The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อาทิมาพร ทองอ่อน, 2020-09-18 09:38:46

แผนปฏิบัติราชการ 2563

แผนปฏิบัติราชการ 2563

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร
ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 3

วิ ท ย า ลั ย ชุ ม ช น ส ง ข ล า

ง า น น โ ย บ า ย แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ วิ ท ย า ลั ย ชุ ม ช น ส ง ข ล า
ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ วิ จั ย แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม



คำนำ

แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ถือเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย ผลผลิต และนโยบาย และเป็นการเตรียมความ
พร้อมการดาเนินงานประจาปีงบประมาณของวิทยาลัยสงขลาไว้ล่วงหน้า เพ่ือให้การทางานของวิทยาลัยชุมชนเป็นไปอย่างคุ้มค่าตามความต้องการ เกิดประโยชน์ต่อ
ผเู้ รยี นและราชการอย่างสูงสุด ให้สอดคล้องกับเป้าหมายการดาเนินงาน และงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร โดยองค์ประกอบหลักที่ดาเนินงานที่ผ่านมาแผนปฏิบัติราชการ
ประกอบด้วยแผนงานย่อย 5 แผน คือ แผนการจัดการศึกษา แผนบริการวิชาการ แผนวิจัย แผนทานุบารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และ แผนบริหารจัดการ และขอ
สนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายงบประมาณตามกรอบแผนงานย่อยท้ัง 5 แผน ซง่ึ ได้บูรณาการกบั แผนงานของกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมและแผนงาน
ของสถาบนั วิทยาลัยชุมชนซ่ึงมีเนอื้ หาสาระแบ่งออกเป็น 5 แผนงาน 9 ผลผลติ /โครงการ ประกอบดว้ ย

1.แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ
1.1 ผลผลิต/โครงการ : รายการคา่ ใช้จ่ายบคุ ลากรภาครัฐ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ

2. แผนงานพืน้ ฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
2.1 ผลผลติ ที่ 1 : ผรู้ บั บรกิ ารการศึกษาในวิทยาลัยชุมชน
2.2 ผลผลติ ที่ 2 : ผลงานการให้บริการวชิ าการ
2.3 ผลผลิตท่ี 3 : ผลงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม

3.แผนงานยทุ ธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา
3.1 โครงการท่ี 1 : โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาเด็กปฐมวยั

4. แผนงานบรู ณาการขับเคลอื่ นการแกไ้ ขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
4.1 โครงการท่ี 1 : โครงการตาบลมนั่ คง มง่ั คั่ง ย่งั ยืน ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
4.2 โครงการที่ 2 : โครงการเสริมสรา้ งสงั คมพหุวัฒนธรรมท่เี ข้มแข็ง

5. แผนงานบรู ณาการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้
5.1 โครงการท่ี 1 : โครงการขับเคล่ือนการจัดการศกึ ษาเพ่ือความสุขของชุมชน
5.2 โครงการที่ 2 : โครงการพัฒนาและสง่ เสริมการเรยี นรผู้ ่านการเรยี นออนไลน์

วิทยาลัยชุมชนสงขลา ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนสงขลา ที่ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของวิทยาลัย
ชมุ ชนสงขลาเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทของพื้นที่ ขอขอบคุณผ้อู านวยการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ในการปรับแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2563 ในครั้งน้ี ขอขอบคุณบุคลากรทุกกลุ่มงานที่ร่วมกันระดมความรู้ ความสามารถ และเสียสละเวลาในการร่วมจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2563 ของวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ให้สามารถสาเรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ้วยดี

งานนโยบายและยุทธศาสตร์ วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลากนั ยายน 2562

แผนปฏิบตั ริ าชการวทิ ยาลัยชุนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 1

บทท่ี 1
บทนา

 หลักการและเหตผุ ล
ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารบริหารกจิ การบ้านเมอื งที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 กาหนดให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีใน

แต่ละปีงบประมาณ เพ่ือใช้เป็นกรอบในการกาหนดแนวทางการดาเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุผลตามเป้าหมาย และเพื่อเป็นการควบคุมการปริหารงบประมาณให้
เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมทงั้ มกี ารติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลอยา่ งถูกตอ้ งรวดเร็วและตอบสนองความตอ้ งการของหนว่ ยงาน/บุคคลท่ีเกีย่ วข้อง

การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ เป็นการเตรียมความพร้อมการดาเนินงานประจาปีงบประมาณของวิทยาลัยไว้ล่วงหน้า เพ่ือให้การทางานของ
องคก์ รท้ังระบบทม่ี ีบุคลากรและเครอื ข่ายทเี่ กี่ยวขอ้ งจานวนมากมีความชัดเจน มุง่ ไปในทิศทางเดยี วกัน สนับสนุนส่งเสริมซึ่งกันและกันอย่างมีเอกภาพ ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพ
และประสทิ ธิภาพการบรหิ ารแผนงาน และแผนขอสนบั สนุนงบประมาณรายจ่ายประจาปขี องสานักบรหิ ารงานวทิ ยาลยั ชุมชน

การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของวิทยาลัยชุมชนสงขลา มีความจาเป็นจะต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล
แผนยทุ ธศาสตร์ชาตฯิ /แผนพัฒนาเศรษฐกจิ ฯฉบับท่ี 12/แผนยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 20 ปี/แผนกลยุทธ์การศึกษาของวิทยาลัยชุมชน ระยะ 20 ปี/
แผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะ 20 ปี/แผนพฒั นาจงั หวัดสงขลา (พ.ศ. 2561-2565)/แผนพฒั นาการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2565) จังหวัดสงขลา/แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15
ปี/แผนกลยทุ ธท์ างการศกึ ษาวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา/นโยบายสภาวิทยาลยั ชุมชนสงขลา รวมท้งั แผนกลยทุ ธ์การพัฒนาวิทยาลัยชุมชนสงขลา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567)
และเปน็ แผนงานหลักเพื่อให้ทุกกลุม่ งานสามารถปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทและหนา้ ทเี่ พ่อื ให้เป็นไปอยา่ งต่อเนื่องและมีประสิทธภิ าพ

 วตั ถุประสงค์
1. เพื่อให้มนั่ ใจวา่ มแี นวทางในการสร้างความสาเรจ็ ให้กบั เป้าหมายที่กาหนดไวไ้ ด้
2. เพอ่ื ป้องกนั และลดความเส่ียงท่ีอาจจะเกดิ ขึน้ ในการทางานไวล้ ่วงหน้า
3. เพ่ือลดความขดั แย้งในการทางานทต่ี อ้ งเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน
4. เพ่ือลดความผิดพลาดและลดความซา้ ซ้อนในการทางาน

แผนปฏบิ ัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 2

5. เพือ่ จดั ลาดบั ความสาคญั และเรง่ ดว่ นของการทางานไว้ล่วงหนา้
6. เพอื่ ใชใ้ นการมอบหมายงานให้กับผูป้ ฏิบัติงานท่เี กี่ยวข้องได้อย่างมีประสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึ้น เพราะทุกคนจะทราบวา่ ใครจะตอ้ งทาอะไร เมือ่ ไหร่ อยา่ งไร
7. เพ่อื ใชใ้ นการกาหนดงบประมาณคา่ ใช้จา่ ยประจาปี
8. เพอ่ื ให้แผนที่วางไวม้ ีความเปน็ ไปไดแ้ ละใกลเ้ คียงกบั การท่ีจะปฏิบัตจิ ริงให้มากท่ีสดุ

 ทิศทาง/นโยบายที่เก่ยี วข้องกบั การจัดทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี
สาหรับการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของวิทยาลัยชุมชนสงขลา เป็นการจัดทาแผนปฏิบัติราชการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายผลผลิต/โครงการตาม

พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีที่สานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสาหรับภารกิจของสถาบันวิทยาลัยชุมชนตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และแผนงาน/โครงการท่ีวิทยาลัยชุมชนริเร่ิมข้ึนใหม่เพ่ือให้เป็นจุดเน้นตามบริบทและศักยภาพของพื้นท่ีในเชิงรุก
ทม่ี ุ่งตอบสนองทศิ ทาง/นโยบายที่เก่ียวข้องท่ีสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนให้ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนางานของวิทยาลัยชุมชน รวมท้ังการบูรณาการงบประมาณ
รว่ มกบั หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องทงั้ ในระดบั นโยบายและระดับพนื้ ที่

ในการน้ี กลมุ่ งานนโยบายและยทุ ธ์ศาสตรว์ ทิ ยาลัยชุมชนสงขลาได้สรปุ ทิศทาง/นโยบายทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี นาไปใช้ประกอบการ
ทบทวนแผนกลยุทธ์การศึกษาของแต่ละวิทยาลัยชุมชน และจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี โดยให้พิจารณาความเช่ือมโยงของแผนงาน/โครงการท่ี เสนอให้สอดคล้อง
กับเป้าหมายผลผลติ /โครงการตามพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี และทิศทาง/นโยบายทีเ่ กีย่ วข้อง ดังน้ี

1. แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
2. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
3. แผนยทุ ธศาสตร์การศึกษาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 20 ปี
4. แผนกลยทุ ธ์การศกึ ษาของวทิ ยาลยั ชมุ ชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)
5. แผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
6. แผนพัฒนาจังหวัดสงขลา (พ.ศ. 2561-2565)
7. แผนพฒั นาการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2565) จงั หวัดสงขลา
8. แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 15 ปี
9. แผนกลยุทธท์ างการศึกษาวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา

แผนปฏิบัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 3

10. นโยบายสภาวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา
11. องคป์ ระกอบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาวทิ ยาลยั ชมุ ชน

 แนวคดิ นโยบายในการจดั แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี พ.ศ.2563
ประกอบดว้ ย แนวทางและนโยบายที่สาคญั ของการพฒั นาประเทศ ดงั น้ี

 นโยบายของรัฐบาล
คาแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรี 1 พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี
แถลงต่อรัฐสภา วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม 2562 วิสัยทัศน์ในการขับเคลื่อนประเทศของรัฐบาลชุดนี้คือ “มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศท่ี

พัฒนาแลว้ ในศตวรรษท่ี 21” โดยรฐั บาลได้กาหนดนโยบายในการบรหิ ารราชการแผนดิน นโยบายหลัก 12 ดา้ น ดังน้ี
1. การปกปอ้ งและเชดิ ชูสถาบันพระมหากษัตริย์
2. การสร้างความม่นั คงและความปลอดภยั ของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ
3. การทานุบารุงศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม
4. การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก ในโอกาสท่ีประเทศไทยดารงตาแหน่งประธานอาเซียน ในปี 2562 รัฐบาลจะใช้โอกาสนี้ในการสร้างบทบาท

ของประเทศไทยในเวทีโลก เพอ่ื ใหป้ ระเทศไทยมบี ทบาทนาในการพัฒนาและสรา้ งความรว่ มมือของประเทศตา่ ง ๆ
5. การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย
6. การพัฒนาพ้ืนท่เี ศรษฐกจิ และการกระจายความเจรญิ สภู่ ูมิภาค
7. การพฒั นาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก
8. การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้และการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทุกชว่ งวยั
9. การพัฒนาระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกนั ทางสงั คม
10. การฟืน้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการรักษาสิ่งแวดล้อมเพ่ือสร้างการเติบโตอย่างยงั่ ยืน
11. การปฏิรปู การบริหารจัดการภาครัฐ
12. การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ และกระบวนการยุตธิ รรม

แผนปฏบิ ตั ริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 4

 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สาระสาคัญ ๆ แผนฯ 12 ทเี่ ก่ยี วข้องกับวิทยาลยั ชุมชน สรปุ ได้ ดงั นี้
1. สาระสาคญั ของแผนฯ 12
มีแนวคิดต่อเน่ืองแผนฯ 9 -11 โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง แนวการพัฒนาแบบองค์รวมท่ีมีคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา เช่ือมโยงทุกมิติการพัฒนา

แบบบูรณาการทงั้ คน สงั คม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม การเมือง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้พร้อมเผชิญการเปล่ียนแปลง และให้ความสาคัญการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในสังคม มี
ทิศทางพัฒนาประเทศท่ีสาคญั คอื การเสรมิ สร้างทุนสังคม (ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนวัฒนธรรม) การเสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ (ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน) การเสริมสร้าง
ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เน้นความมั่นคงอาหาร การบริหารทรัพยากรที่เป็นภาคผลิตการเกษตร เศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่า/เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
รวมท้งั เตรียมพร้อมภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ และการเพ่ิมบทบาทไทยในเวทีประชาคมโลก ตลอดจนการบริหารประเทศสร้างความเปน็ ธรรม

2. วสิ ัยทัศน์ปี 2570
“คนไทยภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่นวัฒนธรรมประชาธิปไตยและหลักธรรมาภิบาล บริการสาธารณะ

พ้นื ฐานท่วั ถงึ สังคมปลอดภัยและม่ันคง สภาพแวดล้อมดี เก้ือกูลอาทรซ่ึงกันและกัน ระบบผลิตเป็นมิตรสิ่งแวดล้อม มั่นคงด้านอาหารและพลังงาน บนฐานเศรษฐกิจที่พึง
ตนเองและแขง่ ขนั ไดเ้ วทโี ลก อยูใ่ นประชาคมภูมิภาคและโลกอย่างมศี กั ดิ์ศรี ”

วสิ ยั ทศั นแ์ ผนพัฒนาระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ของแผนฯ 12 “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนา
ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง”

3. วัตถุประสงค์
- ด้านสังคม : เพื่อให้คนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ

ผูด้ ้อยโอกาสได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพ รวมทั้งชมุ ชนมีความเขม้ แขง็ พ่ึงพาตนเองได้
- ด้านคน : เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุข

ภาวะและสขุ ภาพทีด่ ี ครอบครัวอบอนุ่ ตลอดจน เปน็ คนเกง่ ทมี่ ีทกั ษะความรูค้ วามสามารถและพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวติ
- ด้านเศรษฐกิจ : เพ่ือให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความย่ังยืน สร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและ

ขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเขม้ ข้นมากขึ้น สรา้ งความเข้มแข็งของเศรษฐกจิ ฐานราก และสร้างความมน่ั คงทางพลงั งาน อาหาร และน้า
- ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม : เพ่ือรักษาและฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมให้สามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับ

สง่ิ แวดล้อมและการมีคณุ ภาพชีวิตทดี่ ีของประชาชน

แผนปฏบิ ัตริ าชการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 5

4. เปา้ หมาย
- ด้านสังคม : เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมที่มี

คุณภาพอย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม กลุ่มที่มีรายได้ต่าสุดร้อยละ 40 มีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 15 และมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตยสังคมปลอดภัย สามัคคี
สร้างภาพลักษณ์ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของนานาชาติต่อประเทศไทย ความขัดแย้งทางอุดมการณ์และความคิดในสังคมลดลง ปัญหาอาชญากรรมลดลง ปริมาณความ
สูญเสียจากภัยโจรสลัดและการลักลอบขนส่งสินค้าและค้ามนุษย์ลดลง มีความพร้อมที่ปกป้องประชาชนจากการก่อการร้ายและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ประเ ทศไทยมีส่วน
ร่วมในการกาหนดบรรทัดฐานระหว่างประเทศ เกิดความเช่ือมโยงการขนส่ง โลจิสติกส์ ห่วงโซ่มูลค่า เป็นหุ้นส่วนการพัฒนาท่ีสาคัญในอนุ ภูมิภาค ภูมิภาค และโลก และ
อัตราการเตบิ โตของมูลค่า การลงทุนและการส่งออกของไทยในอนภุ มู ภิ าค ภมู ิภาค และอาเซยี นสงู ขน้ึ

- ด้านคน : คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคม มีความเป็นพลเมืองต่ืนรู้มี
ความสามารถในการปรับตวั ได้อยา่ งรู้ เท่าทันสถานการณ์ มคี วามรับผิดชอบและทาประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีความเจริญ งอกงามทางจิตวิญญาณ มี
วิถชี ีวติ ทพี่ อเพียง และมีความเป็นไทย

- ดา้ นเศรษฐกจิ : ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐานบริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่
และเป็นสงั คมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเลก็ ท่ีเข้มแขง็ สามารถใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทลั ในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการ มีระบบ
การผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพ่ิมสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้ชั้นสูงใหม่ๆ ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมท้ัง
กระจายฐานการผลติ และการใหบ้ รกิ ารสู่ภูมิภาคเพือ่ ลดความเหล่ือมล้า โดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพและมีอัตราการขยายตัวเฉล่ียร้อยละ ๕ ต่อปี และมีปัจจัยสนับสนุน
อาทิ ระบบโลจิสติกส์ พลงั งาน และการลงทนุ วิจยั และพัฒนาท่เี ออื้ ตอ่ การขยายตัวของภาคการผลติ และบรกิ าร

