The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book คู่มือพัฒนาหลักสูตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nongkuk Musika, 2020-05-06 09:53:36

E-Book คู่มือพัฒนาหลักสูตร

E-Book คู่มือพัฒนาหลักสูตร

45

การพจิ ารณามอบหมายผู้จดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
คณะครูทกุ คนเปน็ ท่ปี รึกษากิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ตามท่สี ถานศึกษามอบหมายโดยมีบทบาทดังนี้
1. ปฐมนเิ ทศผ้เู ขา้ เรยี นใหเ้ ขา้ ใจเปา้ หมาย วิธกี ารจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
2. เลือกต้ังคณะกรรมการการดำเนนิ กิจกรรม
3. ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน / โครงการ โดยให้ผู้เรียนร่วมแสดงความคิดเห็นในการจัดทำแผนงาน

โครงการ และปฏิทินปฏบิ ัติงาน
4. ประสานงาน และอำนวยความสะดวกในด้านทรพั ยากรตามความเหมาะสม
5. ให้คำปรึกษา ดูแล ติดตามการจัดกิจกรรมของผู้เรียนให้เป็นไปตามแผนงานด้วยความเรียบร้อย

และปลอดภัย
6. ประเมนิ ผลการเข้าร่วมและปฏิบัตกิ จิ กรรมของผ้เู รยี น
7. สรปุ และรายงานผลการจัดกจิ กรรมต่อหัวหนา้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ข้ันตอนการดำเนินการของกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
1. ประชุมผูท้ เ่ี ก่ียวข้อง เพ่ือกำหนดนโยบาย
2. แตง่ ต้งั คณะทำงาน
3. สำรวจความสนใจของผเู้ รยี นและความพร้อมของสถานศึกษา
4. กำหนดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
5. วางแผนร่วมกันระหวา่ งผทู้ ี่เก่ียวขอ้ ง จัดทำแผนงานโครงการและปฏิทนิ ปฏบิ ัติงาน
6. ปฏบิ ัติงานตามแผนทก่ี ำหนด
7. นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล
8. สรุป รายงานผล
5. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

องคป์ ระกอบที่ 5 เกณฑก์ ารจบการศึกษา

ในการกำหนดเกณฑ์การจบการศึกษาในหลักสูตรสถานศึกษานั้น สถานศึกษาควรศึกษาหลักการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางฯกำหนด ซึ่งต้องอยู่บนหลักการ
พื้นฐาน 2 ประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการ
เรยี นรู้ของผูเ้ รียให้ประสบผลสำเร็จนัน้ ผ้เู รียนจะต้องได้รบั การพัฒนาและประเมินตามตัวชีว้ ัดเพื่อให้บรรลุตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น ซึง่ เป็นเป้าหมายหลัก
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับท้องถ่ิ น
หรือเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จ
ทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้
อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ท้องถน่ิ หรือระดบั เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา และระดับชาติ ดงั น้ี

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั อุบลราชธานี

46

1. การประเมนิ ระดับช้นั เรียน
เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนดำเนินการเป็นปกติและ

สม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต
การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ
ฯลฯ โดยผูส้ อนเปน็ ผู้ประเมนิ เองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองรว่ ม
ประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มีการสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า
ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่
และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมใน ด้านใดนอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้
ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังนโี้ ดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชีว้ ัด

2. การประเมนิ ระดับสถานศึกษา
เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค

ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม
เป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการ
ปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด
การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้
พ้ืนฐาน ผ้ปู กครองและชุมชน

3. การประเมนิ ระดบั ทอ้ งถิ่นหรอื เขตพ้ืนที่การศกึ ษา
เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิ่นหรือเขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของเขต
พื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนดว้ ย
ข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยท้องถิ่นจังหวัดหรือเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับ
หน่วยงานต้นสงั กัด ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนยี้ งั ได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมลู จากการประเมิน
ระดบั สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

4. การประเมนิ ระดับชาติ
เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน สถานศึกษาต้องจดั ให้ผู้เรยี นทกุ คนทเ่ี รยี นทัง้ ในระดับประถมศึกษาและระดบั มัธยมศึกษา
เขา้ รับการประเมินตามที่สังกัดกำหนด ผลจากการประเมินใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการเทยี บเคียงคุณภาพการศึกษาใน
ระดับต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการ
ตัดสนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศกึ ษาท่ีจะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรงุ
แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ี
จำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ
กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธ
โรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั อุบลราชธานี

