The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนยุทธศาสตร์ 63-67

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อาทิมาพร ทองอ่อน, 2020-09-21 23:02:18

แผนยุทธศาสตร์ 63-67

แผนยุทธศาสตร์ 63-67

แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร ศึ ก ษ า ว ท ย า ลั ย ชุ ม ช น ส ง ข ล า
ระยะ 5 ป

(พ.ศ.2563 - 2567)

ว ท ย า ลั ย ชุ ม ช น ส ง ข ล า ส ถ า บั น ว ท ย า ลั ย ชุ ม ช น

ง า น น โ ย บ า ย แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ว ท ย า ลั ย ชุ ม ช น ส ง ข ล า
ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า ว ท ย า ศ า ส ต ร์ ว จั ย แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม



คำนำ

แผนยุทธศาสตร์การศึกษาวิทยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563 - 2567) ฉบับน้ี ได้จัดทาและปรับปรุงข้ึน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ
พัฒนาการจัดการศึกษารูปแบบวิทยาลัยชุมชน โดยได้กาหนดกลยุทธ์การศึกษาในระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ.2563 - 2567) ซึ่งมีความสอดคล้อง นโยบายรัฐบาล
กระทรวง กรม และยทุ ธศาสตร์การพฒั นาพ้นื ท่ี ปรัชญาและหลกั การของวิทยาลัยชุมชน รวมถึงนโยบายสภาวทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา

แผนยุทธศาสตรก์ ารศกึ ษาวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา เป็นแผนแมบ่ ทท่ใี ช้เป็นเครอื่ งมอื ในการบริการและพัฒนาการจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนสงขลา
ซ่ึงจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด บรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนาก่อให้เกิดผลในการตอบสนองความต้องการของประชาชน ช่วยลดความ
ขัดแย้ง ทาใหส้ ามารถใชท้ นุ ทางสังคม ไดอ้ ย่างคมุ้ ค่าสูงสุด ทาใหว้ ิทยาลัยชุมชนสงขลามที ิศทางในการพฒั นาทชี่ ดั เจนเปน็ รปู ธรรม

วทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน ผู้บริหาร บุคลากร และผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนหน่วยงานต่างๆที่เก่ียวข้อง
ที่ได้ให้ความร่วมมือในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การศึกษาวิทยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563 - 2567) เพื่อเป็นเครื่องมือท่ีช่วยให้การดาเนินงาน
พฒั นาบรรลุตามปรชั ญาและหลักการของวทิ ยาลยั ชมุ ชนอยา่ งแท้จริง

งานนโยบายและยุทธศาสตร์ วิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา
กนั ยายน 2562

สารบัญ

บทที่ 1 บทนา แนวคดิ หลกั การ กระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ หน้า
 แนวคดิ และหลกั การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของวิทยาลยั ชุมชนสงขลา
 ข้ันตอนการจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์ 2
3
บทที่ 2 แนวคิด นโยบาย ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ในการจดั แผนยทุ ธศาสตร์
 แนวคิดนโยบายในการจัดแผนยทุ ธศาสตร์ 6

บทท่ี 3 ขอ้ มูลทั่วไปและการวิเคราะห์ศกั ยภาพของวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา 26
 ข้อมลู ท่วั ไปของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา 28
 สถานที่ต้ัง 29
 เครือข่ายวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา 29
 อานาจหน้าที่ของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา 30
 โครงสรา้ งการบริหารงานของวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา 34
 อัตรากาลังของวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ประกอบด้วย 37
 การจดั การศึกษาของวทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา 39
 งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการดาเนินงาน 40
 ผลการประเมนิ คุณภาพภายภายใน 47
 การวิเคราะห์ศกั ยภาพของวิทยาลัยชุมชนสงขลา (SWOT ANALYSIS)
52
บทที่ 4 ทศิ ทางในการพัฒนาของวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา 52
 ปรชั ญาการจัดการศกึ ษาของวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา 52
 วิสัยทัศนว์ ทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา 52
 พันธกจิ วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา
 เอกลักษณว์ ิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา

แผนยทุ ธศาสตร์การศึกษาวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

สารบญั (ตอ่ ) หนา้
53
 อตั ลกั ษณว์ ทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา 53
 คา่ นิยมร่วมองค์กร 53
 รา่ งยทุ ธศาสตร์การจดั การศึกษาของวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา
บทที่ 5 การนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลาไปสกู่ ารปฏบิ ัตแิ ละการติดตามประเมนิ ผล 101
 การติดตามและประเมนิ ผลแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา 101
 วธิ ีการตดิ ตามและประเมินผล 102
 ห้วงระยะเวลาในการตดิ ตามและประเมนิ ผล

แผนกลยทุ ธก์ ารศึกษาวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

สารบัญตาราง หนา้
2
ตารางท่ี 1 ตารางแสดงกระบวนการในการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์และองคป์ ระกอบของแผนยุทธศาสตร์ 37
ตารางที่ 2 ตารางแสดงจานวนนกั ศกึ ษาหลักสูตรอนปุ รญิ ญาตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2560 – 2562 38
ตารางที่ 3 ตารางแสดงจานวนนักศกึ ษาหลกั สตู รฝึกอบรม/ระยะสัน้ 40
ตารางท่ี 4 ตารางแสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายในของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา 46
ตารางที่ 5 ตารางแสดงผลการประเมินคุณภาพภายในของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา 49
ตารางท่ี 6 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในของวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา 51
ตารางท่ี 7 ตารางแสดงผลวเิ คราะห์ปจั จัยภายนอกของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา 80
ตารางที่ 8 ตารางเช่ือมโยงยุทธศาสตร์

แผนกลยุทธ์การศึกษาวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

สารบัญภาพ หน้า
13
ภาพที่ 1 กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 15
ภาพท่ี 2 เป้าหมายของยุทธศาสตร์สถาบันวิทยาลยั ชุมชนในแต่ละระยะ 5 ปี 28
ภาพที่ 3 แผนทแ่ี สดงสถานท่ีจดั การศึกษาของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา 33
ภาพท่ี 4 แสดงโครงสรา้ งการบริหารงานของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา 34
ภาพที่ 5 แสดงโครงสร้างสภาวทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา 35
ภาพที่ 6 แสดงโครงสร้างอนุกรรมการวิชาการวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา 35
ภาพท่ี 7 แสดงโครงสร้างคณะกรรมการส่งเสรมิ กิจการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา 36
ภาพท่ี 8 แผนภูมแิ สดงจานวนบุคลากร 37
ภาพที่ 9 แผนภูมิแสดงจานวนนักศึกษาหลักสตู รอนุปริญญาต้ังแตป่ ี พ.ศ.2560 – 2562 38
ภาพท่ี 10 แผนภมู ิแสดงผรู้ บั บรกิ ารหลักสตู รฝึกอบรม/ระยะสน้ั ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 39
ภาพท่ี 11 แผนภูมิแสดงงบประมาณวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562

แผนกลยทุ ธก์ ารศกึ ษาวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 1

บทท่ี 1 บทนำ แนวคดิ หลักกำร กระบวนกำรจดั ทำแผนยุทธศำสตร์

การวางแผนกลยุทธ์หรือการวางแผนยุทธศาสตร์เป็นกระบวนการตัดสินใจเพ่ือกาหนดทิศทางในอนาคตขององค์กรโดยกาหนดส ภาพการณ์ในอนาคตที่ต้องบรรลุ
และกาหนดแนวทางในการบรรลสุ ภาพการณท์ ่ีกาหนดบนพ้ืนฐานข้อมลู รอบดา้ นอย่างเปน็ ระบบ

คาว่า “ยุทธศาสตร์” (Strategy) มีความหมายรวมถึงจุดหมายปลายทางและวิธีการสู่จุดหมายปลายทางเชิงนโยบายส่วนคาว่า “กลยุทธ์” (Strategies) หมายถึง
วิธีการสู่จุดหมายปลายทางระดับปฏิบัติการและเป็นแนวทางเพื่อตอบสนองวิธีการสู่จุดหมายปลายทางระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ไม่ใช่งานประจาแต่หมายถึงการพัฒนา
งานประจาหรือการสร้างงานได้ทั้งนี้องค์กรจะดาเนินการไปสู่ความสาเร็จได้จาเป็นต้องมีวิธีการบริหารจัดการท่ีเรียก ว่าการบริหารยุทธศาสตร์หรือการบริหารเชิงกลยุทธ์
และมตี ัวช้วี ดั ความสาเรจ็ ท่ีชดั เจนหนว่ ยราชการความสาเรจ็ จะอยู่ท่กี ารบรรลวุ ิสยั ทศั น์

การวางแผนกลยทุ ธ์ (Strategic Planning) เป็นการวางแผนครอบคลุมกิจกรรมท้ังหมดขององค์กรหรือแผนงานใหญ่ขององค์กรโดยจะระบุไว้ “อย่างกว้าง” และ
“มองไกล” ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งมักจะเป็นแผนระยะยาว 5-10 ปี ซ่ึงจะสอดคล้องกับแผนระดับนโยบาย แผนกลยุทธ์เป็นการกาหนดแนวทางการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุ
เป้าประสงค์ตามพันธกิจ (Mission) ขององค์กรและทาให้องค์กรอยู่รอดในระยะยาวได้การวางแผนกลยุทธ์น้ันเป็นกระบวนการกาหนดเป้าหมายระยะยาวขององค์กรและ
การเลือกวิถีทางเพ่ือให้บรรลจุ ดุ หมายน้ันทง้ั นีก้ ารวางแผนกลยุทธ์ซ่งึ เป็นแผนของผู้บรหิ ารจะมคี วามเชื่อมโยงกบั แผนปฏิบตั ิการ

แผนปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติราชการ (Operation Plan) เป็นการวางแผนท่ีกาหนดจุดมุ่งหมายระยะส้ันระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีซ่ึงถ่ายทอดมาจากแผนกลยุทธ์
องคป์ ระกอบของแผนปฏบิ ัติการ จะประกอบดว้ ย

วัตถปุ ระสงค์เปา้ หมายกิจกรรมขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ บประมาณผู้รับผิดชอบในการดาเนนิ งาน
วทิ ทยาลัยชมุ ชนสงขลาจึงไดจ้ ดั ทาแผนยุทธศาสตร์ของวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567) โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
วิทยาลยั ชุมชนสงขลา ได้แก่ คณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนสงขลา ผู้บริหารวิทยาลัยชุมชนสงขลา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักง านราชการ ลูกจ้าง
เหมาบริการ นักศึกษา ศิษย์เก่า ตลอดถึงผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี เพ่ือให้ได้มาซ่งึ กระบวนการจัดทาแผนกลยุทธท์ างการศกึ ษาของวิทยาลัยชุมชนสงลาท่ีมาจากความต้องการของ
ทกุ ภาคส่วนอย่างแทจ้ รงิ โดยแผนยุทธศาสตร์ของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลามวี ัตถุประสงคห์ ลกั ดังนี้
1. เพ่อื เป็นกรอบทิศทางในการขบั เคลอ่ื นพฒั นาการจดั การศึกษารปู แบบวทิ ยาลยั ชุมชนระยะยาว 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567)
2. เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางการเสนอแผนงบประมาณล่วงหนา้ ตามขนั้ ตอนการขอตงั้ งบประมาณของหน่วยงานแต่ละปี
3. เพื่อใช้เป็นแนวทางการทาแผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณใหเ้ กิดผลการพฒั นาที่ต่อเนื่อง

แผนยทุ ธศาสตร์การศกึ ษาวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 2

 แนวคิดและหลกั กำรจดั ทำแผนยุทธศำสตร์ของวทิ ยำลยั ชมุ ชนสงขลำ
 กระบวนในกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์
วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลามเี ป้าหมายในการจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์คอื
 การนาพาองค์กรสู่ความสาเร็จ
 สามารถบรรลุวิสยั ทัศน์ทว่ี างไว้
 การประสบความสาเรจ็ อย่างยงั่ ยนื
 สามารถก่อให้เกดิ คุณคา่ หรือประโยชนก์ บั ผู้เก่ยี วข้อง
 การเป็นสถาบนั อุดมศกึ ษาที่เพิม่ โอกาสทางการศึกษาและอาชพี
 การเปน็ สถาบนั แห่งการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้เพือ่ ลดความเหล่อื มล้าของสังคมและพฒั นาคุณภาพชวี ิตของชุมชน

กระบวนกำรในกำรจดั ทำแผนยทุ ธศำสตร์ องคป์ ระกอบของแผนยุทธศำสตร์

1. การวิเคราะหป์ ัจจยั ทางยทุ ธศาสตร์/กลยุทธห์ รอื SWOT Analysis - วสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ
2. การกาหนดทิศทางขององค์กร/หน่วยงาน - ประเด็นยทุ ธศาสตร์
3. การวเิ คราะหถ์ งึ ประเดน็ ทตี่ อ้ งมงุ่ เน้น/ให้ความสาคญั ทจี่ ะบรรลวุ สิ ัยทัศน์ - เปา้ ประสงค์
4. การกาหนดเป้าประสงคส์ าหรับแตล่ ะประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ - ตวั ชวี้ ดั และเปา้ หมาย
5. การกาหนดตวั ชว้ี ดั และเป้าหมายของแต่ละเป้าประสงค์ - กลยทุ ธ์
6. การกาหนดกลยุทธห์ รอื สง่ิ ท่ีจะทาใหบ้ รรลุเป้าประสงค์ - กลวธิ ใี นการปฏิบตั ิงานใหบ้ รรลผุ ลสาเร็จ

ตำรำงที่ 1 ตำรำงแสดงกระบวนกำรในกำรจดั ทำแผนยทุ ธศำสตร์และองคป์ ระกอบของแผนยุทธศำสตร์

แผนกลยุทธก์ ารศกึ ษาวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 3

 องค์ประกอบหลกั ในกำรวำงแผนยุทธศาสตร์
 พนั ธกจิ (Mission) เปน็ สงิ่ ทส่ี ื่อถึงภารกจิ หลกั ขององค์กร
 จดุ มุ่งหมาย (Goal) คือ ผลลัพธป์ ลายทาง (Outcomes) ทอี่ งคก์ รต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต โดยไม่ตอ้ งระบชุ ่วงเวลาท่แี นน่ อนลงไป
 วตั ถุประสงค์ (Objective) เป็นผลผลติ (Output) ทตี่ ้องการให้เกิดข้ึน เมอื่ ได้กระทาส่ิงต่างๆ ตามท่ีได้กาหนดพันธกิจไว้ วัตถุประสงค์จึงต้องกาหนดให้

ชดั เจน วัดได้ และปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ละตอ้ งเกดิ ขึ้นก่อนผลลัพธ์
 นโยบาย (Policy) คือ ขอ้ ความหรือสง่ิ ท่ีองค์กรระบุไว้ว่าจะปฏิบัติหรือกระทาเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ และจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ ดังน้ันการกาหนด

นโยบายจงึ เป็นการกาหนดกรอบ กาหนดเกณฑ์ท่จี ะปฏบิ ัตใิ หก้ ระชับและมีประสิทธิภาพ
 กลยุทธ์ (Strategy) คือ แนวทางปฏิบัติย่อยที่องค์กรยึดเป็นกรอบสาหรับคัดเลือกแผนงาน/งาน/โครงการ ต่างๆ ที่จะดาเนินให้บรรลุวัตถุประสงค์ ซ่ึง