- ด้านทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม : ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคง
ทางอาหาร พลังงาน และนา โดยเพม่ิ พนื้ ท่ีป่าไมใ้ ห้ได้รอ้ ยละ 40 ของพืน้ ท่ปี ระเทศเพื่อรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและ
ขนส่ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 7 ภายในปี 2563 เทียบกับการปล่อยในกรณีปกติ มีปริมาณหรือสัดส่วนของขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกหลักสุขาภิบาลเพิ่มข้ึน และ
รกั ษาคุณภาพนา้ และคุณภาพอากาศในพน้ื ทวี่ กิ ฤตให้อยู่ ในเกณฑ์มาตรฐาน

5 ยุทธศาสตร์ประเทศ
1. ยทุ ธศาสตร์การเสริมสรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์
2. ยุทธศาสตรก์ ารสรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหลอื่ มล้าในสงั คม
3. ยทุ ธศาสตร์การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ และแข่งขันได้อยา่ งยง่ั ยนื

แผนปฏบิ ัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 6

4. ยุทธศาสตร์การเตบิ โตท่เี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ มเพอ่ื การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื
5. ยุทธศาสตรก์ ารเสริมสรา้ งความมั่นคงแห่งชาติเพ่อื การพัฒนาประเทศสูค่ วามม่ังคัง่ และย่งั ยืน
6. ยุทธศาสตร์การบริหารจดั การในภาครฐั การป้องกันการทจุ รติ ประพฤติมิชอบ และธรรมาภบิ าลในสังคมไทย
7. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและระบบโลจิสตกิ ส์
8. ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม
9. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาภาค เมือง และพ้ืนทเ่ี ศรษฐกจิ
10.ยุทธศาสตรค์ วามร่วมมือระหวา่ งประเทศเพอ่ื การพฒั นา

 ยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การศกึ ษาเพือ่ เสรมิ สรา้ งความมั่นคง
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
1. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความภาคภูมิใจและความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
2. ประชาชนในจงั หวัดชายแดนภาคใตอ้ ยูร่ ่วมกันอย่างมคี วามสุข ในสงั คมพหุวฒั นธรรม
3. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก สามารถดารงตนได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การผลติ และพฒั นากาลงั คนให้มสี มรรถนะในการแขง่ ขัน
เป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์
1. ประชากรวัยแรงงานมที กั ษะและสมรรถนะทัง้ ความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะดา้ นอาชีพสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของตลาดงาน และได้รับการส่งเสริม
สนับสนุนสู่ความเป็นเลิศ
2. ประชากรวยั ทางานมคี วามเช่ียวชาญ และมีความเป็นเลศิ เฉพาะด้าน

แผนปฏบิ ตั ริ าชการวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 7

ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้
เปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถตามช่วงวัย และมีศักยภาพรองรับการพัฒนาพ้ืนที่ เขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจ
จงั หวัดชายแดนภาคใต้
2. ประชาชนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้มกี ารเรียนรู้ตลอดชวี ติ พรอ้ มรับบริบทการเปล่ยี นแปลง ทั้งภายในและภายนอกประเทศ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางการศกึ ษา
เป้าหมายเชิงยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนกลุ่มทด่ี อ้ ยโอกาสทางสงั คมได้รับการชว่ ยเหลือใหม้ ีความพร้อมในการเข้าถึงบริการการศึกษา
2. ประชาชนได้รับโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพต่อเนื่องตลอดชวี ิต

ตรวจสอบได้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพ่ือเสริมสร้างคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายยทุ ธศาสตร์
1. ประชาชนมีองคค์ วามรูจ้ ติ สานึกในการใชแ้ ละการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
2. สถานศึกษาชมุ ชนมคี วามเข้มแขง็ ในการอนรุ ักษ์ฟนื้ ฟู ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา
เป้าหมายยุทธศาสตร์
1. ผเู้ รียน ครู คณาจารย์ บคุ ลากรทางการศกึ ษา และสถานศกึ ษา มคี วามปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ นิ มีขวัญกาลังใจในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี
2. หน่วยงาน/สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการและมีการทางานเชิงการบูรณาการกับทุกหน่วยงานในพ้ืนที่อย่างมีประสิทธิภา พทันสมัย โปร่งใส

3. ทุกภาคส่วนเขา้ มามสี ว่ นในการจัดการศกึ ษาในรปู แบบการสานพลงั ประชารฐั

แผนปฏบิ ัตริ าชการวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 8

 ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
- ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. 2560-2579) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซ่ึงจะต้องนาไปสู่

การปฏบิ ตั ิเพื่อใหป้ ระเทศไทยบรรลุวสิ ัยทศั น์ “ประเทศไทยมคี วามมั่นคง มง่ั คั่งย่งั ยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อ
ความสขุ ของคนไทยทกุ คน

- วิสัยทัศน์ประเทศ คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน ” โดย
ยกระดับศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโต
บนคุณภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพอื่ ประชาชนและประโยชน์สว่ นรวม โดยการประเมนิ ผลการพฒั นาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย

1) ความอยู่ดมี ีสขุ ของคนไทยและสังคมไทย
2) ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
3) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศ
4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม
5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม และความยั่งยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การและการเข้าถึงการให้บริการของภาครฐั
- ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประกอบ 6 ดา้ นท่ีสาคัญ ดังนี้
1. ด้านความมน่ั คง

(1) เสรมิ สรา้ งความมัน่ คงของสถาบันหลกั และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
(2) ปฏิรปู กลไกการบรหิ ารประเทศและพฒั นาความมัน่ คงทางการเมือง ขจดั คอรร์ ัปช่ัน สรา้ งความเชือ่ มัน่ ในกระบวนการยตุ ธิ รรม
(3) การรักษาความมนั่ คงภายในและความสงบเรียบรอ้ ยภายในตลอดจนการบรหิ ารจดั การความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล
(4) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความรว่ มมือระหว่างประเทศทกุ ระดับ และรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์กับประเทศมหาอานาจ เพื่อ
ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาความมนั่ คงรปู แบบใหม่
(5) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ สร้างความร่วมมือกับประเทศ
เพ่อื นบ้านและมิตรประเทศ

แผนปฏบิ ัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

ส่ิงแวดล้อม หนา้ | 9
ธรุ กจิ ฯลฯ
(6) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบรหิ ารจัดการภยั พิบัติ รักษาความมน่ั คงของฐานทรพั ยากรธรรมชาติสง่ิ แวดล้อม
(7) การปรับกระบวนการท างานของกลไกทีเ่ กีย่ วข้องจากแนวด่งิ สแู่ นวระราบมากขึ้น
2. ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
(1) การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกจิ สง่ เสริมการค้า การลงทุน พฒั นาสชู่ าตกิ ารค้า
(2) การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็ง ยั่งยืน และส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยสู่เกษตรยั่งยืนเป็นมิตรกับ

(3) การพัฒนาผ้ปู ระกอบการและเศรษฐกจิ ชมุ ชน พฒั นาทักษะ ผูป้ ระกอบการ ยกระดบั ผลิตภาพแรงงานและพัฒนา SMEs สสู่ ากล
(4) การพัฒนาพ้นื ทเ่ี ศรษฐกิจพิเศษและเมือง พฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ชายแดน และพัฒนาระบบเมืองศนู ย์กลางความเจรญิ
(5) การลงทนุ พัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน ดา้ นการขนส่ง ความมัน่ คงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการวิจยั และพฒั นา
(6) การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วน การพัฒนากับนานาประเทศ ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบ

3. ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน
(1) พฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต
(2) การยกระดบั การศึกษาและการเรยี นรใู้ หม้ ีคณุ ภาพเทา่ เทียมและท่วั ถึง
(3) ปลูกฝงั ระเบียบวินยั คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์
(4) การสรา้ งเสริมใหค้ นมีสุขภาวะทดี่ ี
(5) การสรา้ งความอยูด่ ีมีสุขของครอบครวั ไทย

4. ดา้ นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสงั คม
(1) สรา้ งความม่นั คงและการลดความเหลื่อมลา้ ทางเศรษฐกจิ และสังคม
(2) พฒั นาระบบบรกิ ารและระบบบรหิ ารจดั การสขุ ภาพ
(3) มสี ภาพแวดล้อมและนวตั กรรมที่เอ้ือต่อการดารงชีวติ ในสังคมสงู วัย
(4) สร้างความเข้มแขง็ ของสถาบนั ทางสงั คม ทนุ ทางวฒั นธรรมและ ความเข้มแข็งของชุมชน
(5) พฒั นาการส่อื สารมวลชนให้เปน็ กลไกในการสนบั สนุนการพัฒนา

แผนปฏบิ ตั ริ าชการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 10

5. ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม
(1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟืน้ ฟแู ละป้องกนั การทาลาย ทรพั ยากรธรรมชาติ
(2) วางระบบบรหิ ารจดั การนา้ ใหม้ ีประสิทธิภาพทง้ั 25 ลุ่มน้า เนน้ การปรบั ระบบการบรหิ ารจดั การอทุ กภัย อยา่ งบูรณาการ
(3) การพฒั นาและใชพ้ ลงั งานท่ีเปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม
(4) การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศและเมืองท่เี ป็น มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม
(5) การร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัวให้พร้อมกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (6) การใช้เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบาย

การคลัง เพอื่ สิง่ แวดล้อม
6. ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
(1) การปรบั ปรงุ โครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน ภาครัฐ ใหม้ ขี นาดทเ่ี หมาะสม
(2) การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ
(3) การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การกาลงั คนและพฒั นา บุคลากรภาครฐั
(4) การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ
(5) การปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ
(6) ใหท้ นั สมยั เปน็ ธรรมและเปน็ สากล
(7) พัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหนว่ ยงานภาครฐั
(8) ปรับปรุงการบรหิ ารจัดการรายได้และรายจ่ายของภาครฐั

แผนปฏบิ ตั ริ าชการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 11

ภาพที่ 1 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

 แผนกลยุทธ์การศกึ ษาของวิทยาลัยชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
เป็นวางกรอบทศิ ทางการพัฒนาสถาบันวทิ ยาลัยชุมชนให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยได้จัดทาเป้าหมายผลสาเร็จของการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ใน

ระยะ 5 ปี เพอ่ื การบรรลวุ สิ ยั ทัศนร์ ะยะ 20 ปี โดยกาหนดวิสัยทศั น์ เป้าหมายและแนวทางดาเนินการสาคัญ ๆ ของแตล่ ะเปา้ หมายภายใต้ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์
1. วสิ ยั ทศั น์ “สถาบันวิทยาลยั ชุมชนคุณธรรม สรา้ งสรรค์นวัตกรรมชมุ ชน เพ่อื พฒั นาคนและสังคมอย่างยั่งยนื ”
2. เปา้ หมาย ยุทธศาสตรร์ ะยะ 20 ปีกาหนดเปา้ หมายการพฒั นาในแต่ละระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 ชว่ ง 5 ปแี รก เป้าหมายคือ ปรบั การบรหิ ารและการดาเนินการตามพันธกิจในเชิงรุกให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง (Renovate Community

College) โดยการสร้างความเขม้ แขง็ ของวัฒนธรรมองค์กรและธรรมาภิบาล

แผนปฏิบัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 12
ระยะที่ 2 ปีท่ี 6 – 10 (ระยะ 10 ป)ี เป้าหมาย คอื ผนึกกาลงั ทกุ ภาคส่วนเพือ่ สร้างสรรคน์ วตั กรรมสู่ชุมชน และเป็นวิทยาลัยขุมชนท่ีมีความเป็นเลิศ
เฉพาะทางที่สอดคล้องกับบริบทชุมชน(Community Engagement) และเป็นที่ยอมรับ โดยสถาบันวิทยาลัยชุมชนจะต้องเป็นผู้นา/สร้างความรอบรู้เท่าทัน (Mastery)
เพือ่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ของทกุ กลมุ่ เป้าหมายของคนตลอดชว่ งชีวติ
ระยะที่ 3 ปที ี่ 11 – 15 (ระยะ 15 ปี) เปา้ หมาย คือ สรา้ งชมุ ชนตน้ แบบนวตั กรรมทุกวทิ ยาลัย
ชุมชน สร้างภาคีเครือข่ายท้ังใน/ต่างประเทศในการสรรค์สร้างนวัตกรรมสู่ชุมชน และสร้างชุมชนแห่งภูมิปัญญาเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนา
ชุมชนอย่างย่ังยืน (Full Community Innovation) โดยการสร้างพ้ืนท่ีแห่งการเรียนรู้ (The Best Learning Platform) สาหรับผู้ด้อยโอกาสหรือประชาชนในการเรียนรู้
ตลอดชีวติ
ระยะที่ 4 ปีท่ี 16 – 20 (ระยะ 20 ปี) เป้าหมายคือ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน (Community Innovative
Sustainability) โดยการเป็นผู้นาชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้(Learning Community) ยกระดบั เศรษฐกจิ ชุมชน และคณุ ภาพชีวติ

แผนปฏบิ ตั ริ าชการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 13

ภาพที่ 2 เป้าหมายของยุทธศาสตรส์ ถาบันวทิ ยาลยั ชุมชนในแตล่ ะระยะ 5 ปี
แผนปฏิบตั ริ าชการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 14

3. ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การบริหารจดั การเชิงรุกและธรรมาภบิ าล
เปา้ หมายที่ 1.1 สรา้ งความเขม้ แข็งของวัฒนธรรมองคก์ รทีม่ งุ่ เนน้ ผลลพั ธ์ แนวดาเนนิ การ
1.1.1 สร้างค่านยิ มร่วมองค์กรให้เป็นองค์กรท่ีมุ่งการท างานเพื่อความเป็นเลิศ ได้แก่ ค่านิยม การท างานแบบมีส่วนร่วม ค่านิยมการท างานเป็น

ทมี คา่ นยิ มความรักความผูกพันในองค์กร เป็นต้น
1.1.2 สรา้ งวัฒนธรรมการท างานบนฐานความร/ู้ ขอ้ มลู ขอ้ เท็จจรงิ การส่งเสริมให้มีการส่ือสาร/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้บุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง

ทง้ั ที่เปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ
เปา้ หมายที่ 1.2 มีระบบบรหิ ารจัดการเชงิ รกุ และการใหบ้ ริการท่ีดมี ปี ระสิทธิภาพ แนวดาเนนิ การ
1.2.1 เร่งรดั การจัดระบบการบริหารงานบุคคลให้รองรบั พระราชบญั ญัตสิ ถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน พ.ศ. 2558
1.2.2 เรง่ รัดการจดั ทากรอบอัตรากาลังเพ่ือรองรับโครงสร้างองค์กรทั้งระดับสานักงานสถาบัน ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 วิสัยทัศน์

ระยะ 20 ปี “สถาบันวิทยาลัย ชุมชนคุณธรรม สร้างสรรค์นวัตกรรม ชุมชนเพ่ือพัฒนาคน และสังคมอย่าง ย่ังยืน” Full Community Innovation สร้างชุมชนต้นแบบ
นวัตกรรม ทุกวิทยาลัยชุมชน สร้างภาคี เครือข่ายท้ังใน/ต่างประเทศใน การสรรค์สร้างนวัตกรรมสู่ชุมชน และสร้างชุมชนแห่งภูมิปัญญา เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนา
ชุมชนอย่างย่ังยืน Community Innovative Sustainability พัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนในชุมชนให้มีความ มั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน พ.ศ. 2576- 2580 พ.ศ. 2571- 2575
Community engagement ผนึกกาลังทุกภาคส่วน เพ่ือ สร้างสรรค์สร้างนวัตกรรมสู่ ชุมชน และเป็นวิทยาลัยชุมชน ที่มีความเป็นเลิศเฉพาะทางท่ี สอดคล้องกับบริบท
ของชมุ ชน และเปน็ ทย่ี อมรับ พ.ศ. 2566- 2570 พ.ศ. 2561- 2565 Renovate Community College ปรบั การบริหาร และการดาเนินการตามพันธกิจในเชิงรุกให้ทันต่อ
การ เปลย่ี นแปลง ง และวทิ ยาลยั

1.2.3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารด้านการเงินและงบประมาณ ต้ังแต่การจัดทางบประมาณ ที่ตอบโจทย์เชิงพ้ืนท่ี และพัฒนาระบบการบริหาร
การจดั สรรและการใช้จา่ ยงบประมาณท่เี ช่อื มโยงกบั ระบบ รายงานผลของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ

1.2.4 จดั ระบบการยกย่องเชดิ ชเู กียรตบิ ุคลากรทกุ ประเภทที่มคี วามดหี รือมผี ลงานเดน่
1.2.5 พฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานของวิทยาลัยชุมชนใหม้ ีความพร้อมในการบริการตามพนั ธกจิ
1.2.6 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหารจดั การให้มีประสิทธภิ าพ
1.2.7 จัดทาแผนพัฒนาและแผนกลยุทธ์ของสถาบันวิทยาลัยชุมชนระยะปานกลางท่ีสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี และเชื่อมโยงกับ
เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ/แผนปฏริ ปู ประเทศ

แผนปฏบิ ตั ริ าชการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 15

เปา้ หมายที่ 1.3 ขยายพน้ื ทใี่ หบ้ ริการจัดการศกึ ษาและบรกิ ารทางวิชาการ แนวดาเนินการ
1.3.1 จดั ตัง้ วิทยาลัยชุมชนใหม่เพื่อเพิ่มโอกาสการเขา้ ถึงการศกึ ษา
1.3.2 ขยายพ้นื ทบ่ี ริการเพอ่ื เพิม่ โอกาสการเขา้ ถึงการศึกษาในพน้ื ท่ีท่เี ป็นรอยตอ่ /ชายขอบของ จงั หวดั ใกล้เคยี ง
1.3.3 จัดระบบการบริหารจัดการหน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนให้มีประสิทธิภาพ มีความพร้อม ให้บริการในทุกพ้ืนท่ี มีรูปแบบการจัด
การศึกษาท่ีหลากหลาย และเข้าถงึ ได้ง่าย
เป้าหมายที่ 1.4 กระจายอานาจการบริหารจดั การให้เกดิ ความคล่องตัว แนวดาเนินการ
1.4.1 เร่งรัดทบทวนหรอื ปรบั ปรงุ /แกไ้ ขขอ้ บงั คับ ระเบยี บ ประกาศฯ ให้เกิดความคลอ่ งตัว มากข้นึ
เปา้ หมายท่ี 1.5 มงุ่ สู่การเปน็ สถาบันวิทยาลยั ชุมชนคณุ ธรรม แนวดาเนนิ การ
1.5.1 สง่ เสรมิ การพฒั นาสถาบนั ใหม้ รี ะบบการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล
1.5.2 ส่งเสริมให้กรรมการสภาสถาบัน กรรมการสภาวิทยาลัย ผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร ผู้เรียน และผู้รับบริการทางการศึกษามีส่วนร่วมสร้าง
สถาบันวทิ ยาลัยชมุ ชนคุณธรรม
1.5.3 สง่ เสริมให้วทิ ยาลยั ชุมชน เปน็ พ้ืนทส่ี รา้ งความดี และสร้างคนดีให้ชุมชน

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ เพ่อื เสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพชุมชน
เปา้ หมายท่ี 2.1 คนในชุมชนมโี อกาสเข้าถึงการจัดการศึกษาตลอดชีวิต แนวดาเนนิ การ
2.1.1 พัฒนาหลกั สูตรใหต้ อบสนองความตอ้ งการของชุมชน ตลาดแรงงาน ทงั้ ระดบั ชมุ ชน จงั หวดั ประเทศ และตา่ งประเทศ
2.1.2 จัดการศึกษา/กระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายด้วยรูปแบบดิจิตัล ให้ตอบสนองวิธีการ จ เข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของคนทุกกลุ่มอาชีพ
และกลุม่ วยั ต่างๆ ใหม้ ากขนึ้
2.1.3 พัฒนาระบบการเทยี บโอนผลการเรียนรูแ้ ละระบบสะสมหนว่ ยกิตที่เอ้อื ต่อการเข้าถึง การจดั การศกึ ษาท่หี ลากหลาย
2.1.4 เรง่ รัด/ปรับปรงุ ระเบียบ กฎหมาย ขอ้ บังคับให้เอือ้ ต่อวธิ ีการจดั การศึกษาทหี่ ลากหลาย
เป้าหมายที่ 2.2 ผูส้ าเรจ็ การศกึ ษามีคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ตามหลักสูตรวิทยาลัยชมุ ชน แนวดาเนินการ
2.2.1 สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รียน
2.2.2 จัดทามาตรฐานการวัดและประเมนิ ผลคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ตามหลักสตู รวิทยาลัยชมุ ชน

แผนปฏบิ ัตริ าชการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 16

2.2.3 มรี ะบบประเมนิ ผลสมั ฤทธก์ิ ารจดั การศกึ ษาของวิทยาลยั ชมุ ชน
เป้าหมายที่ 2.3 มแี หล่งเรยี นรู้ และนวตั กรรมการเรยี นรู้รูปแบบดจิ ทิ ัลใหม้ คี ณุ ภาพและ มาตรฐาน แนวดาเนนิ การ
2.3.1 จัดทาฐานขอ้ มลู และพฒั นาแหล่งเรียนรู้
2.3.2 พัฒนานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้
เปา้ หมายที่ 2.4 มีระบบการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active learning) และการเรียนรแู้ บบมีสว่ นรว่ ม แนวดาเนินการ
2.4.1 พัฒนาสมรรถนะครใู ห้มีทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
2.4.2 กาหนดมาตรการจงู ใจเพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพการจดั การเรียนการสอนแบบเชงิ รกุ (active learning)
เปา้ หมายที่ 2.5 ผู้สงู อายแุ ละผพู้ กิ ารได้รับโอกาสทางการศกึ ษา เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และ การมงี านท า แนวดาเนนิ การ
2.5.1 ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา พฒั นาคณุ ภาพชีวิต และการมงี านท าใหก้ ับผู้สูงอายแุ ละ ผพู้ ิการ

ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การวิจัยและพัฒนานวตั กรรมเพอ่ื การพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตในชุมชน
เปา้ หมายท่ี 3.1 สร้างศักยภาพการวิจยั และสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมโดยใช้โจทย์วิจัยจากชมุ ชน แนวดาเนนิ การ
3.1.1 พัฒนาระบบบริหารจดั การด้านการวจิ ัย ไดแ้ ก่ การพัฒนาบคุ ลากรด้านการวิจัย พัฒนา ระบบฐานข้อมูลด้านการวิจัย จัดทาวารสารวิชาการ
จดั ให้มเี วทนี าเสนอผลงานวิจัย และระบบยกย่อง เชดิ ชเู กยี รตินักวจิ ยั
3.1.2 วิจยั และพัฒนานวตั กรรมเพือ่ แกป้ ญั หาและสร้างความเข้มแข็งโดยใชโ้ จทย์วิจยั จาก ชมุ ชน
3.1.3 พฒั นางานวจิ ยั เพื่อสรา้ งองค์ความรพู้ ื้นฐานของสังคมและชมุ ชน
เป้าหมายที่ 3.2 น าผลงานวิจยั ไปใช้ในการสรา้ งมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและยกระดบั คณุ ภาพ ชวี ิตของคนในชุมชน แนวดาเนนิ การ
3.2.1 ส่งเสริมการน าผลงานวจิ ัยภายนอกมาใชป้ ระโยชนเ์ พ่อื สร้างมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกิจและ ยกระดบั คุณภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน
เป้าหมายท่ี 3.3 สรา้ งความเป็นเลศิ ท่เี ป็นอตั ลกั ษณ์ของวทิ ยาลัยชุมชนแต่ละพน้ื ท่ี แนวดาเนินการ
3.3.1 สง่ เสริมให้วิทยาลยั ชุมชนสร้างความเปน็ เลิศเฉพาะตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี
เป้าหมายท3ี่ .4 วิจัยและพฒั นาศักยภาพศูนย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชน แนวดาเนนิ การ
3.4.1 ส่งเสรมิ ใหม้ งี านวจิ ัยและพฒั นาองค์ความรู้เพ่ือถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสชู่ ุมชน
3.4.2 จดั สรรทรัพยากรสนบั สนนุ ให้เกดิ การจัดต้งั ศูนยพ์ ฒั นา ถ่ายทอด ภูมิปญั ญา เทคโนโลยี และนวัตกรรมชุมชน

แผนปฏบิ ัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 17

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือเพ่อื การพฒั นาความเขม้ แข็งของชุมชนอยา่ ง ย่ังยนื
เป้าหมายที่ 4.1 สถาบันมีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ การจัดการศึกษาและการระดม ทรัพยากร ท้ังในประเทศหรือต่างประเทศ แนว
ดาเนินการ
4.1.1 จัดการศึกษา/บริการวิชาการร่วมกับเครือข่ายสถาบัน องค์กรเพ่ือส่งเสริมการจัด การศึกษาที่เช่ือมโยงเครือข่ายและทักษะอาชีพท่ีได้มาตรฐาน
เชน่ มาตรฐานของกรมพัฒนาฝีมอื แรงาน มาตรฐานของสถาบันคณุ วฒุ ิวชิ าชพี (สคช.) มาตรฐานที่เปน็ ความร่วมมือระหว่างประเทศ เป็นตน้
4.1.2 ออกระเบียบ ขอ้ บังคบั ของสถาบันที่เออ้ื ให้เกิดการจดั การศึกษาร่วมหรือที่เชื่อมโยง เครอื ขา่ ย
4.1.3 แสวงหาความร่วมมอื ทางวิชาการร่วมกับเครอื ขา่ ยสถานประกอบการ หรือ สถาบันการศกึ ษาท้ังในและต่างประเทศ
4.1.4 ส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพ่อื การจดั การศึกษารว่ มกับเครือข่าย
4.1.5 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การขอจดลขิ สทิ ธ์ิ สิทธิบตั ร/อนุสทิ ธบิ ตั รผลิตภัณฑ์/นวัตกรรม วิทยาลยั ชุมชน
เป้าหมายที่ 4.2 วิทยาลัยชุมชนมีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยชุมชน กับชุมชน และหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ทานุ
บารุงศลิ ปวฒั นธรรม และการระดมทรพั ยากร แนวดาเนินการ
4.2.1 สรา้ งและเช่อื มโยงเครือข่ายการจดั การศกึ ษา/บรกิ ารวชิ าการ ทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม รูปแบบวทิ ยาลัยชมุ ชนที่ได้มาตรฐาน เช่น มาตรฐาน
ของกรมพัฒนาฝมี อื แรงาน มาตรฐานของ สถาบนั คุณวุฒิวิชาชีพ (สคช.) มาตรฐานที่เป็นความร่วมมอื ระหว่างประเทศ เป็นตน้
4.2.2 ส่งเสรมิ การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การจัดการศกึ ษารว่ มกบั เครือขา่ ย
4.2.3 พฒั นาศักยภาพเครือข่ายการจัดการศึกษารปู แบบวทิ ยาลยั ชุมชน
4.2.4 สร้างสมั พันธภาพเครือข่ายการจัดการศึกษารปู แบบวทิ ยาลยั ชมุ ชน

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การสร้างผู้นาการเปลย่ี นแปลง และผ้ปู ระกอบการในชุมชน
เปา้ หมายท่ี 5.1 สรา้ งผู้นาการเปลี่ยนแปลงของชุมชน แนวดาเนนิ การ
5.1.1 สร้างผนู้ าการเปล่ียนแปลงในชมุ ชน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ตลอดชวี ติ
5.1.2 สรา้ งผนู้ ารนุ่ ใหมใ่ นพ้นื ที่จังหวดั แดนภาคใต้
เป้าหมายท่ี 5.2 ส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพผู้ประกอบการในชุมชน แนวดาเนนิ การ
5.2.1 สรา้ งผ้ปู ระกอบการรายใหมท่ ี่จะทาใหเ้ กิดธรุ กิจในการสรา้ งมลู คา่ เพ่ิมทางเศรษฐกจิ ของ ชุมชน

แผนปฏบิ ัตริ าชการวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 18

5.2.2 พฒั นาผปู้ ระกอบการรายเดิมให้สามารถดาเนินธรุ กจิ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล
เปา้ หมายท่ี 5.3 สง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยความรว่ มมือการสรา้ งผู้ประกอบการชมุ ชน แนวดาเนนิ การ
5.3.1 สร้างความรว่ มมอื กับเครอื ข่ายผูป้ ระกอบการในพนื้ ที่เพื่อวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์
5.3.2 มีกลไกการเข้าถงึ แหลง่ ทรัพยากรทสี่ นับสนนุ การเปน็ ผปู้ ระกอบการ
เปา้ หมายที่ 5.4 พฒั นาชอ่ งทางการตลาดสาหรับผูป้ ระกอบการในชุมชน แนวดาเนนิ การ
5.4.1 ส่งเสรมิ ใหผ้ ้ปู ระกอบการนาเทคโนโลยี (Technology) มาประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดการ ชอ่ งทางการตลาด
5.4.2 แสวงหาพนั ธมิตร (Alliance) เพ่ือเพม่ิ ชอ่ งทางการตลาด

 กรอบแผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 15 ปี ฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2551-2565)
1) เปา้ หมาย
- ยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทย เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพสามารถปรับตัวสาหรับงานที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต พัฒนาศักยภาพอุดม

ศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัตน์ สนับสนุนการพัฒนาที่ย่ังยืนของท้องถ่ินไทย โดยใช้กลไกของ
ธรรมาภบิ าล การเงนิ การกากับมาตรฐาน และเครือขา่ ยอุดมศึกษาบนพ้นื ฐานของเสรภี าพทางวชิ าการ ความหลากหลาย และเอกภาพเชงิ ระบบ

2) แนวทางการพฒั นาการแก้ปญั หาอุดมศกึ ษา การไรท้ ศิ ทาง ความซ้าซอ้ น การขาดคุณภาพ การขาดประสิทธภิ าพ
2.1 ให้พัฒนาเพื่อการจดั สถาบนั อุดมศึกษา 4 กลมุ่ (Category) คือ
- กลมุ่ วิทยาลัยชุมชน (Community Colleges)
- กลุม่ มหาวิทยาลยั ส่ปี ี (4 – year University) และมหาวิทยาลยั ศิลปศาสตร์ (Liberal Arts University)
- กลมุ่ มหาวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเฉพาะทาง (Specialized University) มหาวทิ ยาลยั Comprehensive
- กลมุ่ มหาวิทยาลัยวิจยั (Research University) และมหาวทิ ยาลยั บณั ฑติ ศกึ ษา (Graduate University)
2.2 ทุกระดับในกลุ่มอดุ มศึกษาท้ังสี่ ควรมกี ลไกรว่ มกันในการปรับคุณภาพ ใหน้ กั ศึกษาสามารถตอ่ ยอดถา่ ยโอนแลกเปล่ียนกนั ไดร้ ะหว่างกลมุ่
2.3 ระบบวทิ ยาลยั ชุมชนอย่ใู นช่วงเรมิ่ ก่อตัง้ จะมีการขยายตัวต่อไป มีลักษณะสาคัญ คือ วิทยาลัยชุมชนควรเป็นกลไกบริหารจัดการ ใช้หลัก Co-

location โดยอาศัยโครงสร้างพ้ืนฐานกายภาพ (อาคาร อุปกรณ์) ท่ีมีอยู่แล้วของมหาวิทยาลัย ของสถาบันการศึกษาอื่นของกระทรวงศึกษาธิการ และของหน่วยงานทั้ง
ภาครฐั และเอกชน ก่อนการลงทนุ ทางกายภาพ เน้นการระดมทรพั ยากรจากพ้ืนที่ ใชท้ รพั ยากรบคุ คลในพ้ืนท่ี

แผนปฏบิ ัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 19

2.4 ปรัชญาของวิทยาลัยชุมชน (และการต่อยอดที่มหาวิทยาลัย 4 ปี) จะรองรับหลักพื้นฐานของการสร้างคนใช้ชุมชน จัดหลักสูตรตามความ
ต้องการของชมุ ชน ทาโจทยจ์ รงิ จากชุมชน รกั ษาคนมปี ระสบการณ์และความรู้เพ่อื พัฒนาท้องถน่ิ ของตน ใช้และระดมทรพั ยากรที่มใี นพน้ื ที่ รวมท้งั บรหิ ารร่วมโดยชมุ ชน

2.5 กลไกวิทยาลยั ชุมชน
- จัดหลกั สตู รอนปุ รญิ ญาและการฝึกอาชพี
- สร้างกาลังคนคณุ ภาพและจานวน เพยี งพอตอ่ ภารกิจของชุมชน รองรบั การกระจายอานาจและความรบั ผดิ ชอบสูท่ ้องถ่นิ
- ร่วมกับมหาวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษา ภาคการผลิตจรงิ และหนว่ ยงานด้านการพฒั นาแรงงานเพือ่ ปรบั แรงงานทอี่ อกจากภาคเกษตร เพื่อเตรียม