47

ข้อมลู จากการประเมินจึงเปน็ หัวใจของสถานศึกษาในการดำเนนิ การช่วยเหลือผ้เู รียนไดท้ นั ท่วงที เปดิ โอกาสให้ 48
ผู้เรยี นได้รบั การพฒั นาและประสบความสำเรจ็ ในการเรียน

สถานศกึ ษาในฐานะผู้รบั ผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวดั และประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เพอ่ื ให้บุคลากรที่เก่ยี วข้องทุกฝ่ายถือปฏบิ ัตริ ่วมกัน

เกณฑ์การจบการศึกษาเป็นองค์ประกอบหนึ่งในหลักสูตรสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องกำหนด
คุณสมบัติของผู้ที่จบการศึกษาในแต่ละระดับพัฒนาเกณฑ์การจบให้สอดคล้องสัมพันธ์กับเกณฑ์การจบ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด ซึ่งในการปรับปรุงมาตรฐานและ
ตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลง พ.ศ.2560 ที่ได้นำเสนอรายละเอียดของการปรับปรุงหลักสูตร
กลุ่มสาระทั้ง 4 กลุ่มสาระ ไว้ในส่วนที่ 1 นั้น สำหรับการวัดและประเมินผลยังคงใช้เกณฑ์การวัดและ
ประเมนิ ผลเพื่อการจบหลกั สตู รในแต่ละระดบั การศึกษาที่กำหนดไวต้ ามเดมิ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2551:60) ได้ให้แนวทางการกำหนดเกณฑ์การจบ
การศึกษา ระเบียบและเอกสารการวดั และประเมนิ ผลหลกั สตู รสถานศึกษาไวด้ ังน้ี

การกำหนดเกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวิชาการของสถานศึกษาพึงศึกษาเอกสารหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ในสว่ นของโครงสร้างเวลาเรยี นและเกณฑ์การจบหลักสตู รวา่ มีขอ้ กำหนด

และเง่ือนไขอะไรบ้าง พร้อมทั้งพิจารณาหลักสูตรสถนศึกษาเพื่อกำหนดเกณฑ์การจบหลักสูตรให้
สอดคลอ้ งกนั ทงั้ การจบระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เกณฑ์
ดงั กล่าวนี้จะต้องระบุไว้ในหลักสตู รสถานศกึ ษาดว้ ย

การจดั ทำระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดการศึกษา จะต้องทำเอกสารว่าด้วยว่าระเบียบการวัดและ

ประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้บุคลากรผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน เช่น ระเบียบเกี่ยวกับการตัดสินผล
การเรียน การซ่อมเสริม การเลื่อนชั้น การตกซ้ำชั้น การรายงานผลการเรียน เป็นต้น สาระของระเบียบ
ดังกล่าวจะต้องกำหนดให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรสถานศึกษา
โดยอยู่บนพื้นฐานของนโยบายด้านการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา
รวมถึงหลักวิชาการด้านการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา

การจัดทำเอกสารบันทึกผลและรายงานผลการเรยี นรู้
สถานศึกษาต้องจัดทำเอกสารบันทึกผลและรายงานผลการเรียนรู้ ได้แก่ 1) ระเบียนแสดงผล

การเรียน 2) ประกาศนยี บัตร และ 3) แบบรายงานผู้สำเรจ็ การศกึ ษา โดยใช้แบบพิพมพ์ทก่ี ระทรวงศึกษาธิการ
กำหนด นอกจากนัน้ สถานศึกษาควรจะจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษาเพื่อบันทึกผลการประเมิน และข้อมูล
ต่างๆ เกี่ยวกับผู้เรียน เอกสารบันทึกผลและรายงานผลการเรียนเป็นสิ่งจำเป็นในการใช้สำหรับเก็บข้อมูลผล
การเรียน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียน และเพื่อรายงานผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบเพ่ือ
ตรวจสอบและให้ความรว่ มมอื ช่วยเหลอื ในการพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นตอ่ ไป

