัน
จาเลยผู้ยากจนมิให้ถูกขังจากการไม่อาจชาระค่าปรับและค่าธรรมเนียมศาล ).

๗๓ โปรดดู id. (กาหนดข้อสมมติฐานว่าบุคคลท่ีมรี ายได้เท่ากับหรอื ตา่ กว่ารอ้ ยละ ๑๒๕ ของเสน้ ความยากจนในระดบั สหพันธรัฐ และไมม่ ี
สนิ ทรัพยท์ ีม่ มี ูลคา่ ในครอบครอง ใหถ้ อื วา่ เปน็ ผูย้ ากจน).

๗๔ โปรดดู Douglas L. Colbert, Thirty-Five Years After Gideon: The Illusory Right to Counsel at Bail Proceedings, 1998
U. Ill. L. Rev. 1, 5 (1998) (มีข้อสงั เกตว่า “ศาลในรัฐต่างๆส่วนมากไม่ต้ังทนายให้ผู้ต้องหาหรือจาเลยผู้ยากจนตั้งแต่แรกมาศาล ท้ังที่
เป็นเวลาท่ีผู้ต้องหาหรือจาเลยต้องการทนายมากท่ีสุดเพราะเป็นเวลาท่ีศาลต้องพิจารณาว่าจะขังหรือปล่อยช่ัวคราวผู้ต้องหาหรือ
จาเลย”).

๗๕ Douglas L. Colbert, Prosecution Without Representation, 59 Buff.L. Rev. 333, 345 (2011).

๗๖ Cf. Turner, 131 S. Ct. at 2519.

๗๗ ยกตัวอย่างเช่น ในเดือนพฤศจิกายน ๒๐๑๖ ผู้ออกเสยี งเลือกต้งั ในรัฐนิวเมก็ ซิโกอาจออกเสียงให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญเพ่ือให้มี
บทบัญญัติคุ้มครองสิทธิดังนี้ “บุคคลที่ไม่มเี หตุให้ขังอนั เมื่อพิจารณาจากความเส่ยี งที่จะกอ่ อันตรายหรอื ความเสยี่ งทีจ่ ะหลบหนี และมีสทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั การ
ปล่อยช่ัวคราว ย่อมไมอ่ าจถกู ขงั เพยี งเพราะไรค้ วามสามารถในการหาหลักประกนั มาวางศาล และผ้ตู ้องหาหรอื จาเลยซ่ึงมิใช่ผู้เสี่ยงจะกอ่ อนั ตรายหรือหลบหนี
และไม่อาจหาหลกั ประกนั มาวางศาลได้ มสี ิทธิย่ืนคาร้องต่อศาลขอยกเวน้ การวางหลกั ประกนั และใหศ้ าลพจิ ารณาคาร้องดังกลา่ วโดยเรว็ ” อา้ งแล้ว เชิงอรรถ
ท่ี ๓๔, หน้า ๑.

๗๘ การใช้บัญชีเกณฑ์มาตรฐานหลักประกันถูกโต้แย้งเรื่องความชอบด้วยกฎหมายเป็นคดีความในรัฐแคลิฟอร์เนีย, จอร์เจีย และมิสซิสซิปปี โปรด
ดู Compl., Buffin, v. City and County of San Francisco, 2015 WL 6530384 (N.D. Ca. Oct. 28, 2015) (คาส่งั ศาลอนุญาตให้
ดาเนินคดแี บบกลมุ่ ); Walker v. City of Calhoun, Georgia, 2016 WL 361580 (N.D. Ga. 2016); Thompson v. Moss Point, 2015
WL10322003 (S.D. Miss. 2015) (คาพพิ ากษารับรองสิทธิของคคู่ วาม).

๗๙ โปรดดูตวั อย่างใน Ga. Code Ann. § 17-6-1 (f)(1) (“นอกจากทบ่ี ัญญัติในอนุมาตรา (a) แห่งมาตราในประมวลกฎหมายนี้ หรือ
นอกจากที่บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในอนุมาตรานี้ ผู้พิพากษาท่ีทาการไต่สวนอาจมีคาส่ังเป็นลายลักษณ์อักษรให้มีการจั ดทา
บัญชีเกณฑ์มาตรฐานหลักประกัน และเว้นแต่ผู้พิพากษาจะสั่งเป็นอย่างอ่ืน ผู้ถูกตั้งข้อหาว่ากระทาผิดอาจได้รับการปล่อย
ชั่วคราวได้ต่อเมื่อวางหลักประกันตามราคาท่ีกาหนดไว้ในบัญชี ”); Utah Code of Judicial Administration, Rule 4-302
(“คณะกรรมการบัญชีเกณฑ์ค่าปรบั และหลักประกันมาตรฐานมีหน้าท่ีจัดทาบญั ชีเกณฑ์ค่าปรับและหลักประกนั มาตรฐานสาหรบั ทกุ ความผิด
อาญาและความผิดทางจราจรตามประมวลกฎหมายรฐั ยูทาห์...เมือ่ จะกาหนดค่าปรับและราคาประกัน ศาลพึงยึดถือตามบัญชีเกณฑ์ค่าปรับและ

๕๕

หลกั ประกันมาตรฐาน เวน้ แต่มเี หตุอันควรปรานีหรอื เหตุฉกรรจ์ทส่ี มควรกาหนดคา่ ปรับและหลักประกนั ตา่ งไปจากเกณฑ์มาตรฐาน”) Cal.
Penal Code § 1269b(b) (“เมื่อผ้ตู อ้ งหาหรอื จาเลยมาปรากฏตัวต่อศาล ศาลพงึ กาหนดราคาประกันตามขอ้ หา ณ เวลาท่ีผู้ต้องหาหรอื จาเลย
มาปรากฏตัว หากผ้ตู ้องหาหรอื จาเลยไมม่ าศาล ศาลพงึ กาหนดราคาประกันตามข้อหาในหมายจับ หรอื หากไมม่ ีการออกหมายจบั ราคาประกันพึง
เป็นไปตามบญั ชีเกณฑ์มาตรฐานของเทศมณฑลที่ผูต้ ้องหาหรือจาเลยถกู ส่งั ใหต้ ้องไปปรากฏตวั และท่ีผ่านการอนุมัติแล้วตามอนุมาตรา (c) แ ล ะ
(d)”).

๘๐ Ala. Code § 15-13-103.

๘๑ Id.

๘๒ Ala. Rules of Crim. Proc., Rule 7.2(b).

๘๓ Jones v. City of Clanton, No. 215CV34-MHT, 2015 WL 5387219, at*3 (M.D. Ala. 2015).

๘๔ Alaska Stat. Ann. § 12.30.016. รัฐอลาสกากาลังอยู่ระหว่างการทบทวนแนวปฏิบัติในการปล่อยช่ัวคราวโดยเป็นความพยายามอั น
เป็นส่วนหน่ึงของโครงการปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม และบทบัญญัติน้ีต่อไปอาจเปล่ียนแปลงได้อีก. โปรดดู Alaska Crim. Justice
Comm’n., Justice Reinvestment Initiative Report 8 (ธันวาคม ๒๐๑๕), ที่
http://www.ajc.state.ak.us/sites/default/files/ imported/acjc/recommendations/ak_ justice_reinvestment_
intiative_report_to_acjc_12-9.pdf. (ชี้ว่า “หนง่ึ ในสาเหตุท่ีเป็นไปได้ของระยะเวลาการขังระหวา่ งพจิ ารณาในอลาสกาคอื การเรยี กหลกั ประกนั
ในการปล่อยชัว่ คราว”).

๘๕ Alaska Stat. Ann. § 12.30.016.

๘๖ Stack, 342 U.S. at 4 -5.

๘๗ Amer. Bar Ass’n, อ้างแลว้ เชิงอรรถที่ ๕, หน้า ๑๗.

๘๘ Id.

๘๙ Id.

๙๐ โปรดดตู ัวอย่างใน Statement of Interest of the United States, Jones v. City of Clanton, 2:15-cv-34 (M.D. Ala. Feb.
13, 2015), at 14, ท่ี https://www.justice.gov/file/340461/download (“การปล่อยช่ัวคราวโดยพิจารณาปัจจัยจากข้อเท็จจริงที่
เป็นพลวัต...ไม่เพียงแต่จะสอดคล้องกับหลักการตามรัฐธรรมนูญว่าด้วยกระบวนการอันชอบด้วยกฎหมายและการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
อย่างเสมอภาคเท่าน้ัน แต่ยังนาไปสู่นโยบายสาธารณะที่ดีกว่าอีกด้วย การพิจารณาปัจจัยของผู้ต้องหาหรือจาเลยเป็นรายคน แทนท่ีจะ
ปล่อยตามราคาประกันท่ีกาหนดตายตัวซึ่งกระทบคนยากจนอย่างไม่เป็นธรรม เป็นมาตรการสาคัญเพื่อ...อานวยความยุติธรรมอย่างเสมอ
ภาคสาหรับทุกคน”); Walker v. City of Calhoun, 2016 WL 361612 at *10 (N.D. Ga. 2016) (ศาลมีคาสั่งคุ้มครองชั่วคราว) (วินิจฉัย
ว่า “ระบบท่ีให้ทาสญั ญาประกนั หรอื เรียกหลกั ประกนั ท่ีบงั คบั ให้ผู้ต้องหาหรอื จาเลยตอ้ งวางเงินตามจานวนที่กาหนดไวแ้ ลว้ ลว่ งหนา้ สาหรับความผดิ ตา่ งๆ
เพอ่ื ให้ไดร้ ับการปลอ่ ยชวั่ คราว โดยไมเ่ ปดิ ให้ศาลพจิ ารณาเรื่องความยากจนหรือปจั จัยอน่ื ๆนน้ั ขดั บทบญั ญตั วิ า่ ด้วยการคุ้มครองสิทธิเสรภี าพอยา่ งเสมอ
ภาค”).