เข้าสู่ภาคบริการและภาคอุตสาหกรรม ในพ้ืนที่บริการของวิทยาลัยชุมชน รวมท้ังยกความรู้สมรรถนะทักษะของผู้ทางานในภาคการผลิตจริง เพ่ือเพ่ิมผลิตภาพ รองรับ
การเปลี่ยนงานและเปลยี่ นอาชีพของพ้นื ทีบ่ รกิ าร

- โจทย์ของท้องถิ่น การสร้างคนให้ท้องถิ่น เป็นภารกิจสาคัญของวิทยาลัยชุมชนและมหาวิทยาลัย 4 ปี ผลงานทั้งการผลิตคนและการสร้าง
องค์ความรรู้ ะดบั ทอ้ งถน่ิ จะเป็นผลงานทางวชิ าการท่ีมีคุณค่าต่อสังคมและเทยี บเทา่ ผลงานวิจัยอื่นได้เชน่ กัน

 แผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
นโยบายดา้ นการศึกษาของชาติแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) ที่จะ บรรลุวิสัยทัศน์ระยะ 20 ปี คือ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและ

เรียนรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งมคี ณุ ภาพ ดารงชวี ติ อย่างเปน็ สขุ สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลก ศตวรรษที่21” โดยวางเป้าหมายไว้
2 ดา้ น คือ เปา้ หมายเดน่ ผู้เรยี น (Learner Aspirations) โดยม่งุ พัฒนาผเู้ รียนทกุ คนให้มี คณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วย ทักษะ
และคณุ ลกั ษณะ ตอ่ ไปน้ี

✥ 3Rs ไดแ้ ก่ การอา่ นออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetics)
✥ 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้าน
การสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้าน
ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา ( Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันส่ือ
(Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะ
อาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมเี มตตา กรณุ า มวี นิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

แผนปฏิบัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 20

เป้าหมายของการจดั การศึกษา (Aspirations) 5 ประการ ซง่ึ มตี วั ช้วี ัดเพื่อการบรรลุ เป้าหมาย 53 ตัวช้ีวัด ประกอบด้วย เป้าหมายและตัวช้ีวัดท่ีสาคัญ
ดงั น้ี

(1) ประชากรทุกคนเขา้ ถงึ การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพและมมี าตรฐานอยา่ งทัว่ ถงึ (Access) มตี วั ชว้ี ดั ท่ีสาคญั
(2) ผูเ้ รียนทกุ คน ทกุ กลุม่ เป้าหมายได้รับ บรกิ ารการศกึ ษาท่มี คี ุณภาพตามมาตรฐานอยา่ งเทา่ เทียม (Equity)
(3) ระบบการศึกษาท่ี มีคณุ ภาพ สามารถพฒั นาผูเ้ รียนให้บรรลขุ ดี ความสามารถเต็มตามศกั ยภาพ (Quality)
(4) ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาที่มปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ การลงทุนทาการศึกษา ท่ีค้มุ คา่ และบรรลเุ ป้าหมาย (Efficiency)
(5) ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทนั การเปลี่ยนแปลง ของโลกทเี่ ปน็ พลวตั และบรบิ ททีเ่ ปลย่ี นแปลง (Relevancy)
ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และตัวชี้วัดของแผนการศึกษาแห่งชาติได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการ พัฒนาการศึกษาภายใต้6 ยุทธศาสตร์หลัก 2 ท่ีสอดคล้อง
กบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี เพื่อให้แผนการศึกษา แหง่ ชาติบรรลเุ ป้าหมายตามจุดมุ่งหมาย วสิ ัยทัศน์ และแนวคิดการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น โดยยุทธศาสตร์ท่ีเช่ือมโยง
กบั เป้าหมาย/ผลผลิตของสถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน ดงั นี้
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา มีเปา้ หมาย ดงั น้ี
(1) ผูเ้ รียนทกุ คนได้รบั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาท่ีมีคุณภาพ
(2) การเพ่มิ โอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือการศกึ ษาสาหรับคนทุกชว่ งวัย
(3) ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลมุ ถกู ตอ้ งเปน็ ปจั จบุ ัน เพอื่ การวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน
และรายงานผล
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม มเี ปา้ หมาย ดังน้ี
(1) คนทุกช่วงวยั มจี ิตสานกึ รักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
(2) หลักสตู ร แหลง่ เรยี นรู้ และส่อื การเรยี นรู้ทส่ี ่งเสริมคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ิ
(3) การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาองค์ความรูแ้ ละนวตั กรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตท่เี ป็น มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม

แผนปฏิบัตริ าชการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 21

 แผนพัฒนาจงั หวัดสงขลา (พ.ศ. 2561-2565) ฉบับทบทวนปี 2563
เป้าหมายการพัฒนาจงั หวดั สงขลา
“สงขลา ศนู ยก์ ลางเศรษฐกจิ ภาคใต้ ประชาชนมคี ุณภาพ สิง่ แวดล้อมย่งั ยนื ”
พนั ธกิจ
1. พัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การทอ่ งเทยี่ ว อตุ สาหกรรมเกษตร เพื่อรองรบั การพฒั นาเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ และเปน็ ศูนยก์ ลางเศรษฐกจิ ภาคใต้
2. พฒั นาสงขลาให้เปน็ สงั คมแห่งการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต ประชาชนมีคณุ ภาพ
3. จัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เพ่อื เปน็ ฐานการผลิตและการพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื
4. พฒั นาสงขลาให้ประชาชนมีความมั่นคง ปลอดภยั
ประเดน็ ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเด็นการพฒั นาท่ี 1: พัฒนาภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การค้า การลงทนุ การท่องเท่ยี วและบรกิ าร โครงสร้างพ้นื ฐาน และระบบโลจสิ ติกส์
ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 : พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนบนฐานความรแู้ ละพหวุ ฒั นธรรม
ประเด็นการพัฒนาท่ี 3 : อนุรักษ์และฟ้นื ฟทู รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาท่ี 4 : เสรมิ สรา้ งความมั่นคงและความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน
จดุ เน้นทางยทุ ธศาสตร์ (Strategic Positioning)
การสร้างฐานรายไดใ้ หม่ : เร่อื ง เขตเศรษฐกิจพิเศษ
การรกั ษาฐานรายไดเ้ ดมิ : เร่อื ง การคา้ ชายแดน
: เรือ่ ง การทอ่ งเทยี่ ว
: เร่ือง การเกษตร
: เรื่อง อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล
: เรอื่ ง อุตสาหกรรมต่อเนื่องยางพารา

แผนปฏิบัตริ าชการวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หนา้ | 22

 แผนพฒั นาการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2565) จังหวัดสงขลา
วสิ ัยทศั น์ (Vision)
สังคมแหง่ การเรยี นรคู้ คู่ ณุ ธรรม นาคุณภาพ สูค่ วามสุขท่ยี ั่งยืน

นิยามวสิ ยั ทศั น์
สงั คมแห่งการเรียนรู้ หมายถึง การจัดการศึกษาให้แกผ่ ้เู รียนทุกเพศ ทกุ วัย ทกุ ระดับและ
ผู้ดอ้ ยโอกาสเพื่อการแสวงหาความรู้ในการดารงตน การมีอาชีพและการแข่งขนั ในสังคมโลก
คู่คุณธรรม หมายถึง ดารงตนเป็นคนดีตามรอยเบื้องพระยุคลบาทโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้เง่ือนไขความรู้คู่คุณธรรม ภายใต้
ค่านยิ ม "เกิดมาตอ้ งตอบแทนบญุ คณุ แผน่ ดิน"
นาคุณภาพ หมายถึง จดั ระบบการศึกษาโดยให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาในทุกระดับสู่ความสุขที่ยั่งยืน หมายถึงสร้างความตระหนักและ
ดาเนินภารกจิ ภายใต้การอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ มและเพ่ิมระดับคุณภาพชีวติ ทย่ี ง่ั ยนื

พนั ธกจิ (Mission)
1. ส่งเสริมสังคมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ รกั ษส์ ่งิ แวดล้อมและพฒั นาอย่างยัง่ ยืน
2 พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรู้คคู่ ุณธรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเรียนรูส้ อู่ าชีพในภูมิภาคอาเซียน
3. ส่งเสริมโอกาสาการเข้าถึงบริการการศึกษาของประชาชนอยา่ งทัว่ ถงึ และเกิดการเรียนรู้ตลอดชวี ิต
4. ยกระดบั คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาสู่สากล
5. พัฒนาระบบบริหารจดั การศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล
6. พฒั นาระบบการบรหิ ารและการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของบรบิ ทเชิงพนื้ ที่สอดรับกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษสงขลา
7. พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของบริบทเชิงพ้ืนท่ี สอดรับกับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน
ภาคใต้

แผนปฏิบัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หน้า | 23

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาการจัดการศกึ ษาเพื่อความม่ันคง
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นากาลังคนการวิจัยเพอ่ื สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาศักยภาพคนใหม้ คี ุณภาพ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 สร้างโอกาสและความสมอภาคทางการศกึ ษา
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ส่งเสรมิ และจัดการศกึ ษาเพื่อเสรมิ สร้างคณุ ภาพชวี ิตท่เี ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 7 การจัดการศึกษาเพอ่ื การพฒั นาชมุ ชนและสงั คมอยา่ งยัง่ ยนื ตามพระราโชบาย

เปา้ ประสงค์
1. ประชาชนมีการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ อนุรักษ์ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ รกั ษส์ ่ิงแวดล้อม และพัฒนาอย่างยัง่ ยนื
2. ผเู้ รียนมคี วามรู้ ค่คู ณุ ธรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเรียนรสู้ ู่อาชีพในภมู ิภาคอาเซียน
3. ประชาชนมโี อกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาอย่างทั่วถึง และเกดิ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ
4. หน่วยงานทางการศกึ ษายกระดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติส่ไู ทยแลนด์ 4.0
5. หน่วยงานทางการศึกษามีระบบบริหารจดั การศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าลภายใต้หลักการมีส่วนรว่ มและบรู ณาการการทางานเพ่ือใหเ้ กดิ ความคมุ้ ค่า
6. หน่วยงานทางการศึกษาจดั การศกึ ษาให้ผเู้ รียนมีความรู้และทักษะด้านวชิ าชพี พร้อมเข้าสตู่ ลาดแรงงานในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษสงขลา
7. หนว่ ยงานทางการศกึ ษาพัฒนารปู แบบการจัดการศึกษาท่เี หมาะสมกับบริบทเชิงพื้นท่ี
8. หนว่ ยงานทางการศกึ ษามกี ารบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาท่ีสอดคล้องกับบรบิ ทเชงิ พื้นท่ีในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

แผนปฏิบตั ริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

24

บทท่ี 2
ขอ้ มูลพืน้ ฐานของวิทยาลยั ชุมชนสงขลา

 ความเป็นมาของวิทยาลัยชุมชนสงขลา
วิทยาลยั ชุมชนสงขลา เกดิ ขน้ึ จากความร่วมมือระหว่างกระทรวงศกึ ษาธิการโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากับศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดน

ภาคใต้ ที่มงุ่ ดาเนินงานจดั การศึกษาให้ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาพื้นทีพ่ ัฒนาพเิ ศษภาคใต้ ตามยุทธศาสตร์เสริมสร้างความมั่นคงด้วยการจัดโอกาสและ
คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาใหก้ ับคนในพ้ืนท่ี โดยมคี วามเช่ือว่าการศกึ ษาจะเปน็ กลไกสาคัญต่อการแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ท่ีย่ังยืน ดังน้ันกระทรวงศึกษาธิการ
จงึ ไดป้ ระกาศจดั ตง้ั วิทยาลัยชุมชนสงขลาข้ึน เมื่อวนั ที่ 24 สิงหาคม 2550 ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ากว่าปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน
พ.ศ. 2546 และยึดหลกั สาคัญในการดาเนินงาน คอื “วิทยาลยั ชุมชนเป็นสถานศกึ ษาของรัฐทีบ่ ริหารจดั การโดยชุมชน”

ปีงบประมาณ 2550 ซึ่งเป็นปีแรกของการดาเนินงาน ได้รับงบประมาณสนับสนุนทั้งหมดจานวน 33,000,000 บาทจากศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ (ศอ.บต.) ซ่ึงมีผู้ประสานงานที่สาคัญคือนายประเสริฐ แก้วเพ็ชร ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการและรองผู้อานวยการศูนย์อานวยการบริหารจัง หวัดชายแดน
ภาคใต้ นายสุนนั ท์ เทพศรี ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และ นางสาวสนุ นั ทา แสงทอง ผู้อานวยการสานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน และสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาได้แต่งตั้งให้ นายศลใจ วิบูลกิจ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงขลาเขต 3 รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ในการบริหาร
งบประมาณ ไดแ้ บง่ การดาเนินงานเปน็ 2 ระยะ

ระยะท่ี 1 ระหว่างเดอื นเมษายน – กรกฎาคม 2550 เป็นการศกึ ษาข้อมลู และเตรียมการเพื่อเสนอขอประกาศจดั ต้งั วิทยาลัยชมุ ชนสงขลา
ระยะที่ 2 ระหว่างวนั ที่ 24 สงิ หาคม – 30 กนั ยายน 2550 เตรียมการปรับปรุงอาคารสานักงานการประถมศึกษาอาเภอเทพาเพื่อใช้เป็นอาคารสานักงานช่ัวคราว
วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา
วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2550 ได้ประกอบพิธเี ปดิ อาคารสานักงานช่วั คราววทิ ยาลัยชุมชนสงขลาโดย รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
และในวันเดียวกันก็ได้เปิดโครงการทดลองทาการสอนหลักสูตรระยะสั้นของวิทยาลัยชุมชนสงขลาจานวน 3 หลักสูตรใน 3 ศูนย์การเรียนคือหลักสูตรการจัดกิจกรรม
สาหรับเด็กปฐมวัยมีผู้เรียนจานวน 46 คน ใช้สถานที่เรียนที่ห้องประชุมโรงพยาบาลอาเภอเทพา หลักสูตรการประกอบและซ่อมคอมพิวเตอร์เบ้ืองต้น มีผู้เรียนจานวน 30 คน

แผนปฏิบตั ริ าชการวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

25

ใช้สถานท่เี รียนของโรงเรียนบา้ นนาทวี อาเภอนาทวี หลกั สตู รการทาบัญชกี องทุนยางพารามีผเู้ รียนจานวน 24 คน ใช้สถานทเี่ รยี นของโรงเรียนบ้านนา อาเภอจะนะจังหวัด
สงขลา แต่ละหลักสูตรใช้เวลาเรียนหลักสูตรละ 30 ชั่วโมง จากจานวนผู้เรียนท้ังสิ้น 100 คน เมื่อประเมินผลเสร็จสิ้นมีผู้จบหลักสูตรรวมทั้งส้ิน จานวน 97 คน คิดเป็น
ร้อยละ 97 จากผเู้ รียนทง้ั สน้ิ 100 คน และถือว่านกั ศึกษากลุ่มน้ีเปน็ นักศึกษากลุ่มแรกของวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา

ปีงบประมาณ 2551 ก็ได้เปิดทาการสอนหลักสูตรระดับอนุปริญญา เร่ิมต้น 2 สาขา คือสาขาปกครองท้องถ่ิน และการศึกษาสาขาปฐมวัย มีนักศึกษารุ่นแรก
จานวน 118 คน ในจานวนน้ีสามารถเรียนจบหลักสูตรในปีการศึกษา 2553 จานวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 95 ของผู้ที่ลงทะเบียนเรียนตลอดหลักสูตร ถือเป็นนัก ศึกษา
ระดบั อนุปริญญากลุ่มแรกที่จบการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนสงขลา และในปีเดียวกันน้ียังได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น จานวน 7 หลักสูตร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 457
คน สาเรจ็ การฝกึ อบรม จานวน 402 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.97

ปีงบประมาณ 2552 มีนกั ศกึ ษาระดับอนุปริญญา 5 สาขา โดยสาขาวิชาท่ีเปิดสอนได้แก่ การปกครองท้องถ่ิน พัฒนาชุมชน การศึกษาปฐมวัย คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
และการจัดการท่ัวไป รวมนักศึกษาจานวน 330 คน และจัดฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้น จานวน 16 หลักสูตร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 612 คน สาเร็จการฝึกอบรม
จานวน 588 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 96.08