กลวิธตี า่ งๆ จะต้องสอดคล้องกบั นโยบายขอ้ นั้นๆ
 แผนงาน (Program) คือ งาน หรือโครงการย่อยๆ หลายโครงการ ซึ่งมีวัตถุประสงค์สอดคล้องกัน ซ่ึงงานหรือโครงการ จะประกอบด้วย กิจกรรม

(Activities) ตา่ งๆ ที่ดาเนินการภายใต้กรอบของงาน หรอื โครงการหนึ่งๆ ซง่ึ จะมเี งอ่ื นไขระยะเวลาเริม่ ตน้ และสน้ิ สดุ ในการทากิจกรรมตา่ งๆ

 ข้ันตอนกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์
 ขั้นเตรยี มกำร
 จัดตั้งคณะทางานหรอื คณะกรรมการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของวิทยาลยั ชุมชนสงขลา
 วิเคราะห์กล่มุ ผู้รบั บริการทัง้ ผรู้ บั บรกิ ารตามพันธกิจของวทิ ยาลัยชุมชน
 ศึกษานโยบายของรัฐบาล กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ข้อมูลจังหวัด กลุ่มจังหวัด

อาเภอ แผนพัฒนาการอุดมศึกษา 15 ปี แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์สถาบันวิทยาลัยชุมชน 20 ปี (พ.ศ.
2561 – 2579 ) และนโยบายทเ่ี ก่ียวข้อง

 รวบรวมข้อมลู เชงิ ปรมิ าณจากรายงานสถิตทิ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกของวิทยาลยั ชุมชน
 รวบรวมข้อมลู เชงิ คณุ ภาพจากเอกสารท่เี กยี่ วข้องกับการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดลอ้ มภายนอกของหน่วยงาน

แผนกลยุทธ์การศกึ ษาวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 4

 ขน้ั ประเมินศกั ยภำพของหน่วยงำน/วิเครำะห์สภำพแวดล้อม (SWOT Analysis)
 การวเิ คราะห์สถานการณ์ภายในองคก์ ร ใชห้ ลกั “SWOT” ในการวิเคราะห์ ซ่ึงประกอบด้วยการวเิ คราะหด์ ังนี้ คอื
(1) Strengths คอื จุดแขง็ หรือขอ้ ได้เปรยี บ
(2) Weaknesses คือ จดุ อ่อนหรอื ขอ้ เสียเปรียบ เป็นการวเิ คราะห์สภาพองคก์ รหรือหน่วยงานในปจั จบุ ัน เพ่ือค้นหาจุดแขง็

จุดเด่น จุดด้อย หรือส่ิงที่อาจเป็นปัญหาสาคัญในการดาเนินงานสู่สภาพที่ต้องการในอนาคต การวิเคราะห์สภาพการณ์ วิเคราะห์จุดแข็ง จุด อ่อน เพื่อให้รู้ตนเอง รู้จัก
สภาพแวดล้อม ชัดเจน และวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค เพ่ือประโยชน์ในการกาหนดวิสัยทัศน์ หรือเลือกกลยุทธ์ระดับองค์กรที่เหมาะสมต่อไปการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายในครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี

- ความเหมาะสมของโครงสรา้ งองค์กร และความชัดเจนของนโยบายทห่ี นว่ ยงานกาหนด
- ประสทิ ธผิ ลในระดบั ผลลพั ธ์ (ผลประโยชนต์ อ่ กลุม่ เป้าหมาย) ในช่วงเวลาท่ีผ่านมา และประสิทธิภาพในระดับผลผลิต (เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
ตามมาตรฐาน เชงิ เวลา และเชงิ ตน้ ทนุ ) ในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมา รวมทัง้ ความคมุ้ ค่าของภารกิจในช่วงเวลาท่ีผา่ นมา
- การบริหารบุคคลและการพัฒนาบุคลากร เช่น อัตรากาลัง คุณภาพบุคลากร การคัดเลือกบุคลากร การให้รางวัลและการลงโทษ การฝึกอบรม
ระหวา่ งการปฏบิ ตั ิงานของบคุ ลากร การฝึกอบรมผบู้ ริหารระดบั ตา่ งๆ เป็นต้น
- ประสิทธิภาพทางการเงินและการระดมทุน
- การบริหารพสั ดุ เช่น การจัดซ้อื จดั จ้าง การบารุงรักษาครภุ ัณฑ์และอาคารสถานที่ การจัดหาวัสดุสิน้ เปลือง เป็นตน้
- การบริหารจัดการ เช่น การวางแผนปฏิบัติการ การวจิ ยั และพัฒนา การตดิ ตามผลการปฏิบัตงิ าน การประเมินผล เปน็ ต้น
(3) Opportunities คือ โอกาสทีจ่ ะดาเนนิ การได้
(4) Threats คือ อุปสรรคหรือปจั จัยท่คี กุ คามการดาเนินการของ
 การวิเคราะหส์ ถานการณภ์ ายนอกองค์กร เปน็ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มต่างๆ ทีอ่ ยู่ภายนอกองค์กร แต่มผี ลกระทบต่อการดาเนินงานท้ังทางตรงและ
ทางอ้อม เชน่ สภาพแวดล้อมทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง คู่แข่งขัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ฯลฯ ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ องค์กรควบคุมได้ยาก ผู้วางแผนกลยุทธ์
ตอ้ งให้ความสาคัญกับการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ภายนอกองค์กร เพ่อื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการวางแผนกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกครอบคลุม
ประเดน็ ต่อไปนี้
- ปัจจัยเอ้ือ/ปัจจัยอุปสรรคด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้พิจารณา ปัจจัยเอ้ือด้านสังคมท่ีเก่ียวกับความต้องการของประชาชน หรือปัญหาสังคม การศึกษา
อาชพี พฤตกิ รรม กระแสวฒั นธรรมจากตา่ งประเทศ ค่านยิ มความเช่ือ ขนบธรรมเนียม และประเพณี เป็นตน้

แผนกลยทุ ธ์การศึกษาวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 5

- ปจั จยั เออื้ /ปจั จยั อปุ สรรคด้านเทคโนโลยี
- ปจั จยั เออื้ /ปัจจัยอุปสรรคดา้ นเศรษฐกจิ เช่นภาวการณ์จ้างงาน อาชพี รายได้ประชาชนในพื้นท่ี
- ปัจจยั เออ้ื /ปัจจยั อุปสรรคด้านการเมืองและกฎหมายนโยบายและแผนการพัฒนาของทอ้ งถน่ิ และประเทศ
 การประเมินสถานภาพของวิทยาลยั ชุมชนสงขลาพิจารณาครอบคลุมประเดน็ ต่อไปนี้
- ความโนม้ เอยี งระหว่างจดุ แข็งและจดุ อ่อน
- ความโน้มเอยี งระหวา่ งโอกาสและอปุ สรรค
- สรปุ ความเป็นไปได้ทีจ่ ะมียุทธศาสตร์เชงิ รุก เชิงรกั ษาสถานภาพความเชี่ยวชาญ เชงิ ปรับปรุงสว่ นด้อย และเชงิ ตดั ทอนภารกจิ เปน็ ต้น

 ข้นั จดั วำงทิศทำงของหน่วยงำน
 ประเมินสถานภาพจากผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม
 จดั ทาร่างวิสยั ทศั น์พนั ธกิจประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์และกลยุทธ์
 รบั ฟงั ความคดิ เห็นจากบคุ ลากร กรรมการสภา และผรู้ บั บรกิ ารรวมทงั้ ผู้เกยี่ วข้อง
 ร่วมจัดทาร่างวิสัยทัศน์พันธกิจประเดน็ ยทุ ธศาสตร์เป้าประสงคแ์ ละกลยทุ ธ์

 ข้นั จดั ทำรำ่ งแผนยุทธศำสตร์
 สรปุ ผลการประเมินสถานภาพจากการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม
 สรปุ ผลการกาหนดวิสัยทศั นพ์ ันธกจิ เป้าประสงค์กลยทุ ธ์และผลผลิต
 กาหนดตวั ชวี้ ัดเปา้ ประสงค์ตวั ช้วี ัดผลผลติ

 ขน้ั ขออนุมตั ิแผนยทุ ธศำสตร์ต่อสภำวิทยำลัยชุมชนสงขลำ
 ขน้ั เผยแพร่แผนยทุ ธศำสตร์ต่อสำธำรณะ

 ประชาสมั พนั ธแ์ ผนกลยุทธ์ใหผ้ ูม้ สี ่วนไดเ้ สียได้รับทราบและแสดงความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะต่างๆ
 ประชาสมั พนั ธ์แผนกลยุทธบ์ นเว็บไซตข์ องวิทยาลยั เพ่อื ให้ประชาชนและผสู้ นใจสามารถใหข้ อ้ คิดเหน็ เพิ่มเติมกลบั มายังวิทยาลัยได้

แผนกลยุทธ์การศึกษาวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 6

บทที่ 2 แนวคดิ นโยบาย ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ในการจดั แผนยุทธศาสตร์

 แนวคิดนโยบายในการจัดแผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ของวิทยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563 – 2567) จัดทาขึ้นโดยการนาแนวทางและนโยบายที่สาคัญของการพัฒนาประเทศ ท่ีมีผลต่อ

การดาเนนิ งานของวทิ ยาลยั ประกอบดว้ ย

 นโยบายของรัฐบาล
คาแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรี 1 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
แถลงต่อรฐั สภา วันพฤหสั บดที ี่ 25 กรกฎาคม 2562 วิสยั ทัศน์ในการขบั เคลื่อนประเทศของรัฐบาลชุดน้ีคือ “มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว

ในศตวรรษท่ี ๒๑” โดยรัฐบาลไดก้ าหนด นโยบายในการบรหิ ารราชการแผนดิน นโยบายหลกั ๑๒ ดา้ น ดังน้ี
1. การปกป้องและเชดิ ชูสถาบันพระมหากษัตรยิ ์
2. การสร้างความมัน่ คงและความปลอดภยั ของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ
3. การทานุบารงุ ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
4. การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก ในโอกาสท่ีประเทศไทยดารงตาแหน่งประธานอาเซียนในปี 2562 รัฐบาลจะใช้โอกาสนี้ในการสร้างบทบาทของ

ประเทศไทยในเวทีโลก เพอ่ื ให้ประเทศไทยมีบทบาทนาในการพฒั นาและสร้างความรว่ มมือของประเทศตา่ ง ๆ
5. การพฒั นาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแข่งขันของไทย
6. การพฒั นาพ้นื ทีเ่ ศรษฐกิจและการกระจายความเจริญส่ภู มู ิภาค
7. การพฒั นาสร้างความเขม้ แขง็ จากฐานราก
8. การปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้และการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทุกชว่ งวยั
9. การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลกั ประกนั ทางสังคม
10. การฟ้นื ฟทู รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการรกั ษาส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือสรา้ งการเติบโตอยา่ งยัง่ ยนื
11. การปฏิรปู การบริหารจัดการภาครัฐ
12. การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ และกระบวนการยุติธรรม

แผนกลยุทธ์การศกึ ษาวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 7

 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สาระสาคญั ๆ แผนฯ 12 ที่เกยี่ วข้องกบั วทิ ยาลยั ชุมชน สรุปได้ ดงั นี้
1. สาระสาคญั ของแผนฯ 12
มีแนวคดิ ตอ่ เนอื่ งแผนฯ 9 -11 โดยยดึ หลักเศรษฐกิจพอเพียง แนวการพัฒนาแบบองคร์ วมที่มีคนเปน็ ศนู ยก์ ลางการพัฒนา เช่ือมโยงทุกมิติการพัฒนาแบบ

บูรณาการทงั้ คน สังคม เศรษฐกจิ สิง่ แวดลอ้ ม การเมือง เพือ่ สร้างภมู คิ ุ้มกนั ใหพ้ ร้อมเผชญิ การเปลยี่ นแปลง และใหค้ วามสาคัญการมีส่วนรว่ มทกุ ภาคส่วนในสังคม มีทิศทาง
พัฒนาประเทศที่สาคัญ คือ การเสริมสร้างทุนสังคม (ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนวัฒนธรรม) การเสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ (ทุนกายภาพ ทุนทางการเ งิน) การเสริมสร้างทุน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่เน้นความม่ันคงอาหาร การบริหารทรัพยากรที่เป็นภาคผลิตการเกษตร เศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่า/เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
รวมทง้ั เตรยี มพรอ้ มภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ และการเพ่มิ บทบาทไทยในเวทปี ระชาคมโลก ตลอดจนการบรหิ ารประเทศสรา้ งความเป็นธรรม

2. วิสัยทศั นป์ ี 2570
“คนไทยภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดม่ันวัฒนธรรมประชาธิปไตยและหลักธรรมาภิบาล บริการสาธารณะพ้ืนฐ าน

ท่ัวถึง สังคมปลอดภัยและมั่นคง สภาพแวดล้อมดี เก้ือกูลอาทรซึ่งกันและกัน ระบบผลิตเป็นมิตรสิ่งแวดล้อม มั่นคงด้านอาหารและพลังงา น บนฐานเศรษฐกิจที่พึงตนเอง
และแข่งขันได้เวทีโลก อยใู่ นประชาคมภูมิภาคและโลกอยา่ งมศี ักด์ิศรี”

วิสัยทัศน์แผนพัฒนาระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ของแผนฯ 12 “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตาม
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง”

3. วัตถุประสงค์
- ด้านสังคม : เพื่อให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ

ผดู้ ้อยโอกาสไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพ รวมท้ังชมุ ชนมีความเข้มแขง็ พงึ่ พาตนเองได้
- ด้านคน : เพ่ือวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะ

และสขุ ภาพที่ดี ครอบครวั อบอ่นุ ตลอดจน เปน็ คนเก่งท่มี ีทักษะความรคู้ วามสามารถและพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวติ
- ดา้ นเศรษฐกจิ : เพอ่ื ให้เศรษฐกจิ เข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมคี วามยัง่ ยืน สร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐาน

ใหม่โดยการใช้นวตั กรรมท่เี ข้มข้นมากขนึ้ สรา้ งความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก และสร้างความมนั่ คงทางพลงั งาน อาหาร และน้า
- ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม : เพื่อรักษาและฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับ

สิ่งแวดล้อมและการมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ีดีของประชาชน

แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลัยชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 8

4. เปา้ หมาย
- ด้านสังคม : เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสั งคมที่มีคุณภาพ

อย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม กลุ่มที่มีรายได้ต่าสุดร้อยละ ๔๐ มีรายได้เพ่ิมข้ึนอย่างน้อยร้อยละ ๑๕ และมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตยสังคมปลอดภัย สามัคคี สร้าง
ภาพลกั ษณ์ดี และเพิ่มความเชื่อม่ันของนานาชาติต่อประเทศไทย ความขัดแย้งทางอุดมการณ์และความคิดในสังคมลดลง ปัญหาอาชญากรรมลดลง ปริมาณความสูญเสีย
จากภัยโจรสลัดและการลักลอบขนส่งสินค้าและค้ามนุษย์ลดลง มีความพร้อมท่ีปกป้องประชาชนจากการก่อการร้ายและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ประเท ศไทยมีส่วนร่วมใน
การกาหนดบรรทดั ฐานระหว่างประเทศ เกิดความเช่ือมโยงการขนส่ง โลจสิ ติกส์ หว่ งโซ่มูลคา่ เปน็ หุ้นสว่ นการพัฒนาท่ีสาคัญในอนุภูมิภาค ภูมิภาค และโลก และอัตราการ
เตบิ โตของมูลค่า การลงทนุ และการสง่ ออกของไทยในอนภุ ูมภิ าค ภมู ิภาค และอาเซียนสงู ข้ึน