๙๑ Alysia Santo, When Freedom Isn’t Free, The Marshall Project, (๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๐๑๕),
https://www.themarshallproject.org/2015/02/23/buying-time#.hnv6qqKdO.

๙๒ โปรดดู International Ass’n. of Chiefs of Police, Law Enforcement’s Leadership Role in the Pretrial Release and
Detention Process 7 (กุมภาพนั ธ์ ๒๐๑๑), ท่ี http://www.theiacp.org/portals/0/pdfs/ Pretrial_Booklet_Web.pdf.

๙๓ โปรดดตู วั อยา่ งใน The Nat’l Ass’n. of Pretrial Services Agencies, The Truth About Commercial Bail Bonding in
America (สงิ หาคม ๒๐๐๙) ที่ https://www.pretrial.org/download/pji-reports/ Facts%20and%20Positions%201.pdf;
Shane Bauer, Inside the Wild, Shadowy, and Highly Lucrative Bail Industry, Mother Jones, May/June 2014, ท่ี
http://www.motherjones.com/ politics/2014/06/bail-bond-prison-industry.

๕๖

๙๔ โปรดดู Justice Policy Inst., For Better or For Profit: How the Bail Bonding Industry Stands in the Way of Fair and
Effective Pretrial Justice 40- 42 (กนั ยายน ๒๐๑๒), ท่ี http://www.justicepolicy.
org/uploads/justicepolicy/documents/_for_better_or_for_ profit_.pdf.

๙๕ โปรดดู Brian R. Johnson & Ruth S. Stevens, The Regulation and Control of Bail Recovery Agents: An Exploratory
Study, 38 Crim. Justice Rev. 190, 193 (2013); Brian Liptak, Illegal Globally, Bail for Profit Remains in U.S., N.Y. Times, ๒๙
มกราคม ๒๐๐๘. โ ป รดดูเพิ่ม เติ ม Schnacke, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ ๖, หน้า ๓๖-๓๗ (ตรวจสอบทีม่ าทางประวัติศาสตร์ของระบบการ
ประกนั ตวั ในยุคสมยั ใหม่ ซ่ึงประกอบด้วย “ส่งิ ที่เราอาจเรียกขานกันในสมัยนีว้ ่าการให้ประกันโดยไม่มีหลักประกัน คือเพียงแต่ทาสัญญา
ประกันโดยไม่จาต้องวางเงินประกันต่อศาลทันที แต่ต้องมีบุคคลมาค้าประกัน...ซึ่งเป็นผู้ท่ียินดี...จะรับผิดชาระเงินตามราคาประกัน
ต่อศาลหากผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มาศาลตามนัด”).

๙๖ Ky. Rev. Stat. Ann. § 431.510 (West 1976); 725 Ill. Comp. Stat.5/103-9 (1986); 725 Ill. Comp. Stat. 5/110-7 & -8.

๙๗ Fred Contrada, Bail Bondsmen are a thing of the Past in Mass., Mass Live (2014),
http://www.masslive.com/news/index.ssf/2014/03/bail_bondsmen_are_a_thing_of_t.html.

๙๘ มาตรฐานการปลอ่ ยชวั่ คราวของสมาคมเนตบิ ัณฑติ แห่งอเมรกิ า (The American Bar Association standards) สะท้อนหลักการเหล่านี้
โดยมีข้อสังเกตวา่ “ข้อสันนิษฐานวา่ ผู้ตอ้ งหาหรือจาเลยพึงได้รับการปล่อยชั่วคราวภายใต้เง่อื นไขท่ีเป็นภาระน้อยท่ีสุดเทา่ ทจ่ี ะทาได้เพอ่ื รับประกนั
วา่ ผู้ต้องหาหรอื จาเลยจะไมห่ ลบหนหี รือกอ่ อันตรายน้ัน โดยทว่ั ไปแล้วมีความเช่ือมโยงอยา่ งใกลช้ ิดกบั ข้อสนั นิษฐานในทางที่สนับสนนุ ให้ปลอ่ ย
ผู้ตอ้ งหาหรอื จาเลย. หลักการน้ีไดร้ บั การนาไปบญั ญัติไว้เป็นกฎหมายในรัฐบัญญตั ิปฏิรูประบบการปลอ่ ยชว่ั คราวของศาลสหพันธรฐั และกฎหมาย
ของดสิ ทริกต์ ออฟ โคลัมเบยี วา่ ดว้ ยการขังและปล่อยชั่วคราว ตลอดจนกฎหมายและคาพิพากษาของศาลในอีกหลายรัฐ” Amer. Bar
Ass’n, อ้างแลว้ เชิงอรรถท่ี ๕, หนา้ ๓๙ – ๔๐.

๙๙ Spurgeon Kennedy, Freedom and Money – Bail in America, ที่ https://www.psa.gov/?q=node/97.

๑๐๐ Id.

๑๐๑ Pretrial Services Agency for the District of Columbia, Research and Data, Performance Measures, ที่
https://www.psa.gov/?q=data/performance_measures.

๑๐๒ Id.

๑๐๓ Id.

๑๐๔ โปรดดูตวั อยา่ งที่ Ariz. St. Code of Jud. Admin. §5-201; Colorado Rev.Stat.Ann. §16 - 4-105; New Jersey P.L. 2014, Ch.
31, §1-20.

๑๐๕ National Center for State Courts, Pretrial Services and Supervision,
http://www.ncsc.org/Microsites/PJCC/Home/Topics/ Pretrial-Services.aspx.

๑๐๖ Colo. Rev. Stat. Ann. §16 - 4 -105.

๑๐๗ Kathy Rowings, Nat’l Ass’n of Counties, County Jails at a Crossroads– Mesa County, CO, (๖ กรกฎาคม ๒๐๑๕), ที่
http://www.naco. org/resources/county-jails-crossroads-mesa-county-co.

๑๐๘ โปรดดู Pretrial Justice Inst., Mesa County Pretrial SMART Praxis (2013), ที่ http://www.pretrial.org/download/risk-
assessment/ Mesa%20County%20SMART%20Praxis.pdf.

๑๐๙ Id.

๑๑๐ Nat’l Ass’n of Pretrial Services Agencies, Standards on Pretrial Release, Third Edition 14 (ตุลาคม ๒๐๐๔), ท่ี
https://drive.google.com/ file/d/0B1YIoljVNUF5NmJkY0wzRHR1Tmc/view.

๑๑๑ Id.

๕๗

๑๑๒ โปรดดูตัวอยา่ งใน Superior Court of Fulton County, Pretrial Services – Savings to Taxpayers, ท่ี
https://www.fultoncourt.org/pretrial/savings.php (การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ประเมินการประหยัดเงินได้จานวน ๕๑.๘
ล้านเหรียญในปีงบประมาณ ๒๐๑๑ โดยเปรียบเทียบงบประมาณของการกากับดูแลหลังปล่อยช่ัวคราวในเทศมณฑลฟุลตัน รัฐจอร์เจีย กับต้นทุน
ในการขงั ผ้ตู ้องหาหรือจาเลยในเรือนจา); Alex Piquero, Cost-Benefit Analysis for Jail Alternatives and Jail 5 (ตุลาคม ๒๐๑๐) ที่
http://criminology. fsu.edu/wp-content/uploads/Cost-Benefit-Analysis-for-Jail- Alternatives-and-Jail.pdf (เปรียบเทียบ
ต้นทุนรายวันของการขังคนในเรือนจากับการกากับดูแลหลงั ปล่อยชั่วคราวในเทศมณฑลบราวเวิร์ด รัฐฟลอริดา และสรุปว่า “ต้นทุนท่ีประหยัดได้จากการ
กากับดูแลหลังปล่อยชั่วคราว (แทนท่ีเรือนจา) สูงมากกว่า ๑๐๐ ล้านเหรียญ ท้งั ปี ๒๐๐๙ และ ๒๐๑๐”); Marie VanNostrand, Alternatives to
Pretrial Detention: Southern District of Iowa (2010), ที่ https://www.pretrial. org/download/risk-
assessment/Alternatives%20to%20Pretrial%20Detention%20Southern%20District%20of%20Iowa%20-
%20VanNostrand%202010.pdf (ประเมินผลมาตรการกากับดูแลหลังปล่อยช่ัวคราวในรัฐไอโอวา แ ล ะ แ ส ด ง ข้ อ ยื น ยั น ว่ า ก า ร
กา กั บ ดู แ ล ห ลั ง ป ล่ อ ย ช่ั ว ค ร า ว ป ร ะ ห ยั ด ต้ น ทุ น ไ ป ไ ด้ ม า ก ถึ ง ๑ ๕ , ๓ ๙ ๓ เ ห รี ย ญ ต่ อ ผู้ ตั อ ง ห า ห รื อ จา เ ล ย ๑ ค น แ ล ะ ไ ม่
ต้ อ ง ชา ร ะ เ งิ น ล ง ทุ น ๕ . ๓ ๓ ล้ า น เ ห รี ย ญ ใ น ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๐ ๐ ๘ แ ล ะ ๒ ๐ ๐ ๙ ).