ปีงบประมาณ 2553 มีนักศึกษาระดับอนุปริญญา 5 สาขา รวมนักศึกษาจานวน 597 คน และจัดฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้น จานวน 16 หลักสูตร ผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรม จานวน 882 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 850 คน คิดเป็นร้อยละ 96.47 นอกจากน้ียังได้รับการสนับสนุนงบประมาณตามโครงการส่งเสริมพัฒนาอาชีพใน
พน้ื ท่ีพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจภาคใต้ เพ่อื ส่งเสริมให้นาความร้ไู ปทอลองประกอบอาชีพอีก จานวน 200 คน

ปีงบประมาณ 2554 มีนักศึกษาระดับอนุปริญญา 5 สาขา จานวน 897 คน สาหรับหลักสูตรฝึกอบรมจัดฝึกอบรมในปีงบประมาณ 2554 จานวน 13 หลักสูตร
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 1,053 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 1,038 คน คิดเป็นร้อยละ 98.58และยังมีกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับการส่งเสริมอาชีพตามกรอบ
งบประมาณพน้ื ที่พฒั นาพิเศษภาคใต้อกี จานวน 240 คน รวมเป็นกลุ่มเป้าหมายด้านการพัฒนาอาชีพและฝึกอบรมท้ังส้ิน 1,278 คน ปีงบประมาณ 2554 มีนักศึกษาระดับ
อนปุ รญิ ญา 5 สาขารวมทง้ั ส้ิน 1,034 คน

ปีงบประมาณ 2555 มีนักศึกษาระดับอนุปริญญา 5 สาขา จานวน 446 คน สาหรับหลักสูตรฝึกอบรมจัดฝึกอบรมในปีงบประมาณ 2555 จานวน 20 หลักสูตร
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 1,130 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 1,127 คน คิดเป็นร้อยละ 99.73 และยังมีกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับการส่งเสริมอาชีพตามกรอบ
งบประมาณพ้ืนทพี่ ฒั นาพิเศษภาคใต้อีกจานวน 215 คน รวมเป็นกลุม่ เป้าหมายดา้ นการพฒั นาอาชีพและฝึกอบรมทัง้ ส้นิ 1,342 คน

ปีงบประมาณ 2556 มีนักศึกษาระดับอนุปริญญา 5 สาขา จานวน 581 คน สาหรับหลักสูตรฝึกอบรมจัดฝึกอบรมในปีงบประมาณ 2556 จานวน 23 หลักสูตร
ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม จานวน 512 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 505 คน คิดเป็นร้อยละ 98.63 และยังมีกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับการส่งเสริมอาชีพตามกรอบงบประมาณ
พ้ืนท่พี ัฒนาพเิ ศษภาคใต้อกี จานวน 122 คน รวมเป็นกลุม่ เป้าหมายดา้ นการพัฒนาอาชีพและฝึกอบรมทง้ั สนิ้ 627 คน

แผนปฏิบตั ริ าชการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

26

ปงี บประมาณ 2557 มนี ักศึกษาระดับอนุปริญญา 4 สาขา จานวน 895 คน สาหรับหลักสูตรฝึกอบรมจดั ฝกึ อบรมในปงี บประมาณ 2557 จานวน 14 หลักสูตร ผู้
เข้ารบั การฝึกอบรม จานวน 900 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 863 คน คิดเป็นร้อยละ 95.89 และยังมีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการส่งเสริมอาชีพตามกรอบงบประมาณ
พ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคใต้อีกจานวน 369 คน รวมเป็นกลุ่มเป้าหมายดา้ นการพัฒนาอาชีพและฝกึ อบรมทงั้ ส้นิ 1,232 คน

ปีงบประมาณ 2558 มีนักศกึ ษาระดับอนุปรญิ ญา 4 สาขา จานวน 1,002 คน สาหรับหลักสูตรฝึกอบรมจัดฝึกอบรมในปีงบประมาณ 2558 จานวน 13 หลักสูตร
ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม จานวน 851 คน สาเรจ็ การฝึกอบรม จานวน 771 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 85.17 และยังมีกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับการส่งเสริมอาชีพตามกรอบงบประมาณ
พนื้ ท่พี ฒั นาพเิ ศษภาคใต้อกี จานวน 815 คน รวมเป็นกลุ่มเป้าหมายด้านการพฒั นาอาชีพและฝึกอบรมทัง้ สนิ้ 1,586 คน

ปีงบประมาณ 2559 มีนักศกึ ษาระดับอนปุ รญิ ญา 4 สาขา จานวน 1,160 คน สาหรับหลักสูตรฝึกอบรมจัดฝึกอบรมในปีงบประมาณ 2559 จานวน 15 หลักสูตร
ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม จานวน 757 คน สาเร็จการฝกึ อบรม จานวน 729 คน คิดเป็นร้อยละ 96.30 และยังมีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการส่งเสริมอาชีพตามกรอบงบประมาณ
พนื้ ทพี่ ฒั นาพิเศษภาคใตอ้ ีก จานวน 821 คน รวมเปน็ กลมุ่ เปา้ หมายดา้ นการพัฒนาอาชีพและฝกึ อบรมทง้ั สิ้น 1,550 คน

ปีงบประมาณ 2560 มีนักศึกษาระดับอนุปริญญา 4 สาขา จานวน 1,182 คน สาหรับหลักสูตรฝึกอบรม (ต้ังแต่ 45 ชั่วโมงข้ึนไป) จัดฝึกอบรมในปีงบประมาณ
2560 จานวน 10 หลักสูตร ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม จานวน 750 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 662 คน คิดเป็นร้อยละ 88.27 หลักสูตรฝึกอบรม (บริการวิชาการน้อย
กว่า 45 ช่ัวโมง) จัดฝึกอบรมจานวน 5 หลักสูตร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 751 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 751 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 รวมเป็น
กลุ่มเป้าหมายด้านการพัฒนาอาชีพและฝึกอบรมทั้งสิ้น 1,413 คน ผู้รับบริการการพัฒนาศักยภาพการท่องเท่ียวและบริการ จานวน 388 คน ผู้ผ่านการฝึกอบรม
หลักสูตรมัคคุเทศก์ได้รับอนุญาตด้านการท่องเที่ยวและบริการ จานวน 41 คน ผ่านการฝึกอบรม จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 97.56 ผู้รับบริการวิชาการโครงการ
ส่งเสริมการจดั การความร้เู พ่ือเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ชุมชน จานวน 522 คน ผรู้ บั บริการทางวิชาการดา้ นการบริหารจัดการขยะ จานวน 70 คน ผู้เข้าร่วมโครงการ/
กจิ กรรม ศิลปะ วฒั นธรรม และภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน จานวน 1,255 คน และยงั มกี ลมุ่ เป้าหมายท่ไี ด้รบั การส่งเสรมิ อาชีพตามกรอบงบประมาณพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคใต้อีก
จานวน 1,571 คน

ปีงบประมาณ 2561 นักศึกษาระดับอนุปริญญา 4 สาขา จานวน 1,150 คน สาหรับหลักสูตรฝึกอบรม (ต้ังแต่ 45 ชั่วโมงข้ึนไป) จัดฝึกอบรมในปีงบประมาณ
2560 จานวน 7 หลักสูตร ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม จานวน 405 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 383 คน คิดเป็นร้อยละ 94.56 หลักสูตรฝึกอบรม (บริการวิชาการน้อยกว่า
45 ช่ัวโมง) จัดฝึกอบรมจานวน 8 หลักสูตร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 1,046 คน สาเร็จการฝึกอบรม จานวน 987 คน คิดเป็นร้อยละ 94.35 รวมเป็นกลุ่มเป้าหมาย
ด้านการพัฒนาอาชีพและฝกึ อบรมทัง้ ส้นิ 1,451 คน ผรู้ ับบรกิ ารวชิ าการโครงการสง่ เสริมการจดั การความรเู้ พื่อเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งชุมชน จานวน 511 คน ผู้รับบริการ
ทางวิชาการดา้ นการบริหารจัดการขยะ จานวน 100 คน ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ/กิจกรรม ศลิ ปะ วัฒนธรรม และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน จานวน 802 คน และยังมีกลุ่มเป้าหมายที่
ไดร้ บั การส่งเสรมิ อาชีพตามกรอบงบประมาณพืน้ ทพ่ี ฒั นาพิเศษภาคใต้อีก จานวน 680 คน

แผนปฏบิ ตั ริ าชการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

27

ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 วทิ ยาลัยชุมชนสงขลาจดั การเรยี นการสอนทงั้ ด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง โดยเปิดสอน
อนปุ รญิ ญาจานวน 4 สาขาวิชา ไดแ้ ก่ หลักสูตรอนุปรญิ ญาสาขาการปกครองท้องถ่ิน หลักสูตรอนุปริญญาสาขาปฐมวัย หลักสูตรอนุปริญญาสาขาการจัดการและหลักสูตร
อนุปริญญาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ซ่ึงในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 วิทยาลัยชุมชนสงขลารับนักศึกษาใหม่ในภารชคเรียนท่ี 1/62 จานวน 430 คน และในปัจจุบัน มี
นักศึกษาจานวนทง้ั สน้ิ 1,075 คน

การฝกึ อบรมทางดา้ นอาชพี พฒั นาอาชีพ และเสริมสร้างทกั ษะชีวิต ด้วยหลักสูตรระยะสนั้ เวลาเรียนต้ังแต่ 6 - 60 ช่ัวโมง มีหลักสูตรเด่น ท่ีได้รับความสนใจของ
ชุมชน ได้แก่ การทาอาหารขนมเพอ่ื ธรุ กิจ การตัดเย็บเสื้อผ้า พ้ืนฐานแพทย์แผนไทย และการเพาะเห็ด การประดิษฐ์ของชาร่วย การทาพิมเสนน้าและน้ามันสมุนไพร เป็น
ต้น โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีผู้เข้าร่วมฝึกอบรมอาชีพ มากว่า 45 ชั้วโมง จานวน 179 คน และผู้เข้าร่วมฝึกอบรมต่ากว่า 45 ช่ั วโมง จานวน 1,115 ผู้ผ่าน
การอบรมต้งั แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2550 ถงึ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จานวนท้ังสิ้น 11,008 คน

สาหรับในพ้ืนพัฒนาพิเศษภาคใต้ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลา มีโครงการส่งเสริมอาชีพเป็นพิเศษ เช่น โครงการผลิตพันธุ์ข้าวพ้ืนเมือง โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์
จากชนั โรง โครงการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ จาก ผ่านทางสื่อออนไลน์ โครงการทอผา้ เปน็ ตน้

นอกจากนไ้ี ด้มีการสง่ เสริมการเรียนรแู้ ละการพัฒนาทกั ษะจากฐานทรพั ยากรของชุมชนเพื่อสร้างอาชีพเสริมรายได้ และเป็นแนวทางการพัฒนาไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง
ได้แก่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตวิถี เช่นผลิตภัณฑ์ชันโรง ผลิตภัณฑ์กาแฟและผลไม้พื้นถ่ิน ผลิตภัณฑ์ก้านจาก ผลิตภัณฑ์เรือก้อและจาลอง ผลิตภัณฑ์ข้างช่อขิง โดยยังมี
การยกระดบั มาตรฐานจากฐานทรัพยากรชมุ ชน เช่น การวิจัยเพ่ือสร้าง BRAND เสื้อผ้าสตรีมุสลิม การส่งเสริมอาชีพชุมชนการทาประมงพ้ืนบ้าน เพ่ือการจัดการตนเองที่
ยง่ั ยืน การพฒั นาศักยภาพการทอผา้ พ้ืนเมอื ง บา้ นล่องมดุ ต.ลาไพล อ.เทพา จ.สงขลา การพัฒนาศักยภาพของชุมชนในพ้ืนที่อาเภอเทพาและอาเภอสะบ้าย้อย เพื่อการจัด
การทอ่ งเท่ียวอย่างยัง่ ยืน เป็นลาดับ

 สถานทีต่ ้ังวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา
สานกั งานวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลาตั้งอยู่ที่ บา้ นเลขท่ี 48/1 ถนนเกษตรขนั ธ์ อาเภอเทพา จังหวัดสงขลา 90150 โทรศัพท์ 0-7437-6667, 0-7437-6633 โทรสาร

0-7437-6665 เว็บไซต์ www.sk-cc.ac.th E-mail : [email protected]

แผนปฏิบตั ริ าชการวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

28

 เครือขา่ ยวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา

วิทยาลัยชมุ ชนสงขลาจัดระบบเครอื ขา่ ยสนบั สนุนเพอ่ื กระจายโอกาสทางการศกึ ษาให้ทวั่ ถึงทั้งจงั หวัดสงขลา โดยอาศัยการประสานงานกับศูนย์สนับสนุนท่ีเรียกว่า

"ศนู ย์การเรยี น" เพอื่ ทาหนา้ ที่เปน็ ผ้อู านวยความสะดวกและประสานงานระหว่างวิทยาลัยกับชุมชนในพ้ืนที่บริการ โดยมีคณะอนุกรรมการหน่วยจัดทาหน้าที่ร่วมพิจารณา

นโยบายในการดาเนินการและร่วมระดมทรัพยากรท้องถ่ินเพ่ือจัดการเรียนการสอน ส่วนการจัดการเรียนการสอนในพ้ืนที่ย่อยท่ีดูแลโดยหน่วยจัด การศึกษาเรียกว่า

"ห้องเรียน" เพื่อมีการประสานทรพั ยากรเพื่อจัดการเรยี นการสอน

1. สถานทีจ่ ดั การศึกษาศนู ยก์ ารเรยี นเทพา วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา

ท่ีต้ัง 48/1 ถ.เกษตรขันธ์ ตาบลเทพา อาเภอเทพา จังหวัดสงขลา 90150 โทรศัพท์ 0-7437-6667 โทรสาร 0-7437-6665 จัดการเรียนการสอนในระดับ

อนปุ ริญญา 4 สาขา ดังนี้

1. อนุปรญิ ญาสาขาการปกครองท้องถนิ่ 2. อนปุ รญิ ญาสาขาการศึกษาปฐมวยั

3. อนปุ รญิ ญาสาขาวชิ าการจัดการท่ัวไป 4. อนุปริญญาสาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ

2. สถานที่จัดการศกึ ษาโรงเรียนกอบกุลวทิ ยาคม

ทตี่ ้งั เทศบาลตาบลคลองแงะ ถนนกาญจนวนชิ อาเภอสะเดา จังหวดั สงขลา 90170 ระยะทางจากสถานทจ่ี ัดการศกึ ษา ถงึ วิทยาลัยชุมชนสงขลา 80 กิโลเมตร

จัดการเรียนการสอนในระดับอนปุ รญิ ญา 2 สาขา คอื

1. อนปุ รญิ ญาสาขาวชิ าการปกครองท้องถ่ิน 2. อนปุ รญิ ญาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

3. สถานที่จัดการศกึ ษาโรงเรียนระโนดวทิ ยา

ที่ต้ัง 154 หมู่ 3 ตาบลระโนด อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา 90140 เบอร์โทรศัพท์ 0-7439-1017 ระยะทางจากสถานที่จัดการศึกษา ถึงวิทยาลัยชุมชนสงขลา

143.79 กิโลเมตร จัดการเรียนการสอนในระดับอนุปรญิ ญา 2 สาขา คอื

1. อนุปริญญาสาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ 2. อนุปริญญาสาขาวชิ าการศึกษาปฐมวยั

4. สถานทจ่ี ดั การศกึ ษาเทศบาลตาบลควนเนียง

ท่ีตั้ง 666 ถนนรัฐภูมิ ตาบลรัตภูมิ อาเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา 90220 เบอร์โทรศัพท์ 0-7438-6015-6 ระยะทางจากสถานที่จัดการศึกษา ถึงวิทยาลัย

ชุมชนสงขลา 120 กิโลเมตร จดั การเรยี นการสอนในระดบั อนปุ ริญญา 1 สาขา คือ อนุปริญญาสาขาวิชาการปกครองทอ้ งถ่ิน

แผนปฏิบัตริ าชการวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

29

6. สถานที่จดั การศกึ ษาโรงเรียนสทิงพระวิทยา

ท่ีตั้ง ตาบลจะท้ิงพระ อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา 90000 ระยะทางจากสถานท่ีจัดการศึกษา ถึงวิทยาลัยชุมชนสงขลา 120 กิโลเมตร จัดการเรียน

การสอนในระดับอนุปริญญา 2 สาขา คอื

1. อนุปรญิ ญาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 2. อนปุ รญิ ญาสาขาวชิ าการปกครองทอ้ งถิ่น

7. สถานทีจ่ ัดการศึกษาวทิ ยาลยั เทคนิคหาดใหญ่

ท่ีตั้งถนนกาญจนวนชิ ซอย 7 ตาบลคอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา 90110 ระยะทางจากสถานท่ีจดั การศึกษา ถึงวิทยาลัยชุมชนสงขลา 77.70

