The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
ศูนย์เด็กปฐมวัยต้นแบบโรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mussalimah, 2021-04-20 09:14:12

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
ศูนย์เด็กปฐมวัยต้นแบบโรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

Keywords: หลักสูตร,ปฐมวัย,โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ,โรงเรียน

ตัวบง่ ชี้ ๙.๒ อ่ำน เขยี นภำพและสญั ลักษณ์ได้

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

อนุบาลปที ่ี ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปที ่ี ๒ (๔-๕ ป)ี อนบุ าลปีท่ี ๓ (๕-๖ ป)ี

๙.๒.๑ อ่ำนภำพและพดู ๙.๒.๑ อ่ำนภำพ สัญลักษณ์ ๙.๒.๑ อ่ำนภำพ สญั ลกั ษณ์ ๑
ค้ำ ด้วยกำรชหี รอื กวำดตำมอง (
ข้อควำมดว้ ยภำษำของตน คำ้ พรอ้ มทังชหี รอื กวำดตำมอง จดุ เรมิ่ ต้นและจุดจบของ ป
ข้อควำม (
ขอ้ ควำมตำมบรรทดั ร
(
(

(

(

(

(

(

สาระการเรียนรู้

ประสบการณส์ าคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้

๑.๔.๑ การใชภ้ าษา - กำรตระหนกั ว่ำภำพและข้อควำมมี

(๑๐) กำรอ่ำนหนงั สอื ภำพ นทิ ำนหลำกหลำย ควำมสมั พันธ์กัน

ประเภท/รูปแบบ - กำรจ้ำ / รู้จกั ค้ำหรอื ข้อควำมทเ่ี ห็นบอ่ ยๆ

(๑๑) กำรอำ่ นอยำ่ งอิสระตำมล้ำพงั กำรอำ่ น - กำรตระหนักว่ำคำ้ ประกอบด้วยตัวอกั ษรหลำย

รว่ มกัน กำรอ่ำนโดยมผี ูช้ แี นะ ตวั

(๑๒) กำรเห็นแบบอย่ำงของกำรอำ่ นทถ่ี กู ตอ้ ง - ทิศทำงของตวั อักษร

(๑๓) กำรสังเกตทศิ ทำงกำรอำ่ นตวั อกั ษร ค้ำ และ - วธิ ถี ือหนงั สือ

ข้อควำม - สว่ นประกอบของหนังสอื

(๑๔) กำรอำ่ นและชขี อ้ ควำมโดยกวำดสำยตำตำม - กำรใชแ้ ละกำรดแู ลหนังสือ

บรรทดั จำกซ้ำยไปขวำจำกบนลงลำ่ ง - กำรตระหนกั วำ่ ผ้ใู หญอ่ ่ำนเรอ่ื งรำวจำก

(๑๕) กำรสังเกตตัวอักษรในช่ือของตนเองหรือค้ำ ตวั หนงั สอื ไม่ใชจ่ ำกภำพ

คนุ้ เคย - กำรคำดคะเน และตรวจสอบกำรคำดคะเนโดย

(๑๖) กำรสงั เกตตัวอกั ษรทป่ี ระกอบเป็นค้ำผ่ำน อำศัยภำพ

กำรอ่ำนหรือเขียนของผใู้ หญ่ - เสยี งและรูปของตัวอกั ษร

(๑๗) กำรคำดเดำค้ำ วลี หรอื ประโยคทมี่ ี

โครงสร้ำงซ้ำๆกนั จำกนิทำน เพลง ค้ำคล้องจอง

(๑๘) กำรเลน่ เกมทำงภำษำ

๒๙

ตวั บ่งช้ี ๙.๒ อ่ำน เขียนภำพและสัญลักษณไ์ ด้

สภาพท่พี งึ ประสงค์

อนุบาลปีท่ี ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปที ่ี ๒ (๔-๕ ป)ี อนบุ าลปที ี่ ๓ (๕-๖ ป)ี

๙.๒.๒ เขยี นขดี เข่ียอย่ำงมี ๙.๒.๒ เขยี นคลำ้ ยตัวอกั ษร ๙.๒.๒ เขยี นชอ่ื ของตนเองตำม ๑
แบบ เขยี นข้อควำมดว้ ยวิธที ี่ (
ทศิ ทำง คดิ ขึนเอง ค
(

(

(
(
(

(

(


สาระการเรียนรู้

ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้

๑.๔.๑ การใช้ภาษา - กำรสร้ำงภำพ และ/หรือขอ้ ควำม ดว้ ยกำรวำด

(๑๕) กำรสงั เกตตวั อกั ษรในช่ือของตนเองหรอื ค้ำ กำรลอก กำรจำ้ มำเขียนทงั ที่ถกู และไมถ่ กู ตอ้ ง

คนุ้ เคย สมบรู ณ์

(๑๖) กำรสงั เกตตัวอักษรที่ประกอบเปน็ ค้ำผำ่ น - ทิศทำงกำรเขยี น

กำรอ่ำนหรือเขยี นของผู้ใหญ่ - วิธถี ำ่ ยทอดควำมหมำยของสญั ลักษณภ์ ำษำเขยี น

(๑๗) กำรคำดเดำคำ้ วลี หรือประโยคท่ีมี

โครงสร้ำงซ้ำๆกนั จำกนทิ ำน เพลง คำ้ คล้องจอง

(๑๘) กำรเลน่ เกมทำงภำษำ

(๑๙) กำรเหน็ แบบอย่ำงของกำรเขียนทถ่ี ูกต้อง

(๒๐) กำรเขยี นรว่ มกนั ตำมโอกำส และกำรเขียน

อสิ ระ

(๒๑) กำรเขยี นค้ำทม่ี คี วำมหมำยกบั ตัวเด็ก/ ค้ำ

ค้นุ เคย

(๒๒) กำรคิดสะกดค้ำและเขยี นสอื่ ควำมหมำย

ดว้ ยตนเองอย่ำงอสิ ระ

๓๐

มาตรฐานท่ี ๑๐

มคี วามสามารถในการคิดท่ีเปน็ พืน้ ฐานในการเรียนรู้

ตวั บ่งชี้ ๑๐.๑ มคี วำมสำมำรถในกำรคิดรวบยอด

สภาพที่พงึ ประสงค์

อนบุ าลปีที่ ๑ (๓-๔ ป)ี อนุบาลปีที่ ๒ (๔-๕ ป)ี อนบุ าลปที ี่ ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะของส่งิ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะและ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะและ ๑

ต่ำงๆ จำกกำรสังเกตโดยใช้ ส่วนประกอบของสิง่ ต่ำงๆ จำก ส่วนประกอบ กำรเปลยี่ นแปลง (

ประสำทสมั ผสั กำรสงั เกตโดยใชป้ ระสำท หรือควำมสัมพันธ์ของสิง่ ต่ำงๆ ใ
(
สัมผสั จำกกำรสงั เกตโดยใชป้ ระสำท ท
(
สัมผสั ร

(

(

(

(


สาระการเรยี นรู้

ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล การ - ลกั ษณะ สี ผิวสัมผสั ขนำด รปู รำ่ ง รูปทรง

ตดั สินใจและแกป้ ัญหา ปริมำตร น้ำหนกั จ้ำนวน สว่ นประกอบ ฯลฯ

(๑) กำรสังเกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ กำร - กำรเปลยี่ นแปลงของสง่ิ ตำ่ งๆ

เปลีย่ นแปลงและควำมสมั พันธ์ของส่งิ ตำ่ งๆ โดย - แมเ่ หลก็

ใชป้ ระสำทสมั ผสั อย่ำงเหมำะสม - ดนิ น้ำ ท้องฟ้ำ สภำพอำกำศ ภยั ธรรมชำติ

(๒) กำรสังเกตสง่ิ ตำ่ งๆ และสถำนท่จี ำกมุมมอง - แรงและพลังงำนในชวี ติ ประจำ้ วนั

ท่ตี ่ำงกนั - แรงโนม้ ถว่ ง กำรจม กำรลอย

(๓) กำรบอกและแสดงตำ้ แหน่ง ทิศทำง และ - แสงและเงำ

ระยะทำงของส่ิงตำ่ งๆ ดว้ ยกำรกระทำ้ ภำพวำด - ยำนพำหนะ และกำรคมนำคม

ภำพถ่ำย และรูปภำพ - เทคโนโลยี และกำรสื่อสำรท่ีใชอ้ ยู่ในชีวติ ประจำ้ วนั

(๔) กำรเลน่ กบั ส่อื ตำ่ งๆ ท่ีเปน็ ทรงกลม ทรง - ควำมสัมพนั ธ์ของสิง่ ต่ำงๆ รอบตวั

สเ่ี หลี่ยมมมุ ฉำก ทรงกระบอก ทรงกรวย

(๖) กำรต่อของชนิ เล็กเตมิ ในชนิ ใหญใ่ ห้สมบูรณ์

และกำรแยกชินส่วน

(๘) กำรนบั และแสดงจำ้ นวนของสิง่ ตำ่ งๆ ใน

ชีวติ ประจ้ำวัน

(๑๒) กำรชัง่ ตวง วัดสง่ิ ตำ่ งๆโดยใช้เครื่องมือและ

หน่วยทไี่ มใ่ ชห่ น่วยมำตรฐำน

๓๑

ตวั บง่ ชี้ ๑๐.๑ มีควำมสำมำรถในกำรคิดรวบยอด (ต่อ)

สภาพท่ีพึงประสงค์

อนบุ าลปที ี่ ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปีท่ี ๒ (๔-๕ ป)ี อนุบาลปที ่ี ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๐.๑.๒ จบั คหู่ รือเปรยี บเทยี บ ๑๐.๑.๒ จับคูแ่ ละเปรียบเทยี บ ๑๐.๑.๒ จับคแู่ ละเปรียบเทยี บ ๑

สิ่งต่ำงๆ โดยใช้ลักษณะหนำ้ ที่ ควำมแตกต่ำงหรอื ควำมเหมอื น ควำมแตกต่ำงและควำมเหมอื น ต

กำรใช้งำนเพยี งลักษณะเดยี ว ของสิ่งตำ่ งๆ โดยใช้ลักษณะ ของสิง่ ต่ำงๆ โดยใชล้ กั ษณะ (

ทส่ี ังเกตพบเพียงลักษณะเดยี ว ทส่ี ังเกตพบ ๒ ลกั ษณะขนึ ไป (

(

(





๑๐.๑.๓ คัดแยกสิ่งต่ำงๆ ตำม ๑๐.๑.๓ จำ้ แนกและจัดกล่มุ ๑๐.๑.๓ จำ้ แนกและจัดกลมุ่ ๑

ลกั ษณะหรอื หน้ำท่ีกำรใช้งำน ตำ่ ง ๆ โดยใช้อย่ำงนอ้ ย ๑ ต่ำง ๆ โดยใช้ตังแต่ ๒ ลกั ษณะ ต

ลกั ษณะเป็นเกณฑ์ ขึนไปเปน็ เกณฑ์ (



(

๑๐.๑.๔ เรียงล้ำดบั สงิ่ ของหรือ ๑๐.๑.๔ เรียงลำ้ ดับสงิ่ ของหรอื ๑๐.๑.๔ เรยี งล้ำดบั ส่ิงของหรือ ๑

เหตกุ ำรณ์อย่ำงน้อย ๓ ล้ำดบั เหตุกำรณอ์ ยำ่ งน้อย ๔ ล้ำดบั เหตกุ ำรณอ์ ยำ่ งนอ้ ย ๕ ล้ำดับ ต

(

(

(

(





(



สาระการเรียนรู้

ประสบการณส์ าคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล การ - ค่ำและควำมหมำยของจำ้ นวน

ตดั สินใจและแก้ปญั หา - ตวั เลข

(๗) กำรทำ้ ซำ้ กำรต่อเตมิ กำรสรำ้ งแบบรูป - ลักษณะ สี ผิวสัมผสั ขนำด รูปรำ่ ง รปู ทรง

(๙) กำรเปรยี บเทยี บและเรยี งล้ำดับจำ้ นวนของสิ่งตำ่ งๆ ปรมิ ำตร น้ำหนัก จ้ำนวน ส่วนประกอบ ฯลฯ

(๑๐) กำรรวมและกำรแยกส่ิงต่ำงๆ - ตำ้ แหนง่ ทศิ ทำง

(๑๓) กำรจบั คู่ กำรเปรียบเทยี บ และกำร

เรียงลำ้ ดบั ส่ิงตำ่ งๆ ตำมลักษณะควำมยำว /

ควำมสงู นำ้ หนกั ปริมำตร

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ เชิงเหตุผล การ - ลักษณะ สี ผิวสัมผสั ขนำด รูปรำ่ ง รปู ทรง