- ด้านคน : คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคม มีความเป็นพลเมืองต่ืนรู้มี
ความสามารถในการปรบั ตวั ได้อย่างรู้ เทา่ ทันสถานการณ์ มคี วามรบั ผดิ ชอบและทาประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญ งอกงามทางจิตวิญญาณ มี
วิถชี วี ติ ที่พอเพียง และมคี วามเปน็ ไทย

- ด้านเศรษฐกิจ : ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐานบริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และ
เป็นสังคมผู้ประกอบการ ผ้ปู ระกอบการขนาดกลางและขนาดเลก็ ท่ีเขม้ แข็งสามารถใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการ มีระบบการ
ผลิตและให้บรกิ ารจากฐานรายได้เดิมท่ีมีมลู คา่ เพิ่มสูงขึ้น และมกี ารลงทนุ ในการผลิตและบริการฐานความรู้ชน้ั สูงใหม่ๆ ทเ่ี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจาย
ฐานการผลิตและการให้บริการสู่ภูมิภาคเพ่ือลดความเหล่ือมล้า โดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพและมีอัตราการขยายตัวเฉล่ียร้ อยละ ๕ ต่อปี และมีปัจจัยสนับสนุน อาทิ
ระบบโลจสิ ติกส์ พลังงาน และการลงทุนวจิ ยั และพัฒนาทเ่ี อ้อื ต่อการขยายตัวของภาคการผลติ และบรกิ าร

- ด้านทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม : ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่ นคงทาง
อาหาร พลังงาน และนา โดยเพิ่มพื้นท่ีป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพ้ืนที่ประเทศเพื่อรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและ
ขนส่ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗ ภายในปี 2563 เทียบกับการปล่อยในกรณีปกติ มีปริมาณหรือสัดส่วนของขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกหลักสุขาภิบาลเพ่ิมข้ึน และ
รักษาคณุ ภาพน้าและคณุ ภาพอากาศในพื้นที่วกิ ฤตให้อยู่ ในเกณฑม์ าตรฐาน

5. ยทุ ธศาสตร์ประเทศ
1. ยุทธศาสตร์การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์
2. ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความเปน็ ธรรมและลดความเหลื่อมล้าในสงั คม
3. ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความเขม้ แข็งทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขนั ได้อยา่ งยัง่ ยนื
4. ยทุ ธศาสตร์การเติบโตทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มเพือ่ การพัฒนาท่ยี งั่ ยืน

แผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 9

5. ยทุ ธศาสตร์การเสริมสร้างความมน่ั คงแหง่ ชาตเิ พือ่ การพัฒนาประเทศสู่ความมั่งค่ังและย่ังยืน
6. ยุทธศาสตรก์ ารบริหารจดั การในภาครฐั การปอ้ งกนั การทุจรติ ประพฤติมิชอบ และธรรมาภบิ าลในสังคมไทย
7. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและระบบโลจิสตกิ ส์
8. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม
9. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาภาค เมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกจิ
10. ยทุ ธศาสตรค์ วามรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพอ่ื การพัฒนา

 ยทุ ธศาสตร์การศกึ ษาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การศึกษาเพอื่ เสริมสรา้ งความมัน่ คง
เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความภาคภูมิใจและความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์

ทรงเป็นประมขุ
2. ประชาชนในจังหวดั ชายแดนภาคใตอ้ ยู่ร่วมกันอยา่ งมีความสุข ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม
3. ประชาชนในจังหวดั ชายแดนภาคใตม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามเปน็ พลเมืองไทย และพลโลก สามารถดารงตนได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากาลงั คนให้มีสมรรถนะในการแข่งขนั
เป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์
1. ประชากรวัยแรงงานมีทักษะและสมรรถนะท้ังความรู้ ทักษะ คุณลักษณะด้านอาชีพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน และได้รับการส่ งเสริม

สนับสนุนส่คู วามเป็นเลศิ
2. ประชากรวัยทางานมีความเชี่ยวชาญ และมีความเปน็ เลิศเฉพาะดา้ น
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถตามช่วงวัย และมีศักยภาพรองรับการพัฒนาพ้ืนท่ี เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด

ชายแดนภาคใต้
2. ประชาชนในจังหวดั ชายแดนภาคใต้มีการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ พร้อมรบั บรบิ ทการเปลีย่ นแปลง ท้งั ภายในและภายนอกประเทศ

แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 10

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางการศกึ ษา
เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนกลมุ่ ทด่ี ้อยโอกาสทางสงั คมได้รับการชว่ ยเหลอื ให้มคี วามพร้อมในการเขา้ ถึงบริการการศึกษา
2. ประชาชนได้รับโอกาสในการเข้าถึงบริการการศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพต่อเน่ืองตลอดชวี ติ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพอื่ เสริมสร้างคุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
เป้าหมายยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนมีองค์ความรู้จิตสานึกในการใชแ้ ละการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
2. สถานศกึ ษาชุมชนมีความเขม้ แข็งในการอนรุ ักษ์ฟน้ื ฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
เป้าหมายยุทธศาสตร์
1. ผเู้ รียน ครู คณาจารย์ บคุ ลากรทางการศกึ ษา และสถานศึกษา มคี วามปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ ิน มขี วัญกาลงั ใจในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี
2. หนว่ ยงาน/สถานศึกษามรี ะบบบริหารจัดการและมีการทางานเชิงการบูรณาการกับทุกหน่วยงานในพื้นท่ีอย่างมีประสิทธิภาพทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบ
ได้
3. ทุกภาคสว่ นเขา้ มามสี ่วนในการจดั การศกึ ษาในรูปแบบการสานพลังประชารฐั

 ยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
- ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. 2560-2579) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซ่ึงจะต้องนาไปสู่การ

ปฏิบัติเพ่ือให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่งย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพ่ือ
ความสุขของคนไทยทุกคน

- วิสัยทัศน์ประเทศคือ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมี
เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” โดยยกระดับ
ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบน
คณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม และมภี าครฐั ของประชาชนเพอ่ื ประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมนิ ผลการพฒั นาตามยุทธศาสตรช์ าติ ประกอบด้วย

แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 11

1) ความอยูด่ ีมสี ขุ ของคนไทยและสังคมไทย
2) ขดี ความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได้
3) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศ
4) ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพส่ิงแวดล้อม และความยงั่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการและการเข้าถงึ การใหบ้ ริการของภาครัฐ

- ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประกอบ 6 ดา้ นท่ีสาคญั ดงั นี้
1. ดา้ นความมัน่ คง
(1) เสรมิ สร้างความมนั่ คงของสถาบนั หลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข
(2) ปฏิรูปกลไกการบรหิ ารประเทศและพัฒนาความมัน่ คงทางการเมือง ขจัดคอรร์ ปั ชนั่ สร้างความเชอ่ื มน่ั ในกระบวนการยตุ ิธรรม
(3) การรักษาความมน่ั คงภายในและความสงบเรยี บร้อยภายในตลอดจนการบรหิ ารจัดการความมั่นคงชายแดนและชายฝ่ังทะเล
(4) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับ และรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์กับประเทศมหาอานาจ เพ่ือ

ป้องกนั และแก้ไขปญั หาความม่ันคงรปู แบบใหม่
(5) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ สร้างความร่วมมือกับประเทศเพ่ือน

บ้านและมติ รประเทศ
(6) การพฒั นาระบบการเตรยี มพร้อมแห่งชาตแิ ละระบบบริหารจัดการภยั พิบตั ิ รกั ษาความมั่นคงของฐานทรพั ยากรธรรมชาตสิ ่งิ แวดลอ้ ม
(7) การปรับกระบวนการท างานของกลไกที่เกย่ี วข้องจากแนวด่งิ สู่แนวระราบมากขน้ึ

2. ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
(1) การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ สง่ เสรมิ การค้า การลงทนุ พฒั นาสู่ชาติการค้า
(2) การพฒั นาภาคการผลติ และบรกิ าร เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแขง็ ยง่ั ยนื และ สง่ เสรมิ เกษตรกรรายยอ่ ยสู่เกษตรย่ังยนื เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
(3) การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พฒั นาทักษะ ผู้ประกอบการ ยกระดบั ผลิตภาพแรงงานและพัฒนา SMEs สู่สากล
(4) การพฒั นาพน้ื ท่เี ศรษฐกจิ พิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ชายแดน และพัฒนาระบบเมืองศูนยก์ ลางความเจริญ
(5) การลงทนุ พัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ด้านการขนส่ง ความมั่นคงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการวจิ ยั และพฒั นา

แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 12

(6) การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วน การพัฒนากับนานาประเทศ ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบ ธุรกิจ
ฯลฯ

3. ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน
(1) พฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ
(2) การยกระดบั การศกึ ษาและการเรียนรู้ให้มีคณุ ภาพเท่าเทยี มและท่ัวถึง
(3) ปลกู ฝังระเบียบวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์
(4) การสร้างเสริมใหค้ นมีสุขภาวะทดี่ ี
(5) การสร้างความอยดู่ ีมสี ุขของครอบครวั ไทย

4. ดา้ นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสงั คม
(1) สรา้ งความมัน่ คงและการลดความเหลือ่ มล้าทางเศรษฐกจิ และสงั คม
(2) พฒั นาระบบบริการและระบบบรหิ ารจัดการสขุ ภาพ
(3) มสี ภาพแวดลอ้ มและนวัตกรรมทเ่ี อื้อตอ่ การดารงชีวิตในสังคมสูงวัย
(4) สร้างความเขม้ แขง็ ของสถาบันทางสังคม ทนุ ทางวัฒนธรรมและ ความเข้มแข็งของชุมชน
(5) พฒั นาการส่ือสารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนบั สนุนการพฒั นา

5. ดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทเี่ ป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
(1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟนื้ ฟูและปอ้ งกนั การทาลาย ทรพั ยากรธรรมชาติ
(2) วางระบบบริหารจัดการน้าใหม้ ีประสทิ ธภิ าพท้งั 25 ลมุ่ น้า เนน้ การปรบั ระบบการบริหารจดั การอุทกภยั อยา่ งบรู ณาการ
(3) การพัฒนาและใชพ้ ลงั งานทเี่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม
(4) การพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองทีเ่ ป็น มิตรกับสิง่ แวดล้อม
(5) การร่วมลดปญั หาโลกร้อนและปรบั ตัวใหพ้ ร้อมกับการ เปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ
(6) การใช้เครอ่ื งมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลัง เพ่อื ส่ิงแวดล้อม

6. ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั
(1) การปรับปรงุ โครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน ภาครฐั ใหม้ ขี นาดท่ีเหมาะสม
(2) การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบูรณาการ

แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 13

(3) การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการกาลงั คนและพัฒนา บุคลากรภาครฐั
(4) การต่อตา้ นการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ
(5) การปรบั ปรุงกฎหมายและระเบยี บตา่ ง ๆ
(6) ให้ทันสมยั เปน็ ธรรมและเป็นสากล
(7) พัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
(8) ปรับปรงุ การบริหารจดั การรายไดแ้ ละรายจ่ายของภาครัฐ

ภาพท่ี 1 กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี
แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 14

 แผนกลยุทธ์การศึกษาของวทิ ยาลัยชมุ ชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
เป็นวางกรอบทศิ ทางการพัฒนาสถาบนั วิทยาลัยชุมชนให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยได้จัดทาเป้าหมายผลสาเร็จของการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ในระยะ

5 ปี เพ่ือการบรรลุวสิ ัยทศั นร์ ะยะ 20 ปี โดยกาหนดวสิ ยั ทศั น์ เปา้ หมายและแนวทางดาเนนิ การสาคญั ๆ ของแต่ละเป้าหมายภายใต้ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์
1. วสิ ยั ทัศน์ “สถาบันวิทยาลยั ชมุ ชนคณุ ธรรม สร้างสรรคน์ วตั กรรมชมุ ชน เพอื่ พัฒนาคนและสังคมอยา่ งยง่ั ยืน”
2. เป้าหมาย ยทุ ธศาสตรร์ ะยะ 20 ปีกาหนดเป้าหมายการพฒั นาในแต่ละระยะ ดังนี้
ระยะท่ี 1 ช่วง 5 ปีแรก เป้าหมายคือ ปรับการบริหารและการดาเนินการตามพันธกิจในเชิงรุก ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง (Renovate Community

College) โดยการสร้างความเข้มแขง็ ของวัฒนธรรมองคก์ รและธรรมาภิบาล
ระยะที่ 2 ปีที่ 6 – 10 (ระยะ 10 ปี) เป้าหมาย คือ ผนึกกาลังทุกภาคส่วนเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสู่ชุมชน และเป็นวิทยาลัยขุมชนที่มีความเป็นเลิศ

เฉพาะทางที่สอดคล้องกับบริบทชุมชน(Community Engagement) และเป็นท่ียอมรับ โดยสถาบันวิทยาลัยชุมชนจะต้องเป็นผู้นา/สร้างความรอบรู้เท่าทัน (Mastery)
เพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ของทกุ กลุม่ เปา้ หมายของคนตลอดช่วงชวี ิต

ระยะท่ี 3 ปีที่ 11 – 15 (ระยะ 15 ปี) เป้าหมาย คือ สร้างชุมชนต้นแบบนวัตกรรมทุกวิทยาลัยชุมชน สร้างภาคีเครือข่ายท้ังใน/ต่างประเทศในการสรรค์
สร้างนวัตกรรมสู่ชุมชน และสร้างชุมชนแห่งภูมิปัญญาเพ่ือเป็นรากฐานของการพัฒนาชุมชนอย่างย่ังยืน (Full Community Innovation) โดยการสร้างพื้นท่ีแห่งการ
เรยี นรู้ (The Best Learning Platform) สาหรับผูด้ ้อยโอกาสหรอื ประชาชนในการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต

ระยะที่ 4 ปีท่ี 16 – 20 (ระยะ 20 ปี) เป้าหมายคือ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน (Community Innovative
Sustainability) โดยการเปน็ ผู้นาชุมชนแหง่ การเรยี นรู้(Learning Community) ยกระดบั เศรษฐกิจชมุ ชน และคณุ ภาพชีวิต

แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลัยชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 15

ภาพที่ 2 เป้าหมายของยุทธศาสตร์สถาบันวิทยาลัยชุมชนในแตล่ ะระยะ 5 ปี
แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 16

3. ยุทธศาสตร์
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การบริหารจดั การเชงิ รกุ และธรรมาภิบาล
เป้าหมายที่ 1.1 สรา้ งความเขม้ แข็งของวฒั นธรรมองค์กรท่ีม่งุ เนน้ ผลลพั ธ์ แนวดาเนนิ การ
1.1.1 สร้างค่านิยมร่วมองค์กรให้เป็นองค์กรที่มุ่งการทางานเพื่อความเป็นเลิศ ได้แก่ ค่านิยม การทางานแบบมีส่วนร่วม ค่านิยมการท างานเป็นทีม