๑๑๓ โปรดดู United States v. Scott, 450 F.3d 863, 868 (9th Cir. 2006)(“ผซู้ ่ึงได้รับการปลอ่ ยชว่ั คราวน้ันมิได้สูญเสยี สิทธติ ามบทบญั ญตั ิแก้ไข
รฐั ธรรมนญู ฉบับท่ี ๔ ทจ่ี ะได้รบั ความคุม้ ครองจากการคน้ โดยไมม่ ีเหตุสมควร”) (อ้างองิ Cruz v. Kauai County, 279 F.3d 1064, 1068 (9th Cir.
2002)).

๑๑๔ โปรดดูตัวอยา่ งใน id. (วินิจฉัยว่าการบังคับให้สุ่มตรวจหาสารเสพติดเป็นเงื่อนไขในการปล่อยช่ัวคราวเป็นการค้นโดยไม่มีเหตุสมควร
ตามบทบัญญัติแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับที่ ๔ เม่ือไม่มีหลักฐานแสดงว่าการตรวจหาสารเสพติดช่วยให้รัฐบรรลุเปูาหมายในการรักษาความ
ปลอดภัยต่อสังคม และในการรับประกันว่าผู้ต้องหาหรือจาเลยจะมาศาล); United States v. Karper, 847 F. Supp. 2d 350
(N.D.N.Y. 2011) (พบว่าเงื่อนไขบังคับให้ผตู้ ้องหาหรือจาเลยในคดีความผดิ เกี่ยวกับเพศบางข้อหาตอ้ งตดิ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ฝาุ ฝืนบทบัญญัตวิ ่าด้วย
กระบวนการอันชอบดว้ ยกฎหมายและบทห้ามการให้ประกันเกินสมควร); United States v. Polouizzi, 697 F. Supp. 2d 381 (E.D.N.Y.
2010) (เหมือนกัน).

๑๑๕ โปรดดู Timothy R. Schnacke, et al., Increasing Court-Appearance Rates and Other Benefits of Live-Caller
Telephone Court-Date Reminders: The Jefferson County, Colorado FTA Pilot Project and Resulting Court Date
Notification, 48 Court Rev. 86 (2012); Wendy F. White, Court Hearing Call Notification Project, Coconino County, AZ:
Criminal Coordinating Council and Flagstaff Justice Court (2006).

๑๑๖ Matt O’Keefe, Court Appearance Notification System: 2007 Analysis Highlights, LPSCC (2007), ท่ี http://www.
pretrial.org/download/research/Multnomah%20County%20Oregon%20 -%20CANS%20Highlights%202007.pdf.

๑๑๗ Wendy F. White, Court Hearing Call Notification Project, Coconino County, AZ: Criminal Coordinating Council and
Flagstaff Justice Court (2006) http://www.pretrial.org/download/supervision-
monitoring/Coconino%20County%20AZ%20Court%20Hearing%20Notification%20Project%20(2006).pdf. (พบว่าการ
โทรศัพท์แจ้งเตือนวันนัดแก่ผู้ต้องหาหรือจาเลยลดอัตราการไม่มาศาลจากมากกว่าร้อยละ ๒๕ เป็นน้อยกว่าร้อยละ ๑๓).

๑๑๘ Schnacke, อา้ งแล้ว เชงิ อรรถท่ี ๑๑๕, หนา้ ๘๖ (๒๐๑๒) (พบว่าการโทรศัพท์จากอาสาสมัครเพิ่มอัตราการมาศาลจากร้อยละ ๗๙ เปน็
ร้อยละ ๘๘).

๑๑๙ Pretrial Justice Inst., Using Technology to Enhance Pretrial Services: Current Applications and Future Possibilities
14-16, ที่ https://www.pretrial.org/download/pji-
reports/PJI%20USING%20TECHNOLOGY%20TO%20ENHANCE%20PRETRIAL%20SERVICES.pdf (อภิปรายความเป็นไปได้ในการนา
เทคโนโลยีการแจ้งเตือนอย่างอีเมล์และการส่งข้อความทางโทรศัพท์มาใช้ ).

๑๒๐ โปรดดู Marie VanNostrand, et al., Pretrial Justice Inst., State of the Science of Pretrial Release
Recommendations and Supervision 29 (2011), ท่ี http://www.pretrial.org/download/research/ PJI
percent20State percent20of percent20thepercent20Science percent20Pretrial percent20Recommendations
percent20and percent20Supervision percent20(2011).pdf (พบว่า “การตรวจสอบมาตรการกากับดูแลท่ีใชอ้ ยู่ในสานกั งานปลอ่ ย

๕๘

ชัว่ คราวหลายแห่งทวั่ ประเทศเปิดเผยให้เห็นถึงทางปฏิบัติท่แี ตกตา่ งกันในการกากบั ดูแลหลังปล่อยชั่วคราว โดยประเภทและความถี่ของการติดต่อ
แตกต่างกันตั้งแต่การโทรศัพท์หาผู้ต้องหาหรือจาเลยผ่านระบบอัตโนมัติเดือนละคร้ัง ไปจนถึงการนัดให้มารายงานตัววันละคร้ัง”).

๑๒๑ Id.

๑๒๒ John S. Goldkamp & Michael D. White, Restoring Accountability in Pretrial Release: The Philadelphia Pretrial
Release Supervision Experiments, 2 J. of Experimental Criminology 143 (2006).

๑๒๓ Laura & John Arnold Found., อ้างแล้ว เชิงอรรถท่ี ๒๐, หน้า ๖.

๑๒๔ Id.

๑๒๕ Id.

๑๒๖ Sharon Aungst, ed., Partnership for Community Excellence, Pretrial Detention and Community Supervision: Best
Practices and Resources for California Counties, 13 (2012), ท่ี http://
caforward.3cdn.net/7a60c47c7329a4abd7_2am6iyh9s.pdf.

๑๒๗ Eric Markowitz, Electronic Monitoring Has Become the New Debtors Prison, Newsweek, ๒๖ พฤศจิกายน ๒๐๑๕, ท่ี
http:// www.msn.com/en-us/news/us/electronic-monitoring-has- become-the-new-debtors-prison/ar-
BBnlTfa?ocid=spartandhp.

๑๒๘ โปรดดู Aungst, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ ๑๒๖, หน้า ๑๓; Keith Cooprider & Judith Kerby, Practical Application of Electronic
Monitoring at the Pretrial Stage, 1 Federal Probation 28, 33 (1990) (มีข้อสังเกตว่า “อัตราการผิดเง่ือนไขท่ีสูงของผู้ต้องหา
หรือจาเลยที่ติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์น่าจะมาจากเหตุว่า โดยทั่วไปแล้ว ผู้ต้องหาหรือจาเลยท่ีความเสี่ยงสูง (ถูกตั้งข้อหาหนัก เปน็
ผกู้ ระทาผิดซา้ อยภู่ ายใต้รูปแบบการกากบั ดแู ลในชมุ ชนประเภทอ่นื เคยมปี ระวตั ิการหลบหนี การใชส้ ารเสพตดิ และอนื่ ๆ) ก็จะถูกกากับด้วยอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์นั่นเอง”); Timothy P. Cadigan, Electronic Monitoring in Federal Pretrial Release, 55 Federal Probation 1, 26
(1991) (พบว่า “ผู้ต้องหาหรือจาเลยท่ีติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ถูกต้ังข้อหาหนักบ่อยคร้ังกว่า” ค่าเฉล่ยี ซ่ึงช่วยอธิบายเหตุท่ีทาให้มี
อัตราการถูกจับอีกคร้ังที่สูงกว่าได้) 29-30; Albert J. Lemke, Institute for Court Management, Evaluation of the Pretrial
Release Pilot Program in the Mesa Municipal Court 50 (2009), available at https://www.ncsc.org/~/media/Files/
PDF/Education%20and%20Careers/CEDP%20Papers/2009/Lemke_EvalPretrialReleaseProg.ashx; Nat’l Inst. of Justice,
Office of Justice Programs, Electronic Monitoring Reduces Recidivism 2 (2011), ที่
https://www.ncjrs.gov/pdffiles1/nij/234460.pdf (พบจานวนท่ีแสดง “การไม่มาศาลที่ลดลงอย่างมากสาหรับผู้ต้องหาหรือ
จาเลยในทุกกลุ่มประชากร และจานวนที่ลดลงน้ีเหมือนคล้ายกันสาหรับผู้ต้องหาหรือจาเลยในทุกช่วงอายุ”).

๑๒๙ VanNostrand, อา้ งแลว้ เชงิ อรรถที่ ๑๒๐, หน้า ๒๗.

๑๓๐ โปรดดูโดยทว่ั ไป Avlana K. Eisenberg, Mass Monitoring, 90 S. Cal. L. Rev.__ (มีกาหนดเผยแพร่ในปี ๒๐๑๗).

๑๓๑ โปรดดู Nat’l Inst. of Justice, อา้ งแลว้ เชิงอรรถที่ ๑๒๘, หน้า ๑-๔ (อธิบายผลการสารวจท่ีจัดทาโดยศูนย์วิจัยอาชญาวิทยา
และนโยบายสาธารณะในมหาวิทยาลัยแห่งรัฐฟลอริดาทเ่ี ปรยี บเทยี บประสบการณ์ของผู้ตอ้ งหาหรอื จาเลยผมู้ คี วามเสยี่ งปานกลางและ
ความเส่ียงสงู ๕,๐๐๐ คน ผู้ตดิ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กบั ประสบการณ์ของผู้ต้องหาหรอื จาเลย ๒๖๖,๐๐๐ คน ที่ไมต่ อ้ งตดิ อปุ กรณด์ งั กลา่ วตลอด
ช่วงเวลา ๖ ป)ี . โ ป ร ด ดู เ พิ่ ม เ ติ ม M.M., Living With an Ankle Bracelet: Freedom, With Conditions, The Marshall Project,
(๑๖ กรกฎาคม ๒๐๑๕), ท่ี https://www. themarshallproject.org/2015/07/16/living-with-an-ankle-
bracelet#.th8stdccH.