ตดั สินใจและแก้ปัญหา ปรมิ ำตร นำ้ หนัก จ้ำนวน ส่วนประกอบ ฯลฯ

(๕) กำรคัดแยก กำรจำ้ แนก กำรจดั กลมุ่ และกำร - แบบรปู

จ้ำแนกส่ิงตำ่ งๆตำมลกั ษณะ และรปู ร่ำง รปู ทรง

(๗) กำรทำ้ ซำ้ กำรตอ่ เตมิ กำรสรำ้ งแบบรปู

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ล การ - ลำ้ ดับ

ตัดสนิ ใจและแก้ปญั หา - ล้ำดบั ของกจิ กรรมหรอื เหตุกำรณ์

(๗) กำรทำ้ ซำ้ กำรตอ่ เตมิ กำรสรำ้ งแบบรูป

(๙) กำรเปรียบเทียบและเรยี งลำ้ ดับจ้ำนวนของสง่ิ ตำ่ งๆ

(๑๑) กำรบอกและแสดงอันดบั ทข่ี องสง่ิ ตำ่ งๆ

(๑๓) กำรจบั คู่ กำรเปรียบเทียบ และกำร

เรยี งลำ้ ดับสงิ่ ตำ่ งๆ ตำมลักษณะควำมยำว /

ควำมสูง นำ้ หนัก ปริมำตร

(๑๔) กำรบอกและเรียงล้ำดับกจิ กรรมหรอื

เหตกุ ำรณต์ ำมชว่ งเวลำ

๓๒

ตวั บ่งช้ี ๑๐.๒ มคี วำมสำมำรถในกำรคดิ เชิงเหตุผล

สภาพท่ีพึงประสงค์

อนบุ าลปีท่ี ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปที ่ี ๒ (๔-๕ ป)ี อนบุ าลปีที่ ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๐.๒.๑ ระบผุ ลทเ่ี กิดขนึ ใน ๑๐.๒.๑ ระบสุ ำเหตุ หรือผลที่ ๑๐.๒.๑ อธบิ ำยเช่ือมโยง ๑
สำเหตแุ ละผลท่ีเกิดขนึ ใน ต
เหตกุ ำรณห์ รือกำรกระทำ้ ที่มผี ู้ เกดิ ขนึ ในเหตุกำรณห์ รอื กำร เหตกุ ำรณห์ รือกำรกระท้ำดว้ ย (
ตนเอง ใ
ชแี นะ กระท้ำเมื่อมผี ูช้ ีแนะ

๑๐.๒.๒ คำดเดำ หรือ ๑๐.๒.๒ คำดเดำ หรอื ๑๐.๒.๒ คำดคะเนส่ิงท่ีอำจจะ ๑
คำดคะเนสิ่งทอี่ ำจจะเกิดขนึ คำดคะเนสิง่ ทีอ่ ำจจะเกดิ ขนึ เกิดขนึ และสว่ นร่วมในกำรลง ต
หรอื มสี ่วนร่วมในกำรลง ควำมเห็นจำกขอ้ มลู อยำ่ งมี (
ควำมเหน็ จำกข้อมลู เหตผุ ล เ
(


ตัวบ่งชี้ ๑๐.๓ มีควำมสำมำรถในกำรคดิ แก้ปัญหำและตัดสนิ ใจ

สภาพทพี่ ึงประสงค์

อนุบาลปีที่ ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปีที่ ๒ (๔-๕ ป)ี อนบุ าลปที ่ี ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๐.๓.๑ ตัดสนิ ใจในเรือ่ งง่ำยๆ ๑๐.๓.๑ ตดั สินใจในเรือ่ งง่ำยๆ ๑๐.๓.๑ ตดั สนิ ใจในเรือ่ งงำ่ ยๆ ๑

และเรม่ิ เรยี นรผู้ ลท่เี กดิ ขึน และยอมรับผลทเ่ี กดิ ขึน (

๑๐.๓.๒ แกป้ ญั หำโดยกำรลอง ๑๐.๓.๒ ระบุปญั หำและ ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญั หำสรำ้ ง

ผดิ ลองถูก แก้ปัญหำโดยกำรลองผิดลอง ทำงเลอื กและเลือกวิธี ต
(
ถกู แก้ปญั หำ แ

สาระการเรียนรู้

ประสบการณส์ าคญั สาระที่ควรเรียนรู้

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ เชงิ เหตผุ ล การ - เหตุและผล

ตัดสนิ ใจและแกป้ ัญหา

(๑๖) กำรอธิบำยเช่ือมโยงสำเหตุและผลท่เี กิดขนึ

ในเหตกุ ำรณห์ รอื กำรกระท้ำ

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล การ - เหตุและผล
ตัดสนิ ใจและแกป้ ญั หา - ควำมสมั พันธข์ องสิ่งตำ่ งๆ
(๑๗) กำรคำดเดำหรอื กำรคำดคะเนส่งิ ทีอ่ ำจจะ - ลำ้ ดับของกิจกรรมหรือเหตุกำรณ์
เกิดขนึ อย่ำงมเี หตุผล - กำรนำ้ ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมมำใช้ในกำรคำดคะเน
(๑๘) กำรมีสว่ นร่วมในกำรลงควำมเหน็ จำกขอ้ มลู คำ้ ตอบ
อย่ำงมีเหตผุ ล

สาระการเรียนรู้

ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรเรียนรู้

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ เชงิ เหตุผล การ - กำรตัดสนิ ใจ และกำรยอมรบั ผลทีเ่ กดิ จำกกำร

ตัดสินใจและแกป้ ัญหา ตัดสินใจ

(๑๙) กำรตัดสนิ ใจและมสี ว่ นร่วมในกระบวนกำร - กำรยืดหยุน่ และกำรประนปี ระนอม

แกป้ ญั หำ

๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล การ - กำรแกป้ ัญหำ

ตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหา - กำรก้ำกับตนเอง

(๑๙) กำรตดั สินใจและมีส่วนรว่ มในกระบวนกำร

แกป้ ญั หำ

๓๓

มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

ตวั บ่งชี้ ๑๑.๑ ท้ำงำนศลิ ปะตำมจินตนำกำรและควำมคิดสรำ้ งสรรค์

สภาพท่ีพึงประสงค์

อนุบาลปีที่ ๑ (๓-๔ ป)ี อนุบาลปีท่ี ๒ (๔-๕ ป)ี อนุบาลปีท่ี ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๑.๑.๑ สรำ้ งผลงำนศลิ ปะ ๑๑.๑.๑ สรำ้ งผลงำนศลิ ปะ ๑๑.๑.๑ สรำ้ งผลงำนศลิ ปะ ๑
(
เพ่ือสื่อสำรควำมคดิ ควำมรสู้ ึก เพื่อส่ือสำรควำมคดิ ควำมรสู้ ึก เพ่อื สื่อสำรควำมคดิ ควำมรสู้ ึก ว
(
ของตนเอง ของตนเอง โดยมีกำรดดั แปลง ของตนเอง โดยมีกำรดัดแปลง ท
(
และแปลกใหมจ่ ำกเดมิ หรอื มี และแปลกใหม่จำกเดมิ หรอื มี จ

รำยละเอยี ดเพมิ่ ขึน รำยละเอยี ดเพิ่มขึน

ตวั บ่งชี้ ๑๑.๒ แสดงท่ำทำง/เคลื่อนไหวตำมจติ นำกำรอย่ำงสร้ำงสรรค์

สภาพท่ีพงึ ประสงค์

อนุบาลปที ี่ ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปที ี่ ๒ (๔-๕ ป)ี อนุบาลปีที่ ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๑.๒.๑ เคลอื่ นไหวทำ่ ทำง ๑๑.๒.๑ เคลอื่ นไหวทำ่ ทำง ๑๑.๒.๑ เคล่อื นไหวท่ำทำง ๑
(
เพ่อื สือ่ สำรควำมคดิ ควำมรสู้ กึ เพอ่ื ส่ือสำรควำมคดิ ควำมรสู้ ึก เพอ่ื สือ่ สำรควำมคดิ ควำมรสู้ กึ ท

ของตนเอง ของตนเอง อย่ำงหลำกหลำย ของตนเอง อย่ำงหลำกหลำย

หรอื แปลกใหม่ และแปลกใหม่

สาระการเรียนรู้

ประสบการณส์ าคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้

๑.๔.๓ จนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ - งำนศิลปะประเภทตำ่ งๆ

(๑) กำรรบั รู้และแสดงควำมคิด ควำมรสู้ กึ ผ่ำนสอื่ - กำรถำ่ ยทอดควำมคดิ จนิ ตนำกำรผำ่ นงำนศลิ ปะ

วสั ดุ ของเลน่ และชนิ งำน

(๒) กำรแสดงควำมคิดสร้ำงสรรคผ์ ำ่ นภำษำ

ท่ำทำง กำรเคลื่อนไหวและศลิ ปะ

(๓) กำรสร้ำงสรรค์ชนิ งำนโดยใชร้ ปู ร่ำงรปู ทรง

จำกวสั ดุที่หลำกหลำย

สาระการเรียนรู้

ประสบการณ์สาคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้

๑.๔.๓ จนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ - กำรถ่ำยทอดควำมคดิ จินตนำกำรผำ่ นกำรแสดง

(๒) กำรแสดงควำมคดิ สรำ้ งสรรคผ์ ำ่ นภำษำ ทำ่ ทำง

ทำ่ ทำง กำรเคลื่อนไหวและศลิ ปะ

๓๔

มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคติทดี่ ตี ่อการเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหา

ตวั บ่งชี้ ๑๒.๑ มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อกำรเรยี นรู้

สภาพท่พี ึงประสงค์

อนุบาลปีท่ี ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปีท่ี ๒ (๔-๕ ป)ี อนุบาลปที ่ี ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๒.๑.๑ สนใจฟงั หรอื อำ่ น ๑๒.๑.๑ สนใจชกั ถำมเก่ยี วกับ ๑๒.๑.๑ สนใจหยบิ หนงั สือ ๑

หนงั สอื ดว้ ยตนเอง สญั ลักษณห์ รอื ตวั หนังสือทพี่ บ และเขยี นสอื่ ควำมคดิ ด้วย ค

เห็น ตนเองเปน็ ประจ้ำอย่ำง (

ตอ่ เนอ่ื ง (

(



(





๑๒.๑.๒ กระตือรอื รน้ ในกำร ๑๒.๑.๒ กระตือรือร้นในกำร ๑๒.๑.๒ กระตอื รอื ร้นในกำร ๑
เข้ำรว่ มกิจกรรม เข้ำรว่ มกิจกรรม เขำ้ รว่ มกจิ กรรมตังแต่ตน้ จน ค
จบ (
(
(

(



าความรู้ได้เหมาะสมกับวัย

สาระการเรยี นรู้

ประสบการณส์ าคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้

๑.๔.๔ เจตคติท่ดี ตี อ่ การเรียนรแู้ ละการแสวงหา - ประโยชนข์ องกำรอำ่ นและกำรเขียน

ความรู้

(๑) ส้ำรวจสิง่ ต่ำงๆ และแหลง่ เรียนรูร้ อบตวั

(๒) กำรตงั ค้ำถำมในเร่ืองทส่ี นใจ

(๓) กำรสืบเสำะหำควำมรู้เพอื่ คน้ หำคำ้ ตอบของ

ขอ้ สงสยั ต่ำงๆ

(๔) กำรมสี ่วนร่วมในกำรรวบรวมข้อมลู และ

น้ำเสนอขอ้ มลู จำกกำรสบื เสำะหำควำมรู้ใน

รูปแบบตำ่ งๆ และแผนภูมอิ ยำ่ งงำ่ ย

๑.๔.๔ เจตคติทด่ี ตี ่อการเรยี นรู้และการแสวงหา - เจตคติทดี่ ตี อ่ กำรมำโรงเรยี น และกำรร่วม
ความรู้ กจิ กรรมกำรเรียนรู้
(๑) ส้ำรวจสงิ่ ต่ำงๆ และแหล่งเรียนรรู้ อบตวั
(๒) กำรตังค้ำถำมในเรอื่ งท่สี นใจ
(๓) กำรสบื เสำะหำควำมรู้เพอ่ื ค้นหำค้ำตอบของ
ขอ้ สงสยั ตำ่ งๆ
(๔) กำรมสี ่วนร่วมในกำรรวบรวมข้อมูลและ
น้ำเสนอข้อมูลจำกกำรสบื เสำะหำควำมรใู้ น
รูปแบบต่ำงๆ และแผนภมู อิ ยำ่ งง่ำย