เมื่อสถานศึกษาจัดทําหลักสูตรทีส่ อดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) และเหมาะสมกับสภาพบริบทของตนเองแล้ว ภารกจิ ต่อไปคือวางแผนการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ โดยในการประเมินความรู้และทักษะต่างๆ ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ควรบูรณาการ
ไปพร้อมๆ กับการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และการ
ประเมินกจิ กรรมพฒั นาผูเรียน

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั อุบลราชธานี

48

นอกจากนส้ี ถานศกึ ษาตอ้ งตรวจสอบเพิม่ เติม เพื่อใหมน่ั ใจว่าการจดั การเรยี นรูและการประเมนิ ผลการ
เรียนรู้ที่ครูผูสอนดําเนินการนั้น นําไปสู่การพัฒนาสมรรถนะสําคัญของผูเรียน 5 ประการ ตามที่หลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนด ได้แก ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถใน
การคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช
เทคโนโลยี โดยสมรรถนะสําคัญทั้ง 5 ประการนั้น ควรเป็นผลการประเมินองค์ประกอบทั้ง 5 ด้านไปพร้อม ๆ
กับการประเมินคณุ ลักษณะอื่น ๆ

ในเอกสารนี้ ได้นำเสนอตัวอย่าง “การเขียนองค์ประกอบที่ 5 เกณฑ์การจบหลักสูตร ระดับ
ประถมศึกษา” สำหรับ สถานศึกษาอาจนำไปปรับ/ประยุกต์ใช้ในการจัดทำเกณฑ์การจบหลักสูตรตามบริบท
ของแตล่ ะสถานศึกษา ตอ่ ไป

ตวั อย่างการเขียนองคป์ ระกอบที่ 5 เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร

เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนพระแม่มารีอบุ ลราชธานี
โรงเรียนพระแม่มารอี ุบลราชธานี ไดก้ ำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรยี นดังนี้

1. การตดั สนิ การให้ระดบั และการรายงานผลการเรยี น
1.1 การตดั สนิ ผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นน้ัน ผสู้ อนตอ้ งคำนึงถงึ การพัฒนาผูเ้ รยี นแต่ละคน
เป็นหลัก และต้องเกบ็ ข้อมลู ของผูเ้ รียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ืองในแตล่ ะภาคเรียน รวมท้ังสอนซ่อม
เสริมผ้เู รียนใหพ้ ัฒนาจนเตม็ ตามศกั ยภาพ

ระดบั ประถมศึกษา
(1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้งั หมด
(2) ผูเ้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ ทุกตวั ชีว้ ัด และผ่านตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษา-กำหนด
(3) ผเู้ รียนต้องไดร้ บั การตัดสินผลการเรยี นทุกรายวิชา
(4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา-กำหนด
ในการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน
การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ของโรงเรียนพระแม่มารีอุบลราชธานี
ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย จะทำการพิจารณาว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ใน
ดุลพินิจของครผู ู้สอนท่ีจะผ่อนผนั ให้เลื่อนชั้นได้ แตห่ ากผู้เรยี นไมผ่ ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะ
เป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นทีส่ ูงขึ้น ต้องมีการตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ โดยคำนึงถึง
วฒุ ภิ าวะและความรูค้ วามสามารถของผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

1.2 การให้ระดบั ผลการเรยี น
ระดับประถมศึกษาในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา โดยให้ระดับผลการเรียน

หรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้คำ
สำคญั สะท้อนมาตรฐาน

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดอบุ ลราชธานี

49

การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์น้ัน ใหร้ ะดับผลการ 50
ประเมินเป็น ดีเยี่ยม ดี และผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วม
กิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วม
กจิ กรรมเป็นผ่าน และไมผ่ ่าน

1.3 การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรยี นเปน็ การสือ่ สารใหผ้ ู้ปกครองและผู้เรยี นทราบความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้
ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ
หรอื อย่างน้อยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุ ณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน
มาตรฐานการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