๑๓๒ Nat’l Inst. of Justice, อา้ งแลว้ เชิงอรรถที่ ๑๒๘.

๑๓๓ Id. หน้า ๒.

๑๓๔ Id.

๕๙

๑๓๕ Id.
๑๓๖ โปรดดู Polouizzi, 697 F. Supp. 2d at 389 (“การกาหนดให้ผู้ต้องหาหรือจาเลยต้องสวมกาไลอิเล็กทรอนิกส์ ทุกนาทีทุกวัน โดยท่ีรัฐบาลสามารถ
ติดตามฐานท่ีอยู่ของบุคคลท่ียังไม่ถูกตัดสินว่ากระทาผิดราวกับว่าเขาเป็นสัตว์ร้ายนั้น ย่อมเป็นการจัดเสรีภาพอย่างร้ายแรงในทัศนะขอ งอเมริกันชนผู้รักเสรีส่วน
ใหญ่”).

๑๓๗ โปรดดูตัวอย่างใน United States v. Karper, 847 F. Supp. 2d 350 (N.D.N.Y. 2011) (วนิ ิจฉัยว่าการกาหนดเง่ือนไขให้ผู้ต้องหาหรอื
จาเลยในข้อหาความผิดเกี่ยวกับเพศบางฐานต้องตดิ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขดั หลกั การวา่ ดว้ ยกระบวนการอนั ชอบด้วยกฎหมายและเป็นการ
กาหนดเงื่อนไขเกินสมควร); Polouizzi, 697 F. Supp. 2d 381 (เหมอื นกนั ). แ ต่ โ ป ร ด ดู ค ดี เ ช่ น United States v. Gardner, 523 F.
Supp.2d 1025 (N.D. Cal. 2007) (ปฏิเสธข้อโต้แย้งวา่ การบังคบั ให้ตดิ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ในกรณีเช่นว่านี้ขดั หลักการว่าด้วยกระบวนการอัน
ชอบด้วยกฎหมายและเป็นการกาหนดเงื่อนไขเกินสมควร).

๑๓๘ United States v. Jones, 132 S. Ct. 945, 955 (2012) (ผู้พิพากษาโซโตเมเยอร์เห็นพ้องด้วยในผล) (“แมก้ ารใชอ้ ุปกรณ์ตดิ ตามตัวจะมี
ระยะเวลาเพยี งสั้นๆ แต่คุณลักษณะของเครอ่ื งติดตามตวั ดว้ ยระบบ GPS บางประการ…จาเปน็ ต้องไดร้ ับความสนใจเปน็ พเิ ศษ ระบบ GPS จะบันทึก
การเคลื่อนไหวในที่สาธารณะของผู้ถูกติดตามอย่างละเอียดและแม่นยา ซ่ึงย่อมจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับครอบครัว การเมือง อาชีพ ศาสนาและ
ความสัมพันธ์ทางเพศของบุคคลนั้น”).

๑๓๙ รัฐทุกรัฐ ยกเว้นรัฐฮาวาย และ ดิสทริกต์ ออฟ โคลัมเบีย ลว้ นเกบ็ ค่าธรรมเนยี มในการใชอ้ ุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์. Joseph Shapiro, As Court
Fees Rise, The Poor Are Paying the Price, NPR, (๑๙ พฤษภาคม ๒๐๑๔), ที่
http://www.npr.org/2014/05/19/312158516/increasing-court-fees-punish-the-poor.

๑๔๐ Markowitz, อา้ งแล้ว เชงิ อรรถที่ ๑๒๗.

๑๔๑ VanNostrand, อา้ งแลว้ เชิงอรรถที่ ๑๒๐, หน้า ๒๔.

๑๔๒ Pretrial Justice Inst., Survey of Pretrial Programs 47 (2009), ท่ี http://www.pretrial.org/download/pji-reports/
new-PJI%202009%20Survey%20of%20Pretrial%20Services%20Programs.pdf.

๑๔๓ Stefan Kapsch & Louis Sweeny, Bureau of Just Assistance, Multnomah County DMDA Project: Evaluation Final
Report (1990); โ ป รดดู เพ่ิม เติ ม VanNostrand, อา้ งแลว้ เชิงอรรถท่ี ๑๒๐, หน้า ๒๑-๒๒ (อธิบายผลการศึกษาหลายช้ินเก่ียวกับระบบ
ปล่อยช่ัวคราวของวอชิงตัน ดีซี และมิลวอกี ซ่ึงพบว่า การตรวจหาสารเสพติดในชั้นระหว่างพิจารณาไม่ได้ลดอัตราการหลบหนีในดีซี และการปรบั
เพิ่มการกากับดูแลให้เข้มงวดข้ึนในมิลวอกีไม่ได้เปลี่ยนแปลงผลอะไร); Michael R. Gottfredson, et al., U.S. Dept. of Justice, Nat’l.
Inst. of Justice, Evaluation of Arizona Pretrial Services Drug Testing Programs: Final Report to the National Institute
of Justice (1990) (พบว่า “ผลการตรวจสารเสพติดมิได้ช่วยเพิ่มความแม่นยาในการประเมินความเสย่ี งท่ีจะผิดเง่อื นไขการปล่อยชั่วคราวมาก
นกั ”); Chester L. Britt, et al., Drug Testing and Pretrial Misconduct: An Experiment on the Specific Deterrent Effect of
Drug Monitoring Defendants on Pretrial Release, J. of Crime and Delinquency (1992) (พบว่าการตรวจสารเสพติดช่วยลด
อัตราการถูกจับใหม่เนื่องจากกระทาผิดในระหว่างปล่อยชั่วคราวได้เล็กน้อย แต่มิได้ลดอัตราการหลบหนี).

๑๔๔ VanNostrand, อ้างแล้ว เชิงอรรถท่ี ๑๒๐, หน้า ๒๔.

๑๔๕ มีคาพพิ ากษาศาลฎกี าหลายเรอื่ งทวี่ ินิจฉัยเก่ยี วกบั ขอ้ พจิ ารณาเร่ืองความชอบดว้ ยกฎหมายตามบทบัญญตั ิแก้ไขรฐั ธรรมนูญฉบบั ท่ี ๔ ของการ
ตรวจหาสารเสพติดในหลายกรณีดว้ ยกัน โดยการตรวจหาสารเสพติดตามคาสง่ั ของเจา้ หน้าท่รี ฐั ถือเป็นการค้นตามนยิ ามของบทบัญญตั แิ ก้ไข
รฐั ธรรมนูญฉบบั ท่ี ๔ และในการวินิจฉยั วา่ การ “ค้น” มีเหตุสมควรหรือไม่นนั้ ศาลฎีกามกั จะตรวจสอบสถานการณ์และพฤติการณ์ของการตรวจ
สารเสพตดิ ครง้ั นัน้ ๆ. โปรดดูคดี Ferguson v. City of Charleston, 532 U.S. 67 (2001) (ศาลฎีกาพิพากษาว่าการบังคับให้หญิงมีครรภ์
ต้องตรวจปัสสาวะขัดรัฐธรรมนูญ) และคดี Chandler v. Miller, 520 U.S. 305 (1997) (ศาลฎีกาพพิ ากษาวา่ การให้ผ้สู มัครรับการคัดเลือก
เป็นเจ้าหน้าทีร่ ัฐบางตาแหน่งต้องตรวจหาสารเสพติดน้ันไม่ชอบด้วยกฎหมาย) เป รีย บ เทีย บกับ คดี Bd. of Educ. Of Independent
Sch. Dist. No. 92 of Pottawatomie Cty. v. Earls, 536 U.S. 822 (2002) (ศาลฎีการับรองความชอบด้วยกฎหมายของการบังคับ
ให้นักเรียนมัธยมปลายท่ีทากิจกรรมพิเศษต้องตรวจหาสารเสพติด) และคดี Skinner v. Railway Labor Executives’ Ass’n, 489
U.S. 602 (1989) (ศาลฎีการับรองความชอบด้วยกฎหมายของการตรวจหาสารเสพติดและแอลกอฮอล์สาหรับผู้ควบคุมการเดิน
รถไฟ).

๖๐

๑๔๖ โปรดดู Scott, 450 F.3d at 870 (“การใช้สารเสพติดในระหว่างการปลอ่ ยชัว่ คราวนั้นอาจส่งผลกระทบตอ่ ความน่าเชื่อถือของตวั ผูต้ ้องหา
หรอื จาเลยเอง หรือท่ีร้ายยิง่ กว่า คอื การเพิ่มความเปน็ ไปไดท้ ี่ผตู้ อ้ งหาหรอื จาเลยจะหลบหนี ขอ้ สันนษิ ฐานน้ีเป็นไปได้หรอื ไมข่ ้นึ อยู่ว่าการใช้สาร
เสพติดเปน็ ปจั จัยพยากรณ์ความเส่ยี งนี้ทแ่ี ม่นยาหรือไม่ ซึง่ เป็นกรณีที่รัฐต้องหาหลักฐานเชิงประจักษ์มาพิสูจน์เมื่อจะกาหนดเง่ือนไขให้ต้อง
ตรวจหาสารเสพติด”); Berry v. District of Columbia, 833 F.2d 1031, (D.C. Cir. 1983) (ศาลพิพากษาว่า ในการกาหนดเงื่อนไขให้
จาเลยต้องตรวจหาสารเสพติดในระหว่างปล่อยช่ัวคราวน้ัน “รัฐต้องแสดงพยานหลักฐานที่เช่ือถือได้ ไม่ว่าจะเป็นหลักฐานทางสถิติ
หรืออื่นๆ ให้ศาลสามารถเช่ือได้ว่าการตรวจพบสารเสพติดแสดงวา่ จาเลยมแี นวโน้มสูงที่จะกอ่ คดอี กี หรอื ไม่มาศาลตามนดั ”).