๓๕

ตัวบง่ ช้ี ๑๒.๑ มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อกำรเรียนรู้ (ต่อ)

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

อนุบาลปีที่ ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปีท่ี ๒ (๔-๕ ป)ี อนุบาลปที ี่ ๓ (๕-๖ ป)ี
๑๒.๑.๓ มีนิสยั รักกำรอำ่ น
๑๒.๑.๓ มนี ิสยั รักกำรอ่ำน ๑๒.๑.๓ มนี สิ ยั รักกำรอำ่ น ๑
(

(



(
(


ตวั บง่ ช้ี ๑๒.๒ มีควำมสำมำรถในกำรแสวงหำควำมรู้

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

อนุบาลปที ่ี ๑ (๓-๔ ป)ี อนบุ าลปที ี่ ๒ (๔-๕ ป)ี อนบุ าลปีที่ ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๒.๒.๑ คน้ หำค้ำตอบของขอ้ ๑๒.๒.๑ คน้ หำคำ้ ตอบของขอ้ ๑๒.๒.๑ คน้ หำค้ำตอบของข้อ ๑
สงสยั ตำ่ งๆ ตำมวธิ กี ำรที่ ค
สงสยั ตำ่ งๆ ตำมวิธีกำรเมื่อมผี ู้ สงสยั ตำ่ งๆ ตำมวธิ ีกำรของ หลำกหลำยดว้ ยตนเอง (
(
แนะ ตนเอง (

(



สาระการเรยี นรู้

ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้

๑.๔.๑ การใชภ้ าษา - ประโยชน์ของกำรอ่ำน

(๑๐) กำรอ่ำนหนังสอื ภำพ นิทำนหลำกหลำย - กำรใช้หนังสอื

ประเภท/รูปแบบ

(๑๑) กำรอ่ำนอยำ่ งอสิ ระตำมล้ำพงั กำรอำ่ น

ร่วมกนั กำรอำ่ นโดยมผี ู้ชแี นะ

๑.๔.๔ เจตคติทีด่ ีต่อการเรยี นรู้และการแสวงหา

ความรู้

(๒) กำรตังคำ้ ถำมในเรอื่ งทส่ี นใจ

(๓) กำรสืบเสำะหำควำมรเู้ พอ่ื ค้นหำคำ้ ตอบของ

ขอ้ สงสัยตำ่ งๆ

สาระการเรียนรู้

ประสบการณ์สาคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้

๑๔.๔ เจตคติท่ีดตี ่อการเรียนรู้และการแสวงหา - กำรตังคำ้ ถำม

ความรู้ - แหลง่ ข้อมูล

(๑) ส้ำรวจสิ่งตำ่ งๆ และแหลง่ เรียนรู้รอบตวั - วธิ กี ำรรวบรวมข้อมลู

(๒) กำรตงั คำ้ ถำมในเรือ่ งท่ีสนใจ - กำรใช้ขอ้ มลู ที่ไดใ้ นกำรคำดคะเนคำ้ ตอบ

(๓) กำรสบื เสำะหำควำมรเู้ พื่อค้นหำคำ้ ตอบของ - วิธกี ำรนำ้ เสนอขอ้ มลู

ขอ้ สงสัยต่ำงๆ - กำรเชอ่ื มโยงควำมร้แู ละทักษะตำ่ งๆ ไปใชใ้ น

(๔) กำรมีส่วนรว่ มในกำรรวบรวมขอ้ มลู และ ชีวิตประจำ้ วนั

นำ้ เสนอข้อมูลจำกกำรสืบเสำะหำควำมรูใ้ น

รปู แบบต่ำงๆ และแผนภูมิอยำ่ งง่ำย

๓๖

ตัวบ่งชี้ ๑๒.๒ มีควำมสำมำรถในกำรแสวงหำควำมรู้ (ต่อ)

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

อนุบาลปที ่ี ๑ (๓-๔ ป)ี อนุบาลปีท่ี ๒ (๔-๕ ป)ี อนุบาลปีท่ี ๓ (๕-๖ ป)ี

๑๒.๒.๒ ใชป้ ระโยคคำ้ ถำมว่ำ ๑๒.๒.๒ ใชป้ ระโยคค้ำถำมว่ำ ๑๒.๒.๒ ใชป้ ระโยคค้ำถำมวำ่ ๑

“ใคร” “อะไร” ในกำรค้นหำ “ที่ไหน” “ท้ำไม” ในกำร “เม่ือไหร่” “อย่ำงไร” ในกำร (
(
ค้ำตอบ คน้ หำคำ้ ตอบ คน้ หำค้ำตอบ (

(



สาระการเรียนรู้

ประสบการณส์ าคญั สาระที่ควรเรียนรู้

๑๔.๔ เจตคติท่ีดีต่อการเรยี นร้แู ละการแสวงหา - กำรตังคำ้ ถำม

ความรู้

(๑) ส้ำรวจสง่ิ ต่ำงๆ และแหล่งเรยี นรรู้ อบตัว

(๒) กำรตังคำ้ ถำมในเรอ่ื งทส่ี นใจ

(๓) กำรสืบเสำะหำควำมรูเ้ พ่อื คน้ หำค้ำตอบของ

ข้อสงสัยตำ่ งๆ

(๔) กำรมีส่วนรว่ มในกำรรวบรวมข้อมลู และ

น้ำเสนอข้อมลู จำกกำรสบื เสำะหำควำมรู้ใน

รูปแบบต่ำงๆ และแผนภมู อิ ยำ่ งงำ่ ย

๓๗

๓๘

การจัดประสบการณ์

แนวทางการจดั ประสบการณ์
การจดั ประสบการณส์ าหรับเดก็ ปฐมวัยของศูนยเ์ ด็กปฐมวัยต้นแบบโรงเรียนทุ่งมหาเมฆ แบ่งออกเป็น

๓ ลักษณะหลัก คือ หน่วยการเรียนรู้ (Unit) การจัดประสบการณ์โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน (Literature
based Approach) และการจัดประสบการณ์แบบโครงการ (Project Approach) ท้ังน้ี มีการบูรณาการการ
สอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language) ในการจัดประสบการณท์ ้งั ๓ ลกั ษณะดังกล่าว ดังนี้

๑. หน่วยการเรียนรู้ เป็นการจัดประสบการณ์ซ่ึงครูผู้สอนสามารถออกแบบกิจกรรมโดยบูรณาการ
สาระการเรียนรู้ตามหน่วยการสอนทก่ี าหนด กบั สาระการเรียนรู้ซึ่งเป็นทักษะท่ีจาเป็นตามสาระการเรียนรู้รายปี โดย
ออกแบบกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมการเล่นตามมุม กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง และเกมการศึกษา หน่วยการ
เรยี นรู้ทกี่ าหนดไวม้ ดี ังนี้

ลาดบั ชนั้ อนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒ ชนั้ อนบุ าล ๓

๑ หนว่ ยพบกนั สวสั ดี หน่วยพบกันสวัสดี หน่วยพบกนั สวัสดี
๒ หน่วยหนนู อ้ ยนา่ รัก หนว่ ยหนูน้อยนา่ รกั หนว่ ยหนูนอ้ ยน่ารกั
๓ หน่วยอ่ิมอร่อย หน่วยอิม่ อรอ่ ย หน่วยอิ่มอร่อย
๔ หน่วยเด็กเอย๋ เดก็ ดี หนว่ ยเด็กเอ๋ยเด็กดี หน่วยเดก็ เอย๋ เด็กดี
๕ หน่วยครอบครวั ทร่ี กั หน่วยครอบครัวทร่ี ัก หน่วยครอบครัวทร่ี ัก
๖ หนว่ ยหนูนอ้ ยมหาเมฆ หนว่ ยหนนู ้อยมหาเมฆ หนว่ ยหนูน้อยมหาเมฆ
๗ หนว่ ยหนูรักแม่ หนว่ ยหนรู ักแม่ หนว่ ยหนรู กั แม่
๘ หนว่ ยหนรู กั พ่อ หน่วยหนูรกั พอ่ หน่วยหนรู กั พอ่
๙ หนว่ ยกรงุ เทพมหานคร หนว่ ยกรุงเทพมหานคร หนว่ ยกรุงเทพมหานคร
๑๐ หนว่ ยหนูรักเมืองไทย หน่วยหนรู กั เมืองไทย หนว่ ยหนูรักเมืองไทย
๑๑ หน่วยหนูนอ้ ยอาเซียน หน่วยหนูน้อยอาเซยี น หน่วยหนนู อ้ ยอาเซียน
๑๒ หนว่ ยขา้ ว หน่วยข้าว หนว่ ยขา้ ว
๑๓ หน่วยฝน หนว่ ยฝน หน่วยฝน
๑๔ หน่วยสตั วน์ ่ารกั หน่วยสัตว์เลีย้ งแสนรัก หนว่ ยสัตวโ์ ลกนา่ รู้
๑๕ หน่วยตน้ ไมท้ ีร่ ัก หนว่ ยต้นไม้ที่รกั หน่วยธรรมชาตแิ สนงาม
๑๖ หน่วยหนูน้อยรกั โลก หนว่ ยหนนู อ้ ยรักโลก หน่วยหนนู ้อยรกั โลก
๑๗ หนว่ ยหนูน้อยลอยกระทง หนว่ ยหนูน้อยลอยกระทง หนว่ ยหนูน้อยลอยกระทง
๑๘ หนว่ ยปลอดภัยไวก้ ่อน หนว่ ยปลอดภยั ไว้ก่อน หนว่ ยปลอดภัยไวก้ อ่ น
๑๙ หนว่ ยหนังสอื ที่รกั หนว่ ยหอ้ งสมดุ ทร่ี ัก หนว่ ยหอ้ งสมุดทร่ี กั
๒๐ หน่วยเทคโนโลยีนา่ รู้ หน่วยเทคโนโลยีน่ารู้ หน่วยเทคโนโลยีนา่ รู้
๒๑ หน่วยปีใหมช่ วี ติ ใหม่ หน่วยปใี หม่ชวี ติ ใหม่ หน่วยปใี หม่ชีวติ ใหม่
๒๒ หน่วยหนนู ้อยนกั ประดษิ ฐ์ หน่วยหนูน้อยนักประดษิ ฐ์ หนว่ ยหนนู อ้ ยนกั ประดิษฐ์
๒๓ หน่วยสสี ันหรรษา หนว่ ยหนนู ้อยนกั วิทยาศาสตร์ หน่วยหนนู ้อยนักวิทยาศาสตร์
๒๔ หนว่ ยดอกไม้แสนสวย หน่วยผีเสือ้ แสนงาม หน่วยก้าวใหม่
๒๕ หนว่ ยของเลน่ ท่รี กั

๓๙

๒. การจัดประสบการณโ์ ดยใชว้ รรณกรรมเป็นฐาน เป็นการจดั ประสบการณโ์ ดยมีวัตถุประสงค์หลัก
เพ่ือสร้างเจตคติท่ีดีต่อการแสวงหาความรู้ ช่วยให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน เรียนรู้ว่าการอ่านเป็นเรื่องที่
สนกุ สนาน และสามารถนาไปสู่การคน้ พบส่งิ ท่ีมีความหมายอีกมากมาย โดยมีแนวทางในการจัดประสบการณ์
ดังน้ี

๒.๑ การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศให้เด็กแวดล้อมด้วยวรรณกรรมสาหรับเด็ก โดย
กาหนดแนวทางการดาเนนิ การ ดังนี้

๑) จัดใหม้ ีมมุ หนงั สอื ซึ่งมีวรรณกรรมสาหรับเดก็ อย่างนอ้ ย ๑๐ เท่าของจานวนเด็ก
มีการเปล่ียนแปลงหนงั สือทจี่ ดั แสดงไว้ให้สอดคล้องกบั หน่วยการเรยี นรู้

๒) จดั กจิ กรรมต่อเนอ่ื งจากวรรณกรรมซึ่งให้เด็กได้ลงมือกระทาอย่างสอดคล้องกับ
หน่วยการเรยี นรู้ อยา่ งน้อยคร่งึ หนึง่ ของหน่วยการเรียนรู้ทง้ั หมด

๓) จัดให้มีเวลาสาหรับการอ่านหนังสือให้เด็กฟังอย่างน้อยวันละ ๑ เร่ือง และจัด
ให้เด็กมีเวลาเลือกอ่านอยา่ งอิสระ