กโิ ลเมตร จดั การเรยี นการสอนในระดับอนุปริญญา 2 สาขา คอื

1. อนปุ รญิ ญาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั 2. อนปุ รญิ ญาสาขาวชิ าปกครองท้องถนิ่

 บทบาทหน้าท่ีของวทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา
พระราชบญั ญัติสถาบนั วทิ ยาลยั ชุมชน พ.ศ.2558 ไดก้ าหนดบทบาทหน้าทีข่ องวิทยาลัยชุมชนไว้ในมาตรา 8 เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา

ที่ต่ากว่าปริญญา ให้สถาบันเป็นสถาบันศึกษาซ่ึงจัดการศึกษาโดยวิทยาลัยชุมชน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การศึกษา วิจัย ให้บริการทางวิชาการ ทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
และสง่ เสริมการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ เพื่อสรา้ งความเข้มแข็งของท้องถิ่นและชุมชน การพัฒนาท่ีย่ังยืน เสริมสร้างศักยภาพบุคคล ตอบสนองและสอดคล้องต่อความต้องการ
และการประกอบอาชพี ของทอ้ งถิ่นและชุมชนซ่งึ นาไปสู่การพฒั นาประเทศ

 ผู้มสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประกอบด้วย
1. กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนสงขลา
2. บคุ ลากรประจา ประกอบดว้ ย ข้าราชการ พนกั งานราชการ และลูกจ้างเหมาบรกิ าร
3. อาจารย์พเิ ศษ ซึง่ เปน็ บุคลากรท่ีคดั สรรจากผ้ทู รงคุณวุฒิ ผ้ปู ระกอบอาชีพในชุมชน ตามคณุ สมบัติ ดงั น้ี
- เป็นผมู้ ีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ในสาขาวชิ าน้ันๆ จากหน่วยงานองค์กรตา่ งๆ ในชุมชนและนอกชุมชน
- มีคณุ วุฒิระดับปริญญาโทขนึ้ ไป หรือระดบั ปรญิ ญาตรที ่ีมปี ระสบการณ์ในสาขาท่สี อนอยา่ งนอ้ ย 10 ปี

แผนปฏิบัตริ าชการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

30

ภาพที่ 3 โครงสร้างวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา
แผนปฏิบัตริ าชการวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

| 31

บทที่ 3
ผลการดาเนนิ งาน การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอกวทิ ยาลยั

 ผลการดาเนนิ งานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
 ผลการจดั การศกึ ษาหลักสูตรอนุปริญญา

ที่ สาขาวิชา หนว่ ยจดั การศึกษา 1/2561 ภาคการศกึ ษา 1/2562
จานวน จานวน 2/2561 จานวน จานวน
1. สาขาวิชาปกครองท้องถ่นิ ศูนย์การเรยี น อ.เทพา นกั ศกึ ษา หอ้ งเรยี น นกั ศึกษา หอ้ งเรียน
ศูนย์การเรยี น อ.สทงิ พระ 137 5 จานวน จานวน 100 3
ศูนย์การเรยี น อ.ควนเนียง นักศึกษา หอ้ งเรียน
ศูนย์การเรยี น อ.สะเดา 64 3 65 3
ศูนย์การเรียน อ.หาดใหญ่ 91 3 61 2 92 3
75 3 44 2 59 3
รวม 82 3 54 2 75 3
2. สาขาวิชาการศึกษา ศนู ยก์ ารเรียน อ.เทพา 449 17 40 2 391 15
215 6 56 2 220 6
ปฐมวยั ศูนยก์ ารเรยี น อ.จะนะ 16 1 255 10 --
ศนู ย์การเรียน อ.สทงิ พระ 48 2 136 4 18 1
ศนู ยก์ ารเรียน อ.ระโนด 19 1 -- --
ศนู ยก์ ารเรียน อ.หาดใหญ่ 88 3 22 1 79 3
--
57 2

แผนปฏบิ ตั ริ าชการวทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

| 32

ท่ี สาขาวิชา หน่วยจดั การศึกษา 1/2561 ภาคการศกึ ษา 1/2562
จานวน จานวน 2/2561 จานวน จานวน
ศนู ย์การเรียน อ.สะเดา นกั ศึกษา หอ้ งเรยี น นกั ศกึ ษา ห้องเรียน
รวม จานวน จานวน
3. สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ ศูนยก์ ารเรียน อ.เทพา 64 3 นกั ศกึ ษา ห้องเรียน 61 3
ธุรกจิ ศูนยก์ ารเรยี น อ.ระโนด 450 16 378 13
รวม 82 3 33 2 72 3
4. สาขาวชิ าการจัดการทวั่ ไป ศูนย์การเรยี น อ.เทพา 74 3 248 9 70 3
รวม 156 6 45 2 142 6
รวมท้ังหมด 85 3 45 2 83 3
85 3 90 4 83 3
1,140 42 52 2 994 37
52 2
645 25

ตารางที่ 1 แสดงจานวนนกั ศึกษาหลกั สูตรอนุปรญิ ญา วิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
หมายเหตุ : ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 15 กนั ยายน 2562

แผนปฏิบัตริ าชการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

| 33

 ผลการจดั ใหบ้ ริการหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น (45 ชั่วโมงข้นึ ไป) และหลักสูตรฝึกอบรมบริการวิชาการ (น้อยกว่า 45 ช่วั โมง)
วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลาจดั ให้บรกิ ารหลกั สตู รฝึกอบรมระยะส้นั (45 ชว่ั โมงขนึ้ ไป) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
 ผลการหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพและด้านคุณภาพชีวิต วิทยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 25 62 มี

เปา้ หมายตามแผนปฏบิ ัตริ าชการวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา จานวน 140 คน โดยมีผู้ให้ความสนใจสมัครเข้ารับการฝึกอบรม จานวน 222 คน และมีผู้สาเร็จหลักสูตรฝึกอบรม
จานวน 179 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 80) มีหลกั สูตรในการฝกึ อบรม จานวน 5 หลักสตู ร ดังตารางแสดงผลการดาเนินงาน

ท่ี หลกั สตู ร จำนวนรุ่น จำนวนผ้สู มัคร จำนวนผสู้ ำเร็จ
1 การตัดเย็บเสื้อผา้ 45 ชว่ั โมง 2 55 25
2 การตดั เย็บเส้ือผ้า 60 ชัว่ โมง 2 60 60
3 การนวดไทย 60 ชวั่ โมง 1 27 18
4 พ้ืนฐานแพทยแ์ ผนไทย 1 (เภสชั กรรมไทย) 78 ช่วั โมง 1 30 26
5 ปูนปั้นไม้เทียม 45 ชั่วโมง 2 50 50
222 179
รวม

ตารางที่ 2 แสดงจานวนผูร้ ับบรกิ ารหลกั สตู รฝกึ อบรมระยะสัน้ (45 ชวั่ โมงขน้ึ ไป)ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

แผนปฏิบตั ริ าชการวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

| 34

 ผลการจดั หลกั สตู รเพ่ือใหใ้ ห้บรกิ ารวิชาการแก่ชุมชน โดยผู้เรียนไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย มีเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการวิทยาลัยชุมชนสงขลาปีงบประมาณ
2562 จานวน 1,040 คน โดยมีผู้ให้ความสนใจสมัครเข้ารับการฝึกอบรม จานวน 961 คน และมีผู้สาเร็จหลักสูตรฝึกอบรม จานวน 953 คน (คิดเป็นร้อยละ 99.16 ของ
ผู้เข้าอบรม) มีหลักสูตรในการฝึกอบรม จานวน 7 หลักสูตร ดังตารางแสดงผลการดาเนินงานดังน้ี (ข้อมูลเดือนสิงหาคมและคาดการณ์เมื่อสิ้นปีงบประมาณจะได้ครบ
100%)

ท่ี หลักสูตร จานวนรนุ่ จานวนผสู้ มคั ร จานวนผสู้ าเรจ็
1 การตัดเยบ็ ผ้าคลมุ ฮิญาบ 1 30 30
2 การทาเคร่ืองแกง 8 230 227
3 การทาอาหาร-ขนมเพ่ือธุรกจิ 16 396 394
4 การทาพมิ เสนนา้ และน้ามนั สมุนไพร 3 85 85
5 การสานเส้นพลาสติก 4 120 117
6 การตกแต่งขนั หมากมสุ ลิม 1 30 30
7 การประดิษฐ์ของชาร่วยฯ 3 70 70
961 953
รวม

ตารางที่ 3 แสดงจานวนผู้รับบริการหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น (45 ชั่วโมงขึ้นไป)ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
หมายเหตุ ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 28 กนั ยายน 2561

แผนปฏิบัตริ าชการวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

| 35

. ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกวทิ ยาลัย
จากการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพ่ือวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของวิทยาลัยชุมชนสงขลา ป ระกอบด้วย

คณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนสงขลา คณะกรรมการสภาวิชาการ ผู้บริหาร อาจารย์พิเศษ บุคลากร ศิษย์เก่า ตัวแทนองค์กรจากภาครัฐและเอกชน รวมท้ังตัวแทน
นกั ศึกษาปจั จุบันของวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลาเพอื่ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน มกี ารวเิ คราะหจ์ ดุ แขง็ จุดออ่ น อปุ สรรค และโอกาส ของวิทยาลัยชุมชนสงขลา สรปุ ได้ ดังน้ี

 ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (จดุ แข็ง/จดุ ออ่ น)

การวิเคราะหป์ จั จัยภายใน

1) การวิเคราะห์จดุ แข็ง (S - STRENGTHS) 2) การวเิ คราะหจ์ ดุ อ่อน (W - WEAKNESS)

(S1) การจดั การศึกษารูปแบบวทิ ยาลัยชุมชน เขา้ ถึงง่าย คา่ ใช้จา่ ยต่า (W1) ข้อจากัดด้านบุคลากรทาให้การแบ่งภาระงานที่รับผิดชอบ

(S2) ผู้บริหารมีความสามารถและประสบการณ์เป็นท่ียอมรับของบุคลากร กรรมการสภา ตามโครงสรา้ งแต่ละคนมีหลายหน้าท่ี

และบคุ คลทั่วไป (W2) การดาเนินงานตามกลยุทธ์ในบางประเด็นยังไม่บรรลุ

(S3) การจัดการเรียนการสอน 3 track ตอบสนองตอ่ ความต้องการของผ้เู รียนทกุ ชว่ งวยั เปา้ หมาย

(S4) การจดั การศกึ ษาทเ่ี นน้ กิจกรรมจิตอาสาและสง่ เสริมศลิ ปวัฒนธรรม (W3) จานวนบุคลากรไม่สอดคล้องกับภาระงานของวิทยาลัยและ

(S5) รูปแบบการปฏิบัติงานของบุคลากรท่ีมีความสามารถในการจัดการศึกษาได้ท้ัง 3 มีจานวนต่ากว่าเกณฑท์ ี่ควรมี

track (W4) การออกคาส่ังมอบหมายภาระงานตามหน้าที่ยังไม่เป็น

(S6) การบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาลทาให้ทุกคนมีความรับผิดชอบในเรือ่ ง ปจั จุบนั และสอดคลอ้ งกับสภาพการเปล่ยี นแปลง

ความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และดาเนินงานโดยยึดหลกั คุณธรรม (W5) การปรับเปล่ียนโครงสร้างทาได้ยากเนื่องจากต้องอาศัย

(S7) โครงสร้างการบริหารในปัจจุบันมีความเหมาะสม และสอดคล้องกับ พ.ร.บ. สถาบัน ข้อกาหนดจากสว่ นกลาง

วิทยาลัยชมุ ชน (W6) การกาหนดเป้าหมายความสาเร็จไว้สูงเกินไป ทาให้

(S8) การจัดหลกั สตู รสง่ เสริมอาชีพที่หลากหลายตามความตอ้ งการของชมุ ชน ผู้ปฏบิ ัติงานไม่สามารถดาเนนิ การได้ตามความคาดหวัง

(S9) การส่งเสริมให้เกดิ แรงบนั ดาลใจในการสร้างอาชพี อย่างเป็นรูปธรรมและเกิด (W7) ขาดแรงจูงใจและขวญั กาลังใจในการพฒั นาตนเอง

ความรว่ มมอื กบั หน่วยงานในพ้นื ท่แี ละตอบสนองความต้องการในชุมชน (W8) ทักษะในการจัดการศึกษาองค์กรขาดความรู้และทักษะท่ี

เปน็ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน

แผนปฏบิ ัตริ าชการวิทยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

| 36

การวเิ คราะหป์ จั จยั ภายใน

1) การวเิ คราะหจ์ ุดแข็ง (S - STRENGTHS) 2) การวเิ คราะห์จดุ อ่อน (W - WEAKNESS)

(S10) การมสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษาในรูปของสภาวิทยาลัยชุมชน อนุกรรมการ (W9) ค่านิยมร่วมขององค์กรยังไม่สามารถพัฒนาเป็นอุดมการณ์

วชิ าการ กรรมการสง่ เสรมิ กจิ การมีความเขม้ แขง็ ตามบทบาทหนา้ ท่ี ของทุกคน

(S11) ทกั ษะการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างโอกาสให้กับคนในชุมชน (W10) ขาดระบบและกลไกในการกากับคุณภาพในการปฏิบัติงาน

(S12) บรหิ ารจัดการโดยมุ่งเน้นหลักธรรมาภบิ าล ทงั้ นีไ้ ด้ร่วมกับสถาบันคุณธรรมของมูลนิธิ ของบคุ คลากร

ยุวเสถยี รกุล (W11) ความเสมอภาคในการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับ

(S13) ระบบการเบิกจ่ายงบประมาณทีใ่ หเ้ จ้าหน้าที่การเงนิ และพสั ดุมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ าร บคุ ลากรทกุ ระดับ

โครงการทาให้การเบิกจา่ ยถูกตอ้ งตามระเบยี บและเป็นปัจจุบัน (W12) ขาดบคุ ลากรเฉพาะทางในบางตาแหนง่

(S14) ทกั ษะการจัดการศกึ ษาเพ่ือสร้างชุมชนเข้มแข็ง (W13) ขาดบุคลากรเฉพาะตาแหน่งในดูแลระบบเทคโนโลยี

(S15) ทกั ษะในการจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งอาชีพให้กบั คนในชุมชน สารสนเทศและการประชาสมั พันธ์

(S16) การบรหิ ารงานของผูบ้ ริหารและหวั หนา้ สานักส่งเสรมิ ใหก้ ารบรหิ ารจัดการท่สี าเร็จ (W14) ไม่มีระบบการเทียบโอนประสบการณ์หรือสมรรถนะด้าน

(S17) การช่วยเหลือและเอื้ออาทรซงึ่ กนั และกนั ในการทางานและชวี ติ ส่วนตวั อาชีพเพ่อื เข้าสรู่ ะบบการศกึ ษาของวิทยาลยั ชุมชน

(S18) บุคลากรสามารดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนและสามารถปฏิบัติภารกิจอ่ืน (W15) คู่มอื การปฏิบัติงานมีไม่ครบในภาระงาน

ตามบทบาท หน้าที่ สถาบันอุดมศึกษา(การสอน บริการวิชาการ วิจัย ทะนุบารุง (W16) ขาดแผนงานและงบประมาณพัฒนาบคุ ลากรรายบคุ คล

ศิลปวฒั นธรรมและสง่ เสริมการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต) (W17) การประชุมเพื่อช้ีแจงและมอบหมายงานยังดาเนินการได้

(S19) ระบบการจัดการเรียนแบบบล็อกคอร์สทาให้การจัดตารางเรียนทาได้ง่ายและใช้ ไมค่ รบถ้วน

บุคลากรน้อย (W18) ระบบการจัดการเรยี นการสอนแบบบลอ็ กคอรส์ มี

(S20) ผลงานการวิจยั เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนได้สง่ ผลตอ่ คุณภาพผเู้ รียน ความเส่ียงที่จะทาให้การเรียนการสอนไม่เป็นไปตาม

(S21) ความสามารถในการทางานในภาวะขาดแคลนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐานทีก่ าหนด

(S22) บุคลากรมีครบตามสายงาน (W19) การสื่อสารเพ่ือสร้างความเข้าใจปฏิบัติงานในบางกรณียัง

(S23) บคุ ลากรสามารถเรยี นรแู้ ละปฏิบตั ิงานใหม่ๆไดโ้ ดยไมย่ ึดตดิ กับคณุ วฒุ ทิ างการศึกษา ไม่สามารถสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ทาให้การปฏิบัติงาน