๑๔๗ Markowitz, อา้ งแลว้ เชิงอรรถท่ี ๑๒๗.

๑๔๘ โปรดดู Jason Blalock, Profiting from Probation: America’s “Offender- funded” Probation Industry, Human Rights
Watch (2014), ท่ี https://www.hrw.org/report/ 2014/02/05/profiting- probation/americas-offender-funded-
probation-industry.

๑๔๙ Charles Summers & Tim Willis, Bureau of Justice Assistance, Pretrial Risk Assessment: Research Summary

2 (2010), ที่ https://www.bja.gov/Publications/PretrialRiskAssessmentResearchSummary.pdf.

๑๕๐ Cynthia Mamalian, State of the Science of Pretrial Risk Assessment 7 (2011), ท่ี http://www.pretrial.org/
download/risk-assessment/PJI%20State%20of%20the%20Science%20Pretrial%20Risk%20Assessment%20
(2011).pdf; see also, Pretrial Justice Institute, Pretrial Risk Assessment: Science Provides Guidance on Assessing
Defendants 3 (2015), available at http://www.pretrial.org/download/advocacy/Issue%20Brief-
Pretrial%20Risk%20Assessment%20(May%202015).pdf.

๑๕๑ โปรดดู See Council of State Govts, Risk and Needs Assessment and Race in the Criminal Justice System, May 31,
2016, ที่ https://csgjusticecenter.org/reentry/posts/risk-and-needs-assessment- and-race-in-the-criminal-justice-
system (อภิปรายวธิ ีการใช้เครื่องมือประเมนิ ความเสี่ยงท่ีเหมาะสมและแมน่ ยาเพ่ือใหเ้ คร่ืองมือดังกลา่ วไมส่ ง่ ผลให้อคตทิ างสีผวิ ในกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญาอยู่คงทนย่งิ ข้ึน).

๑๕๒ โปรดดู Timothy Cadigan, et al., Implementing Risk Assessment in the Federal Pretrial Services System, 75 Fed.
Prob. 30, 31 (กันยายน ๒๐๑๑) (มขี ้อสังเกตว่า “แมว้ า่ เคร่อื งมือประเมินความเสี่ยงจะมปี ระโยชน์อย่างยง่ิ ในการเพมิ่ คณุ ภาพการตัดสนิ ใจของ
เจ้าหน้าท่ีและการทารายงานแนะนาว่าควรขงั หรือปล่อยช่ัวคราวผู้ต้องหาหรอื จาเลย แตเ่ ครื่องมือดังกล่าวก็มีข้อจากัด...และเจ้าหน้าท่ีไม่ควร
เช่ือตามเคร่ืองมือนี้โดยไม่ใช้ดุลพินิจประกอบ”).

๑๕๓ โปรดดู id. หน้า ๓๒.

๑๕๔ Jeff Larson et al., How We Analyzed the COMPAS Recidivism Algorithm, ๒๓ พฤษภาคม ๒๐๑๖, ท่ี
https://www.propublica.org/article/how-we-analyzed-the-compas-recidivism-algorithm

๑๕๕ Samuel Wiseman, Fixing Bail, 84 Geo. Was. L. Rev. 417, 442 n. 145 (2016) (อ้างองิ Charles Summers & Tim Willis,
Bureau of Justice Assistance, Pretrial Risk Assessment Research Summary 2 (2010); Vera Inst. of Justice, Evidence-
Based Practices in Pretrial Screening and Supervision, 2–3 (2010)). การใช้เคร่ืองมือประเมินความเส่ยี งในระบบศาลสหพันธรัฐยัง
เป็นไปอย่างจากัด โดยในปี ๒๐๑๑ มีผู้ต้องหาหรือจาเลยในระหว่างพิจารณาแต่ละไตรมาสโดยเฉล่ียท่ี ๒๖,๐๐๐ คน แต่มีรายงานซ่ึงแสดงผล
คะแนนจากการประเมินความเส่ียงเพียง ๔,๐๐๐ ฉบับ. Cadigan, อ้างแลว้ เชิงอรรถที่ ๑๕๒, หน้า ๓๐, ๓๓.

๑๕๖ ตวั อยา่ งเช่น รฐั นวิ เจอรซ์ ยี ์รว่ มมอื กับมลู นธิ ิลอราและจอหน์ อาร์โนลด์ ในการนาเคร่อื งมือประเมินความเสี่ยงมาใชเ้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการปฏริ ูป
ระบบปลอ่ ยชวั่ คราว. โปรดดู N.J. State Legis., FY 2015-2016 Budget, Judiciary Response 3, ที่ http://www.njleg.
state.nj.us/legislativepub/budget_2016/JUD_response.pdf). รัฐนิวเม็กซโิ กกก็ าลงั พจิ ารณาการใชเ้ คร่อื งมือประเมินความเสย่ี ง
เช่นกัน. โปรดดู N.M. Senate, Joint Resolution 1, Fiscal Impact Report, ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๐๑๖, ท่ี
http://www.nmlegis.gov/Sessions/16%20Regular/firs/SJR01.PDF.

๑๕๗ โปรดดตู วั อยา่ งที่ Pretrial Justice Inst., The Colorado Pretrial Assessment Tool, Revised Report, ๑๙ ตุลาคม ๒๐๑๒, ที่
http://www. pretrial.org/download/risk-

๖๑

assessment/CO%20Pretrial%20Assessment%20Tool%20Report%20Rev%20-%20PJI%202012.pdf; Ohio Dep’t of
Rehabilitation and Correction, Ohio Risk Assessment System, ๑๗ พฤศจิกายน ๒๐๑๔, ที่ http://www.drc.
ohio.gov/web/oras.htm; Northpointe, Northpointe Software Suite, ที่
http://www.northpointeinc.com/products/northpointe-software-suite.

๑๕๘ รายงานเมื่อปี ๒๐๑๑ ระบุวา่ ตน้ ทนุ ในการตรวจสอบพสิ ูจน์ความแม่นยาของเคร่อื งมอื ประเมนิ ความเสยี่ งอาจอยรู่ ะหว่าง ๒๐,๐๐๐ ถึง
๗๕,๐๐๐ เหรียญ ขน้ึ กบั ทอ้ งที่และประเภทของการศึกษาทใ่ี ช้เพือ่ ตรวจสอบ. โปรดดู Mamalian, อ้างแลว้ เชงิ อรรถที่ ๑๕๐, หน้า ๓๕
เชิงอรรถที่ ๙๑.

๑๕๙ ทจี่ ริงแล้ว รัฐล่าสุดทก่ี าลังปฏิรูประบบการปล่อยชวั่ คราวคอื รัฐนวิ เจอรซ์ ีย์และรัฐนิวเม็กซิโกกาลังพิจารณาความเป็นไปได้ของการใช้เคร่ืองมือประเมินความเส่ียงใน
ระดับชาติ. โปรดดู N.J. State Legis., อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ ๑๕๖, หนา้ ๓; N.M. Senate, อ้างแลว้ เชิงอรรถท่ี ๑๕๖, หนา้ ๑.

๑๖๐ มูลนิธิอาร์โนลด์ให้เงินทุนสนับสนุนแก่ศูนย์ศึกษานโยบายในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในหัวข้อศึกษาอื่นอันไม่เกี่ยวข้องกับคู่มือน้ี.

๑๖๑ Laura & John Arnold Found., Developing a National Model for Pretrial Risk Assessment (พฤศจิกายน ๒๐๑๓), ท่ี
http://www. arnoldfoundation.org/wp-content/uploads/2014/02/LJAF- research-summary_PSA-Court_4_1.pdf.

๑๖๒ VanNostrand, อา้ งแลว้ เชิงอรรถท่ี ๑๒๐, หน้า ๒๙.

๑๖๓ โปรดดู Laura & John Arnold Found., Results from the First Six Months of the Public Safety Assessment - Court in
Kentucky (กรกฎาคม ๒๐๑๔), ที่ http://www.ncjp.org/pretrial/universal-risk- assessment#sthash.ZhtdTaoL.dpuf.

๑๖๔ Laura & John Arnold Found, Developing a National Model for Pretrial Risk Assessment, (พฤศจิกายน ๒๐๑๓), ที่
http://www. arnoldfoundation.org/wp-content/uploads/2014/02/LJAF- research-summary_PSA-Court_4_1.pdf.

๑๖๕ Id.

๑๖๖ Id.

๑๖๗ Id.

๑๖๘ Id.

๑๖๙ Id.

๑๗๐ Id.

๑๗๑ Id.

๑๗๒ Laura & John Arnold Found., More Than 20 Cities and States Adopt Risk Assessment Tool to Help Judges
Decide Which Defendants to Detain Prior to Trial, ๒๖ มิถนุ ายน ๒๐๑๕, ที่ http://www.arnoldfoundation.org/more-
than-20-cities-and- states-adopt-risk-assessment-tool-to-help-judges-decide-which- defendants-to-detain-prior-
to-trial/.