๒.๒ การจัดหน่วยการจดั ประสบการณ์โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน กาหนดให้มีหน่วยการจัด
ประสบการณ์โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐานปีการศึกษาละ ๑-๒ หน่วย ใช้เวลาในการจัดประสบการณ์หน่วยละ
๒-๓ สัปดาห์ โดยครูสังเกตความสนใจของเด็กว่าสนใจนิทานเรื่องใดมากเป็นพิเศษ แล้วกาหนดให้นานิทาน
เรอื่ งน้นั มาเป็นหนว่ ยการเรยี น โดยมีแนวทางการดาเนนิ การ ดังน้ี

๑) อ่านนิทานให้เด็กฟัง แนะนาช่ือเร่ือง ชื่อผู้แต่ง และผู้วาดภาพ แล้วจึงอ่านให้
เดก็ ฟังโดยใชน้ า้ เสยี งและท่วงทานองทเ่ี หมาะสมกบั เนอ้ื เร่ือง เพ่อื ให้เด็กได้รับอรรถรสของเรอื่ ง

๒) กระตุ้นและสารวจความสนใจของเด็กที่มีต่อนิทานด้วยการสนทนาและจัด
กจิ กรรมร่วมกบั เด็กเกย่ี วกับตัวละคร ฉาก และลาดบั เหตกุ ารณ์ แลว้ ให้เด็กแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งท่ีเด็ก
ตอ้ งการทาจากนิทาน

๓) วางแผนและจัดกจิ กรรมการเรียนรผู้ ่านการลงมือกระทา โดยออกแบบกิจกรรม
หลกั ๖ กิจกรรม ไดแ้ ก่ กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
กิจกรรมการเล่นตามมุม กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง และเกมการศึกษา ให้ตอบสนองความต้องการของเด็ก
และเพิ่มเติมสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ ๆ ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีครูพจิ ารณาว่าสามารถนามาบูรณาการได้

กิจกรรมท่ีสามารถจัดให้เด็กเรียนรู้ เช่น การวิเคราะห์ตัวละคร การวิเคราะห์
สถานการณ์จากเร่ือง การจัดทาวัตถุสิ่งของหรืออุปกรณ์ประกอบฉาก เคร่ืองแต่งกายท่ีสัมพันธ์กับเร่ือง การ
เล่นละครสร้างสรรค์ การจัดโต๊ะนิทาน การทาหนังสือนิทาน การทาศิลปะแบบร่วมมือ การประดิษฐ์และการ
สร้าง การเคลื่อนไหวและจังหวะ เพลง คาคล้องจอง การประกอบอาหาร การเพาะปลูก การเล้ียงสัตว์ เกม
การศกึ ษา ฯลฯ โดยครคู วรจัดส่ิงแวดลอ้ มในห้องเรียนให้สมั พนั ธ์กบั เร่ืองโดยให้เด็กมีสว่ นร่วม

๔) จัดแสดงส่ิงทเ่ี ด็กๆ เรยี นรู้ โดยทบทวนกิจกรรมท่ีจัดแล้วร่วมกับเด็ก ให้เด็กช่วยกัน
คัดเลือกสิ่งที่ต้องการนาเสนอให้ผู้อ่ืนรับรู้เก่ียวกับวิธีการท่ีเด็กเรียนรู้ และส่ิงท่ีเด็กเรียนรู้ เพื่อให้เด็กได้
จดั ระบบความคดิ และนาเสนอสิง่ ท่ีตนได้เรยี นรู้สสู่ ายตาคนภายนอก

๔๐

๓. การจัดประสบการณ์แบบโครงการ เป็นการจัดประสบการณ์เพื่อให้เด็กได้ศึกษาในเรื่องที่สนใจ
อยา่ งลุม่ ลึก ช่วยใหเ้ ดก็ บรู ณาการความรู้ ทกั ษะ นาเสนออย่างเป็นทางการในห้องเรียน เด็กได้ประยุกต์และใช้
สง่ิ ทเ่ี รียนรู้ แกป้ ญั หา แลกเปลี่ยนส่ิงที่ตนทราบกับผู้อ่ืน พัฒนาทักษะการทางานร่วมกับผู้อ่ืน สนับสนุนทักษะ
การคิด การค้นคว้าหาคาตอบ และช่วยให้เด็กได้เรียนรู้อย่างกระตือรือร้น หลักสูตรน้ีกาหนดให้มีการจัด
ประสบการณ์แบบโครงการปีการศึกษาละ ๑-๒ โครงการ ใช้เวลาโครงการละ ๒-๔ สัปดาห์ โดยแนวทางใน
การจดั ประสบการณ์แบบโครงการแบง่ เป็น ๓ ระยะ ประกอบด้วย การทบทวนความรู้และความสนใจของเด็ก
การให้เด็กค้นคว้าและมีประสบการณ์ใหม่ และการประเมิน สะท้อนกลับ และแลกเปล่ียนงานโครงการ โดย
โครงสร้างของการปฏิบัติตามโครงการท้ัง ๓ ระยะประกอบด้วย ๑) การอภิปรายกลุ่ม ๒) การศึกษานอก
สถานท่ี ๓) การนาเสนอประสบการณ์เดิม ๔) การสบื คน้ และ ๕) การจัดแสดง ดังน้ี

ระยะของโครงการ ระยะที่ ๑ ระยะท่ี ๒ ระยะท่ี ๓
กระบวนการ -การเตรยี มการเพอ่ื การ
-การเตรยี มการสาหรบั งาน แลกเปลยี่ นเรือ่ งราวเก่ยี วกับ
การอภิปรายกลมุ่ -แลกเปลย่ี นประสบการณ์ ภาคสนามและการสัมภาษณ์ โครงการ
-การทบทวนประสบการณ์ -การทบทวนและประเมิน
เดมิ และความรู้ปจั จุบนั จากงานภาคสนาม โครงการ
-การเรียนร้จู ากแหลง่ เรยี นรู้
เกี่ยวกบั หวั เรือ่ ง ทตุ ยิ ภมู ิ -การประเมนิ โครงการผ่าน
-การออกไปนอกช้ันเรยี น สายตาของของผอู้ ืน่
การทางานภาคสนาม -เดก็ ๆ พดู คุยกับพ่อแม่ เพ่อื สารวจภาคสนาม
เกยี่ วกบั ประสบการณ์เดมิ -การสัมภาษณผ์ ูร้ ู้ในสนาม -การกลนั่ กรองและสรปุ
หรือในห้องเรยี น เรอ่ื งราวท่ไี ดเ้ รียนรู้เพื่อ
การนาเสนอ -การวาดภาพ การเขยี น -การเขียนภาพโครงรา่ ง หรือ แลกเปลี่ยนกบั ผูอ้ น่ื
การสืบคน้ การสรา้ ง การเล่นสมมุติ การบนั ทกึ จากงานภาคสนาม
ฯลฯ เพอื่ แลกเปลย่ี น -การวาด ระบาย เขียน ทา -การตง้ั คาถามใหม่
ประสบการณ์และความรู้ แผนภูมิ แผนท่ี ฯลฯ เพอื่
นาเสนอสิ่งทไี่ ด้เรียนรู้ -การสรุปการเรยี นรตู้ ลอดทัง้
-การต้งั คาถามจากความรเู้ ดมิ -การตอบคาถามทต่ี งั้ ไวใ้ น โครงการ
ระยะแรก
การจัดแสดง -การแลกเปลยี่ นส่งิ ทน่ี าเสนอ -การค้นควา้ จากภาคสนาม
ประสบการณ์เดมิ เป็นรายบคุ คล -การตัง้ คาถามเพมิ่ เตมิ
-การแลกเปลยี่ นส่งิ ทีน่ าเสนอ
จากประสบการณ์ หรอื ความรใู้ หม่
-การบนั ทกึ ความกา้ วหน้า
ของโครงการ

ท้ังน้ีการออกแบบกิจกรรมตามแนวการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ยังคงยึดตามกิจกรรมหลัก ๖
กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
กิจกรรมการเล่นตามมุม กิจกรรมการเลน่ กลางแจ้ง และเกมการศึกษา

๔๑

๔. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ ให้นานวัตกรรมการสอนภาษาแบบธรรมชาติมาใช้บูรณาการกับ
ทุกกจิ กรรมตลอดปกี ารศึกษา โดยครูผสู้ อนตอ้ งจดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กเรยี นรู้ภาษาภายใตห้ ลักการ ดังนี้

๑) การจัดสภาพแวดล้อม สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กได้คุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมี
ความหมายและเปน็ องค์รวม ตัวหนังสือท่ีปรากฏมีเป้าหมายในการใช้จริงๆ หนังสือท่ีใช้เป็นหนังสือที่ใช้ภาษา
ท่ีมคี วามหมายสมบูรณใ์ นตวั ไมแ่ บง่ เปน็ ทักษะยอ่ ยๆ และให้เด็กมีสว่ นร่วมในการจดั สภาพแวดลอ้ ม

๒) การสื่อสารที่มีความหมาย ควรให้เด็กมีโอกาสสื่อสารโดยมีพ้ืนฐานจากประสบการณ์จริง
ท่ีมีความหมายตอ่ เดก็ จัดเวลาให้เด็กมีโอกาสที่จะอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมายจริงๆ โดยที่ไม่ใช่เป็นเพียง
กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อการฝึกหัด และจะต้องให้เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียนตามโอกาสตลอดทั้งวัน โดย
ไมต่ ้องกาหนดตายตัวว่าช่วงเวลาใดต้องอ่าน หรอื ช่วงเวลาใดต้องเขยี น

๓) การเป็นแบบอย่าง ให้เด็กเห็นประโยชน์ของการใช้ภาษาในความมุ่งหมายต่างๆ ครู
จะต้องอ่านเขียนโดยมีจุดมุ่งหมายในการใช้จริงๆ ให้เด็กได้เห็น เช่น เพื่อการสื่อสาร ความเพลิดเพลิน หรือ
ค้นหาวิธีการ ฯลฯ ครเู ป็นแบบอยา่ งให้เด็กเหน็ ว่าการอ่านเปน็ เรอ่ื งสนกุ ให้เด็กเกดิ ความรู้สึกท่ีดตี ่อการอ่าน

๔) การต้ังความคาดหวงั ครูควรจะเชอื่ ม่นั วา่ เด็กจะสามารถอ่านและเขยี นได้ดีขึ้นและถูกต้อง
ยง่ิ ขึ้น เด็กมีความสามารถในการอา่ นและการเขียนตัง้ แตย่ งั อา่ นและเขียนไม่เป็น

๕) การคาดคะเน ควรให้เด็กมีโอกาสท่ีจะทดลองกับภาษา สร้างสมมุติฐานเบ้ืองต้นของตน
และมีโอกาสเดาหรือคาดคะเนคาที่จะอ่าน และมีโอกาสคิดประดิษฐ์สัญลักษณ์และคิดสะกดเพ่ือการเขียน ไม่
ควรคาดหวังใหเ้ ดก็ อา่ นและเขียนได้เหมอื นผู้ใหญ่

๖) การใช้ข้อมูลย้อนกลับ ควรตอบสนองความพยายามในการใช้ภาษาของเด็กในทางบวก
ยอมรับการอ่านและการเขียนของเด็กว่าเป็นสิ่งท่ีมีความหมายแม้ว่าจะยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ และพยายาม
ตอบสนองเด็กใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์นัน้ ๆ

๗) การยอมรับนับถือ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก เด็กเรียนรู้การอ่าน
และเขียนอย่างแตกต่างกัน ตามช่วงเวลา และอัตราที่แตกต่างกัน เด็กจะต้องได้ตัดสินใจเลือกกิจกรรมที่จะ
เรียนรู้ด้วยตนเอง

๘) การสร้างความรู้สึกเชื่อม่ัน ส่งเสริมให้เด็กรู้สึกปลอดภัยท่ีจะคาดคะเนในการอ่านหรือ
เขียน แม้จะไม่เคยอ่านหรือเขียนมาก่อน ครูจะต้องทาให้เด็กไม่กลัวที่จะขอความช่วยเหลือด้านการอ่านและ
เขยี นเมอื่ จาเปน็ เดก็ จะตอ้ งไมถ่ ูกตราหน้าวา่ ไม่มีความสามารถในการอ่านและเขยี น