2. เกณฑก์ ารจบการศึกษา
หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นพระแม่มารอี ุบลราชธานี พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ได้กำหนดเกณฑก์ ารจบการศกึ ษา ดังน้ี
2.1 เกณฑก์ ารจบระดับประถมศกึ ษา
(1) ผเู้ รียนแต่ละระดับชนั้ ต้องเรยี นวิชาพืน้ ฐาน และวชิ าเพิม่ เตมิ ดังน้ี
- ผ้เู รยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน 840 ชว่ั โมง
รายวชิ าเพิม่ เติมจำนวน 320 ชว่ั โมง
- ผเู้ รียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน 840 ช่ัวโมง
รายวิชาเพิ่มเติมจำนวน 320 ชว่ั โมง
- ผู้เรยี นระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน 840 ช่วั โมง
รายวิชาเพ่ิมเตมิ จำนวน 320 ช่ัวโมง
- ผเู้ รียนระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 เรยี นรายวชิ าพื้นฐาน จำนวน 840 ช่ัวโมง
รายวชิ าเพ่ิมเตมิ จำนวน 320 ชวั่ โมง
- ผูเ้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน จำนวน 840 ชว่ั โมง
รายวิชาเพิ่มเติมจำนวน 320 ช่ัวโมง
- ผู้เรยี นระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน 840 ชัว่ โมง
รายวิชาเพิ่มเตมิ จำนวน 320 ชั่วโมง

โดยมีผลการประเมินรายวิชาพนื้ ฐานผ่านทุกรายวชิ า มีเวลาเรียนตลอดปีไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ 80
(2) ผูเ้ รยี นต้องมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นในระดบั “ผา่ น” ขึ้นไป
(3) ผูเ้ รียนมีต้องผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ “ผ่าน” ข้ึนไป
(4) ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน”

ทุกกิจกรรมผู้เรียนที่มีผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานครบทั้ง 4 เกณฑ์ จัดเป็นผู้ได้รับการตัดสินให้ผ่าน
ช่วงช้นั ทง้ั นีข้ ึน้ อย่ใู นดุลยพินิจของคณะกรรมการประเมินผลการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รสถานศึกษา

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดอบุ ลราชธานี

50

3. การเลือ่ นชน้ั 51
ผู้เรียนได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกภาคเรียนและได้รับการเลื่อนขั้นเมื่อสิ้นปีการศึกษาโดยมี

คณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ ดงั นี้
1. รายวชิ าพนื้ ฐาน ไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนผ่านทกุ รายวิชา
2. รายวิชาเพ่มิ เตมิ ได้รบั การตดั สินผลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากำหนด
3. ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดในการอ่าน

คดิ วเิ คราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
4.ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปกี ารศึกษาน้นั ตอ้ งได้ไม่ต่ำกว่า 1.00

ทั้งนี้รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ผู้สอนสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับการแก้ไขในภาค
เรียนถดั ไป

4. เอกสารหลักฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ

ที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของผ้เู รยี นในดา้ นต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี
4.1. เอกสารหลักฐานการศึกษาทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
1.ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการ

เรียนของผูเ้ รยี นตามรายวชิ า ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออก
เอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6)
จบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6) หรือเมื่อ
ลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี

2. ประกาศนยี บตั ร (ปพ.2) เป็นเอกสารแสดงวฒุ ิการศกึ ษาเพื่อรับรองศกั ดแิ์ ละสิทธ์ิของผู้จบ
การศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

3. แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา(ปพ.3) เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึก
รายชือ่ และข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดบั ประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6)

4.2 เอกสารหลักฐานการศึกษาท่สี ถานศกึ ษากำหนด
โรงเรียนพระแม่มารีอุบลราชธานี ได้จัดทำเอกสารขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการผลการเรียนรู้ และ

ข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา
ระเบียนสะสม ใบรบั รองผลการเรยี น และ เอกสารอน่ื ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการนำเอกสารไปใช้ ดงั น้ี

1. แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา(ปพ.5) เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอน
ใช้บันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน สำหรับการพิจารณาตัดสินผลการเรียนแตล่ ะรายวิชาเป็นรายห้องเรยี นเอกสารบนั ทึก
ผลการเรียนประจำรายวชิ า นำไปใช้ประโยชน์ ดังนี้

- ใช้บันทกึ พัฒนาการ ผลการเรยี นรู้ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และ
เขียน และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนของผเู้ รยี นแตล่ ะรายวชิ า

กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี

51

- ใช้เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการ และผล 52
การเรียนรขู้ องผู้เรยี น