คา่ นยิ มความรกั ความผกู พนั ในองค์กร เปน็ ต้น
1.1.2 สร้างวฒั นธรรมการท างานบนฐานความรู้/ข้อมูลข้อเท็จจริง การส่งเสริมให้มีการส่ือสาร/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้บุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่องท้ังท่ี

เป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ
เปา้ หมายท่ี 1.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการเชิงรกุ และการให้บรกิ ารท่ดี ีมีประสิทธภิ าพ แนวดาเนนิ การ
1.2.1 เร่งรัดการจดั ระบบการบรหิ ารงานบคุ คลใหร้ องรับพระราชบญั ญตั ิสถาบันวทิ ยาลยั ชมุ ชน พ.ศ. 2558
1.2.2 เร่งรัดการจดั ทากรอบอัตรากาลงั เพ่ือรองรับโครงสร้างองค์กรท้งั ระดับสานักงานสถาบัน ระยะท่ี 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 วิสัยทัศน์ ระยะ

20 ปี “สถาบนั วิทยาลยั ชมุ ชนคณุ ธรรม สร้างสรรค์นวตั กรรม ชุมชนเพอื่ พฒั นาคน และสังคมอยา่ ง ยัง่ ยืน” Full Community Innovation สร้างชุมชนต้นแบบนวัตกรรม
ทุกวิทยาลัยชมุ ชน สร้างภาคี เครอื ขา่ ยทงั้ ใน/ตา่ งประเทศใน การสรรค์สร้างนวัตกรรมสู่ชุมชน และสร้างชุมชนแห่งภูมิปัญญา เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนา ชุมชนอย่าง
ยั่งยืน Community Innovative Sustainability พัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนในชุมชนให้มีความ ม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน พ.ศ. 2576- 2580 พ.ศ. 2571- 2575 Community
engagement ผนึกกาลังทุกภาคส่วน เพื่อ สร้างสรรค์สร้างนวัตกรรมสู่ ชุมชน และเป็นวิทยาลัยชุมชน ท่ีมีความเป็นเลิศเฉพาะทางที่ สอดคล้องกับบริบทของชุมชน และ
เป็นท่ียอมรับ พ.ศ. 2566- 2570 พ.ศ. 2561- 2565 Renovate Community College ปรับการบริหาร และการดาเนินการตามพันธกิจในเชิงรุกให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง
และวทิ ยาลัย

1.2.3 เพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารด้านการเงินและงบประมาณ ตั้งแต่การจัดทางบประมาณ ที่ตอบโจทย์เชิงพื้นท่ี และพัฒนาระบบการบริหารการจัด
สรรและการใช้จา่ ยงบประมาณทีเ่ ช่ือมโยงกบั ระบบ รายงานผลของหนว่ ยงานต่าง ๆ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ

1.2.4 จดั ระบบการยกยอ่ งเชิดชเู กียรติบคุ ลากรทุกประเภทท่ีมคี วามดีหรือมผี ลงานเด่น
1.2.5 พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานของวิทยาลยั ชมุ ชนให้มคี วามพรอ้ มในการบริการตามพันธกจิ
1.2.6 พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบรหิ ารจดั การให้มีประสิทธภิ าพ เป้าหมายยุทธศาสตรช์ าต/ิ แผนปฏิรูปประเทศ
1.2.7 จดั ทาแผนพฒั นาและแผนกลยุทธ์ของสถาบันวิทยาลัยชุมชนระยะปานกลางทสี่ อดคล้อง กับยุทธศาสตรร์ ะยะ 20 ปี และเชอ่ื มโยงกบั

แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 17

เป้าหมายท่ี 1.3 ขยายพนื้ ทใ่ี หบ้ ริการจัดการศึกษาและบริการทางวชิ าการ แนวดาเนนิ การ
1.3.1 จัดตงั้ วิทยาลยั ชมุ ชนใหม่เพือ่ เพมิ่ โอกาสการเข้าถงึ การศกึ ษา
1.3.2 ขยายพ้นื ทบ่ี รกิ ารเพอ่ื เพ่มิ โอกาสการเข้าถึงการศึกษาในพ้นื ท่ีทเี่ ปน็ รอยตอ่ /ชายขอบของ จงั หวดั ใกล้เคียง
1.3.3 จัดระบบการบริหารจัดการหน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนให้มีประสิทธิภาพ มีความพร้อม ให้บริการในทุกพ้ืนท่ี มีรูปแบบการจัดการศึกษาท่ี
หลากหลาย และเข้าถึงไดง้ ่าย
เป้าหมายที่ 1.4 กระจายอานาจการบริหารจัดการใหเ้ กิดความคล่องตัว แนวดาเนนิ การ
1.4.1 เร่งรัดทบทวนหรือปรบั ปรุง/แกไ้ ขข้อบงั คับ ระเบยี บ ประกาศฯ ใหเ้ กดิ ความคล่องตัว มากขน้ึ
เปา้ หมายท่ี 1.5 มงุ่ สกู่ ารเป็นสถาบนั วทิ ยาลัยชุมชนคุณธรรม แนวดาเนนิ การ
1.5.1 สง่ เสริมการพัฒนาสถาบันใหม้ ีระบบการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าล
1.5.2 สง่ เสรมิ ใหก้ รรมการสภาสถาบัน กรรมการสภาวทิ ยาลยั ผู้บรหิ าร อาจารย์ บคุ ลากร ผู้เรียน และผู้รับบริการทางการศึกษามีส่วนร่วมสร้างสถาบัน
วทิ ยาลัยชมุ ชนคณุ ธรรม
1.5.3 ส่งเสริมให้วทิ ยาลยั ชุมชน เปน็ พนื้ ที่สรา้ งความดี และสร้างคนดใี หช้ ุมชน

ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพอื่ เสริมสรา้ งและพฒั นาศักยภาพชมุ ชน
เปา้ หมายที่ 2.1 คนในชุมชนมีโอกาสเข้าถงึ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ แนวดาเนนิ การ
2.1.1 พฒั นาหลักสตู รใหต้ อบสนองความตอ้ งการของชุมชน ตลาดแรงงาน ทั้งระดับชุมชน จังหวดั ประเทศ และต่างประเทศ
2.1.2 จัดการศึกษา/กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายด้วยรูปแบบดิจิตัล ให้ตอบสนองวิธีการ จ เข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของคนทุกกลุ่มอาชีพ และ
กลุม่ วยั ต่างๆ ใหม้ ากขน้ึ
2.1.3 พัฒนาระบบการเทยี บโอนผลการเรยี นร้แู ละระบบสะสมหน่วยกิตทเ่ี อ้ือต่อการเข้าถึง การจดั การศึกษาที่หลากหลาย
2.1.4 เร่งรัด/ปรบั ปรงุ ระเบยี บ กฎหมาย ขอ้ บังคับใหเ้ ออ้ื ตอ่ วิธกี ารจัดการศึกษาทีห่ ลากหลาย
เปา้ หมายท่ี 2.2 ผู้สาเร็จการศกึ ษามีคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคต์ ามหลักสตู รวิทยาลยั ชุมชน แนวดาเนินการ
2.2.1 ส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียน
2.2.2 จัดทามาตรฐานการวดั และประเมนิ ผลคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รวทิ ยาลยั ชมุ ชน
2.2.3 มีระบบประเมินผลสมั ฤทธ์กิ ารจดั การศกึ ษาของวทิ ยาลยั ชมุ ชน

แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 18

เปา้ หมายที่ 2.3 มแี หลง่ เรียนรู้ และนวตั กรรมการเรียนร้รู ปู แบบดจิ ิทลั ให้มีคณุ ภาพและ มาตรฐาน แนวดาเนินการ
2.3.1 จัดทาฐานข้อมลู และพัฒนาแหลง่ เรียนรู้
2.3.2 พฒั นานวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้
เป้าหมายท่ี 2.4 มีระบบการเรยี นรู้เชงิ รุก (Active learning) และการเรยี นรู้แบบมสี ว่ นร่วม แนวดาเนินการ
2.4.1 พัฒนาสมรรถนะครูใหม้ ที ักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
2.4.2 กาหนดมาตรการจงู ใจเพอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพการจดั การเรยี นการสอนแบบเชงิ รกุ (active learning)
เปา้ หมายที่ 2.5 ผู้สูงอายแุ ละผู้พิการได้รับโอกาสทางการศกึ ษา เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวติ และ การมีงานท า แนวดาเนนิ การ
2.5.1 ส่งเสริมโอกาสทางการศกึ ษา พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และการมีงานท าให้กบั ผูส้ ูงอายุและ ผ้พู กิ าร

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมเพอ่ื การพัฒนาอาชีพและคณุ ภาพชีวิตในชมุ ชน
เป้าหมายท่ี 3.1 สร้างศกั ยภาพการวจิ ัยและสรา้ งสรรค์นวตั กรรมโดยใชโ้ จทยว์ ิจยั จากชมุ ชน แนวดาเนินการ
3.1.1 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการดา้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก่ การพัฒนาบคุ ลากรด้านการวิจยั พัฒนา ระบบฐานขอ้ มลู ด้านการวจิ ยั จัดทาวารสารวิชาการ จัดให้
มเี วทนี าเสนอผลงานวจิ ยั และระบบยกยอ่ ง เชดิ ชเู กียรตินกั วจิ ัย
3.1.2 วิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่อื แก้ปัญหาและสร้างความเข้มแข็งโดยใช้โจทย์วิจัยจาก ชุมชน 3.1.3 พัฒนางานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้พื้นฐานของ
สงั คมและชมุ ชน
เปา้ หมายที่ 3.2 น าผลงานวิจยั ไปใชใ้ นการสรา้ งมูลคา่ เพ่ิมทางเศรษฐกจิ และยกระดับคุณภาพ ชีวิตของคนในชมุ ชน แนวดาเนินการ
3.2.1 ส่งเสริมการน าผลงานวจิ ยั ภายนอกมาใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ สรา้ งมูลคา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกิจและ ยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของคนในชุมชน
เปา้ หมายที่ 3.3 สรา้ งความเปน็ เลิศทเ่ี ปน็ อัตลกั ษณข์ องวิทยาลยั ชมุ ชนแต่ละพ้นื ท่ี แนวดาเนินการ
3.3.1 ส่งเสรมิ ให้วิทยาลัยชุมชนสร้างความเป็นเลศิ เฉพาะตามบริบทของพนื้ ท่ี
เป้าหมายท3ี่ .4 วิจยั และพฒั นาศกั ยภาพศนู ย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชน แนวดาเนนิ การ
3.4.1 ส่งเสริมให้มีงานวจิ ยั และพัฒนาองค์ความร้เู พือ่ ถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสชู่ มุ ชน
3.4.2 จดั สรรทรพั ยากรสนับสนุนให้เกิดการจดั ตั้งศนู ย์พฒั นา ถา่ ยทอด ภูมิปญั ญา เทคโนโลยี และนวตั กรรมชุมชน

แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 19

ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การสร้างเครอื ข่ายความร่วมมือเพือ่ การพัฒนาความเข้มแขง็ ของชุมชนอยา่ ง ยง่ั ยนื
เปา้ หมายที่ 4.1 สถาบนั มีเครือขา่ ยความรว่ มมือทางวิชาการ การจัดการศึกษาและการระดม ทรพั ยากร ทั้งในประเทศหรอื ตา่ งประเทศ แนวดาเนินการ
4.1.1 จดั การศกึ ษา/บรกิ ารวิชาการร่วมกับเครือขา่ ยสถาบนั องค์กรเพ่ือสง่ เสริมการจัด การศึกษาทีเ่ ชือ่ มโยงเครอื ขา่ ยและทักษะอาชพี ท่ีได้มาตรฐาน
เช่น มาตรฐานของกรมพัฒนาฝมี อื แรงาน มาตรฐานของสถาบนั คณุ วุฒวิ ชิ าชีพ (สคช.) มาตรฐานท่ีเป็นความร่วมมือระหวา่ งประเทศ เปน็ ตน้
4.1.2 ออกระเบียบ ข้อบังคบั ของสถาบันที่เอ้ือให้เกิดการจดั การศึกษาร่วมหรอื ทเ่ี ชอ่ื มโยง เครือข่าย
4.1.3 แสวงหาความรว่ มมอื ทางวชิ าการรว่ มกับเครือข่ายสถานประกอบการ หรือ สถาบนั การศึกษาท้ังในและต่างประเทศ
4.1.4 ส่งเสรมิ การระดมทรัพยากรเพ่ือการจัดการศึกษารว่ มกับเครอื ขา่ ย
4.1.5 สง่ เสริม สนบั สนุนการขอจดลิขสทิ ธ์ิ สิทธบิ ตั ร/อนสุ ิทธิบตั รผลิตภณั ฑ์/นวัตกรรม วทิ ยาลยั ชมุ ชน
เป้าหมายที่ 4.2 วทิ ยาลยั ชมุ ชนมีเครือข่ายความร่วมมือระหวา่ งวิทยาลยั ชุมชน กบั ชมุ ชน และหนว่ ยงานอ่นื ที่เกย่ี วข้องในการจดั การศึกษา ทานุบารุง
ศลิ ปวฒั นธรรม และการระดมทรพั ยากร แนวดาเนินการ
4.2.1 สรา้ งและเชือ่ มโยงเครือขา่ ยการจัดการศึกษา/บริการวชิ าการ และทานบุ ารงศิลปวัฒนธรรม รูปแบบวทิ ยาลยั ชุมชนทีไ่ ด้มาตรฐาน เช่น มาตรฐาน
ของกรมพฒั นาฝีมือแรงาน มาตรฐานของ สถาบนั คุณวฒุ วิ ิชาชีพ (สคช.) มาตรฐานทเ่ี ป็นความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ เปน็ ตน้
4.2.2 สง่ เสริมการระดมทรัพยากรเพ่ือการจดั การศึกษารว่ มกับเครอื ขา่ ย
4.2.3 พฒั นาศักยภาพเครือข่ายการจัดการศึกษารูปแบบวิทยาลัยชุมชน
4.2.4 สรา้ งสัมพันธภาพเครือข่ายการจัดการศึกษารปู แบบวิทยาลัยชุมชน

ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การสรา้ งผู้นาการเปลีย่ นแปลง และผู้ประกอบการในชุมชน
เปา้ หมายที่ 5.1 สรา้ งผนู้ าการเปลี่ยนแปลงของชมุ ชน แนวดาเนนิ การ
5.1.1 สรา้ งผ้นู าการเปลย่ี นแปลงในชมุ ชน โดยใช้กระบวนการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ
5.1.2 สรา้ งผู้นาร่นุ ใหมใ่ นพ้ืนท่จี ังหวัดแดนภาคใต้
เป้าหมายท่ี 5.2 ส่งเสริมและพฒั นาศักยภาพผู้ประกอบการในชมุ ชน แนวดาเนินการ
5.2.1 สร้างผูป้ ระกอบการรายใหม่ท่ีจะทาให้เกดิ ธุรกิจในการสรา้ งมลู คา่ เพ่ิมทางเศรษฐกิจของ ชุมชน
5.2.2 พฒั นาผปู้ ระกอบการรายเดมิ ใหส้ ามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและ ประสทิ ธผิ ล

แผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 20

เปา้ หมายท่ี 5.3 สง่ เสรมิ เครือข่ายความรว่ มมือการสรา้ งผูป้ ระกอบการชมุ ชน แนวดาเนินการ
5.3.1 สรา้ งความร่วมมือกบั เครอื ข่ายผปู้ ระกอบการในพ้นื ที่เพื่อวจิ ยั และพฒั นาผลิตภณั ฑ์
5.3.2 มกี ลไกการเขา้ ถงึ แหล่งทรัพยากรทสี่ นบั สนุนการเป็นผปู้ ระกอบการ
เป้าหมายที่ 5.4 พัฒนาชอ่ งทางการตลาดสาหรับผ้ปู ระกอบการในชมุ ชน แนวดาเนนิ การ
5.4.1 ส่งเสริมใหผ้ ปู้ ระกอบการน าเทคโนโลยี(Technology) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการ ช่องทางการตลาด
5.4.2 แสวงหาพันธมติ ร (Alliance) เพ่ือเพ่มิ ช่องทางการตลาด

 กรอบแผนอดุ มศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ.2551-2565)
1) เป้าหมาย
- ยกระดับคณุ ภาพอุดมศกึ ษาไทย เพือ่ ผลิตและพัฒนาบคุ ลากรทม่ี คี ุณภาพสามารถปรับตัวสาหรับงานที่เกดิ ขน้ึ ตลอดชีวิต พฒั นาศักยภาพอดุ มศึกษาใน

การสร้างความรแู้ ละนวตั กรรมเพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศในโลกาภวิ ตั น์ สนับสนนุ การพัฒนาทยี่ ่งั ยืนของท้องถิ่นไทย โดยใชก้ ลไกของธรรมาภบิ าล
การเงนิ การกากบั มาตรฐาน และเครือข่ายอดุ มศึกษาบนพื้นฐานของเสรีภาพทางวชิ าการ ความหลากหลาย และเอกภาพเชงิ ระบบ

2) แนวทางการพัฒนาการแก้ปัญหาอุดมศึกษา การไร้ทิศทาง ความซ้าซ้อน การขาดคณุ ภาพ การขาดประสิทธิภาพ
2.1 ใหพ้ ฒั นาเพอื่ การจัดสถาบนั อุดมศกึ ษา 4 กล่มุ (Category) คอื
- กลุ่มวิทยาลยั ชมุ ชน (Community Colleges)
- กลุ่มมหาวิทยาลยั ส่ีปี (4 – year University) และมหาวิทยาลัยศลิ ปศาสตร์ (Liberal Arts University)
- กลุม่ มหาวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง (Specialized University) มหาวทิ ยาลัย Comprehensive
- กลุ่มมหาวทิ ยาลยั วิจยั (Research University) และมหาวิทยาลยั บัณฑิตศึกษา (Graduate University)
2.2 ทกุ ระดับในกล่มุ อุดมศกึ ษาทั้งส่ี ควรมีกลไกรว่ มกันในการปรับคุณภาพ ใหน้ กั ศึกษาสามารถต่อยอดถ่ายโอนแลกเปลย่ี นกนั ได้ระหว่างกลุ่ม
2.3 ระบบวิทยาลัยชมุ ชนอยู่ในช่วงเรม่ิ ก่อต้ังจะมกี ารขยายตัวต่อไป มลี ักษณะสาคัญ คือ วทิ ยาลยั ชมุ ชนควรเป็นกลไกบริหารจัดการ ใช้หลกั Co-

location โดยอาศัยโครงสร้างพื้นฐานกายภาพ (อาคาร อปุ กรณ์) ทม่ี ีอยู่แล้วของมหาวทิ ยาลัย ของสถาบนั การศกึ ษาอ่นื ของกระทรวงศึกษาธิการ และของหนว่ ยงานทง้ั
ภาครัฐและเอกชน กอ่ นการลงทุนทางกายภาพ เนน้ การระดมทรพั ยากรจากพ้นื ท่ี ใชท้ รัพยากรบุคคลในพื้นที่

2.4 ปรชั ญาของวทิ ยาลยั ชมุ ชน (และการต่อยอดท่มี หาวทิ ยาลัย 4 ปี) จะรองรับหลักพ้ืนฐานของการสรา้ งคนใชช้ ุมชน จดั หลกั สตู รตามความต้องการ
ของชมุ ชน ทาโจทย์จรงิ จากชมุ ชน รกั ษาคนมีประสบการณ์และความรูเ้ พ่ือพัฒนาท้องถ่นิ ของตน ใชแ้ ละระดมทรัพยากรทม่ี ีในพื้นที่ รวมทัง้ บริหารรว่ มโดยชมุ ชน

แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 21

2.5 กลไกวิทยาลัยชุมชน
- จัดหลกั สตู รอนุปริญญาและการฝึกอาชีพ
- สรา้ งกาลงั คนคุณภาพและจานวน เพยี งพอต่อภารกิจของชุมชน รองรบั การกระจายอานาจและความรับผดิ ชอบสทู่ ้องถ่นิ
- ร่วมกับมหาวิทยาลยั อาชีวศึกษา ภาคการผลิตจรงิ และหนว่ ยงานดา้ นการพฒั นาแรงงานเพอ่ื ปรับแรงงานท่ีออกจากภาคเกษตร เพือ่ เตรยี มเข้าสู่

ภาคบริการและภาคอตุ สาหกรรม ในพ้นื ท่ีบริการของวทิ ยาลัยชุมชน รวมทั้งยกความรู้สมรรถนะทักษะของผู้ทางานในภาคการผลิตจริง เพื่อเพ่ิมผลิตภาพ รองรบั การ
เปลีย่ นงานและเปลยี่ นอาชีพของพ้ืนทบ่ี รกิ าร

- โจทย์ของท้องถิน่ การสรา้ งคนให้ท้องถิ่น เป็นภารกิจสาคญั ของวิทยาลยั ชมุ ชนและมหาวทิ ยาลยั 4 ปี ผลงานทัง้ การผลติ คนและการสรา้ งองค์
ความร้รู ะดับทอ้ งถน่ิ จะเป็นผลงานทางวชิ าการท่ีมคี ณุ ค่าต่อสงั คมและเทยี บเท่าผลงานวิจัยอน่ื ไดเ้ ช่นกนั

 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
นโยบายด้านการศึกษาของชาติแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) ท่ีจะบรรลุวิสยั ทศั นร์ ะยะ 20 ปี คอื “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้

ตลอดชีวติ อยา่ งมีคณุ ภาพ ดารงชีวติ อย่างเป็นสุข สอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลก ศตวรรษท่ี 21” โดยวางเป้าหมายไว้2
ดา้ น คอื เป้าหมายเดน่ ผเู้ รยี น (Learner Aspirations) โดยมงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทุกคนใหม้ ี คณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ประกอบดว้ ย ทกั ษะ
และคณุ ลักษณะ ตอ่ ไปน้ี

✥ 3Rs ได้แก่ การอ่านออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetics)
✥ 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกป้ ญั หา (Critical Thinking and Problem Solving) ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์
และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทกั ษะดา้ นความร่วมมอื
การทางานเป็นทีม และภาวะผนู้ า (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศ และการรเู้ ทา่ ทนั ส่อื (Communications,
Information and Media Literacy) ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy) ทกั ษะอาชีพ และทักษะ
การเรยี นรู้ (Career and Learning Skills) และความมเี มตตา กรณุ า มวี นิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)
เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) 5 ประการ ซึ่งมีตวั ชีว้ ดั เพือ่ การบรรลุ เป้าหมาย 53 ตัวช้วี ัด ประกอบด้วย เป้าหมายและตัวชีว้ ดั ทส่ี าคัญ ดงั นี้
(1) ประชากรทุกคนเขา้ ถึงการศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพและมีมาตรฐานอยา่ งทว่ั ถึง (Access) มีตัวชวี้ ดั ทสี่ าคญั
(2) ผเู้ รียนทุกคน ทุกกลุม่ เป้าหมายได้รับ บริการการศกึ ษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐานอย่างเทา่ เทยี ม (Equity)
(3) ระบบการศกึ ษาท่ี มคี ณุ ภาพ สามารถพฒั นาผู้เรียนใหบ้ รรลขุ ดี ความสามารถเตม็ ตามศักยภาพ (Quality)

แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 22

(4) ระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาที่มีประสิทธภิ าพ เพ่ือการลงทนุ ทาการศกึ ษา ทค่ี มุ้ คา่ และบรรลุเป้าหมาย (Efficiency)
(5) ระบบการศกึ ษาท่ีสนองตอบและก้าวทนั การเปล่ียนแปลง ของโลกทเี่ ป็นพลวตั และบรบิ ทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)
ยทุ ธศาสตร์ เป้าหมาย และตัวช้วี ดั ของแผนการศึกษาแหง่ ชาตไิ ด้กาหนดยุทธศาสตรใ์ นการ พัฒนาการศึกษาภายใต้6 ยุทธศาสตร์หลกั 2 ท่สี อดคล้องกับ
ยทุ ธศาสตรช์ าติ20 ปี เพือ่ ให้แผนการศกึ ษา แห่งชาตบิ รรลุเป้าหมายตามจุดมุ่งหมาย วิสัยทศั น์ และแนวคดิ การจดั การศึกษาดงั กลา่ วขา้ งตน้ โดยยทุ ธศาสตรท์ เ่ี ช่ือมโยงกบั
เป้าหมาย/ผลผลิตของสถาบันวิทยาลยั ชมุ ชน ดังน้ี
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา มเี ป้าหมาย ดังน้ี
(1) ผเู้ รียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาทม่ี ีคุณภาพ
(2) การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอ่ื การศกึ ษาสาหรบั คนทุกช่วงวยั
(3) ระบบข้อมลู รายบคุ คลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเปน็ ปจั จบุ นั เพื่อการวางแผนการบรหิ ารจัดการศกึ ษา การติดตามประเมนิ และ
รายงานผล
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม มีเป้าหมาย ดังน้ี
(1) คนทุกช่วงวัย มีจติ สานึกรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
(2) หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสอ่ื การเรยี นรู้ทสี่ ่งเสริมคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ
(3) การวิจยั เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และนวตั กรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตทเี่ ป็น มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม

 แผนพฒั นาจังหวดั สงขลา (พ.ศ. 2561-2565) ฉบับทบทวนปี 2563
เปา้ หมายการพัฒนาจังหวัดสงขลา
“สงขลา ศนู ย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ ประชาชนมคี ุณภาพ สง่ิ แวดล้อมยง่ั ยนื ”
พนั ธกจิ
1. พัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การท่องเท่ยี ว อตุ สาหกรรมเกษตร เพอื่ รองรับการพฒั นาเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ และเป็นศูนย์กลางเศรษฐกจิ ภาคใต้
2. พฒั นาสงขลาใหเ้ ปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ประชาชนมีคณุ ภาพ
3. จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือเป็นฐานการผลติ และการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืน
4. พัฒนาสงขลาใหป้ ระชาชนมคี วามม่นั คง ปลอดภัย

แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 23

ประเด็นยทุ ธศาสตร์การพัฒนา
ประเด็นการพฒั นาท่ี 1: พัฒนาภาคการเกษตร อตุ สาหกรรม การค้า การลงทุน การท่องเทีย่ วและบรกิ าร โครงสรา้ งพน้ื ฐาน และระบบโลจิสติกส์
ประเดน็ การพฒั นาที่ 2 : พฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชนบนฐานความร้แู ละพหวุ ัฒนธรรม
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : อนุรกั ษแ์ ละฟ้ืนฟทู รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มอย่างยัง่ ยืน
ประเด็นการพฒั นาที่ 4 : เสริมสร้างความมน่ั คงและความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ ินของประชาชน

จุดเนน้ ทางยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning)
การสร้างฐานรายได้ใหม่ : เรือ่ ง เขตเศรษฐกจิ พิเศษ
การรกั ษาฐานรายได้เดิม : เร่ือง การคา้ ชายแดน

: เรือ่ ง การท่องเที่ยว
: เรือ่ ง การเกษตร
: เรื่อง อตุ สาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล
: เรอ่ื ง อตุ สาหกรรมต่อเนื่องยางพารา

 แผนพฒั นาการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2565) จงั หวดั สงขลา
วิสัยทศั น์ (Vision)
สงั คมแห่งการเรียนรู้คคู่ ุณธรรม นาคุณภาพ สู่ความสุขทยี่ ่ังยนื

นิยามวสิ ัยทัศน์
สังคมแห่งการเรยี นรู้ หมายถงึ การจดั การศึกษาใหแ้ ก่ผ้เู รียนทุกเพศ ทกุ วัย ทุกระดับและผดู้ ้อยโอกาสเพื่อการแสวงหาความรู้ในการดารงตน การมอี าชพี และ
การแขง่ ขนั ในสงั คมโลกคู่คณุ ธรรม หมายถึง ดารงตนเป็นคนดีตามรอยเบื้องพระยุคลบาทโดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งโดยใช้เง่ือนไขความรู้คู่คณุ ธรรม ภายใต้
คา่ นิยม "เกิดมาตอ้ งตอบแทนบุญคณุ แผน่ ดิน"นาคุณภาพ หมายถึง จดั ระบบการศกึ ษาโดยให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาในทกุ ระดับสู่ความสขุ ทีย่ งั่ ยืน หมายถงึ
สร้างความตระหนักและดาเนินภารกิจภายใต้การอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อมและเพ่ิมระดบั คุณภาพชีวติ ทยี่ ั่งยืน

แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 24

พนั ธกิจ (Mission)
1. ส่งเสรมิ สังคมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ รกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ มและพัฒนาอย่างยง่ั ยนื
2 พฒั นาผู้เรียนใหม้ คี วามรคู้ ู่คุณธรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเรียนรู้สอู่ าชพี ในภูมภิ าคอาเซยี น
3. ส่งเสริมโอกาสาการเข้าถึงบริการการศึกษาของประชาชนอยา่ งทั่วถงึ และเกิดการเรยี นรู้ตลอดชีวติ
4. ยกระดบั คณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาส่สู ากล
5. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล
6. พัฒนาระบบการบริหารและการจดั การศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของบริบทเชิงพ้นื ทีส่ อดรบั กบั เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษสงขลา
7. พัฒนาระบบการบรหิ ารและการจดั การศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของบริบทเชงิ พนื้ ทีส่ อดรบั กับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้

ประเดน็ ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความม่นั คง
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนากาลังคนการวจิ ัยเพอื่ สร้างความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพคนให้มีคณุ ภาพ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 สรา้ งโอกาสและความสมอภาคทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 สง่ เสรมิ และจดั การศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 7 การจดั การศึกษาเพื่อการพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างยงั่ ยนื ตามพระราโชบาย

เป้าประสงค์
1. ประชาชนมกี ารเรยี นรู้ตลอดชวี ิต อนุรักษภ์ ูมิปัญญาท้องถิ่น รกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม และพัฒนาอยา่ งยั่งยืน
2. ผเู้ รยี นมีความรู้ คู่คุณธรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเรยี นรูส้ ู่อาชีพในภูมภิ าคอาเซยี น
3. ประชาชนมีโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาอยา่ งทัว่ ถึง และเกดิ การเรียนรู้ตลอดชีวิต
4. หนว่ ยงานทางการศึกษายกระดบั คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาชาติสู่ไทยแลนด์ 4.0
5. หนว่ ยงานทางการศึกษามรี ะบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าลภายใต้หลักการมสี ่วนร่วมและบรู ณาการการทางานเพื่อให้เกิดความคมุ้ ค่า

แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 25
6. หนว่ ยงานทางการศึกษาจดั การศึกษาใหผ้ ้เู รยี นมีความรู้และทกั ษะด้นวิชาชีพ พร้อมเข้าส่ตู ลาดแรงงานในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษสงขลา
7. หน่วยงานทางการศกึ ษาพฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกบั บริบทเชงิ พืน้ ท่ี
8. หน่วยงานทางการศกึ ษามกี ารบริหารและการจัดการศึกษาทส่ี อดคล้องกับบริบทเชิงพ้ืนท่ีในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้

แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 26

บทที่ 3 ขอ้ มลู ทัว่ ไปและการวเิ คราะห์ศักยภาพของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา

 ข้อมลู ท่ัวไปของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา
วิทยาลัยชมุ ชนสงขลา เกิดข้นึ จากความรว่ มมือระหว่างกระทรวงศึกษาธกิ ารโดยสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษากบั ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดน

ภาคใต้ ท่ีมุ่งดาเนินงานจัดการศึกษาให้ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคใต้ ตามยุทธศาสตร์เสริมสร้างควา มม่ันคงด้วยการจัด
โอกาสและคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้กับคนในพื้นท่ี โดยมีความเช่ือว่าการศึกษาจะเป็นกลไกสาคัญต่อการแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ท่ีย่ัง ยืน ดังน้ัน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงไดป้ ระกาศจัดตั้งวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ขน้ึ เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ากว่าปริญญา
รปู แบบวิทยาลยั ชมุ ชน พ.ศ. 2546 และยึดหลักสาคัญในการดาเนนิ งาน คอื “วทิ ยาลัยชมุ ชนเป็นสถานศึกษาของรฐั ที่บรหิ ารจัดการโดยชมุ ชน”

ปีงบประมาณ 2550 ซ่ึงเป็นปีแรกของการดาเนินงาน ได้รับงบประมาณสนับสนุนทั้งหมดจานวน 3,000,000 บาท จากศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ (ศอ.บต.) ซึ่งมีผู้ประสานงานท่ีสาคัญคือนายประเสริฐ แก้วเพ็ชร ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการและรองผู้อานวยการศูนย์อานวยก ารบริหารจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ นายสนุ นั ท์ เทพศรี ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และนางสาวสุนนั ทา แสงทอง ผู้อานวยการสานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน และสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาได้แต่งตั้งให้นายศลใจ วิบูลกิจ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สงขลาเขต 3 รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ในการบริหาร
งบประมาณไดแ้ บ่งการดาเนินงานเปน็ 2 ระยะ

ระยะที่ 1 ระหวา่ งเดอื นเมษายน – กรกฎาคม 2550 เปน็ การศึกษาข้อมูลและเตรียมการเพ่อื เสนอขอประกาศจดั ตงั้ วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา
ระยะที่ 2 ระหว่างวันท่ี 24 สงิ หาคม – 30 กันยายน 2550 เตรยี มการปรับปรุงอาคารสานักงานการประถมศึกษาอาเภอเทพาเพ่ือใช้เป็นอาคารสานักงานชั่วคราว
วิทยาลัยชุมชนสงขลา
วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2550 ได้ประกอบพิธเี ปดิ อาคารสานักงานชั่วคราววิทยาลยั ชุมชนสงขลาโดย รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ รฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
และในวันเดียวกันก็ได้เปิดโครงการทดลองทาการสอนหลักสูตรระยะสั้นของวิทยาลัยชุมชนสงขลา จานวน 3 หลักสูตรใน 3 ศูนย์การเรียน คือ หลักสูตรการจัดกิจกรรม
สาหรับเด็กปฐมวัย มีผเู้ รยี นจานวน 46 คน ใช้สถานที่เรียนทหี่ อ้ งประชุมโรงพยาบาลอาเภอเทพา หลักสูตรการประกอบและซ่อมคอมพิวเตอร์เบ้ืองต้น มีผู้เรียนจานวน 30
คน ใชส้ ถานที่เรียนของโรงเรียนบ้านนาทวี อาเภอนาทวี หลักสูตรการทาบัญชีกองทุนยางพารา มีผู้เรียนจานวน 24 คน ใช้สถานท่ีเรียนของโรงเรียนบ้านนา อาเภอจะนะ
จังหวัดสงขลา แต่ละหลักสูตรใช้เวลาเรียนหลักสูตรละ 30 ชั่วโมง จากจานวนผู้เรียนท้ังสิ้น 100 คน เมื่อประเมินผลเสร็จสิ้นมีผู้จบหลั กสูตรรวมท้ังส้ิน จานวน 97 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 97 จากผเู้ รียนทงั้ ส้ิน 100 คน และถือวา่ นกั ศึกษากลมุ่ นีเ้ ป็นนักศึกษากลมุ่ แรกของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา
วิทยาลัยชุมชนสงขลา ได้พฒั นามาเปน็ ลาดับ จนถึงปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ซึ่งเป็นปีที่ 11 ท่ีได้ดาเนินงานจัดการศึกษาตามภารกิจและพันธกิจ โดยมีศูนย์กลาง
การบรหิ ารเปน็ สานักงานวทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา และมเี ครือขา่ ยจัดการศึกษากระจายไป 7 อาเภอ มีนักศกึ ษาระดับอนุปรญิ ญาทง้ั สน้ิ 1,150 คน

 แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 27

ต่อมาในปงี บประมาณ พ.ศ.2562 วิทยาลยั ชุมชนสงขลาจัดการเรียนการสอนท้ังด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง โดย
เปิดสอนอนปุ ริญญาจานวน 4 สาขา วชิ า ไดแ้ ก่ หลักสูตรอนุปริญญาสาขาการปกครองท้องถิ่น หลักสูตรอนปุ ริญญาสาขาปฐมวัย หลักสูตรอนุปริญญาสาขาการจัดการและ
หลักสตู รอนปุ ริญญาสาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ ซึง่ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลารบั นกั ศึกษาใหม่ในภารชคเรยี นที่ 1/62 จานวน 430 คน และในปัจจุบัน
มีนักศกึ ษาจานวนท้งั สิน้ 1,075 คน

การฝกึ อบรมทางดา้ นอาชีพ พัฒนาอาชีพ และเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ด้วยหลกั สูตรระยะสัน้ เวลาเรียนตั้งแต่ 6 - 60 ช่ัวโมง มีหลักสูตรเด่น ที่ได้รับความสนใจของ
ชมุ ชน ไดแ้ ก่ การทาอาหารขนมเพื่อธุรกิจ การตัดเย็บเส้ือผ้า พ้ืนฐานแพทย์แผนไทย และการเพาะเห็ด การประดิษฐ์ของชาร่วย การทาพิมเสนน้าและน้ามันสมุนไพร เป็น
ต้น โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีผู้เข้าร่วมฝึกอบรมอาชีพ มากว่า 45 ชั้วโมง จานวน 179 คน และผู้เข้าร่วมฝึกอบรมต่ากว่า 45 ช่ัวโมง จานวน 1,115 ผู้ผ่านการ
อบรมต้งั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ถึง ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 จานวนท้งั ส้ิน 11,008 คน

สาหรับในพื้นพัฒนาพิเศษภาคใต้ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลา มีโครงการส่งเสริมอาชีพเป็นพิเศษ เช่น โครงการผลิตพันธ์ุข้าวพ้ืนเมือง โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์
จากชันโรง โครงการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ จาก ผ่านทางส่อื ออนไลน์ โครงการทอผา้ เป็นตน้

นอกจากน้ีได้มีการสง่ เสรมิ การเรียนร้แู ละการพฒั นาทักษะจากฐานทรัพยากรของชุมชนเพื่อสร้างอาชีพเสริมรายได้ และเป็นแนวทางการพัฒนาไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง
ได้แก่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตวิถี เช่น ผลิตภัณฑ์ชันโรง ผลิตภัณฑ์กาแฟและผลไม้พ้ืนถิ่น ผลิตภัณฑ์ก้านจาก ผลิตภัณฑ์เรือก้อและจาลอง ผลิตภัณฑ์ข้างช่อขิง โดยยังมี
การยกระดับมาตรฐานจากฐานทรพั ยากรชมุ ชน เชน่ การวิจัยเพื่อสร้าง BRAND เส้ือผ้าสตรีมุสลิม การส่งเสริมอาชีพชุมชนการทาประมงพ้ืนบ้าน เพ่ือการจัดการตนเองท่ี
ย่ังยนื การพฒั นาศกั ยภาพการทอผา้ พน้ื เมือง บา้ นลอ่ งมุด ต.ลาไพล อ.เทพา จ.สงขลา การพฒั นาศักยภาพของชุมชนในพ้ืนท่ีอาเภอเทพาและอาเภอสะบ้าย้อย เพ่ือการจัด
การท่องเทีย่ วอย่างยง่ั ยนื เป็นลาดับ

ซ่ึงในปงี บประมาณ 2561 สามารถดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีบรรลผุ ลสาเร็จตามเกณฑ์ตัวช้ีวัดของคารับรองการปฏิบัติราชการระดับวิทยาลัยชุมชน
(กพร.) ปรากฏผลการประเมินทร่ี ะดบั 4.43 จากระดับคะแนนเต็ม 5 คดิ เป็นรอ้ ยละ 88.70 ประกอบดว้ ย 4 มิติ 6 ตัวชี้วัด ได้แก่

มติ ทิ ่ี 1 ด้านการประเมินประสิทธิผล ประกอบดว้ ย
ตัวช้ีวัดท่ี 1 ร้อยละความสาเร็จของการบรรลุเป้าหมายตัวช้ีวัดระดับผลผลิต และระดับรายการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติราชการ ปี พ.ศ.

2561 (จากเปา้ หมายรวมของ วชช. ท้ังสิน้ 21 ตัวช้วี ัด)
มิตทิ ี่ 2 ดา้ นการประเมนิ คณุ ภาพ
ตัวชีว้ ัดท่ี 2 ระดับความสาเรจ็ ของการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในของวทิ ยาลยั ชุมชน
ตัวช้ีวัดท่ี 3 ระดับความสาเรจ็ ของการพัฒนาหลกั สตู รประกาศนียบตั รเพ่ือการพฒั นามาตรฐานสมรรถนะอาชีพทีต่ อบสนอง ตลาดแรงงานและนโยบายรัฐ
ตัวช้ีวัดท่ี 4 ระดบั ความสาเรจ็ ของโครงการวจิ ัยและนวตั กรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือสร้างความเขม้ แขง็ ดา้ นสังคมชมุ ชน ความมั่นคง และคณุ ภาพชีวิตประชาชน

 แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 28

มติ ทิ ่ี 3 ด้านการประเมินคุณภาพ
ตวั ชี้วัดท่ี 5 ร้อยละของการเบิกเงินงบประมาณภาพรวมตามแผนปฏิบัตริ าชการ รายไตรมาส ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของวิทยาลยั ชมุ ชน
มติ ิที่ 4 ดา้ นการพฒั นาสถาบัน
ตัวช้วี ัดท่ี 6 ระดบั ความสาเร็จของการควบคุมภายใน

 สถานท่ตี งั้
วิทยาลัยชุมชนสงขลา ต้ังอยู่เลขท่ี 48/1 ถนนเกษตรขันธ์ ตาบลเทพา อาเภอเทพา จงั หวัดสงขลา

สถานทจี่ ดั การศึกษาของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา

อำเภอเทพำ ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ำร
อำเภอสะเดำ โรงเรยี นกอบกลุ วิทยำคม
อำเภอระโนด โรงเรียนระโนดวิทยำ
อำเภอควนเนียง เทศบำลตำบลควนเนียง
อำเภอหำดใหญ่ วทิ ยำลัยเทคนิคหำดใหญ่
อำเภอสทงิ พระ โรงเรียนสทิงพระวทิ ยำ

ภาพท่ี 3 แผนทีแ่ สดงสถานทจ่ี ัดการศกึ ษาของวิทยาลัยชุมชนสงขลา

 แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 29

 เครอื ข่ายวิทยาลัยชุมชนสงขลา
วิทยาลัยชุมชนสงขลา จัดระบบเครือข่ายสนับสนุนเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงท้ังจังหวัด โดยอาศัยการประสานงานกับส่วนราชการหรือเอกชนที่

สนับสนุนท่ีเรียกว่า "ศูนย์การเรียน" เพ่ือทาหน้าท่ีเป็นผู้อานวยความสะดวกและประสานงานระหว่างวิทยาลัยกับชุมชนกับพ้ืนท่ีบริการ โดยมีคณะทางานประจาศูนย์การเรียน
ทาหน้าทีร่ ว่ มพิจารณานโยบายในการดาเนนิ การและรว่ มระดมทรัพยากรท้องถ่ินเพ่อื จดั การเรยี นการสอน

 อานาจหน้าทข่ี องวิทยาลัยชุมชนสงขลา
พระราชบญั ญตั สิ ถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน พ.ศ.2558 มาตรา 8 เพ่ือประโยชนใ์ นการจดั การศกึ ษาในระดับอดุ มศึกษาทตี่ ่ากวา่ ปรญิ ญา ใหส้ ถาบันเป็นสถานศึกษาซึ่งจัด

การศกึ ษาโดยวทิ ยาลยั ชุมชน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การศกึ ษา วิจัย ให้บริการวิชาการ ทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อสร้างความแข็งเข้ม
ของท้องถ่นิ และชมุ ชน การพัฒนาทย่ี งั่ ยืน เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพบคุ คล ตอบสนองและสอดคล้องต่อความต้องการและการประกอบอาชีพของท้องถิ่นและชุมชนซ่ึงนาไปสู่การ
พฒั นาประเทศและและเพอื่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคส์ ถาบนั ต้องให้ความสาคญั และคานึงถงึ เรื่อง ดงั ต่อไปนี้

(1) การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษาทตี่ ่ากวา่ ปริญญาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ของประชาชน ด้วยกระบวนการจัดการศึกษาในรูปแบบท่ี
หลากหลาย สามารถเขา้ ถงึ ผเู้ รียนในชมุ ชนได้อย่างทวั่ ถึง

(2) การตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของท้องถ่ินและชมุ ชนในเรื่องการศกึ ษา การฝึกอบรมด้านวชิ าการหรอื ดา้ นวิชาชพี
(3) ความรว่ มมือกบั สถาบนั อดุ มศกึ ษาในการศึกษาต่อในระดบั ปริญญาของนักศึกษา
(4) ความรว่ มมือกบั สถานศกึ ษา สถานประกอบการ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน สถาบันศาสนาองค์กรที่ดาเนินงานวัฒนธรรม หน่วยงานอ่ืนของรัฐ สถานศึกษา
ชน้ั สูง สถาบนั อื่นในประเทศหรือต่างประเทศในการจัดการศึกษา
(5) มาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการอนั เปน็ ทีย่ อมรบั
(6) การระดมทรพั ยากรทง้ั จากภาครัฐ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และเอกชนในการจดั การศึกษา
(7) การบรหิ ารจดั การโดยมงุ่ เน้นหลักธรรมาภบิ าล
(8) การมสี ว่ นร่วมของประชาชนหรือชมุ ชนในการบริหาจดั การ
(9) การประสานงานแบะรว่ มมอื กบั สว่ นราชกร องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ หรอื หน่วยงานอนื่ ของรฐั ทเ่ี กยี่ วข้อง

 แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 30

 การดาเนนิ การของวิทยาลัย
ให้มีวทิ ยาลยั ซง่ึ เปน็ ส่วนราชการ ในสถาบัน มีหน้าที่จัดการศกึ ษาในระดบั อุดมศกึ ษาทตี่ า่ กวา่ ปรญิ ญา ฝึกอบรมด้านวชิ าการหรือด้านวิชาชีพ วิจัย และบริการ

ทางวชิ าการ เพอื่ การพฒั นาชุมชน
(1) ให้วิทยาลัยบริหารและจดั การศกึ ษาบนพ้นื ฐานของการประสานความรว่ มมือ ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน การระดมทรัพยากร

และการสนับสนนุ จากรัฐ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และชมุ ชนเพื่อการพฒั นาบุคลากรในท้องถ่นิ
(2) วิทยาลัยจะปฏิเสธการรับผู้ใดเข้าศึกษาในวิทยาลัย หรือยุติหรือชะลอการศึกษา ของนักศึกษาผู้ใดด้วยเหตุเพียงว่าผู้น้ันขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อจ่าย

ค่าธรรมเนียมการศึกษาแก่วิทยาลัยมิได้ การส่งเสริมให้มีทุนการศึกษาแก่นักศึกษาท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์และหลักเกณฑ์การพิจารณาว่า นักศึกษาผู้ใดเป็นผู้ขาดแคลนทุน
ทรพั ยอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ ให้เปน็ ไปตามระเบยี บทสี่ ภาสถาบนั กาหนด

(3) วิทยาลัยอาจจัดการศึกษาร่วมกับสถานศึกษา สถานประกอบการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันศาสนา องค์กรท่ีดาเนินงานวัฒนธรรม หรือ
หน่วยงานอื่น ของรัฐในการจัดการศึกษา และมีอานาจให้ประกาศนียบัตรช้ันใดช้ันหนึ่งแก่ผู้สาเร็จการศึกษา สาหรับ การอนุมัติอนุปริญญาให้เป็นอานาจของสภาสถาบัน
เพ่อื ประโยชน์ในการจดั การศกึ ษา วิทยาลยั อาจรว่ มกบั สถานศึกษาชั้นสูง หรือสถาบันอ่ืนในประเทศ หรือต่างประเทศ โดยให้สภาสถาบันเป็นผู้อนุมัติการจัดการศึกษาร่วม
และมอี านาจให้อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรช้ันใดชั้นหน่ึงร่วมกับสถานศึกษาชั้นสูง หรือสถาบันดังกล่าวแก่ผู้สาเร็จการศึกษาได้ การดาเนินการจัดการศึกษาและการ
ยกเลิกการจดั การศกึ ษาตามวรรคหน่งึ และวรรคสอง ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ บังคับของสถาบนั โดยให้ชุมชนมีสวนร่วม

(4) ในวิทยาลัยให้มีสภาวิทยาลัยเพ่ือทาหน้าที่คณะกรรมการสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทนองค์กรชุมชนซ่ึงมีที่ตั้งอยู่ในภูมิลาเนาเดียวกันกับวิทยาลัย
ผ้แู ทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ผแู้ ทนสถาบนั อดุ มศึกษา ผแู้ ทนศิษย์เกา่ และผู้ทรงคณุ วุฒิไม่เกินเจ็ดคน ซ่ึงในจานวนนี้จะต้องแต่งต้ังจาก ภาคเอกชนจานวนไม่น้อยกว่า
สี่คน เปน็ กรรมการ

 โครงสรา้ งการบริหารงานของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา
 สภาวิทยาลยั มีอานาจหนา้ ที่ ดังต่อไปนี้
(1) กาหนดนโยบายและแนวทางการดาเนนิ งานเพื่อให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของวิทยาลัยและสอดคล้องกับนโยบายทีส่ ภาสถาบันกาหนด
(2) ให้ความเหน็ ชอบแผนจัดการศึกษาและแผนปฏิบตั กิ ารของวทิ ยาลยั รวมท้ังแผนการพัฒนาชุมชน เพื่อสนองต่อความต้องการและเสริมสร้างองค์ความรู้

ของชุมชนให้เขม้ แข็ง
(3) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยกับชุมชน ส่วนราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สถาบันศาสนา องค์กรที่ดาเนิน งาน

วัฒนธรรม หรอื หนว่ ยงานอ่นื ทเ่ี กี่ยวขอ้ งในการจัดการศึกษาทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เพือ่ การพัฒนาวิทยาลัย

 แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 31

(4) ระดมทนุ และทรัพยากร เพอื่ ส่งเสริมการศกึ ษาของชมุ ชนในท้องถนิ่
(5) ออกระเบียบและข้อบังคับของวทิ ยาลัยตามทส่ี ภาสถาบันมอบหมาย
(6) อนมุ ัตหิ ลักสูตรและการเปิดสอนหลกั สตู รฝึกอบรมด้านวชิ าการหรือดา้ นวชิ าชพี ตามความต้องการของท้องถิน่ ชมุ ชน และกล่มุ อาชพี
(7) อนมุ ัตกิ ารใหป้ ระกาศนียบตั ร
(8) สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา
(9) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูอ้ านวยการวทิ ยาลยั และการดาเนนิ งานของวิทยาลยั เพื่อเสนอต่อสภาสถาบัน
(10) แตง่ ตั้งคณะทางานหรอื บุคคลหนึง่ บุคคลใด เพื่อพิจารณาและเสนอความเหน็ ในเรื่องหนึ่งเร่ืองใดหรือมอบหมายให้ปฏิบัติการอย่างหน่ึงอย่างใดอันอยู่ใน
อานาจหนา้ ทข่ี องสภาวทิ ยาลัย
(11) ปฏิบตั หิ น้าท่ีอนื่ ตามทีส่ ภาสถาบนั มอบหมาย

 อนุกรรมการวิชาการวทิ ยาลัย มีอานาจหนา้ ทด่ี ังน้ี
(1) ให้คาปรึกษา เสนอแนะ เก่ียวกับการจัดการศึกษา การพัฒนาหลักสูตร การประกันคุณภาพการศึกษา การวิจัย การให้บริการทางวิชาการ การทะนุ

บารุงศลิ ปวัฒนธรรม การดาเนนิ งานหนว่ ยจดั การศึกษา การพฒั นาทางวิชาการของวิทยาลัยชุมชน
(2) พจิ ารณากล่ันกรองหลักสูตรประกาศนียบัตรวทิ ยาลัยชมุ ชน และหลักสตู รสัมฤทธิ์บัตรของวิทยาลัยชุมชน เสนอต่อสภาวทิ ยาลยั อนุมัติ
(3) พิจารณาล่นั กรองหลักสูตรประกาศนียบัตรสถาบนั และหลกั สูตรอนปุ ริญญาของวิทยาลยั เสนอต่อสภาวิทยาลัย และเสนอตอ่ สภาสถาบันให้ความเห็นชอบ
(4) พิจารณากล่ันกรองผสู้ าเร็จการศึกษาของวทิ ยาลัยชมุ ชน เพอ่ื เสนอต่อผอู้ านวยการวทิ ยาลัย
(5) แต่งต้งั คณะทางานหรอื บคุ คลหนงึ่ บคุ คลใด เพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นในเรื่องหนึ่งเร่ืองใด หรือมอบหมายให้ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหน่ึง อันอยู่

ในอานาจหนา้ ที่ของอนกุ รมการวชิ าการวิทยาลัย

 คณะกรรมการสง่ เสริมกิจการวิทยาลยั มีอานาจหน้าที่ ดังน้ี
ให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษำและสนบั สนนุ กำรดำเนนิ กิจกำรของวทิ ยำลยั

 แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 32
 ผ้อู านวยการวทิ ยาลัยมอี านาจหนา้ ท่ี ดังต่อไปน้ี

(1) บรหิ ารกจิ การของวิทยาลัยใหเ้ ป็นไปตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละนโยบายของสถาบัน
(2) จดั ทาแผนจดั การศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั กิ ารของวทิ ยาลัยเสนอต่อสภาวทิ ยาลัย
(3) จดั ทางบประมาณรายรบั และงบประมาณรายจา่ ยเพอื่ เสนอผูอ้ านวยการสถาบัน และรายงานสภาวทิ ยาลัยเพื่อทราบ
(4) บรหิ ารบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานที่ และทรัพย์สินือ่นของวิทยาลัยให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของทางราชก าร
และของสถาบัน
(5) ประสานความร่วมมอื ดา้ นวชิ าการและการใช้ทรพั ยากรร่วมกบั ชมุ ชน องคก์ รชุมชน สถานศกึ ษา สถานประกอบการ องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ิน สถาบันอุดมศกึ ษา สถาบันศาสนา องคก์ รทด่ี าเนนิ งานวฒั นธรรม และหนว่ ยงานอื่นของรฐั
(6) ใหค้ าแนะนาในการแตง่ ตัง้ รองผู้อานวยการวิทยาลยั ต่อผู้อานวยการสถาบัน
(7) สง่ เสริมการพัฒนานักศกึ ษาและกจิ การนกั ศึกษา
(8) ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอี่ นื่ ตามที่สภาสถาบัน สภาวิทยาลัย และผู้อานวยการสถาบนั มอบหมาย

 แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 33

ภาพท่ี 4 แสดงโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา

 แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 34

 อัตรากาลังของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ประกอบดว้ ย
 คณะกรรมการสภาวทิ ยาลัยชมุ ชน

ภาพที่ 5 แสดงโครงสรา้ งสภาวิทยาลัยชุมชนสงขลา

 แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 35

 อนกุ รรมการวชิ าการวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา  คณะกรรมการสง่ เสริมกิจการวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา

ภาพท่ี 6 แสดงโครงสร้างอนกุ รรมการวิชาการวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ภาพท่ี 7 แสดงโครงสรา้ งคณะกรรมการส่งเสริมกจิ การวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา

 แผนยุทธศาสตร์วิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 36

 บคุ ลากรประจา ประกอบด้วย ขา้ ราชการ พนกั งานราชการ และลกู จ้างเหมาบรกิ าร
วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลามีบุคลากรทปี่ ฏิบัตงิ าน จาแนก ดังน้ี 1. ข้าราชการครู จานวน 13 คน (รอบรรจุอัตราว่าง 3 อัตรา) 2.พนักงานราชการจานวน 14 คน

3.ลูกจา้ งเหมาบริการ จานวน 23 คน 4. บุคลากรนอกราชการ จานวน 2 คน

จานวน (คน) 13 คน
ข้าราชการ 14 คน
พนักงานราชการ 23 คน
ลูกจ้างเหมาบรกิ าร 2 คน
บุคลากรนอกราชการ

ลกู จ้ำงเหมำฯ 23 จำนวนคน

บคุ ลำกรนอกรำชกำร 2
ข้ำรำชกำร 13

พนกั งำนรำชกำร 14

ภาพท่ี 8 แผนภมู แิ สดงจานวนบคุ ลากร

 แผนยุทธศาสตร์วิทยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 37

 การจัดการศึกษาของวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา
 การจัดการหลักสตู รอนุปริญญา
ผลการจัดการศกึ ษาหลักสตู รอนุปรญิ ญา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560– 2562 ของวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา รายละเอยี ด มดี งั น้ี

ปงี บประมาณ จานวน (คน)

นกั ศึกษาเข้าใหม่ นกั ศึกษาคงอยู่ นกั ศึกษาทั้งหมด ผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา

1. พ.ศ. 2560 540 620 1,160 248
2. พ.ศ. 2561 413 749 1,150 296
3. พ.ศ.2562 443 632 1,075 338

ตารางท่ี 3 ตารางแสดงจานวนนกั ศึกษาหลักสูตรอนปุ ริญญาตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562

1200 น.ศ.เข้ำใหม่
1000 น.ศ.คงอยู่
น.ศ.ทงั้ หมด
800 สำเร็จกำรศกึ ษำ
600
400
200

0

พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562

ภาพท่ี 9 แผนภูมิแสดงจานวนนักศกึ ษาหลักสตู รอนุปริญญาตัง้ แตป่ ี พ.ศ.2560 – 2562

 แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 38

 การจดั การศกึ ษาหลกั สูตรพฒั นาทักษะและเสรมิ สรา้ งประสบการณด์ า้ นอาชีพและคณุ ภาพชวี ิต
วิทยาลัยชมุ ชนสงขลาได้ดาเนินการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต โดยใช้กระบวนการฝึกอบรมตามความสนใจและความต้องการของกลุ่มประชาชน พัฒนา

เป็นหลกั สตู ร ใช้วิทยากรและผรู้ ู้ ผู้เชย่ี วชาญ ปราชญ์ชมุ ชนในชมุ ชน ลักษณะของหลักสูตร วิทยาลัยชุมชนสงขลามีเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการวิทยาลัยชุมชนสงขลา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 140 คน มีหลกั สตู รในการฝึกอบรม จานวน 5 หลกั สตู ร

ที่ ปีงบประมาณ จานวนผรู้ ับบริการ (คน) จบหลกั สตู ร
คน ร้อยละ
1. พ.ศ. 2560 750 662 88
2. พ.ศ. 2561 405 383 94.56
3. พ.ศ.2562 140 179 127.86
1,295 1,224
รวมทั้งหมด

ตารางที่ 4 ตารางแสดงจานวนนักศกึ ษาหลักสูตรฝึกอบรม/ระยะส้นั

800 จำนวนผ้รู ับบริกำร
700
600 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562
500
400
300
200
100

0

พ.ศ.2560

ภาพท่ี 7 แผนภมู ิแสดงผรู้ ับบริการหลกั สูตรฝกึ อบรม/ระยะสน้ั ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562

 แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 39

 งบประมาณทีใ่ ชใ้ นการดาเนนิ งาน
วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลาไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณ ทใ่ี ช้ในการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2567 รายละเอียดดังตารางที่ 4 ดงั น้ี

ประเภทงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ผล) พ.ศ. 2561 (ผล) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (แผน) พ.ศ.2564-2567 (แผน)
3,571,130.00 2,381,060.00 พ.ศ. 2562 (ผล) 3,857,316.00 16,000,000.00
1 งบบุคลากร
2 งบดาเนนิ งาน 16,461,940.00 14,031,284.00 3,656,160.00 16,078,730.00 64,800,000.00
3 งบลงทุน 23,136,833.00 1,131,500.00 2,434,800.00 10,000,000.00
4 งบรายจา่ ยอืน่ 7,788,000.00 6,165,030.00 16,523,040.00 6,480,000.00 26,000,000.00
5 งบอุดหนนุ 982,400.00 2,000,000.00
223,165.00 739,665.75 500,000.00 118,800,000.00
รวมท้ังหมด 51,181,068.00 24,448,539.75 7,136,600.00 29,350,846.00
550,000.00

28,848,200.00

ตารางที่ 5 ตารางแสดงงบประมาณวทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2567

70,000,000.00 ชดุ ข้อมลู 1
60,000,000.00 ชดุ ข้อมลู 2
50,000,000.00 ชดุ ข้อมลู 3
40,000,000.00 ชดุ ข้อมลู 4
30,000,000.00 ชดุ ข้อมลู 5
20,000,000.00
10,000,000.00