๔๒

กจิ กรรมประจาวนั กิจกรรม ขอบขา่ ยของกจิ กรรม
รับเด็ก
เวลา กิจกรรมการเล่นตามมมุ - ทกั ทายและสนทนากบั เด็กเป็นรายบุคคล
๗.๐๐ – ๘.๐๐ น. เข้าแถว - ตรวจสุขภาพเด็ก ดูแลความสะอาดของรา่ งกาย เคร่อื งแตง่ กาย
สนทนาข่าวและเหตุการณ์ - สนทนากบั ผูป้ กครองซึง่ มาสง่ เดก็
๘.๐๐ – ๘.๑๕ น. กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจงั หวะ - เลือกเล่นตามมมุ ประสบการณ์ทจี่ ดั ไว้ในหอ้ งเรียนอยา่ งอสิ ระ
๘.๑๕ – ๘.๒๐ น. - เขา้ หอ้ งนา้
๘.๒๐ – ๘.๔๐ น. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์
- เขา้ แถว เคารพธงชาติ สวดมนต์ นัง่ สมาธิ
๘.๔๐ – ๙.๑๐ น. วางทกุ งาน อ่านทกุ คน - ฝึกซอ้ มมารยาท หรือกจิ กรรมอน่ื ๆ ตามโอกาส

๙.๑๐ – ๙.๒๐ น. - สารวจการมาโรงเรยี น
- ทาปฏิทินประจาวนั / สารวจสภาพอากาศประจาวนั
- สนทนาข่าวและเหตุการณ์

- การเคลอ่ื นไหวพืน้ ฐาน
- การเล่นเลียนแบบท่าทางการเคลือ่ นไหวตา่ งๆ
- การเคลอื่ นไหวตามเสยี งเพลงและจังหวะของดนตรี
- การทาทา่ ทางประกอบเพลง
- กายบริหาร
- การเคลอื่ นไหวเชงิ สรา้ งสรรค์อย่างอิสระ หรอื ใชอ้ ุปกรณป์ ระกอบ
- การฟงั สญั ญาณแลว้ ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลง
- การแสดงท่าทางตามคาบรรยาย เรื่องราว และจินตนาการ
- การฝึกการเปน็ ผนู้ าผ้ตู าม

- การสนทนา ซักถาม และแสดงความคิดเห็น
- การเลา่ นทิ าน เร่ืองราว ขา่ วและเหตกุ ารณ์
- การเล่นบทบาทสมมติ
- การท่องคาคล้องจอง คากลอน / การรอ้ งเพลง
- การสาธติ
- การทดลอง
- การประกอบอาหาร ฯลฯ

- ครแู ละเดก็ เลอื กหนงั สอื ตามความสนใจมาอา่ นตามลาพัง

๙.๒๐ – ๙.๔๐ น. พกั - ด่ืมนม / รับประทานอาหารวา่ ง
- เขา้ หอ้ งน้า
๙.๔๐ – ๑๑.๐๐ น. กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์
กิจกรรมการเลน่ ตามมมุ -เลอื กทากจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ ดงั น้ี
- การวาดภาพระบายสี ดว้ ยสีเทยี น สนี ้า ดินสอสี ฯลฯ
- การเล่นและทดลองเกย่ี วกบั สี
- การพมิ พ์ภาพ
- การปัน้
- การพบั ฉกี ตัด ปะ สาน มว้ น
- การประดษิ ฐ์
ฯลฯ

- เลือกเลน่ ตามมมุ ประสบการณท์ จี่ ัดไว้ในห้องเรียนอย่างอิสระ
- เลือกเลน่ เกมการศึกษาตามความสนใจ
- ช่วยกันเกบ็ ของเลน่ เขา้ ท่ี

๔๓

เวลา กิจกรรม ขอบขา่ ยของกจิ กรรม
๑๑.๐๐ – ๑๑.๓๐ น. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง
- การเล่นอสิ ระในสนาม /เล่นเครอ่ื งเลน่ สนาม
๑๑.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน - การเล่นอุปกรณ์กฬี าสาหรับเดก็
๑๒.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. พกั ผอ่ น - การเลน่ เกม การละเลน่
๑๔.๐๐ – ๑๔.๒๐ น. กจิ ธรุ ะสว่ นตัว - การเลน่ นา้ / เล่นทราย
๑๔.๒๐ – ๑๔.๓๐ น. เกมการศึกษา - รับประทานอาหารกลางวัน
๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. รับประทานอาหารวา่ ง - แปรงฟนั ล้างหน้า เข้าห้องนา้
๑๔.๔๕ – ๑๕.๐๐ น. เตรยี มตวั กลบั บ้าน - ปูทนี่ อน
- นอนพักผ่อน หรอื ทากิจกรรมสงบ
- เก็บที่นอน
- ลา้ งหนา้ หวผี ม แตง่ ตัวใหเ้ รียบรอ้ ย
- เลน่ เกมการศกึ ษา
- รับประทานอาหารวา่ ง
- ทากจิ กรรมสงบในห้องเรยี นรอผปู้ กครองมารับ
- สนทนากบั ผ้ปู กครองซ่ึงมารบั เดก็

๔๔

การจัดสภาพแวดลอ้ ม สอื่ และแหลง่ เรยี นรู้

การสรา้ งบรรยากาศดา้ นกายภาพ

๑. การจัดสภาพแวดลอ้ มภายในห้องเรยี น
การจดั สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรยี น ใหจ้ ัดแบง่ พืน้ ท่ี และจัดสื่อการเรียนรู้ภายในหอ้ งเรยี นเปน็
๕ สว่ น ดังนี้

๑.๑ พืน้ ทส่ี าหรับมมุ เล่น ใหแ้ บ่งพื้นที่เป็นที่ต้ังของมุมต่างๆ ให้ชัดเจน โดยกาหนดให้มีมุม
พืน้ ฐานอยา่ งน้อย ๕ มมุ ดังน้ี

๑.๑.๑ มุมหนงั สือ จดั หนังสอื ไว้อย่างน้อย ๑๐ เท่าของจานวนเด็กในห้องเรียน จัด
วางหนงั สอื หลากหลายชนิด ซง่ึ มีความยากง่ายต่างๆกัน โดยจัดหนังสือตามหัวข้อท่ีเด็กสนใจมาวางเพ่ิมเติม มี
การเปลีย่ นแปลงหนังสือที่ชั้นโชว์หนังสือตามหน่วยการเรียนรู้ จัดให้น่าสนใจและดึงดูดใจให้เด็กเข้าไปอ่าน ปู
พรม มีหมอนขนาดต่างๆ มีสมุดบันทึกการอ่าน กระดาษชนิดต่างๆ และเคร่ืองเขียนหลากหลายชนิด รวมท้ัง
ควรจัดให้มีรายการคาเพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงสาหรับการเขียน โดยการจัดอุปกรณ์จะต้องจัดให้เพียงพอกับเด็ก
และจัดวางใหเ้ ดก็ หยิบใชแ้ ละเก็บเองได้

๑.๑.๒ มุมบล็อก จัดให้มีบล็อกหลายขนาด หลายประเภทและมีจานวนเพียงพอ
ต่อความต้องการของเด็ก มีของเล่นประกอบ เช่น ต้นไม้ สัตว์ คน รถ จาลอง ฯลฯ ปูพรมเพื่อป้องกันไม่ให้
เสียงดังเกินไป ทาป้ายหรือสัญลักษณ์เพ่ือแสดงที่เก็บบล็อก และจัดแสดงผลงานการต่อบล็อกของเด็ก ท้ังนี้
มมุ บลอ็ กตอ้ งจดั ไว้หา่ งจากมมุ หนังสอื

๑.๑.๓ มมุ บา้ น จดั ให้มีสิ่งของต่างๆสาหรบั เล่นสมมุติ เช่น เส้ือผ้า ของใช้ ถ้วยชาม
ผักผลไม้จาลอง โทรศัพท์ ตุ๊กตา กระจก ฯลฯ โดยจัดให้มีบรรยากาศอบอุ่นคล้ายบ้าน และสามารถ
เปล่ียนเปน็ มมุ อืน่ ๆ ได้ตามความสนใจของเดก็ เชน่ ร้านอาหาร โรงพยาบาล ร้านเสริมสวย ร้านขายของ ฯลฯ
ทั้งนี้ อาจจัดเคร่ืองเขยี นและกระดาษไว้เพ่ือใหเ้ ด็กสามารถเขยี นเม่ือตอ้ งการ

๑.๑.๔ มุมของเลน่ จัดวางของเล่นสาหรบั การจัดกลมุ่ และสรา้ ง เชน่ กระดุม
เปลอื กหอย ก้อนหิน เมลด็ พืช กลอ่ งฟลิ ์ม ฯลฯ ของเล่นท่แี ยกออกและประกอบเข้าด้วยกนั ได้ ของเล่นสมมุติ
เลก็ ๆ เช่นบา้ นตกุ๊ ตา หุ่นนว้ิ หุ่นมือ ฯลฯ เกมการศึกษา และของเล่นอนื่ ๆ เชน่ แม่เหล็ก ตาช่ัง ฯลฯ โดย
เปลี่ยนแปลงของเล่นและเกมการศกึ ษาตามโอกาส และจดั ทาเกมการศึกษาเพิม่ เตมิ ตามหวั ขอ้ ทีเ่ ด็กสนใจ

๑.๑.๕ มุมศิลปะ จัดวางกระดาษชนิดต่างๆ สีเทียน สีไม้ สีน้า รูปภาพสาหรับตัด
กรรไกร กาว ดิน แป้งโดว์ หรือดินน้ามัน และอุปกรณ์สาหรับการปั้น เศษวัสดุสาหรับการประดิษฐ์ ฯลฯ โดย
จัดอุปกรณ์ให้เพียงพอกับเด็ก และจัดวางให้เด็กหยิบใช้และเก็บเองได้ ทั้งน้ี ให้จัดแสดงผลงานโดยเปล่ียน
อยา่ งน้อยทุก ๒ สัปดาห์

๑.๒ พ้ืนทอี่ เนกประสงค์ แบง่ พื้นทส่ี ่วนหน่ึงใหเ้ พยี งพอสาหรบั
๑.๒.๑ ทากจิ กรรมรว่ มกันท้ังช้ันเรียน เช่น ฟงั นิทาน รอ้ งเพลง เคลื่อนไหว ฯลฯ
๑.๒.๒ ทากจิ กรรมกลุ่มยอ่ ยด้วยการเลอ่ื นโต๊ะและเก้าอ้ีเข้ามาจัดวางไว้เปน็ กลมุ่
๑.๒.๓ รับประทานอาหารกลางวันและอาหารว่าง โดยจัดวางโต๊ะเก้ าอ้ีไว้

เชน่ เดยี วกับการทากิจกรรมกล่มุ ย่อย
๑.๒.๔ ใหเ้ ดก็ นอนพกั ผอ่ น ด้วยการเล่ือนโต๊ะและเก้าอี้ออกไปไว้นอกห้องเรียน ทา

ความสะอาด และปูเสอ่ื กอ่ นท่จี ะให้เด็กปูที่นอน

๔๕

๑.๓ พนื้ ที่เก็บของใชส้ ่วนตวั เดก็ จัดใหเ้ ด็กมีท่ีเกบ็ ของใชส้ ่วนตัวเป็นสดั สว่ น ดงั น้ี
๑.๓.๑ ต้สู าหรบั แขวนผ้ากนั เป้อื น ผา้ เช็ดหน้า แปรงสีฟัน และวางแกว้ สาหรบั แปรงฟนั
๑.๓.๒ ที่ควา่ แกว้ สาหรบั ด่มื น้าของเด็กทุกคนจัดไว้ใกลๆ้ คลู เลอรน์ ้า ทีค่ ว่าแก้ว

ตอ้ งสะอาด โปร่ง ระบายอากาศได้ดี เพอ่ื ใหแ้ กว้ นา้ ไมเ่ ปยี กชื้น
๑.๓.๓ กล่องสาหรับเก็บผลงาน และกระเป๋าของเด็กแต่ละคน ทั้งน้ี ต้องจัดให้มี

ป้ายช่ือ หรือ สัญลักษณ์ของเด็กติดไว้ให้ชัดเจน และจัดวางไว้ในระดับท่ีไม่สูงเกินท่ีเด็กจะหยิบใช้และเก็บได้
ด้วยตนเอง

๑.๔ พื้นทเี่ กบ็ ของใช้ส่วนตัวครู จัดให้มโี ตะ๊ ทางานของครู มตี ู้หรือช้ันเกบ็ หนังสือ คู่มือ สื่อ
การสอน ฯลฯ ของครู โดยจดั ใหส้ ะอาดและมีระเบยี บเพือ่ เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ีแก่เด็ก

๑.๕ พนื้ ทีเ่ พื่อการสื่อสารกับผูป้ กครอง จดั ใหม้ ีพน้ื ที่เพอื่ สื่อสารกับผปู้ กครองใน ๒ แบบ
ดังนี้

๑.๕.๑ ป้ายขา่ วสารเก่ียวกับเหตกุ ารณ์และกจิ กรรมท่ตี ้องการประชาสมั พนั ธ์ จดั ไว้
บรเิ วณทลี่ งช่อื รับเดก็