(S24) งานวิจยั ท่สี ร้างนวตั กรรมในชมุ ชน ไมบ่ รรลุผลเท่าท่ีควร

แผนปฏิบตั ริ าชการวทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

| 37

การวเิ คราะหป์ จั จัยภายใน

1) การวิเคราะหจ์ ดุ แข็ง (S - STRENGTHS) 2) การวิเคราะห์จดุ อ่อน (W - WEAKNESS)

(S25) การมีสว่ นร่วมในการวางแผนการพัฒนาองค์กร (W20) ผลงานด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนยังไม่ได้

(S26) มุ่งม่ันสู่เปา้ หมายความสาเร็จโดยก้าวผ่านอุปสรรค รับการตพี มิ พเ์ ผยแพร่

(S27) มีเกณฑก์ ารคดั เลอื กบคุ ลากรทางดา้ นการเรียนสอนที่เป็นเกณฑ์มาตรฐาน (W21) ไม่มีระบบบรหิ ารสนิ ทรัพย์

(S28) ระบบฐานข้อมูลหลักสูตรช่วยให้การบริหารจัดการศึกษาและฝึกอบรมเป็นไปอย่างมี (W22) การรับสมัครพนักงานประเภทจ้างเหมาไม่ตรงกับภาระ

ประสทิ ธิภาพ งานทตี่ อ้ งการ

(S29) การเบกิ จ่ายโดยใช้ระบบการเบิกจ่ายเงินผ่านระบบ GFMIS ทาให้สามารถตรวจสอบ (W23) การบริหารจัดการโปรแกรมทางวิชาการ(ระบบงาน

ระบบการเบกิ จ่ายและระบบงบประมาณไดช้ ัดเจน ทะเบียน) ยังขาดความสะดวกและคล่องตัวเน่ืองจากต้อง

(S30) ระบบการให้บรกิ ารห้องสมุดทใ่ี ชร้ ะบบหอ้ งสมุดอัตโนมตั ิทีท่ ันสมยั สามารถ ผา่ นข้ันตอนผรู้ บั ผิดชอบหลายคน

เออ้ื อานวยให้เกดิ ความสะดวกในการศึกษาสบื คน้ แก่ผูร้ ับบรกิ าร

ตารางท่ี 4 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหป์ จั จัยภายในของวิทยาลยั ชุมชนสงขลา

แผนปฏบิ ัตริ าชการวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

| 38

 ผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก (โอกาส/อุปสรรค)

การวิเคราะหป์ จั จยั ภายนอก

1) การวิเคราะห์โอกาส Opportunities 2) การวเิ คราะห์ภัยคกุ คาม Threats

O1 ยทุ ธศาสตรไ์ ด้กาหนดทิศทางการจดั การศึกษาท่ชี ัดเจน T1 เหตุการณค์ วามไม่สงบในพนื้ ที่ จชต.ทาใหเ้ กดิ ปลอดภยั ใน

การทางาน

O2 นโยบายของรัฐทางดา้ นการศึกษาที่สง่ เสรมิ การศึกษาอยา่ งทว่ั ถงึ และเขา้ ถงึ ทกุ ช่วงวยั T2 ประชากรจานวนมากในพื้นที่ยงั มีรายได้น้อย

O3 ประชาชนมีความหลากหลายทางวฒั นธรรม T3 ปญั หายาเสพติดในพ้ืนท่ี

O4 การกระจายรายได้และการสร้างอาชีพในชมุ ชน T4 ราคาผลผลิตของพชื เศรษฐกิจหลกั ในพืน้ ที่ตกต่า

O5 ทรัพยากรมคี วามอดุ มสมบูรณ์ มแี หลง่ ท่องเท่ยี วท่ีหลากหลาย T5 ระเบยี บข้อบงั คับของสถาบันวทิ ยาลัยชุมชนไม่กระจาย

อานาจและขาดความคล่องตัว

O6 การจดั สรรงบประมาณในเขตพ้นื ที่พิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต้ T6 ระเบยี บและวธิ ีการงบประมาณของรัฐยงั เปน็ ลักษณะแจก

แจงรายละเอียดทาให้ขาดความซอื่ ตรงในการปฏิบตั ิงานที่จะ

สนองตอ่ การแกป้ ัญหาในทันที

O7 สือ่ ออนไลน์มีความหลากหลาย เขา้ ถึงง่าย T7 รัฐบาลขาดเสถียรภาพ

O8 พ.ร.บ.สถาบันวทิ ยาลยั ชมุ ชนมีการส่งเสริมการศึกษาตลอดชวี ิต T8 นโยบายดา้ นสวสั ดกิ ารของรัฐขาดแรงจูงใจใหช้ ุมชนพงึ่ พา

ตนเอง

O9 การเทคโนโลยเี ปน็ เครื่องมือในการจดั ทาฐานข้อมลู T9 แหลง่ งานหรือการจ้างงานนอกเหนอื จากภาคเกษตรมนี ้อย

O10 ประชาชนมีรายไดจ้ ากการส่งเสรมิ การปลูกพืชเศรษฐกจิ อ่ืนเสริม/แทนพชื เศรษฐกิจ T10 ค่านยิ มในการมคี รอบครวั ตั้งแตอ่ ายุน้อย

หลัก

O11 เครอื ข่ายอินเตอรเ์ นต็ ขยายสูช่ มุ ชนมากข้ึน T11 ชุมชนบางพ้ืนทยี่ ังไมส่ ามารถเขา้ ถึงบริการสาธารณะด้าน

การใช้เทคโนโลยี

แผนปฏิบัตริ าชการวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

| 39

การวเิ คราะหป์ ัจจยั ภายนอก

1) การวิเคราะห์โอกาส Opportunities 2) การวิเคราะห์ภยั คกุ คาม Threats

O12 ประชาชนในพ้นื ทีย่ า่ งเขา้ สู่สงั คมผู้สูงอายเุ ป็นโอกาสในการจดั การศึกษาเพื่อสรา้ ง T12 การใช้สือ่ ออนไลน์ในทางทผ่ี ดิ กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาอาชญากรรม

สงั คมผู้สงู อายุที่มีคุณภาพ และกระทบต่อความมั่นคง

O13 ค่านยิ มของคนในชุมชนที่รักถ่ินทอี่ ยู่ ไม่โยกย้ายถน่ิ ฐาน T13 การคมนาคมไมส่ ะดวกทาให้การเขา้ ถึงพื้นที่ไดย้ าก

O14 พ.ร.บ.สถาบันวิทยาลัยชมุ ชนไดก้ าหนดภารกิจของวทิ ยาลัยชุมชนทเ่ี ปน็ สถาบนั T14 การแข่งขันของสถาบนั อุดมศึกษาสูง

การศึกษาทีส่ ร้างโอกาสให้กับคนทกุ กลุ่ม

O15 การลงทนุ ของภาคเอกชน/ต่างชาติในภาคอุตสาหกรรมในพ้ืนที่ T15 การขาดแรงจูงใจใฝ่รู้และความกระตือรือร้นใน

การเปลีย่ นแปลงของคนในสงั คม

O16 การพฒั นาด้านการค้าชายแดน T16 ลกั ษณะนสิ ัยของผู้บริโภคส่อื สว่ นใหญเ่ นน้ ความบันเทิงหรือ

การส่อื สารแต่ไมเ่ น้นการเข้าถึงความรู้ หรอื การเรยี นรจู้ าก

ส่อื

O17 การเปล่ียนแปลงจาก กระทรวงศึกษาธิการเป็นกระทรวงการอดุ มศึกษา

วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ทาใหม้ ีการขับเคล่ือนการศกึ ษาโดยเนน้ วิจัยมาก

ยงิ่ ขน้ึ

O18 การพัฒนาเทคโนโลยีในอนาคตเชน่ การใช้ AI แทนคน

ตารางท่ี 5 ตารางแสดงผลวิเคราะหป์ ัจจยั ภายนอกของวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา

แผนปฏบิ ัตริ าชการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

| 40

บทท่ี 4
ทศิ ทางการพฒั นาของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา

การจดั ทาแผนปฏิบตั ิราชวิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 ไดย้ ึดสาระสาคญั ของแผนกลยทุ ธ์การศึกษาวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา ระยะ 5 ปี
(พ.ศ. 2563-2567) เป็นแนวในการดาเนินงาน ซ่งึ ประกอบด้วย

 ปรชั ญาการจดั การศกึ ษาของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา
การศึกษามีคณุ ค่าอนั ประมาณการมิได้ต่อบคุ คลและสังคมโดยรวมปจั เจกบคุ คล จงึ ควรได้รับการศกึ ษาทีส่ มบูรณ์ท่ีสุดตามศักยภาพแห่งตนและศกั ยภาพของรัฐ

วิทยาลัยชุมชนเกดิ ขึ้นและดารงอยู่เพื่อสรา้ งสรรค์โอกาสทางการศึกษาให้แก่สมาชิกของชมุ ชนไดพ้ ฒั นาตนเองในสาขาวิชาท่ีจะเพิ่มคุณคา่ แห่งชวี ิตและเพ่ิมศักยภาพของ
ชุมชนในมิติตา่ ง ๆ ทั้งด้านเศรษฐกจิ และดา้ นสังคม

 วิสยั ทัศน์วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา
"เป็นวทิ ยาลัยชุมชนคุณธรรม สรา้ งแรงบนั ดาลใจให้ชุมชนเปลี่ยนแปลงส่อู นาคตท่ดี กี วา่ จดั การเรียนรู้ บริการทางวิชาการท่ีชุมชนเขา้ ถึง เป็นพนั ธมติ รกับองคก์ ร

ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสงั คมเพือ่ เพ่ิมศักยภาพในการพฒั นาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์และคุณภาพชีวิตของชมุ ชนส่คู วามมน่ั คง มั่งค่งั และยง่ั ยนื "

 พนั ธกิจวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา
1. จดั การศึกษาระดบั อุดมศึกษาต่ากวา่ ปรญิ ญาตามหลกั สตู รท่ีสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชนและบริหารจดั การโดยชุมชน
2. ฝกึ อบรมเพื่อพฒั นาอาชพี พัฒนาคุณภาพชีวิตในหลักสตู รที่หลากหลาย ยืดหยุ่น สามารถพฒั นาคุณภาพชีวิตได้อย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ิต
3. วจิ ยั และพฒั นาองค์ความรู้ เพ่ือพัฒนาการศึกษา และเสรมิ สร้างชมุ ชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน
4. อนุรักษ์ และทานบุ ารุงศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี และภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น
5. บรหิ ารจัดการโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าลและใชร้ ะบบเครือข่าย เชอ่ื มโยงการใช้ทรัพยากรระหวา่ งวทิ ยาลัยชุมชน หนว่ ยงานอนื่ ท้ังภาครัฐและเอกชน

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีวทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา พ.ศ.2563

หนา้ | 41

 เอกลักษณ์วทิ ยาลยั ชุมชนสงขลา
"สร้างโอกาสทางการศึกษาและอาชีพ"

 อตั ลักษณ์วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา
"เปน็ คนดี มีจิตอาสา พัฒนาชุมชน"

 คา่ นิยมร่วมวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา

“SKCCTEAM”

S = Social awareness ความตระหนักตอ่ สงั คม K = Knowledge ความรู้
C= collaboration ความร่วมมือ
C = Creativity ความคิดสรา้ งสรรค์ E= Ethic จรยิ ธรรม
M= Modern ความทันสมยั
T= Technology literacy การรเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี

A= Adaptability ความสามารถในการปรบั ตวั

 ยทุ ธศาสตร์การจัดการศึกษาของวทิ ยาลัยชุมชนสงขลา
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 จดั การเรียนรู้ตลอดชีวติ (Life Long Learning : LLL)
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ใชก้ ารศึกษาตามพันธกิจของวิทยาลยั ชมุ ชนเปน็ ประตูสู่โอกาสของคนในชุมชน
ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 จัดการศึกษาเพอ่ื เสริมสร้างชุมชนเข้มแขง็
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ปรับปรงุ ระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาของวิทยาลัยชมุ ชนสงขลา

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี วิทยาลยั ชุมชนสงขลา พ.ศ.2563

หน้า | 42

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 จดั การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning : LLL)

เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ ตัวช้วี ดั /โครงการ เปา้ หมาย 63 โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ
1.1 ยกระดับการเรียนรตู้ ลอด 1. จานวนบคุ ลากรที่ไดร้ บั 200 3,000,000
1.1.1 สง่ เสริมการยกระดบั จดั กจิ กรรม/โครงการตามกรอบภารกิจ ดังนี้
ชีวิต (Life Long การเรยี นรู้ตลอดชีวติ การพัฒนาทักษะทงั้ basic 80 1. โครงการบรกิ ารวิชาการแกช่ ุมชนชน -
Learning) ของบุคลากร (Life Long Learning) skill หรอื up skill ดา้ น 2. โครงการสนบั สนนุ บทบาทวทิ ยาลยั ชมุ ชนใน -
และคนในชุมชนใหม้ ี ของบุคลากรและคนใน อาชีพ ด้านการเงิน ด้าน -
ความร้แู ละทกั ษะท้ัง ชุมชนใหม้ คี วามร้แู ละ ภาษา ดา้ นดิจทิ ลั และด้าน การส่งเสรมิ อาชีพในเขตพน้ื ที่พิเศษจงั หวดั -
basic skill หรือ up skill ทกั ษะทงั้ basic skill ภาวะ ชายแดนใต้
ในด้านสุขภาวะ ด้าน หรือ up skill ในด้าน 3. โครงการจดั การความรเู้ พอื่ เสริมสรา้ ง
การเงิน ดา้ นภาษา และ สุขภาวะ ดา้ นการเงิน 1. ร้อยละของผเู้ รยี นแตล่ ะ ความสขุ และความเข้มแข็งของชุมชน
ด้านดจิ ิทลั ด้านภาษา และ หลกั สตู รที่สามารถเรียน 4. จดั หลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาทกั ษะทาง
ด้านดจิ ิทลั จบได้ อาชพี ท้ัง ท้ัง basic skill หรอื up skill
1.2 จดั การเรยี นรู้ตลอดชีวติ ตามความต้องการของชุมชน
โดยมุ่งเน้นการศึกษาเพอื่ 1.2.1 ส่งเสริมการจัด
การเทียบโอน การมี การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ 1. โครงการสารวจความต้องการของกล่มุ
รายได้ การพัฒนาทักษะ โดยมงุ่ เน้นการศึกษา เป้าหมายทปี่ ระสงคจ์ ะเรยี นแบบสะสม
และคณุ ภาพชวี ิต เพ่ือการเทียบโอน (credit bank)
การมรี ายได้
การพฒั นาทกั ษะและ 2. โครงการพัฒนาหลักสตู รท่ีสอดคลอ้ งกบั
คุณภาพชีวิต ความตอ้ งการท่จี ะเรียนแบบสะสมหนว่ ยกติ

3. จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนตามหลกั สตู ร
ท่ีสอน

4. โครงการวิจัยและพฒั นารูปแบบการสอน
แบบสะสมหน่วยกติ ท่สี อดคล้องกบั ผ้เู รยี น

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา พ.ศ.2563

หน้า | 43

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ชี้วดั /โครงการ เปา้ หมาย 63 โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ
1.3 การจัดการเรยี นร้ตู ลอด 2 1. โครงการสนับสนนุ บทบาทวิทยาลยั ชุมชนใน 2,500,000
1.3.1 ส่งเสริมการจัดการ 1. จานวนกลุม่ วิสาหกจิ ชุมชน 600,000
ชีวติ เพ่อื การพัฒนาอาชพี 60 การส่งเสริมอาชพี ในเขตพ้นื ท่พี ิเศษจงั หวดั
(Competency-based เรยี นรตู้ ลอดชวี ิตเพ่ือ ท่ีเข้าร่วมโครงการ 200 ชายแดนใต้ 120,000
Training) หรือคณุ ภาพ 100 2. โครงการจดั การความรเู้ พื่อเสริมสร้างความสขุ 65,000
ชีวติ ทส่ี อดคล้องกบั การพัฒนาอาชีพ 1/15 และความเข้มแข็งของชุมชน 65,000
ความต้องการของพื้นที่ 5
ตามศาสตร์พระราชา (Competency-based 1 .โครงการพฒั นาครเู พือ่ เพิ่มสมรรถนะในการ
พัฒนาเด็กปฐมวยั ดา้ นทักษะทางสมอง (EF)
1.4. การจดั การศึกษาเพ่ือยก Training) หรือคณุ ภาพ
ระดบั การเรยี นรตู้ ลอด 2. โครงการพัฒนาครปู ฐมวัยเพ่ือพฒั นาทักษะใน
ชวี ติ ของชุมชนดา้ น ชวี ิตทีส่ อดคลอ้ งกับ การใช้เกมและเพลงเพื่อพัฒนาเดก็
การดูแลและการเรียนรู้
ของเด็กปฐมวยั รวมถึง ความตอ้ งการของพ้ืนที่ 3. โครงการพัฒนาโครงปฐมวัยในการใชช้ ดุ ฝกึ
ผู้สูงอายุ อย่างมคี ณุ ภาพ “ตามรอยพอ่ อยพู่ อเพียง”ศาสตรพ์ ระราชา
ตามศาสตร์พระราชา เข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา
4. โครงการวทิ ยาลยั ผ้เู ช่ียวชาญชวี ติ
เขา้ ใจ เข้าถึง พฒั นา

2. จ า นว นผู้ เ รี ย นที่ ไ ด้ รั บ

การพัฒนาการเรียนรู้ใน

เรอ่ื งศาตสตรพ์ ระราชา

3 จานวนนักเรยี นท่ีได้รับการ

พัฒนาประสบการณ์โดย

ค รู พี่ เ ลี้ ย ง ที่ ผ่ า น ก า ร ฝึ ก

อบรม

1.4.1 ส่งเสรมิ การจดั 1. จานวนเดก็ ปฐมวยั ทไี่ ดร้ ับ

การศกึ ษาเพอ่ื ยกระดับ การพัฒนาจากครผู ู้ผา่ น

การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ หลักสตู รฝกึ อบรม ของ วชช.