๑๗๓ โปรดดู Shima Baradaran & Frank L. McIntyre, Predicting Violence, 90 Tex. L. Rev. 497, 553 (2012) (พบวา่ จากบรรดา
ผู้ต้องหาหรอื จาเลยในระหว่างพิจารณาท่วั ประเทศ “เกือบคร่งึ ของผตู้ ้องหาหรือจาเลยผู้ถูกขงั ...ในความเปน็ จรงิ มีโอกาสน้อยกวา่ ร้อยละ ๒๐ ท่ี
จะถูกจบั ใหมห่ ลังถกู ปล่อย ในขณะที่ผู้ตอ้ งหาหรือจาเลยในจานวนเทา่ กันผู้ ได้รับการปล่อยชว่ั คราว กลับมีโอกาสสูงกว่าร้อยละ ๒๐ ในการไป
กระทาความผิดหลังปล่อย”) (ตัวเอนโดยคณะผู้เขียน).

๑๗๔ Samuel Wiseman, Fixing Bail, 84 Geo. Was. L. Rev. 417, 467-68 (2016).

๑๗๕ Vernon Lewis Quinsey, et al., Violent Offenders: Appraising and Managing Risk 171 (1998).

๑๗๖ Baradaran & McIntyre, อ้างแลว้ เชิงอรรถที่ ๑๗๓, หน้า ๕๕๓.

๖๒

๑๗๗ โปรดดตู ัวอยา่ งใน Justice Pol’y Inst., อา้ งแลว้ เชิงอรรถท่ี ๒๘, หน้า ๑๓-๑๔ (อภปิ รายผลกระทบจากการถูกขังระหว่างพิจารณาท่ี
อาจเกิดขึน้ ได้ต่อการประกอบอาชีพ การมที พี่ ักอาศัย การประกันสุขภาพ ความสุขในชีวิตครอบครัวและชีวิตในชุมชน).

๑๗๘ โปรดดู อา้ งแลว้ เชิงอรรถท่ี ๒๕.

๑๗๙ กระท่งั นกั วชิ าการทว่ี จิ ารณ์การใช้เครอื่ งมอื ประเมนิ ความเสยี่ งตามหลักการทางสถติ ิอยา่ งดุเดือดที่สุดก็ยังพบวา่ การนาเคร่ืองมอื ประเมนิ ความ
เสย่ี งมาใช้กบั การปล่อยชั่วคราวเปน็ “ความกา้ วหนา้ ท่ีให้ประโยชน์แก่ผ้ยู ากจนและคนชายขอบอยา่ งไม่ตอ้ งสงสัย” Bernard E. Harcourt,
Against Prediction: Profiling, Policing, and Punishing in an Actuarial Age 216 (2007).

๑๘๐ โปรดดู Laura & John Arnold Found., อา้ งแล้ว เชงิ อรรถท่ี ๑๖๓.

๑๘๑ Kenneth Rose, Virginia Dep’t of Criminal Justice Services, A “New Norm” for Pretrial Justice in the
Commonwealth of Virginia 6 (2013), ท่ี https://www.dcjs.virginia.gov/corrections/
documents/A%20New%20Norm%20for%20Pretrial%20Justice%20in%20the%20Commonwealth%20of%20Virginia.
pdf.

๑๘๒ โปรดดู Mecklenburg County Criminal Justice Services Planning, Jail Population Trend Report, มกราคม-มีนาคม ๒๐๑๖, ที่
http://charmeck.org/mecklenburg/county/CriminalJusticeServices/Documents/Jail%20Population/Population%2
0FY16%203Q.pdf. ในปี ๒๐๐๘ ประชากรผูต้ ้องขังระหว่างพจิ ารณาโดยเฉลี่ยคอื ๑,๙๕๓ คน แต่ในเดือนมีนาคม ๒๐๑๕ ประชากรรายวนั ลด
จานวนลงเหลอื ๘๑๗ คน. Nat’l. Ass’n. of Counties, Effectively Framing the Pretrial Justice Narrative, Webinar, ๑๔ เมษายน
๒๐๑๖, ที่
http://www.naco.org/sites/default/files/event_attachments/Effectively%20Framing%20the%20Pretrial%20Justi
ce%20Narrative.pdf.

๑๘๓ Pretrial Justice Inst., The Transformation of Pretrial Services in Allegheny County, Pennsylvania: Development
of Best Practices and Validation of Risk Assessment, vii (๙ ตุลาคม ๒๐๐๗), ที่ http://www.pretrial.org/download/pji-
reports/Allegheny%20County%20Pretrial%20Risk%20Assessment%20Validation%20Study%20 -%20PJI%202007.pdf.

๑๘๔ โปรดดู Sonja B. Starr, Evidence-Based Sentencing and the Scientific Rationalization of Discrimination, 66 Stan. L.
Rev. 803, 842 (2014) (“[ในการกาหนดโทษ,] สูตรประเมินความเสี่ยงได้รับการออกแบบมาเพื่อพยากรณ์อัตราการกระทาความผิดซ้า
โดยเฉลี่ยสาหรับผู้กระทาผิดทุกคนที่มีบุคลิกลักษณะใดก็ตามท่ีเหมือนกับผู้ต้องหาหรือจาเลยรายน้ันๆ และเป็นปัจจัยหนึ่งในสูตร
ประเมิน หากสูตรประเมนิ ความเสีย่ งมีรายละเอยี ดชดั เจนและพฒั นาขน้ึ มาจากกลุ่มตัวอย่างทเี่ หมาะสมและมากเพียงพอ สูตรดงั กลา่ วก็อาจ
พยากรณค์ วามเสย่ี งได้แม่นยา แตเ่ นอื่ งจากความเสย่ี งของแตล่ ะบุคคลอาจแตกตา่ งผนั แปรไปได้มากกวา่ ความเสย่ี งของกลมุ่ บุคคล กระทัง่ สูตร
ประเมินความเสย่ี งทีค่ อ่ นข้างแม่นยากย็ งั มกั ไม่อาจพยากรณ์ความเส่ียงรายบุคคลในกรณีเฉพาะตา่ งๆได้ดีนกั ”).

๑๘๕ Amer. Bar Ass’n, อา้ งแลว้ เชิงอรรถที่ ๕.

๑๘๖ Executive Office of the President, Big Data: A Report on Algorithmic Systems, Opportunity, and Civil Rights 21
(พฤษภาคม ๒๐๑๖), ท่ี
https://www.whitehouse.gov/sites/default/files/microsites/ostp/2016_0504_data_discrimination.pdf.

๑๘๗ โปรดดูตัวอย่างใน Angele Christin et al., Courts and Predictive Algorithms 7-8 (๒๗ ตุลาคม ๒๐๑๕) (อธิบายโดยคร่าวถงึ วธิ ีที่
การใส่ข้อมูลและการแปลข้อมูลอาจมผี ลเป็นการแทรกแซงดุลพินิจแทนท่จี ะเป็นการช่วยใหก้ ารตัดสินใจมเี หตผุ ลมากขึ้น), ที่
http://www.datacivilrights.org/pubs/2015-1027/Courts_and_Predictive_ Algorithms.pdf.

๑๘๘ โปรดดตู วั อย่างใน Christopher Slobogin, Risk Assessment and Risk Management in Juvenile Justice, 27 Wtr. Crim.
Justice 10, 16-17 (2013).

๑๘๙ โปรดดตู วั อย่างใน Michael Tonry, Legal and Ethical Issues in the Prediction of Recidivism, 26 Fed. Sent. Rep. 167, 173
(2014) (สรุปว่าการอิงการตัดสินใจกับประวัติอาชญากรรมซง่ึ มีความเช่ือมโยงเก่ียวพันกับปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคม เช่น อายุที่ถูกจับคร้ังแรก การถูก
ควบคุมตัวหรือปล่อยชั่วคราวหลงั ถูกจับครงั้ แรก และจานวนครั้งท่ีถูกศาลพิพากษาว่ากระทาความผดิ น้ัน โดยสภาพย่อมทาให้ผตู้ ้องหาหรือจาเลยผ้เู ป็นคน
ชายขอบต้องมีความเสี่ยงสูงกว่าอย่างเล่ียงไมไ่ ด้).

๖๓

๑๙๐ โปรดดตู ัวอยา่ งใน Marc Mauer & Ryan S. King, The Sentencing Project, Uneven Justice: State Rates of Incarceration
by Race and Ethnicity 4 (กรกฎาคม ๒๐๐๗) (พบว่า “ระบบเรือนจาอเมริกันเป็นที่รู้จักจากลักษณะประชากรผู้ต้องขังที่แสดง
ปัญหาเรื้อรังด้านความเหล่ือมล้าทางสีผิว”).

๑๙๑ ตวั อย่างเช่น ปจั จยั เก้าข้อในเครอ่ื งมือประเมินความเสี่ยงของรฐั เวอร์จเิ นียรวมขอ้ เท็จจรงิ ว่าผตู้ อ้ งหาหรอื จาเลยอาศัย ณ ทอี่ ย่อู าศยั ปจั จุบนั นาน
๑ ปี หรือมากกวา่ หรือไม่ และผตู้ อ้ งหาหรอื จาเลยได้รับการจา้ งงานอยา่ งต่อเนอื่ งหรอื ไม่ หรอื เปน็ ผอู้ ปุ การะเลย้ี งดูหลกั ของบตุ รตลอด ๒ ปที ่ผี า่ นมา
หรือไม.่ Virginia Pretrial Risk Assessment Instrument (VPRAI) Instruction Manual, 5-7
https://www.dcjs.virginia.gov/sites/dcjs.virginia.gov/files/publications/corrections/virginia-pretrial-risk-assessment-
instrument-vprai.pdf. ปจั จัยเหล่าน้อี าจแฝงอคติทางสีผิวเอาไว้. โปรดดูตัวอย่างใน Matthew Desmond, Eviction and the
Reproduction of Urban Poverty, 118 Am. J. of Sociology 88, 110 (กรกฎาคม ๒๐๑๒) (อธบิ ายที่มาทางโครงสร้างสังคมอันเป็น
เหตผุ ลที่ทาให้มีสัดสว่ นของหญงิ ผวิ ดาสงู เกินส่วนในบรรดาผู้ถูกขับไล่ออกจากที่พักอาศยั ในเมืองมิลวอกี).