๑.๕.๒ สารนทิ ัศน์เก่ียวกบั พัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก โดยจดั ให้มีภาพ
กิจกรรมและผลงานของเด็ก พรอ้ มท้ังข้อความที่แสดงพัฒนาการและการเรยี นรู้ของเด็กจากภาพและผลงาน
นั้นๆ จัดไวบ้ ริเวณด้านหน้าห้องเรียน

๒. การจดั สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรยี น
สภาพแวดลอ้ มภายนอกหอ้ งเรียนจะมีพน้ื ท่ีสว่ นใหญ่ทีใ่ ชร้ ่วมกบั เด็กระดบั ประถมศึกษา เช่น

สนามอเนกประสงค์ ถนนรอบสนามอเนกประสงค์ โรงอาหาร ห้องประชมุ และจัดพืน้ ท่ีสาหรบั เด็กปฐมวยั
โดยเฉพาะ ดังนี้

๒.๑ ห้องส่งเสริมการใช้ประสาทสมั ผัส (Sensory Lab) จัดใหม้ วี สั ดอุ ุปกรณ์ และของ
เลน่ เพอ่ื ใหเ้ ด็กเรยี นรูโ้ ดยการใช้ประสาทสมั ผัส ในลักษณะของมมุ เล่น โดยจดั ใหแ้ ตกตา่ งจากของเล่นทีจ่ ดั ไว้
ในห้องเรียน

๒.๒ สนามเดก็ เล่น จัดให้มีเคร่อื งเลน่ สนามท่ใี หเ้ ด็กไดป้ นี ไต่ โหน ลอด ล่นื แกว่งไกว พน้ื ท่ี
มคี วามหลากหลายในดา้ นระดบั ความลาดชนั ความต่างของพืน้ ผิว โดยพืน้ ใตเ้ คร่ืองเลน่ เปน็ พน้ื ทก่ี นั กระแทก
ในกรณที เ่ี ด็กพลดั ตกจากเคร่ืองเล่น มรี วั้ รอบขอบชดิ มีต้นไม้และไม้ประดบั ทส่ี วยงาม

๒.๓ สวนเด็ก จดั ให้มวี สั ดุอุปกรณ์สาหรบั เดก็ เพื่อใหเ้ ด็กไดเ้ รยี นรู้เกี่ยวกบั ธรรมชาติ เช่น
กระบะทรายและของเล่นประกอบการเลน่ ทราย อ่างนา้ และและของเล่นประกอบการเล่นน้า ดนิ ทอ่ นไม้ หิน
ฯลฯ มีไมป้ ระดบั ท่สี วยงาม

๒.๔ แปลงเกษตร จัดให้มแี ปลงเกษตรสาหรับเด็ก รวมท้ังมวี ัสดอุ ุปกรณส์ าหรบั ทา
การเกษตร เช่น ชอ้ นตักดนิ บัวรดนา้ ฯลฯ

๒.๕ ห้องนา้ อนุบาล จัดให้มีหอ้ งนา้ ท่ีมีขนาดเหมาะสม และปลอดภัยสาหรับเดก็ จดั พนื้ ที่
ให้อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก มีก๊อกน้าสาหรับเด็กในระดบั ทเี่ ด็กใชไ้ ด้ด้วยตนเอง มีการทาความสะอาดอย่าง
สมา่ เสมอ

๔๖

การสร้างบรรยากาศดา้ นจิตภาพ

ครูควรยึดถอื แนวทางในการปฏบิ ตั ิเพอื่ ใหเ้ กดิ บรรยากาศการเรียนรู้ดา้ นจิตภาพ ดังนี้
๑. การเป็นแบบอย่างที่ดขี องครู คุณลักษณะของตัวแบบมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของเดก็
แบบอยา่ งที่ครปู ฐมวัยควรปฏิบตั ิ ได้แก่ การเปน็ แบบอยา่ งของการจัดการกบั ปญั หาโดยไม่ใช้ความรุนแรง การ
เปน็ แบบอยา่ งของการเห็นคุณคา่ ในตนเอง การเป็นแบบอย่างของความเท่าเทียมโดยการปฏิบัตติ ่อเดก็ ซึ่งมี
ความหลากหลายในดา้ นต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน และการเป็นแบบอย่างของการเรยี นรู้
๒. การดแู ลและสร้างความสัมพันธ์กบั เด็กปฐมวัย ครมู ีบทบาทสาคัญอยา่ งย่ิงในการดูแลเด็กใหเ้ ติบโต
ไปทศิ ทางที่มีความรู้สกึ ที่ดีต่อตนเอง โดยมแี นวทางปฏบิ ตั ิดังน้ี

๒.๑ การแสดงให้เด็กรู้ว่าครูรักและห่วงใย เพื่อให้เด็กจะเรียนรู้ที่จะแสดงความรักและ
เคารพต่อคนอื่นๆ เช่นกัน ครูสามารถแสดงความรักให้เด็กได้รับรู้ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ทักทายเด็ก ยิ้ม
เรยี กชอ่ื ฟังส่ิงท่เี ด็กพูด เลน่ กบั เดก็ ยินดีในสิ่งทเี่ ดก็ ค้นพบ ต่ืนเต้นร่วมกับเด็ก ฯลฯ และที่สาคัญคือไม่ใช้ความ
รักเป็นเครือ่ งตอ่ รองกับเด็กให้เด็กทาหรือไม่ทาส่ิงต่างๆ เพราะจะทาให้เด็กเกิดความรู้สึกไม่มั่นคงต่อความรักของ
ครู หากเด็กทาผิดให้บอกให้เด็กรู้ว่าเขาทาผิดเร่ืองใดให้เฉพาะลงไป ให้รู้ว่าครูไม่ชอบเฉพาะการกระทาสิ่งนั้น
ไม่ใชห่ มดความรักในตัวเด็ก

๒.๒ การปฏบิ ัตติ อ่ เดก็ ดว้ ยความยอมรบั นับถอื การให้การยอมรับนับถือเด็ก เป็นการปฏิบัติ
ท่ีตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของเด็ก เด็กจะต้องได้รับการยอมรับนับถือในสภาพที่แตกต่างไปจาก
ผู้ใหญ่ ครูต้องยอมรับนับถือเด็กในลักษณะเฉพาะของเด็กแต่ละคน ตัวอย่างวิธีการที่ครูสามารถปฏิบัติต่อเด็ก
ด้วยความยอมรับนับถือ ได้แก่ การฟังเด็กด้วยความตั้งใจ การพูดกับเด็กโดยใช้น้าเสียงและระดับเสียงที่
พอเหมาะ การให้เด็กมีโอกาสเลือกและตัดสินใจ และการปฏิบัติต่อเด็กอย่างให้เกียรติ เช่น ไม่ต่อว่าเด็กต่อ
หน้าผู้อื่น เป็นตน้

๓. การสร้างข้อตกลงที่มีความหมายต่อเด็ก การจัดทาข้อตกลงในการปฏิบัติตนในห้องเรียนเป็น
สงิ่ จาเป็นอย่างย่ิง เนอื่ งจากจะทาใหเ้ ดก็ ได้ทราบความคาดหวังต่อพฤติกรรมของเด็ก การกาหนดข้อตกลงควร
เป็นการพิจารณาร่วมกนั ระหวา่ งครูและเดก็ ข้อตกลงท่ชี ัดเจนและมคี วามหมายทาใหเ้ ดก็ ยนิ ดปี ฏิบตั ิ

๔. การตอบสนองต่อเด็กอย่างเหมาะสมเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมท่ีไม่เป็นท่ียอมรับ โดยคานึงถึง
ผลกระทบระยะยาวที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กมากกว่าการคานึงถึงผลท่ีเกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด
รวมท้งั ควรใชเ้ ป็นโอกาสสอนใหเ้ ด็กเรยี นรกู้ ารแก้ปญั หาด้วย การตอบสนองต่อเดก็ อย่างเหมาะสมเม่ือเด็กแสดง
พฤติกรรมท่ีไม่เป็นท่ียอมรับ แนวปฏิบัติในการตอบสนองต่อเด็ก เช่น เบี่ยงเบนความสนใจของเด็กก่อนที่เด็ก
จะแสดงพฤติกรรมท่ีไม่เป็นท่ียอมรับ การเพิกเฉยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์ที่เด็กทาผิดโดยไม่เจตนา
การเสนอวิธีการทางบวกให้เด็กเลือก การให้ข้อเสนอแนะที่ชัดเจนแทนการบอกข้อผิดพลาดของเด็ก การให้
เด็กไดร้ บั ผลท่สี ัมพนั ธ์ และสมเหตุสมผลกบั การกระทา และการสอนให้เดก็ แกไ้ ขความผดิ พลาดของตนเอง

๕. การตอบสนองต่อเด็กอย่างเหมาะสมเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมท่ีเป็นท่ียอมรับ ครูควรแสดงให้เด็ก
เห็นอย่างชัดเจนว่าครูเห็นคุณค่าของการปฏิบัติของเด็กเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมที่ดีซ่ึงเป็นท่ียอมรับ เทคนิคที่
ครสู ามารถนามาใชใ้ นการตอบสนองตอ่ เด็กเมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมท่ีเป็นที่ยอมรับ คือ การให้กาลังใจ ครูควร
พยายามสังเกตพฤติกรรมท่ีดีในตัวเด็ก ทุกคร้ังท่ีเด็กทาดี อย่าปล่อยให้การทาความดีของเขาผ่านไปโดยครูไม่
สนใจ ครูอาจเพียงสบตา ย้ิม หรือพดู ชน่ื ชมใหก้ าลงั ใจตอ่ พฤติกรรมท่ีดนี น้ั ๆ วิธกี ารพูดช่ืนชมให้กาลังใจเด็กนั้น
ไม่ควรแคพ่ ูดชมว่าดี แตค่ วรพูดให้เดก็ รู้ทางออ้ มว่าเขาควรทา หรอื ไมค่ วรทาอะไร โดยระบุใหช้ ัดเจนเป็นเรื่องๆ
ในสิง่ ท่เี ดก็ ทาจริง พูดให้ตรงจุด ไม่ยกยอเด็ก เพ่ือทาให้เด็กเข้าใจว่าการกระทาใดเป็นสิ่งที่ดีที่เด็กสามารถทา
ไดแ้ ละชว่ ยให้เด็กทาพฤตกิ รรมทีด่ บี อ่ ยคร้ังข้นึ

๔๗

สื่อสง่ เสริมการเรยี นรู้

๑. ส่ือประกอบการจดั กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ ประกอบดว้ ย
- เครือ่ งเคาะจงั หวะ เชน่ เหล็กสามเหลยี่ ม ฉง่ิ กลอง ฯลฯ
- อุปกรณป์ ระกอบการเคล่อื นไหว เช่น ริบบ้นิ แถบผ้า ถุงทราย ฯลฯ

๒. ส่ือประกอบการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ สื่อท่ีนามาใช้เป็นสื่อของจริง และสื่อจาก
ธรรมชาติหรือวัสดุท้องถิ่น หากไม่มีสื่อของจริงจึงใช้ส่ือท่ีจาลองขึ้น หรือภาพ และใช้สื่อเทคโนโลยี
ประกอบการจัดกิจกรรม ครูควรพิจารณาเลือกสื่อท่ีเหมาะสมกับเรื่องท่ีเรียนรู้ โดยท่ีมาของสื่อมี ๒ แนวทาง
คือ