0.00

ภาพท่ี 8 แผนภมู ิแสดงงบประมาณวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562

แผนกลยทุ ธ์การศกึ ษาวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 40

 ผลการประเมนิ คุณภาพภายภายใน
วิทยาลัยชุมชนสงขลาได้รับการประเมินคุณภาพภายใน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 จากคณะกรรมการประเมินการประกันคุณภาพภายใน เมื่ อวันท่ี 6-7

พฤศจกิ ายน พ.ศ.256
 ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ 1 โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี

คะแนนการประเมนิ เฉล่ยี ผลการประเมนิ หมายเหตุ
I P O รวม
องค์ประกอบคุณภาพ 0.00<=1.50การดาเนนิ งานตอ้ งปรับปรุงเรง่ ด่วน
- 5.00 - 5.00 1.51–2.50 การดาเนนิ งานตอ้ งปรับปรุง
องค์ประกอบท่ี 1 ปรชั ญา ปณธิ าน วัตถปุ ระสงค์ และแผนการดาเนนิ การ 4.49 5.00 4.96 4.85 2.51–3.50 การดาเนนิ งานระดับพอใช้
องคป์ ระกอบที่ 2 การจดั การศกึ ษาระดบั ตา่ กว่าปรญิ ญา 5.00 3.51-4.50 การดาเนินงานระดบั ดี
องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพฒั นานักศึกษา - 5.00 - 5.00 4.51-5.00 การดาเนินงานระดับดีมาก
องคป์ ระกอบท่ี 4 การวจิ ยั - 5.00 5.00 5.00
องคป์ ระกอบที่ 5 การบรกิ ารวิชาการแก่ชุมชน - 5.00 5.00 5.00 การดาเนินงานระดับดีมาก
องค์ประกอบท่ี 6 การทานบุ ารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม - 5.00 5.00 4.99
องค์ประกอบที่ 7 การบรหิ ารและการจัดการ - 5.00 4.98 5.00 การดาเนนิ งานระดับดมี าก
องค์ประกอบท่ี 8 การเงนิ และงบประมาณ - 5.00 - 4.84
องค์ประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกนั คุณภาพ - 5.00 4.68 4.93 การดาเนนิ งานระดับดีมาก
เฉล่ยี รวมทุกตัวบ่งชขี้ องทกุ องค์ประกอบ 4.49 5.00 4.95
ผลการประเมิน ดี ดีมาก ดีมาก การดาเนินงานระดบั ดีมาก

การดาเนินงานระดบั ดมี าก

การดาเนนิ งานระดบั ดมี าก

การดาเนนิ งานระดบั ดมี าก

การดาเนนิ งานระดับดมี าก

การดาเนินงานระดบั ดมี าก

การดาเนินงานระดับดีมาก

ตารางท่ี 6 ตารางแสดงผลการประเมินคณุ ภาพภายในของวิทยาลัยชุมชนสงขลา

 แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 41

 ข้อเสนอแนะจากการประเมิน

จุดแขง็ จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะ นวัตกรรม และแนวปฏบิ ัติท่ดี ี

องค์ประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคแ์ ละแผนดาเนินการ

จดุ แขง็ แนวทางเสริมจุดแข็ง

-ไมม่ -ี -ไม่ม-ี

จดุ ท่ีควรพัฒนาและขอ้ เสนอแนะ

1. ค่านิยมร่วมควรระบุค่านิยมหลาย ๆ ประการท่ีบุคลากรในองค์กรยึดถือร่วมกันเพ่ือทาให้การทางานบรรลุตามวิสัยทัศน์ท่ีกาหนดไว้ เช่น การ ทางานเป็นทีม จิตบริการ ความรับผิดชอบ
การตรงต่อเวลา ฯลฯ
2. ควรเพม่ิ ตวั ชีว้ ดั ของแผนกลยุทธ์ทสี่ ะทอ้ นผลความสาเรจ็ ของการดาเนินงานในแต่ละ track ให้สะท้อน คุณภาพที่แท้จริงมากข้ึน เช่น ตัวชี้วัด track การจัดการศึกษาหลักสูตรอนุปริญญา
เช่น ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษามีคุณภาพชีวิตท่ีดขี นึ้ ตัวชวี้ ดั track ชมุ ชนเข้มแขง็ เชน่ จานวนครัวเรือนท่ีมีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ขี ึ้น track อาชีพ เช่น ร้อยละของผู้ผ่านการอบรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
กอ่ นเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามตวั ชี้วัดดงั กลา่ วควรกาหนดนยิ ามคณุ ภาพชีวติ ใหช้ ัดเจน เชน่ จานวนเงินรายไดท้ เ่ี พิม่ ข้ึน คนในครอบครวั มีปัญหาสขุ ภาพนอ้ ยลง จานวนรายจ่ายท่ลี ดลง ฯลฯ
3. ตัวชวี้ ดั โครงการยงั ไม่สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการทง้ั หมด ทาให้ผลการประเมินโครงการไม่สามารถตอบความสาเรจ็ ของวตั ถุประสงคข์ องโครงการได้ทั้งหมด ในหลักการจัดทา

โครงการต้องเอาวัตถุประสงค์ของโครงการ(ส่งิ ท่ีบง่ บอกผลที่คาดหวังว่าจะเกดิ ขึน้ จากการทาโครงการ)เป็นตัวต้ัง จากนั้นการกาหนดองค์ประกอบอ่ืน ๆ ของโครงการจะต้องทาให้สอคล้องกับ
วตั ถุประสงคท์ กี่ าหนดไว้

4. ควรทบทวนแผนกลยทุ ธโ์ ดยการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ชาติและแผนอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง จากนั้นกาหนดให้ชัดเจนว่าในแต่ละส่วนของแผนกลยุทธ์ได้ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติในแต่ละด้าน
อย่างไร

นวัตกรรม (innovation) แนวปฏบิ ัติท่ดี ี (best practice)

-ไมม่ -ี -ไมม่ -ี

 แผนยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หน้า | 42

องคป์ ระกอบที่ 2 การจัดการศึกษาระดับตา่ กว่าปริญญา

จุดแขง็ แนวทางเสรมิ จุดแข็ง

-ไม่ม-ี จาลองเปน็ สงิ่ ที่ดี -ไม่ม-ี

จดุ ที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ

1 . ระบบกลไก ควรเขยี นใหช้ ัดเจน และควรนาเสนอใหท้ กุ คนรบั ทราบทั่วกัน เพ่อื ยดึ ปฏบิ ตั ิ

2. การแก้ปญั หาความไม่สอดคล้องของคาอธิบายรายวิชาใน มคอ. 3 กบั mapping มคอ. 2 ควรดาเนนิ การ

ดังนน้ั ถึงแมว้ ่าคาอธบิ ายรายวชิ าใน มคอ.3 ไม่สอดคลอ้ ง mapping ใน มคอ. 2 ซึง่ ทางอาจารยผ์ สู้ อนไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ แตส่ ามารถจดั กระบวนการเรียนการสอนใหบ้ รรลไุ ด้ ซ่ึงมี

ข้ันตอนในการแกไ้ ข ดังน้ี

2.1 นาข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมนิ ต่อผู้บรหิ ารรับทราบ

2.2 เชิญวิทยากร มาใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื งดังกลา่ ว ทาให้มองประเด็นชดั เจนเชิงประจักษ์

3. การปรบั ปรุงระบบกลไกตามตวั บ่งชท้ี ี่ 2.1 ควรดาเนินการ ดงั น้ี

3.1 แตง่ ต้ังคณะกรรมการสาขาวิชา

3.2 ประชุมคณะกรรมการสาขาวชิ าเพอื่ ทาความเข้าใจหลกั เกณฑว์ ิธกี ารการจดั ทารายละเอยี ดของหลักสตู รตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา เรอื่ ง แนวทางการปฏบิ ตั ติ าม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552

3.3 ประชมุ ปฏิบตั กิ ารเรือ่ งการทารายละเอยี ดของหลักสตู รตามข้อ 2 (มคอ. 2)

3.4 นาเสนอสภาวชิ าการของวทิ ยาลยั ชมุ ชน

4. การปรบั ปรุงระบบกลไกการจดั การเรียนการสอน(ตามตัวบง่ ชที้ ี่ 2.6) ควรดาเนนิ การดงั น้ี

4.1 อาจารยผ์ ู้สอนจดั ทา มคอ. 3 มคอ. 4 กอ่ นเปดิ ภาคเรยี น โดยการตรวจสอบและอนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการสาขาวิชา

4.2 นักศึกษาประเมนิ การสอนของอาจารยผ์ ู้สอน

4.3 จัดทา มคอ.5 และ มคอ. 6 หลังจากปดิ ภาคเรียน

4.4 มกี ารดาเนนิ การทวนสอบ

4.5 ส้นิ สุดปกี ารศกึ ษา จดั ทา มคอ. 7

5. ขอ้ เสนอแนะการปรับปรงุ ระบบและกลไก

ขัน้ การดาเนินการเกย่ี วกบั สง่ มคอ 3 (มคอ4 ,มคอ5,มคอ6 และ มคอ.7)

5.1 ประชมุ อาจารย์ทั้งหมด (อาจารยป์ ระจา อาจารยพ์ ิเศษ ) ก่อนเปิดภาคเรยี น เพอ่ื เตรียมการจัดทามคอ.3 และมอบหมายรายวชิ าให้อาจารยแ์ ตล่ ะท่าน

5.2 อาจารยผ์ ู้สอนจัดทามคอ.3

 แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 43

5.3 อาจารยผ์ สู้ อนคีย์ มคอ.3 เข้าระบบมคอ.ออนไลน์ (http://tqf.bcca.go.th) และส่งมายังเมลล์ [email protected]

5.4 สานกั วชิ าการ ตรวจสอบ รายละเอยี ด ความสอดคล้องกับมคอ.2 โดยเฉพาะ Curriculum mapping

5.5 สานักวิชาการรวบรวมนาเสนอคณะกรรมการประจาสาขาวิชาเพอื่ พจิ ารณารายละเอียดและอนมุ ัติ (ทาง วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ยังไมม่ ีหลกั ฐานการอนุมตั ิ)

5.6 ควรส่งเสริมสนบั สนุนการสรา้ งความตระหนกั และความรบั ผดิ ชอบ (Awareness An responsibility) ในการเรียนรู้ใหก้ บั นกั ศึกษา

5.7 ส่งเสริมสนบั สนุนใหผ้ สู้ อนแตล่ ะรายวชิ าเตรยี มความพรอ้ มด้านวิชาการใหก้ บั นักศึกษากอ่ นเรยี นใหเ้ พยี งพอ

5.8 เรง่ รดั ใหม้ กี ารจดั การเรียนการสอนทีช่ ว่ ยใหน้ ักศกึ ษาเข้าใจมโนทัศน์ หลักการ กฎ หรอื ทฤษฎี ท่เี รียนในแตล่ ะรายวชิ า อย่างแท้จริง

5.9 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้มีการใช้กรณศี ึกษาหรือปญั หาจริงในสงั คม เพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ กึ คดิ วเิ คราะห์ ประเมนิ หรือแก้ปญั หา

5.10 ส่งเสริมสนบั สนุนให้มีการทวนสอบผลการเรยี นรู้ ของนกั ศึกษาตามสภาพจรงิ อยา่ งต่อเน่อื งเพ่ือใหม้ ่ันใจได้ว่านกั ศกึ ษาได้เรียนรสู้ ่งิ ทีเ่ รยี นอย่างแท้จรงิ

5.11 ควรสรา้ งระบบติดตามผลการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของผสู้ าเร็จการศกึ ษา

นวัตกรรม (innovation) แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี (best practice)

-ไมม่ -ี -ไม่ม-ี

องคป์ ระกอบที่ 3 กจิ กรรมการพัฒนานักศกึ ษา

จดุ แขง็ แนวทางเสรมิ จดุ แขง็

-ไม่ม-ี -ไม่ม-ี

จดุ ทีค่ วรพฒั นาและข้อเสนอแนะ

1. ควรปรบั การจดั ทาแผนการจัดกิจกรรมพฒั นานกั ศกึ ษาทส่ี ่งเสริมผลการเรยี นร้ตู ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ โดยแยกท้งั 5 ด้านให้ชัดเจน

2. ควรระบคุ ณุ ลักษณะท่จี ะปลกู ฝังเป็นด้าน ๆ แสดงความเช่ือมโยงระหว่างโครงการท่จี ดั กับคณุ ลักษณะแตล่ ะดา้ นให้ชดั เจน

3. การประเมินโครงการควรเนน้ การประเมินตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ และนาผลการประเมินไปปรับปรงุ การจัดโครงการ กิจกรรมใหม้ ีคณุ ภาพเพมิ่ มากข้ึนอย่างตอ่ เนอ่ื ง

นวตั กรรม (innovation) แนวปฏิบตั ทิ ่ีดี (best practice)

-ไม่ม-ี -ไม่ม-ี

 แผนยุทธศาสตร์วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)

หนา้ | 44

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย

จดุ แขง็ จุดท่คี วรพัฒนาและข้อเสนอแนะ แนวทางเสริมจุดแข็ง
1. บุคลากรมคี วามกระตือรือรน้ ในการทาผลงานวจิ ัย -ไม่ม-ี

1.ควรปรับระบบกลไกใหช้ ดั เจน แนวปฏิบัติที่ดี (best practice)
2.ควรปรบั ระบบกลไกการเผยแพรง่ านวิจยั ให้ชัดเจน -ไม่ม-ี

นวตั กรรม (innovation)
-ไมม่ -ี

องค์ประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแก่ชุมชน

จดุ แข็ง แนวทางเสริมจดุ แข็ง

1. สามารถสรา้ งชุมชนให้เข้มแข็งเกดิ ผลกระทบท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ สังคมในระดับมาก 1. เนื่องจากมีศูนย์การเรียนหลายศูนย์ ดังน้ัน จึงควรส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาและ

เชน่ ชุมชนบา้ นกระอาน ผู้สาเร็จการศึกษาในแต่ละศูนย์ แต่ละพื้นที่ จัดต้ังเป็นชมรมไปศึกษาปัญหาความต้องการ

ของชมุ ชน และหาแนวทางแก้ไขปัญหาหรอื ตอบสนองความตอ้ งการในการพฒั นาชุมชน

น้ัน ๆ โดยควรให้ทาเป็นโครงการโดยมีอาจารย์ท่ีปรึกษาคอยให้คาปรึกษาสนับสนุนอัน

จะส่งผลให้นกั ศึกษาและผู้สาเร็จการศกึ ษาไดใ้ ช้ประโยชนค์ วามรู้ทเ่ี รยี นไปในการพัฒนา

ทอ้ งถ่นิ อยา่ งแทจ้ ริง รวมท้ังได้มปี ระสบการณ์ตรงในการพัฒนาชุมชน

จดุ ทีค่ วรพฒั นาและข้อเสนอแนะ

1. การสง่ เสริมอาชีพให้กบั ชุมชนควรปลุกฝังความโปรง่ ใสในการจดั การทางการเงนิ รวมทง้ั เน้นความยตุ ธิ รรม ความซ่อื สตั ย์ และการตรวจสอบอย่างเป็นระบบ

2. ควรสรา้ งระบบติดตามผลการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของผู้เขา้ รับการอบรม

 แผนยทุ ธศาสตร์วิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2563-2567)


Click to View FlipBook Version