๑๙๒ Atty. Gen. Eric Holder, Remarks of Attorney General Eric Holder at National Association of Criminal Defense
Lawyers 57th Annual Meeting (๑ สงิ หาคม ๒๐๑๔), ท่ี https://www.justice.gov/opa/ speech/attorney-general-eric-
holder-speaks-national-association- criminal-defense-lawyers-57th.

๑๙๓ Id.

๑๙๔ โปรดดู Harcourt, อา้ งแล้ว เชงิ อรรถที่ ๑๗๙, หน้า ๒๒๐ (๒๐๐๗) (อภิปรายเก่ียวกับ “ปรากฏการณ์วงล้อหมนุ ทางเดียว – ratchet
effect” ซ่ึงอาจเกิดข้ึนได้เม่ือมีการใช้เคร่ืองมือประเมินความเสี่ยงในการปล่อยชั่วคราว).

๑๙๕ โปรดดู Atty. Gen. Eric Holder อา้ งแล้ว เชงิ อรรถท่ี ๑๙๒ (“การกาหนดโทษทางอาญาตอ้ งอยู่บนข้อเทจ็ จรงิ กฎหมาย อาชญากรรมที่
เกดิ ข้ึนจริง พฤตกิ ารณแ์ วดลอ้ มคดนี ั้นๆ และประวตั ิอาชญากรรมของผู้ตอ้ งหาหรอื จาเลย โทษทางอาญาไม่ควรกาหนดจากปจั จัยทไี่ มอ่ าจ
เปล่ียนแปลงและบคุ คลไม่อาจควบคุมได้”).

๑๙๖ โปรดดตู วั อยา่ งใน Sonja Starr, Risk Assessment Era: An Overdue Debate, 27 Fed. Sent’g Rep. 205 (เมษายน ๒๐๑๕).

๑๙๗ โปรดดตู ัวอย่างใน State v. Loomis, 881 N.W.2d 749 (Wisc. 2016) (ตรวจสอบการประเมินความเส่ียงในการกาหนดโทษ); State v.
Duchay, 647 N.W.2d 467, 2002 WL 862458, at *1-2 (Wis. Ct. App. May 7, 2002) (ศาลพิพากษาว่าการที่ศาลกาหนดโทษอาญา
บนผลการประเมินความเสี่ยงน้ันมิได้ขัดหลักการว่าด้วยกระบวนการอันชอบด้วยกฎหมายแต่อย่างใด เน่ืองจากจาเลยมิได้แสดงว่า
ข้อมูลจากการประเมินความเส่ียงไม่ถูกต้อง); Malenchik v. State, 928 N.E.2d 564, (Ind. 2010) (ศาลพิพากษารับรองการใชเ้ ครื่องมือ
ประเมนิ ความเส่ียงในการกาหนดโทษ).

๑๙๘ โปรดดูตัวอยา่ งใน Fisher v. University of Texas at Austin, 133 S.Ct.2411, 2419 (2013) (นโยบายรัฐบาลที่อิงกับ “การจาแนก
ชัน้ ของผตู้ ้องสงสัย” จะผ่านการตรวจสอบความชอบดว้ ยกฎหมายของศาลได้ต่อเมื่อนโยบายนั้นจากดั วงแคบเพื่อตอบสนองประโยชน์
สาธารณะอนั จาเป็นยง่ิ ยวดเทา่ น้ัน).

๑๙๙ โปรดดู United States v. Virginia, 518 U.S. 515, 532-33 (1996).

๒๐๐ โปรดดู Carissa Byrne Hessick, Race and Gender as Explicit Sentencing Factors, 14 J. Gender Race & Justice 127 (2010)
(อภิปรายถึง “คาม่ันทช่ี ัดแจ้งในการปูองกันมิให้ดุลพินิจการกาหนดโทษของจาเลยถูกแทรกแซงด้วยสีผิวหรือเพศของจาเลย” ซึ่งเป็นหลักการที่
ปรากฏใน “ระบบการกาหนดโทษสมัยใหม่ส่วนใหญ่” และหลกั การคมุ้ ครองสิทธอิ ยา่ งเสมอภาคทอ่ี ยเู่ บอ้ื งหลังแนวปฏิบัติดงั กลา่ ว). โปรดดู
เพมิ่ เตมิ Starr, อา้ งแลว้ เชงิ อรรถท่ี ๑๘๔, หน้า ๘๒๓-๒๔ (โต้แย้งว่าการใชเ้ ครือ่ งมือประเมินความเส่ียงในการกาหนดโทษซง่ึ อาศยั “การใช้สถติ ิ
เหมารวมข้อเท็จจริงเกย่ี วกบั กลมุ่ บุคคล” ซ่ึงตั้งอยู่บนฐานขอ้ มูลเก่ียวกบั เพศและสถานะทางเศรษฐกิจสังคมน้ันขัดหลักการคมุ้ ครองสิทธิเสรีภาพ
อยา่ งเสมอภาค). ผู้สังเกตการณ์ท้ังหลายต่างมีข้อสรุปท่ขี ัดแย้งกันวา่ การกาหนดให้เพศเป็นปัจจัยของเคร่ืองมือประเมินความเส่ียงโดยใชห้ ลัก
สถิติน้ันจะสามารถผ่านการตรวจสอบความชอบดว้ ยกฎหมายภายใต้หลกั การคุ้มครองสิทธิอยา่ งเสมอภาคหรือไม่. โปรดดู Melissa
Hamilton, Risk-Needs Assessment: Constitutional and Ethical Challenges, 52 Am. Crim. L. Rev. 231, 250-53 (2015) (ให้
ภาพคร่าวๆเกี่ยวกับมุมมองที่ไม่ลงรอยกันของนักวิชาการและผู้มีความเห็นอื่นๆ). ศาลฎกี าแห่งรฐั วิสคอนซนิ พพิ ากษารบั รองการ
กาหนดโทษโดยใชเ้ คร่ืองมือประเมินความเส่ยี งซ่ึงมเี พศเปน็ หน่งึ ในปจั จัย. โปรดดู Loomis, 881 N.W.2d at 766. อย่างไรก็ตาม ศาลในคดี
ดังกล่าวพิจารณาในประเด็นของหลักกระบวนการอันชอบด้วยกฎหมาย มิใช่หลักการคุ้มครองสทิ ธิอย่างเสมอภาค. Id.

๖๔

๒๐๑ โปรดดตู วั อยา่ งใน Personnel Adm’r of Massachusetts v. Feeney, 442 U.S.256, 279 (1979).

๒๐๒ Fuentes v. Shevin, 407 U.S. 67, 81 (1972).

๒๐๓ โปรดดู Mathews v. Edridge, 424 U.S. 319 (1976).

๒๐๔ Salerno, 481 U.S. at 751.

๒๐๕ Loomis, 881 N.W.2d at 760.

๒๐๖ Id. at 769.

๒๐๗ โปรดดู Salerno, 481 U.S. at 750 -51; Mathews, 424 U.S. at 334 -35.

๒๐๘ โปรดดู Hamilton, อ้างแลว้ เชงิ อรรถที่ ๒๐๐, หน้า ๒๗๑ (๒๐๑๕) (พิจารณาหลักเกณฑ์ความชอบดว้ ยกระบวนการทางกฎหมายในบริบท
ต่างๆ).

๒๐๙ โปรดดู John S. Goldkamp, Danger and Detention: A Second Generation of Bail Reform, 76 J. Crim. Justice &
Criminology 1, 4 (1985) (ไลเ่ รียงขอ้ โตแ้ ย้งต่อระบบท่ีเรียกเงินประกันหา้ ข้อ ซึ่งรวมข้อโต้แยง้ ว่าผู้พิพากษามกั กาหนดราคาประกันในระดับท่ไี ม่มคี วาม
เก่ียวพันกับอนั ตรายจากตัวผตู้ ้องหาหรือจาเลย และอาจจากัดความสามารถในการต่อส้คู ดีของผูต้ ้องหาหรือจาเลยต่อไป).