๒.๑ ใหเ้ ด็กและผู้ปกครองมสี ว่ นร่วมในการเตรียมสอื่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับเร่ืองที่เรียนรู้
๒.๒ ครเู ป็นผ้เู ตรยี มด้วยตนเอง
๓. ส่ือประกอบการจดั กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์
๓.๑ กระดาษหนา้ เดียวสาหรับการวาดรูปหรือเขยี นทว่ั ๆ ไป
๓.๒ กระดาษชนิดอ่นื ๆ เช่น กระดาษร้อยปอนด์ กระดาษโปสเตอร์ กระดาษมันปู กระดาษ
สา กระดาษแข็ง กระดาษลัง ฯลฯ สาหรบั กจิ กรรมท่ีมีวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ
๓.๓ เศษวัสดุซ่งึ ได้มาจากการประชาสัมพันธใ์ ห้ผูป้ กครองมสี ่วนรว่ มในการนามาจดั ทาเป็น
คลงั ส่อื ท่ีศูนย์วิชาการปฐมวยั
๓.๔ อปุ กรณ์สาหรบั ทากิจกรรมสร้างสรรค์ ไดแ้ ก่ กรรไกร พู่กัน กระปกุ ใสก่ าว ฯลฯ ท่ีมี
ขนาดพอเหมาะกับวัยของเดก็
๓.๕ วสั ดสุ ิ้นเปลืองสาหรบั ทากจิ กรรมสร้างสรรค์ ได้แก่ สเี ทยี นจมั โบ้ สไี ม้จัมโบ้ สีน้า สี
โปสเตอร์ ลกู ปัด ไหมพรม เศษกระดาษสี กาว ฯลฯ
๓.๖ วสั ดุสาหรับปัน้ ท่ีมคี วามหลากหลาย ไดแ้ ก่ ดนิ น้ามัน แปง้ โดว์ ดนิ เหนียว ดนิ กระดาษ
ข้ผี ง้ึ ฯลฯ
๔. ส่ือประกอบการจัดกจิ กรรมการเลน่ ตามมุม และเกมการศกึ ษา
ดูรายละเอียดในหวั ขอ้ การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ ในส่วนของการจดั พ้นื ทสี่ าหรับมุม
เล่น)
๕. สื่อประกอบการจดั กิจกรรมกลางแจง้ ประกอบดว้ ย
๕.๑ เครื่องเลน่ สนาม ได้แก่ กระดานลนื่ ชิงชา้ ทเี่ ดินทรงตวั และเครอื่ งเล่นสาหรับปนี ปา่ ย
๕.๒ กระบะทรายและอุปกรณป์ ระกอบการเล่นทราย เชน่ พล่ัวขนาดเลก็ พิมพส์ าหรับสร้าง
ปราสาททราย ตุ๊กตาสตั ว์ ฯลฯ
๕.๓ อ่างนา้ และอุปกรณ์ประกอบเลน่ นา้ เช่น ถ้วย ขวดต่าง กรวยกรอกน้า ตุก๊ ตายาง ฯลฯ
๕.๔ ทอ่ นไมร้ ูปทรงธรรมชาติขนาดค่อนขา้ งใหญ่
๖. สอ่ื ประกอบการจดั ประสบการณโ์ ดยใช้วรรณกรรมเปน็ ฐาน ประกอบด้วย
๖.๑ หนังสอื นทิ านท่ีคดั เลอื กมาเป็นสอื่ หลกั ซึ่งพิจารณาจากความสนใจของเด็ก
๖.๒ หนังสือที่มเี ร่ืองราวทีเ่ ก่ียวข้องกับเร่ืองหลักทใ่ี ช้ในการจัดประสบการณ์
๖.๓ วสั ดุสาหรบั จัดทาอปุ กรณ์ทส่ี อดคลอ้ งกับเนื้อเรอ่ื งตามทเี่ ด็กเสนอ เชน่ ลงั กระดาษ ท่อ
กระดาษสี สีชนิดตา่ งๆ กาว ฯลฯ
๖.๔ เกมการศกึ ษาซ่งึ ใช้ภาพและคาจากเร่ืองทใี่ ชใ้ นการจดั ประสบการณ์ เช่น เกมจับค่ภู าพ
กบั คา เกมภาพตัดตอ่ เกมลอตโต เกมเรียงลาดับเหตุการณ์ ฯลฯ

๔๘

แหลง่ เรยี นรู้

แหล่งเรียนรู้สาหรับเด็กแบ่งออกเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ภายนอก
สถานศึกษา ครสู ามารถเลอื กใช้แหล่งการเรยี นรู้ในการจัดประสบการณ์ใหแ้ กเ่ ด็กตามความเหมาะสมกับเร่ืองท่ี
กาลังเรียนรู้ ดงั นี้

๑. แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศกึ ษา

ชือ่ แหลง่ เรียนรู้ สถานท่ีตัง้ ข้อมลู ทว่ั ไป
ห้องศูนยว์ ิชาการปฐมวยั ชัน้ ๒ อาคารไม้
- บริการให้ยืมหนังสอื ความรสู้ าหรบั ครู หนังสอื นทิ าน
ห้องสง่ เสรมิ การใชป้ ระสาทสมั ผสั ชน้ั ๑ อาคารไม้ และสารคดีสาหรบั เด็ก และอุปกรณ์สาหรบั การจัด
กจิ กรรมการเรยี นรหู้ ลายประเภท
สวนเดก็ หลงั อาคารไม้ - เปน็ หอ้ งคลงั สอ่ื เกบ็ วัสดเุ หลอื ใช้ สามารถพาเด็กไป
เลือกวสั ดุมาใชส้ าหรบั การประดิษฐ์ได้
ห้องสมุด ชัน้ ๒ อาคาร ๓
- จดั มุมเล่นซึ่งมขี องเล่นส่งเสริมการใชป้ ระสาทสัมผสั
ห้องส่งเสรมิ การอ่าน ชน้ั ๑ อาคารไม้ ใหเ้ ด็กเลอื กเล่น
หอ้ งพยาบาล ชั้น ๑ อาคารไม้
หอ้ งดนตรไี ทย ชัน้ ๑ อาคาร ๒ - เปน็ พ้นื ที่สาหรับการเล่นนา้ เลน่ ทราย เล่นท่อนไม้
โรงอาหาร อาคารโรงอาหาร - มเี วทขี นาดเล็ก
- เป็นท่ีเก็บอุปกรณก์ ีฬา เชน่ ลกู บอล ลูกเทนนิส
สวนพฤกษศาสตร์ รอบบริเวณโรงเรยี น ตะกรา้ กรวยยาง ฯลฯ

- เป็นหอ้ งสมุดขนาดใหญ่ บริการหนงั สือสาหรับเด็ก
และผใู้ หญ่ และบริการคอมพิวเตอร์สาหรับสืบคน้ ข้อมลู
มบี รรณรักษ์ประจาห้อง เปดิ ใหบ้ รกิ ารวันเวลาราชการ

- เปน็ ห้องสมดุ ท่ีมีหนงั สือสาหรับเดก็ เปิดบริการชว่ ง
เย็น

- มยี าและเวชภณั ฑเ์ พอื่ การปฐมพยาบาล มเี ตียงพกั
สาหรับเด็กปว่ ย ๔ เตียง มีครพู ยาบาลเป็นผดู้ ูแล

- มีเครื่องดนตรีไทยหลากหลายประเภท

- มบี ริการจาหนา่ ยอาหารเชา้ ขนม ไอศกรีม และ
เคร่ืองดม่ื
- เปน็ โรงครัวสาหรับประกอบอาหารกลางวันสาหรบั
เด็กและครู

- มไี ม้ยืนต้นขนาดใหญ่จานวนมาก
- มบี อ่ นา้ เลีย้ งปลาขนาดค่อนขา้ งใหญ่

๔๙

๒. แหลง่ เรียนรูภ้ ายนอกสถานศึกษา

ชื่อแหลง่ เรยี นรู้ สถานทต่ี ง้ั ขอ้ มูลทัว่ ไป
สมาคมแต้จิว๋ แหง่ ประเทศไทย
๑/๑ ซอยวดั ปรก ๑ - ทท่ี าการของสมาคมฯ สรา้ งแบบสถาปตั ยกรรม
ดรุณบรรณาลยั
เขตสาทร กรงุ เทพ ๑๐๑๒๐ จีนประยุกต์
บ้าน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
- มอี าคารของศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ ๖๓ ตงั้ อยใู่ นพ้ืนที่
ทางเดินเช่อื มต่อรถบอี ารท์ กี ับ
รถไฟฟ้าบีทีเอส (Sky Walk) เดียวกัน
สวนสาธารณะเฉลมิ พระเกียรติ ๖
รอบพระชนมพรรษา - ด้านหลังสมาคมฯ สว่ นหน่งึ เปน็ สสุ านคนจนี และไดร้ ับ

สวนวชริ เบญจทัศ (สวนรถไฟ) การปรบั ปรงุ ให้เปน็ สถานทีพ่ ักผ่อนและออกกาลงั กาย

๑ ซอยเจริญกรงุ ๓๔ (วดั ห้องสมดุ สาหรับเดก็ ปฐมวยั แห่งแรกของประเทศไทย

มว่ งแค) ถนนเจรญิ กรุง เขต ก่อตงั้ ข้ึนโดยความรว่ มมอื ระหว่างมลู นิธหิ นังสอื เพ่ือเดก็

บางรัก กรงุ เทพ ๑๐๕๐๐ และสถาบันราชานุกลู กรมสุขภาพจิต กระทรวง

โทร. ๐๒-๖๓๐๕๙๕๓-๔ สาธารณสุข รวมท้ังงบประมาณสนับสนุนจากมลู นธิ ิ

สานักงานทรัพย์สนิ สว่ นพระมหากษัตริย์ จดั สร้างใน

บา้ นโบราณอายุประมาณ ๑๐๐ ปี บนทด่ี ิน ๑ ไร่ ๒

งาน รวบรวมหนังสอื ภาพสาหรบั เดก็ ทม่ี ีคุณภาพ และ

เปดิ พ้นื ทสี่ าหรับทากจิ กรรมเพื่อตอ่ ยอดจากการอ่าน

๑๙ ซอยพระพินิจ ถนนสาทร - เดิมเป็นทพี่ านักของ พลตรี ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช

ใต้ แขวงทงุ่ มหาเมฆ เขต อดตี นายกรัฐมนตรี ในสมัยก่อนทด่ี นิ ในบริเวณน้ีปลกู พลู

สาทร กรุงเทพ ๑๐๑๒๐ จงึ ได้ช่อื วา่ ซอยสวนพลู

โทร. ๐๒-๒๘๖ ๘๑๘๕ - เปดิ ให้เขา้ ชมวันเสาร-์ อาทติ ยแ์ ละวนั หยดุ นักขัตฤกษ์

๐๒-๒๘๖ ๓๙๐๗ เวลา ๑๐.๐๐-๑๗.๐๐ น. โดยเสียคา่ เข้าชมคนละ ๕๐

บาท

แยกถนนสาทรตดั กับถนน -เป็นทางเดนิ เช่อื มต่อการเดินทางท่สี าคัญซ่งึ สามารถ

นราธิวาสราชนครนิ ทร์ เห็นการเคลื่อนตวั ของรถไฟฟ้า BTS และรถ BRT ได้

ชัดเจน แวดล้อมดว้ ยอาคารสานักงาน

เชิงสะพานพระราม ๙ - เปน็ สวนขนาด ๒๙ ไร่ ทเ่ี กดิ ขึ้นจากความรว่ มมอื

ฝง่ั พระนคร ระหวา่ งกระทรวงมหาดไทย การทางพเิ ศษแห่งประเทศ

ไทย และกรุงเทพมหานคร เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ในวโรกาสมหามงคล

เฉลมิ พระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒

- เปน็ สวนเพอ่ื การพักผ่อนในบรรยากาศธรรมชาติ

ทา่ มกลางความร่มรืน่ งดงามของพันธ์ุไมเ้ ขียวชอุ่ม มี

กาแพงราชสดุดมี หาราชา ศาลาสาหรบั ชมทัศนยี ภาพรมิ

ฝงั่ แมน่ ้าเจา้ พระยา และประตมิ ากรรมท่ีระลึกในการ

ก่อสร้างสะพานพระราม ๙

ถนนกาแพงเพชร ๓ แขวง สวนสาธารณะขนาดใหญ่ มีเน้ือทกี่ วา่ ๓๗๕ ไร่ มเี นอ้ื ที่

จตุจกั ร เขตจตุจักร กรุงเทพ ติดกับสวนสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ์ิ และสวนจตุจกั ร อยู่

ในความดแู ลของกรุงเทพมหานครและการรถไฟแหง่

ประเทศไทย มเี ลนสาหรับจักรยานรอบๆสวน ภายใน

สวนมีอุทยานผเี สือ้ และแมลง จัดแสดงและเพาะเล้ยี ง

ผเี สื้อและแมลง และเมืองจราจรจาลอง ใชเ้ ปน็ ที่

ฝึกอบรมและให้ความรเู้ รอ่ื การขบั ขีแ่ กเ่ ด็กและเยาวชน

๕๐

การประเมนิ พัฒนาการ

การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นกระบวนการท่ีต่อเนื่องและเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรม
ประจาวันซึ่งจะครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน การประเมินตามหลักสูตรสถานศึกษาฉบับน้ีให้ดาเนินการตาม
แนวทางตอ่ ไปนี้

๑. การเกบ็ รวบรวมและบันทึกข้อมลู
๑.๑ จดั ทาพอรท์ โฟลิโอของเด็กเปน็ รายบุคคล โดยรวบรวมประวัติ ชั่งนา้ หนกั วดั สว่ นสูง