ของชุมชนดา้ นการดแู ล 2. จานวนกลมุ่ หรอื ผสู้ งู อายทุ ี่

และการเรยี นรขู้ องเด็ก เข้ารว่ มกิจกรรมตาม

ปฐมวยั รวมถึงผสู้ งู อายุ โครงการ

อย่างมคี ุณภาพ 3. จานวนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/

โรงเรยี นเครอื ข่ายเขา้ รว่ ม

กจิ กรรม

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา พ.ศ.2563

หน้า | 44

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ช้วี ดั /โครงการ เปา้ หมาย 63 โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ
1.5 จดั การศกึ ษาเพือ่ การ 1.5.1 สง่ เสริมการศกึ ษาที่ 10 1. โครงการสนับสนนุ บทบาทวิทยาลยั ชมุ ชนใน 2,500,000
1. จานวนผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนที่ 9 600,000
ถา่ ยทอดนวัตกรรมการ ถ่ายทอดนวตั กรรม เกิดจากการเรยี นร้แู ละ 20 การสง่ เสริมอาชพี ในเขตพื้นทพี่ ิเศษจงั หวดั
สร้างผลติ ภัณฑช์ ุมชน/ การสร้างผลติ ภณั ฑ์ สร้างนวตั กรรมของชมุ ชน ชายแดนใต้ 100,000
ผลติ ผลด้านอาชีพและ ชมุ ชน/ผลติ ผลด้าน 1 2. โครงการจดั การความรเู้ พอื่ เสรมิ สร้างความสขุ 2,500,000
ทกั ษะดา้ นการเปน็ อาชพี และทักษะดา้ น 2. จานวนผลผลติ ท่สี ามารถ และความเข้มแขง็ ของชมุ ชน 60,000
ผ้ปู ระกอบการทส่ี ามารถ การเป็นผปู้ ระกอบการ จาหน่ายสร้างรายได้แก่ 4
สรา้ งรายได้ให้กับชุมชน ทสี่ ามารถสร้างรายได้ ชมุ ชน 1. กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นการสอนระดบั
ใหก้ ับชมุ ชน อนุปรญิ ญาทส่ี ามารถบรู ณาการ หลักสูตรกบั
1.6 จัดการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 3 จานวนผู้ประกอบการที่ การทะนบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม สง่ เสริม
เพอ่ื สนองตามความ 1.6.1 ส่งเสริมการจดั การ ไดร้ ับการพฒั นาทกั ษะจน การเมือง /การศาสนา
ต้องการและความสนใจ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพ่ือ สามารถบรหิ ารจัดการและ
ของบุคคลในด้าน สนองตามความ สรา้ งรายได้เพิม่ 2. โครงการสง่ เสริมวิทยาลยั ชมุ ชนในการสง่ เสรมิ
ศิลปวฒั นธรรม การเมือง ต้องการความสนใจ อาชีพในเขตพื้นทพี่ ฒั นาพิเศษจังหวดั ชายแดน
ศาสนา ฯลฯ ของบคุ คลในด้าน 1. จานวนกจิ กรรมทบี่ ูรณา ใต้ 4 อาเภอจากทุนวัฒนธรรม
ศลิ ปวัฒนธรรม การในหลกั สูตรระดับ
การเมือง ศาสนา อนปุ รญิ ญาแตล่ ะรายวิชา 3. โครงการจดั การความรเู้ พื่ออนรุ กั ษ์ ศลิ ป
/สาขาวชิ า วฒั นธรรมพื้นถิน่

2. จานวนกิจกรรม/โครงการ
ในการทะนบุ ารุง
ศิลปวัฒนธรรม/สง่ เสริม
การเมอื ง /การศาสนา

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา พ.ศ.2563

หน้า | 45

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ใช้การศึกษาตามพนั ธกจิ ของวิทยาลยั ชุมชนเปน็ ประตูสโู่ อกาสของคนในชมุ ชน

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ชวี้ ัด/โครงการ เปา้ หมาย63 โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ
1. การศึกษาหลกั สตู รอนุปรญิ ญาโครงการขยาย 2,500,000
2.1 มีระบบการศกึ ษาทีก่ ระจาย 2.1.1 ส่งเสริมการจดั การศกึ ษา 1. จานวนนกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ รบั 920 600,000
การศกึ ษาระดับอนุปรญิ ญาเพ่อื สรา้ งโอกาส 300,000
ทว่ั ถึง เข้าถงึ ได้ง่าย มี ในระบบให้กระจายไป การศกึ ษาระดับอนปุ รญิ ญา ทางการศึกษาเพ่ือสร้างโอกาสใหก้ บั คนใน
คา่ ใชจ้ า่ ยต่ามคี ณุ ภาพ ทว่ั ท้งั จงั หวัด เพอื่ สรา้ ง ชุมชน 100,000
ตามมาตรฐานการศึกษา โอกาสให้สมาชกิ ชมุ ชน 2. จานวนสมาชกิ ชุมชนท่ีเข้า 2. โครงการจดั การศกึ ษาเพ่อื เสรมิ สรา้ งชมุ ชน
ระดับอุดมศกึ ษา ได้ เข้าถึงไดง้ ่าย มคี า่ ใช้ รบั บรกิ ารทางการศกึ ษา เข้มแข็ง
จ่ายตา่ และ มีคณุ ภาพ เพือ่ รว่ มสรา้ งชุมชน
โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อเสรมิ สรา้ งอาชพี /
ตามมาตรฐานการศึกษา เข้มแขง็ 1400 พัฒนาอาชใี หก้ บั กลุม่ คนรบั บตั รสวสั ดกิ ารแห่งรฐั
(คนจน)
ระดบั อดุ มศกึ ษา
1. โครงการส่งเสรมิ การดูแลผสู้ งู อายโุ ครงการ
2.2 สร้างโอกาสทางการศกึ ษา 2.2.1 มงุ่ กระจายโอกาสทาง 1. จานวนผ้ลู งทะเบียนรับรับ 100 นวดแผนไทย

ตามพนั ธกจิ ของวิทยาลยั การศึกษาตามพนั ธกิจ บตั รสวสั ดกิ ารแหง่ รฐั 2. โครงการจดั การศึกษาระดับอนุปรญิ ญา
สาธารณสขุ ชมุ ชน โครงการส่งเสรมิ อาชีพอืน่ ๆ
ของวทิ ยาลยั ชมุ ชนสู่ (คนจน)ท่เี ขา้ รบั การศกึ ษา ตามความตอ้ งการ

สมาชิกกลุม่ ขาดโอกาส เพอ่ื พฒั นาอาชีพ

ในสังคม โดยเฉพาะคนจน

เพ่อื ลดความเหล่ือมลา้

2.3 มกี องทนุ สนบั สนุน 2.3 สง่ เสรมิ ใหม้ ีกองทุน 1. จานวนนักศกึ ษาผู้ดอย -

การศึกษา หรอื ขอรบั สนับสนนุ การศกึ ษา โอกาสทไ่ี ด้รับการสนบั สนนุ

การสนบั สนนุ จากกองทนุ หรือขอรับการ จากกองทนุ เพื่อความเสมอ

ความเสมอภาคทาง สนับสนุนจากกองทนุ ภาคทางการศึกษาและเข้า

การศึกษา (กศส.) ความเสมอภาคทาง เรียนตามหลักสูตรของ

การศึกษา (กศส.) วทิ ยาลัยชุมชน

เพอ่ื สง่ เสรมิ การศกึ ษา

ของผูด้ ้อยโอกาส

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี วิทยาลยั ชมุ ชนสงขลา พ.ศ.2563

หนา้ | 46

เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชีว้ ัด/โครงการ เป้าหมาย63 โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ
2.4 จัดหลกั สตู รและการจดั การ มี 1. โครงการพฒั นาระบบกลไกการจัดการคณุ ภาพ 100,000
2.4.1 สง่ เสรมิ การจดั หลักสตู ร 1. มรี ะบบและกลไกใน มี 588,000
เรียนร้ทู ุกระดับตาม ของการจัดการศึกษา 500,000
มาตรฐานคณุ ภาพ และการจดั การเรยี นรู้ การจดั การคุณภาพ มี 2. โครงการส่งเสรมิ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
อดุ มศึกษา 80,000
ทกุ ระดับตามมาตรฐาน การศึกษา 475 ระดับหลักสตู ร 2,500,000
2.5 จัดกจิ กรรมแนะแนว 3. โครงการส่งเสริมคณุ ภาพการจดั การศึกษา 600,000
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะ คณุ ภาพอุดมศึกษา 2. จานวนกจิ กรรม โครงการ 300,000
ทางอาชีพ ระดบั วทิ ยาลัยชุมชน
ที่สง่ เสรมิ คณุ ภาพ 320,100
กิจกรรมการฝึกอบรมหรือบรกิ ารทางวชิ าการใน
การศึกษาระดบั หลกั สตู ร การสง่ เสริมในการพัฒนาทักษะ ดา้ นอาชีพตาม
แผนปฏบิ ตั ิการ
3. จานวนกจิ กรรม โครงการ 1 .โครงการบรกิ ารวิชาการแก่ชมุ ชนชน
2. โครงการสนบั สนุนบทบาทวทิ ยาลยั ชุมชนใน
ที่ส่งเสรมิ คุณภาพการศกึ ษา
การส่งเสรมิ อาชพี ในเขตพนื้ ท่ีพเิ ศษจงั หวัด
ระดบั วทิ ยาลยั ชมุ ชน ชายแดนใต้
3. โครงการจดั การความรเู้ พือ่ เสริมสร้างความสขุ
2.5.1 สง่ เสรมิ การบรกิ ารทาง 1. จานวนประชาชนท่ีไดร้ บั และความเข้มแขง็ ของชุมชน
1. โครงการพัฒนาและส่งเสรมิ การเรยี นรผู้ า่ น
วชิ าการที่มุง่ เน้น การบกิ ารวชิ าการใน การเรยี นออนไลน์
2. โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาเพ่ือผเู้ รยี น
การเสริมสรา้ งทักษะ การพัฒนาทักษะดา้ น ในศตวรรษท่ี 21 และตามนโยบายประเทศไทย
4.0
ทาวด้านอาชีพทงั้ อาชพี

Re-skill และ up – 2. จานวนโครงการ/กิจกรรม

skill ดา้ นศิลปวฒั นธรรมประเพณี

ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ กับการเรยี น

การสอน/กจิ กรรมนักศึกษา

2.6 พฒั นากระบวนการเรียน 2.6.1 สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ อนได้ 1. จานวนรายวิชาทใี่ ช้ 10
การสอนดว้ ยการวิจยั และ พัฒนากระบวนการ การวจิ ัยจัดการเรียน 10
การจดั การศกึ ษา online เรียนการสอนดว้ ย การสอน
การวิจยั และการจดั
การศึกษา online 2. จานวนรายวิชาท่ใี ช้
การจัดการเรยี นการสอน
แบบออนไลน์

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี วทิ ยาลัยชมุ ชนสงขลา พ.ศ.2563

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตัวชีว้ ัด/โครงการ เป้าหมาย63 โครงการ/กิจกรรม หน้า | 47

2.7 ส่งเสรมิ ใหม้ ีการจัด 1. ส่งเสรมิ การพัฒนา 1. จานวนหลกั สตู รทไี่ ดร้ บั 1 1. โครงการจดั หลักสูตรพฒั นาอาชพี งบประมาณ
หลกั สตู รประกาศนยี การพฒั นา 122,000
การศึกษาระดบั ประกาศ บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) 2. โครงการพัฒนาหลักสตู ร ปวช. ม.3
และหลักสตู รประกาศ -
นียบตั รวชิ าชพี ชั้นสูง
นียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) และ (ปวส.)

หลกั สตู รประกาศนีบตั ร

วิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.)

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี วิทยาลัยชมุ ชนสงขลา พ.ศ.2563

หนา้ | 48

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 จัดการศึกษาเพื่อเสรมิ สร้างชมุ ชนเขม้ แข็ง

เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวช้ีวัด/โครงการ เป้าหมาย 63 โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ
3 1. โครงการสนบั สนุนบทบาทวิทยาลยั ชมุ ชนใน 2,500,000
3.1 ใชฐ้ านข้อมลู จาก 3.1.1 สง่ เสรมิ การทาวิจยั 1. จานวนงานวจิ ยั ที่ส่งผลตอ่ 600,000
20 การส่งเสริมอาชีพในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ
การวิจัย เพื่อเปน็ ชุมชน เนน้ การมี การพฒั นาชุมชนเพื่อนาไปสู่ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 600,000
30 2. โครงการจดั การความรเู้ พื่อเสริมสรา้ งความสุข
แนวทางในการจดั ส่วนรว่ มของชุมชน ความเขม้ แข็ง 10 และความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน 2,500,000
30 600,000
กิจกรรมหรอื โครงการ อยา่ งตอ่ เน่อื ง 2. ร้อยละของรายไดท้ ี่เพมิ่ ขึ้นจาก 10 โครงการจดั การความรเู้ พือ่ พัฒนาอาชพี คุณภาพ
ชวี ิตและเสริมสรา้ งชุมชนเขม้ แขง็
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งชมุ ชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนดว้ ย
1. โครงการสนบั สนุนบทบาทวทิ ยาลยั ชมุ ชนใน
เขม้ แขง็ กระบวนการวิจยั การส่งเสรมิ อาชีพในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ
จงั หวัดชายแดนภาคใต้
3. จานวนผู้มรี ายไดน้ อ้ ยจากฐาน
2. โครงการจดั การความรเู้ พือ่ เสรมิ สร้างความสุข
ข้อมลู การลงทะเบยี นคนจน และความเขม้ แข็งของชุมชน

ไดร้ ับการพัฒนาดา้ นเศรษฐกิจ

ใหม้ ีรายได้เพ่ิมขน้ึ จากกระบวน

การวจิ ยั

3.2 ใชก้ ารศกึ ษาเปน็ เคร่อื งมอื 3.2.1 สง่ เสรมิ ให้ใชก้ าร 1. จานวนชมุ ชนท่เี ขา้ ร่วม โครงการ

ในการกาหนดทศิ ทาง ศึกษาเปน็ เครือ่ งมือ 2. จานวนสมาชกิ ของชุมชนที่

การพัฒนาชมุ ชน ในการกาหนดทศิ เขา้ ร่วมโครงการ

ทางการพัฒนาชมุ ชน

อยา่ งมีสว่ นรว่ ม

3.3 องคก์ รชมุ ชน วิสาหกิจ 3.3.1 สง่ เสริมการจัด 1. จานวนโครงการ/กิจกรรมที่

ชมุ ชน กลมุ่ อาชพี หรือ การศึกษาเพือ่ ดาเนินการในการสง่ เสรมิ

องค์กรอื่นในชุมชน มี เสรมิ สร้าง การพฒั นาองคก์ รชมุ ชนวิสาหกิจ

ความเขม้ แขง็ และมี สมรรถนะของ ชมุ ชน/กลมุ่ อาชพี /องค์กรอ่นื

ประสิทธภิ าพในการ องคก์ รชุมชน

ดาเนนิ กิจกรรมตาม ตา่ ง ๆ

วัตถปุ ระสงค์

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสงขลา พ.ศ.2563


Click to View FlipBook Version