๒๑๐ โปรดดู Alaska Stat. Ann. § 12.30.011(d)(2); Arizona Rev. Stat. Ann. §13-3961; Colorado Rev. Stat. Ann. § 16- 4 -101;
D.C. Code §23-1322; Florida Const. Art. 1 § 14; Hawaii Rev. Stat. §804 -3; Illinois 725 Ill. Comp. Stat. 5/110-6.1; Indiana
Code Ann. §35-33-8-2 (ใช้เฉพาะข้อหาความผิดฐานฆ่าผู้อื่นท่ี “หลักฐานชัดเจนหรือข้อสันนิษฐานแข็งแกร่ง”); Louisiana
Code Crim. Proc. Ann. art. 330.1; Maine Rev. Stat. Ann. tit. 15 § 1027, § 1029 (เฉพาะคดที ีม่ ีหรอื เคยมีโทษประหารชีวติ );
Maryland Rules Crim. Proc. § 5-202; Massachusetts G. L. 276 § 58A; Michigan §765.5; Mississippi Const. Art. 3, §29; Mo.
Const. Art. 1 § 32.2; New Jersey P.L. 2014, Ch. 31, §1-20; Ohio Rev. Code Ann. §2937.222; Oregon Rev. Stat. Ann. §
135.240; Pennsylvania Const. Art. 1 § 14; Rhode Island Gen. Laws Ann. § 12-13-1.1; Texas Const. Art. 1 § 11a;
Washington Rev. Code Ann. § 10.21.040, § 10.21.060 (สาหรับคดที ่ีมโี ทษประหารชวี ิตหรอื จาคกุ ตลอดชวี ติ ); Wisconsin Const. Art.
1 § 8.

๒๑๑ โปรดดตู ัวอย่างใน Shima Baradaran Baughman, Restoring the Presumption of Innocence, 72 Ohio State L.J. 723
(2011) (ต้ังคาถามต่อความชอบด้วยกฎหมายของการเรียกเงินประกันและการขังระหว่างพิจารณาในเม่ือผู้ต้องหาหรือจาเลย
ต้องได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์); R.A. Duff, Pre-trial Detention and the Presumption of Innocence (2012), ที่
http://ssrn.com/abstract=2103303 (ประเมินว่าการขังระหว่างพิจารณาจะสามารถไปด้วยกันกับหลักการสันนิษฐานว่าผู้ต้องหาหรือ
จาเลยเป็นผู้บริสุทธ์ิได้หรือไม่); Sandra G. Mayson, Dangerous Defendants, University of Pennsylvania Law School, Public
Law Research Paper No. 16-30 (๑๕ สิงหาคม ๒๐๑๖), ที่ http://ssrn.com/abstract=2826600.

๒๑๒ Id. at 746. โปรดดูเพ่มิ เตมิ Bell v. Wolfish, 441 U.S. 520, 535-39 (1979) (“ในการประเมนิ ความชอบดว้ ยรัฐธรรมนูญของเง่ือนไขหรอื
การจากัดสิทธดิ ้วยการขงั ระหวา่ งพิจารณาวา่ เป็นการจากัดสิทธเิ สรภี าพโดยปราศจากกระบวนการอันชอบด้วยกฎหมายหรอื ไมน่ ั้น ศาลเห็นวา่
ประเดน็ ทีเ่ หมาะสมแกก่ ารพิจารณาคือ เงื่อนไขการจากัดสทิ ธนิ ้ันเป็นการลงโทษผู้ตอ้ งขงั หรือไม.่ ..หากเง่ือนไขหรอื การจากัดสทิ ธดิ ว้ ยการขงั ระหว่าง
พจิ ารณาเปน็ ไปอยา่ งเหมาะสมเพือ่ สนองเปาู หมายสาธารณะอนั ชอบธรรมแลว้ เง่ือนไขดงั กล่าวก็มิไดส้ ง่ ผลเปน็ ‘การลงโทษ’”).

๒๑๓ Salerno, 481 U.S. at 747.

๒๑๔ Id.

๒๑๕ Id. at 750.

๒๑๖ Id. at 750 (ละการคัดลอกถ้อยคาและแหลง่ ข้อมลู ท่ีอ้างถึง).

๒๑๗ Id. at 751.

๒๑๘ Id. at 755.

๖๕

๒๑๙ Id. at 751.

๒๒๐ Id.

๒๒๑ Id. at 751–52.

๒๒๒ สิทธิในการมีทนายเข้าร่วมฟังการพิจารณาเป็นสิทธิท่ีสาคัญมากไม่เพียงเพ่ือลดการขังระหว่างพิจารณาท่ีไม่จาเป็นเท่าน้ัน แต่ยังเป็นไป
เพื่อช่วยให้ผู้ต้องหาหรือจาเลยสามารถรักษาสิทธิท่ีจะได้รับการพิจารณาอย่างเป็นธรรมได้อีกด้วย การมีทนายให้คาปรึกษาตั้งแต่ต้นคดีทาให้
ทนายมีโอกาสตรวจสอบข้อเท็จจริงในคดีต้ังแต่เน่ินและสร้างความเช่ือใจกับลูกความได้. โปรดดู Colbert, อา้ งแล้ว เชิงอรรถท่ี ๗๔, หน้า
๖.

๒๒๓ D.C. Code § 23-1322(h)(1). สาระสาคญั ของมาตรานค้ี ือหากผูพ้ ิพากษาอนุญาตให้ขยายระยะเวลาได้และหากมเี หตสุ มควร ระยะเวลา
สามารถขยายไดถ้ ึง ๒๐ วัน.

๒๒๔ Vt. Stat. tit. 13, § 7553b.

๒๒๕ โปรดดู Thomas M. O’Brien, The Undoing of Speedy Trial in New York: the “Ready Rule,” N.Y. Law Journal (๑๔
มกราคม ๒๐๑๔), ท่ี http://www.newyorklawjournal.com/id=1202638065307/The- Undoing-of-Speedy-Trial-in-New-
York-the-Ready-Rule?mcode=0& curindex=0&curpage=ALL (กล่าวถงึ คดีคาลิฟ บราวเดอร์ - Kalief Browder – ผซู้ ่งึ ถูกขังนานถึง
สามปีในเรือนจาเกาะไรเกอรส์ ระหวา่ งรอการพิจารณา); William Glaberson, Justice Denied: Inside the Bronx’s Dysfunctional
Court System, N. Y. Times, ท่ี http://www.nytimes.com/2013/04/14/nyregion/justice-denied-bronx-court-system-
mired-in-delays.html?pagewanted=all&_r=0.

๒๒๖ Salerno, 481 U.S. at 747.

๒๒๗ Id. at 750.

๒๒๘ Id.

๒๒๙ Laura & John Arnold Found., อ้ า ง แ ล้ ว เ ชิ ง อ ร ร ถ ที่ ๒ ๐ , หน้า ๔ – ๕.

๒๓๐ N.J.P.L. 2014, Ch. 31, § 1 (ให้นิยาม “ผู้ต้องหาหรือจาเลยผเู้ ข้าหลักเกณฑ์” เพ่ือการประเมินความเสี่ยงโดยอิงกับความผิดท่ีถูก
ตั้งข้อหา).

๒๓๑ โปรดดู D.C.Code §23-1322; 18 U.S.C § 3142(e).

๒๓๒ Cf. Kate Stith, The Arc of the Pendulum: Judges, Prosecutors, and the Exercise of Discretion, 117 Yale L. J. 1420
(2008) (โต้แย้งว่าแนวทางการกาหนดโทษท่ีใช้กันในระบบศาลสหพันธรัฐเป็นการเพิ่มดุลพินิจให้แก่อัยการ มิใช่แต่เพียงใน
การตัง้ ข้อหาเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงการกาหนดโทษอีกด้วย).

๒๓๓ D.C. Code §23-1322(b)(1); 18 U.S.C § 3142(f).

๒๓๔ Salerno, 481 U.S. at 751.

๒๓๕ D.C.Code § 23-1322(e).

๒๓๖ โปรดดตู ัวอย่างใน Ohio Rev. Code § 2937.222; Washington Rev. Code Ann.§10.21.050 (ใช้ถ้อยคาเหมือนในกฎหมายของดีซี
เกือบทง้ั หมด); Mass. Gen. Laws Ann. ch. 276, § 58A (“สภาพและความรุนแรงของอันตรายต่อบุคคลใดหรือต่อชุมชนท่ีอาจเกิดขึ้นหลัง
ปล่อยช่ัวคราวผู้ต้องหาหรือจาเลยผู้น้นั สภาพและพฤติการณ์ของความผิดท่ีถูกต้ังข้อหา โทษที่ผู้ต้องหาหรือจาเลยผู้นั้นอาจได้รับ ความผูกพัน
ในครอบครัว ประวัติการจ้างงานและประวัติการเจ็บปุวยทางจิต ชื่อเสียงของผู้ต้องหาหรือจาเลย ความเสี่ยงท่ีผู้ต้องหาหรือจาเลยอาจ
ขัดขวาง หรือพยายามขัดขวาง หรือข่มขู่ ทาร้าย หรือทาให้กลัว หรือพยายามข่มขู่ ทาร้าย หรือทาให้กลัวซึ่งพยานหรือลูกขุน ประวัติการถูก
พิพากษาว่ากระทาความผิด (หากมี) การจาหน่ายยาเสพตดิ โดยผิดกฎหมายหรือการติดสารเสพติด ข้อเทจ็ จริงว่าผตู้ ้องหาหรือจาเลยอยู่ระหวา่ ง
ปล่อยช่ัวคราวในขณะรอคาพพิ ากษาในคดอี ื่นหรอื ไม่...”). กฎหมายว่าด้วยการขังเพ่ือปูองกันอันตรายไว้ก่อนของรัฐนิวเจอร์ซีย์ก็บัญญัติปัจจัย

๖๖

คล้ายกันนอกเหนือจาก “คาแนะนาในการปล่อยช่วั คราวจากเจ้าหน้าทป่ี ล่อยชั่วคราวภายหลังการใช้เคร่ืองมอื ประเมินความเสี่ยงตามกฎหมาย -
section 11 of P.L.2014, c.31 (C.2A:162-25).” N.J. P.L.2014, c.31 C.2A:162-20(6)(f).

_____________________________________________________


Click to View FlipBook Version