เกบ็ รวบรวมผลงานของ และสงั เกตพฤตกิ รรมของเด็กปฐมวัย
๑.๒ บันทกึ ข้อมลู ในแบบบนั ทึกข้อมูลเด็กปฐมวัยประจาช้ันอนุบาล (อบ.๐๒/๒) ภาคเรียน

ละ ๒ คร้ัง ตามเกณฑ์การบันทกึ ผลการประเมนิ การบนั ทึกตามข้อนบี้ างรายการสามารถสงั เกตและบนั ทึก
ตามเกณฑ์ไดเ้ ลย บางรายการใหน้ าข้อมูลจากพอร์ทโฟลโิ อของเด็ก (ข้อ ๑) มาประกอบการบันทึก

๑.๓ กรอกคะแนนจากข้อ ๒ ครัง้ ที่ ๒ ในแบบบันทึกพัฒนาการเด็กปฐมวยั รายบุคคล (อบ.
๐๓) และสรุปผลการประเมนิ ตามเกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมินใน อบ.๐๓

๑.๔ กรอกคะแนนจากการสรุปผลการประเมินในแบบ อบ.๐๓ ในสมุดบันทกึ พฒั นาการเดก็
ปฐมวยั (อบ. ๐๒/๑)

๑.๕ นาข้อมูลที่รวบรวมไดม้ าบันทกึ ในสมุดรายงานประจาตวั เด็กปฐมวยั (อบ.๐๑/๑) โดย
สรุปผลการประเมนิ ตามเกณฑ์การสรุปผลการพฒั นาเด็กในสมดุ รายงานประจาตัวเด็กปฐมวัย

๒. การรายงานผลการประเมินพฒั นาการ
๒.๑ รายงานตอ่ ผู้บงั คับบัญชาช้ันตน้ โดยส่งสมดุ บันทกึ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั (อบ. ๐๒/๑)

และสมุดรายงานประจาตวั เด็กปฐมวยั (อบ.๐๑/๑) เสนอผู้อานวยการโรงเรยี นภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
๒.๒ รายงานตอ่ ผปู้ กครอง ดาเนินการดงั นี้
๒.๒.๑ นาเสนอพอร์ทโฟลโิ อเด็กตอ่ ผปู้ กครองภาคเรียนละ ๑ ครั้ง เพอ่ื

ปรกึ ษาหารือเกย่ี วกับแนวทางการสง่ เสรมิ พัฒนาการในลาดับตอ่ ไป
๒.๒.๒ ส่งสมดุ รายงานประจาตัวเด็กปฐมวยั (อบ.๐๑/๑) เพอ่ื รายงานผล

พัฒนาการใหผ้ ปู้ กครองรับทราบ

๕๑

การบริหารจดั การหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั

การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ของศูนย์เด็กปฐมวัยต้นแบบโรงเรียนทุ่งมหาเมฆ มี
การดาเนนิ การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร ดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี

๑. การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ศูนย์เด็กปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ดาเนนิ การ ดังน้ี

๑.๑ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วยคณะกรรมการท่ี
ปรกึ ษา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ

๑.๒ ศกึ ษาทาความเข้าใจเอกสารหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
๑.๓ รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน สภาพความต้องการชุมชน นโยบาย จุดเน้น ของหน่วยงานต้น
สังกัดและสถานศึกษา
๑.๔ ดาเนนิ การจัดทา (ร่าง) หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑
๑.๕ ตรวจสอบคุณภาพรา่ งหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย และนามาปรบั ปรุงแก้ไข
๑.๖ ขออนุมัติและประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๑ เพ่ือนา
หลักสตู รไปสู่การปฏบิ ตั ิโดยผา่ นความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานของสถานศกึ ษา

๒. การสง่ เสรมิ การใชห้ ลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย ศูนย์เด็กปฐมวัยต้นแบบ โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
พทุ ธศักราช ๒๕๖๑

๒.๑ การทาความเข้าใจเร่ืองหลักสูตรแก่ผทู้ ีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การใชห้ ลักสตู ร
๒.๑.๑ ประชุมครูเพื่อทาความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช

๒๕๖๐ และหลักสตู รสถานศกึ ษารว่ มกนั
๒.๑.๒ ชแี้ จงให้ผปู้ กครองทราบเร่ืองการใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษาฉบบั ใหม่

๒.๒ การสนบั สนนุ ให้ครูสามารถใช้หลักสตู รสถานศกึ ษา
๒.๒.๑ ประชมุ ครเู พ่อื ทาความเขา้ ใจและแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันเก่ียวกับหน่วยท่ี

จะสอนในแตล่ ะสปั ดาห์ สัปดาห์ละ ๑ คร้งั
๒.๒.๒ ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการจัดประสบการณ์ และจัดซ้ือหรือจัดหา

เพมิ่ เตมิ ใหเ้ พยี งพอ
๒.๓ การกากับตดิ ตามการใช้หลกั สตู ร
๒.๓.๑ ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์และส่งให้หัวหน้างานการศึกษาปฐมวัย

ตรวจสอบและใหค้ าแนะนา และเสนอผู้บรหิ ารตอ่ ไป
๒.๓.๒ ครูสลับกันเย่ียมช้ันเรียน สังเกตการจัดประสบการณ์ของเพื่อนครู และ

อภปิ รายรว่ มกัน
๒.๔ สรุปการทางาน และจดั ทารายงานสรุปผลการทดลองใชห้ ลกั สตู ร

๕๒

การเชื่อมตอ่ ของการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั กบั ระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑

แนวปฏบิ ตั ิของบุคลากรท่เี กีย่ วข้องกับการสรา้ งรอยเชอ่ื มต่อของการศึกษาระดับปฐมวยั กบั ช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ มดี งั น้ี

๑. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา
๑.๑ สรา้ งความเข้าใจให้ผสู้ อนระดับปฐมวัยและผสู้ อนระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ในการสรา้ ง

แนวปฏบิ ตั เิ พ่ือสรา้ งรอยเชอ่ื มตอ่ ของการศกึ ษาระดับปฐมวัยกับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
๑.๒ จัดกิจกรรมพฒั นาผูป้ กครองใหส้ ามารถช่วยเหลอื เด็กใหส้ ามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ รับ

ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑

๒. ผู้สอนระดบั ปฐมวัย
๒.๑ สร้างความเขา้ ร่วมกับเด็กปฐมวยั เก่ยี วกับการจดั การเรยี นรแู้ ละสภาพแวดลอ้ มของ

หอ้ งเรยี นในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยจัดหน่วยการเรียนรู้ “ก้าวใหม่” เพอื่ ช่วยเหลือสนบั สนุนใหเ้ ด็ก
ปฐมวยั ปรับตัวพรอ้ มรับการเปลย่ี นแปลง

๒.๒ จัดเตรยี มสอื่ วัสดอุ ปุ กรณ์ ทสี่ ง่ เสรมิ ให้เด็กปฐมวัยได้เรยี นรู้และมีประสบการณ์พน้ื ฐาน
ทส่ี อดคล้องกบั รอยเชือ่ มต่อในการเรียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เชน่ การใชโ้ ตะ๊ เก้าอี้ เครอื่ งเขยี น และ
อุปกรณ์สว่ นตวั และจาลองสถานการณ์การเรยี นรู้ในระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑

๓. ผสู้ อนระดับประถมศึกษา
๓.๑ จดั กิจกรรมสรา้ งความคุ้นเคยให้เดก็ และผู้ปกครองได้ทาความรจู้ กั ผู้สอนและห้องเรียน

ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ก่อนเปดิ ภาคเรียน
๓.๒ จัดห้องเรียนใหม้ บี รรยากาศอบอนุ่ ปลอดภยั เพือ่ ชว่ ยให้เดก็ ปรับตวั และเรยี นรูจ้ าก

การปฏบิ ัติจริง
๓.๓ จดั กิจกรรมสร้างความคุ้นเคยกบั เด็กเพ่ือช่วยให้เด็กสามารถปรบั ตัวเพ่ือเรียนรใู้ น

ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เปน็ เวลา ๒-๓ สัปดาห์

๕๓

คาสง่ั โรงเรียนทงุ่ มหาเมฆ
ที่ ๐๓๔/ ๒๕๖๑
เร่อื ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวัย โรงเรยี นทุ่งมหาเมฆ

พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

..........................................................................................................

ดว้ ยกระทรวงศึกษาธกิ ารมีคาสงั่ ท่ี สพฐ. ๑๒๒๓ / ๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๖๐ เรื่อง

ให้ใช้หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ให้สถานศึกษาทุกสังกัดนาหลักสูตรไปใชโ้ ดยปรับปรงุ

ให้เหมาะสมกับเด็กและสภาพทอ้ งถิน่ โรงเรยี นทุ่งมหาเมฆจึงแตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษา

ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนท่งุ มหาเมฆ พุทธศักราช ๒๕๖๑ เพ่อื ประกาศใชใ้ นปีการศึกษา ๒๕๖๑

มรี ายนามคณะกรรมการดังตอ่ ไปน้ี

๑. คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา

๑.๑ ดร. ตอ่ พงษ์ พุทธบชู า ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา

๑.๒ ดร.ปนัฐษรณ์ จารชุ ัยนวิ ฒั น์ อาจารย์ประจาสาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั

จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

๑.๓ ผศ. สุพนั ธว์ ดี ไวยรปู อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าการศึกษาปฐมวยั

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

๒. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการ

๒.๑ นางสดุ ารัตน์ พลแพงพา ผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒.๒ นางชนกพร แพชนะ หัวหนา้ งานวิชาการ กรรมการ

๒.๓ นางลดาวลั ย์ เกอ้ื สขุ ตวั แทนครูช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ กรรมการ

๒.๔ นางดวงหทัย ดารามติ ร คณะกรรมการสถานศึกษา กรรมการ

๒.๕ นายสุธรรม ศวิ าวธุ ตวั แทนผปู้ กครอง กรรมการ

๒.๖ นางปทั มา พงั เครือ ครปู ฐมวัย กรรมการ

๒.๗ นางสาวจฑุ ารัตน์ ปัญญาทพิ ย์รวดี ครปู ฐมวยั กรรมการ

๒.๘ นางสาวพรายแก้ว ลาภผลทวี ครูปฐมวยั กรรมการ

๒.๙ นางสาวสทุ ธนิ ันท์ สาธรรมชัย ครูปฐมวยั กรรมการ

๒.๑๐ นางสาวกชกร พนมสนิ ธุ์ ครปู ฐมวัย กรรมการ

๒.๑๑ นางสาวนฤมล เนียมหอม หัวหน้างานการศึกษาปฐมวยั กรรมการและ

เลขานุการ

ทง้ั น้ี ตง้ั แตบ่ ดั นี้เปน็ ตน้ ไป

สั่ง ณ วนั ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นางสดุ ารัตน์ พลแพงพา)
ผู้อานวยการโรงเรยี นทงุ่ มหาเมฆ

ประกาศโรงเรียนท่งุ มหาเมฆ
เร่ือง ใหใ้ ช้หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ศนู ยเ์ ดก็ ปฐมวยั ต้นแบบโรงเรียนทุง่ มหาเมฆ

พทุ ธศักราช ๒๕๖๑

หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ศูนย์เด็กปฐมวยั ตน้ แบบโรงเรียนทงุ่ มหาเมฆ
พุทธศักราช ๒๕๖๑ ได้พฒั นาขนึ้ โดยคณะกรรมการ ประกอบดว้ ยฝา่ ยบริหาร ฝ่ายวิชาการ
โรงเรยี น ครปู ฐมวัย ตัวแทนครูช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ตวั แทนกรรมการสถานศกึ ษา และ
ตัวแทนผปู้ กครอง รว่ มพจิ ารณาใหข้ ้อคิดเหน็ ในการพฒั นาหลกั สตู ร เพื่อให้สอดคลอ้ งกับ
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เพอ่ื พฒั นาเด็กให้มพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย
อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปัญญาเตม็ ตามศกั ยภาพ

โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ จึงประกาศใหใ้ ช้หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
ศนู ย์เด็กปฐมวยั ต้นแบบโรงเรยี นทุ่งมหาเมฆ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ ต้ังแตบ่ ัดนี้เป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑

ลงช่อื ลงช่อื
(ดร.ตอ่ พงษ์ พุทธบชู า) (นางสุดารัตน์ พลแพงพา)

ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ผู้อำนวยการโรงเรียนทงุ่ มหาเมฆ
โรงเรียนทุง่ มหาเมฆ


Click to View FlipBook Version