2. แบบรายงานประจำตัวนักเรียน (ปพ.6) เปน็ เอกสารที่จัดทำขน้ึ เพ่ือบันทึกข้อมูลผลการ
เรียนรายวิชา และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนแต่ละคน ตามเกณฑ์การตัดสินการผ่านระดับชั้นของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งข้อมูลด้านอื่น ๆ ของผู้เรียนที่บ้านและสถานศึกษา โดยจัดทำ
เป็นเอกสารรายบุคคล เพื่อใช้สำหรับสื่อสารให้ผู้ปกครองของผู้เรียนแต่ละคนได้รับทราบผลการ เรียนและ
พัฒนาการดา้ นต่าง ๆ ของผูเ้ รยี นอย่างตอ่ เนอ่ื ง แบบรายงานประจำตวั นกั เรียน นำไปใช้ประโยชน์ดงั นี้

- รายงานผลการเรียน ความประพฤติ และพัฒนาการของผู้เรยี นให้ผปู้ กครองไดร้ บั ทราบ
- ใช้เป็นเอกสารสื่อสาร ประสานงาน เพื่อความร่วมมือในการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไข
ผ้เู รยี น
- เป็นเอกสารหลักฐานสำหรับตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองผลการเรียนและพัฒนาการ
ตา่ ง ๆ ของผเู้ รยี น
3. ระเบียนสะสม (ปพ.8) เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการของ
ผเู้ รียนในดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ รายบุคคลโดยจะบันทึกข้อมลู ของผู้เรยี นอย่างต่อเนอ่ื ง ตลอดชว่ งระยะเวลาการศึกษา
ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนพระแม่มารีอุบลราชธานี ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง 2560) สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ ดงั น้ี
- ใชเ้ ป็นข้อมลู ในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชพี ของผ้เู รียน
- ใช้เปน็ ข้อมูลในการพัฒนาปรบั ปรงุ บุคลกิ ภาพ ผลการเรยี นและการปรับตัวของผู้เรยี น
- ใชต้ ดิ ต่อสอ่ื สาร รายงานพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรียนระหวา่ งสถานศึกษากับผปู้ กครอง
- ใชเ้ ป็นหลักฐานสำหรับการตรวจสอบ รับรอง และยืนยันคณุ สมบตั ขิ องผเู้ รยี น
4. ใบรับรองผลการเรียน (ปพ.7) เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้น เพื่อใช้เป็นเอกสารสำหรับรับรอง
ความเปน็ นกั เรียนหรือผลการเรยี นของผเู้ รียนเป็นการชวั่ คราวตามที่ผเู้ รียนร้องขอ ทงั้ กรณที ี่ผ้เู รียนกำลังศึกษา
อย่ใู นสถานศกึ ษาและเมื่อจบการศึกษาไปแล้วนำไปใช้ประโยชน์ ดงั นี้
- รบั รองความเปน็ นักเรียนของสถานศกึ ษาทีเ่ รียนหรือเคยเรยี น
- รบั รองและแสดงความรู้ วุฒิการศึกษาของผู้เรียน
- ใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณสมบัติของผู้เรียนในการสมัครเข้าศึกษาต่อสมัครเข้าทำงาน หรือ
เม่ือมกี รณีอ่นื ใดที่ผเู้ รียนแสดงคณุ สมบตั เิ ก่ียวกับวุฒิความรู้ หรอื สถานการณ์เปน็ ผเู้ รียนของตน
- เป็นหลักฐานสำหรับการตรวจสอบ รับรอง ยืนยันการใช้สิทธิ์ความเป็นผู้เรียน หรือการ
ไดร้ ับการรบั รองจากสถานศกึ ษา
5. การเทยี บโอนผลการเรยี น
การเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การยา้ ยสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบ
การศกึ ษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคนั และขอกลับเข้ารบั การศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและ
ขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้
อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา การจดั การศึกษาโดยครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรกท่ี
สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องใน
สถานศึกษาท่ีรับเทยี บโอนอยา่ งน้อย 1 ภาคเรียน โดยโรงเรียนพระแม่มารีอุบลราชธานีจะพิจารณาดำเนินการ
ดงั น้ี

กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั อุบลราชธานี

52

1. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา ซึ่งจะให้ขอ้ มูลแสดงความรู้ความสามารถของนักเรียนใน
ดา้ นตา่ ง ๆ

2. พิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรงจากการปฏบิ ตั ิจริง การทดสอบ การสมั ภาษณ์
3. พจิ ารณาจากความสามารถ และการปฏบิ ตั จิ ริง
4. ในกรณีมีเหตุผลจำเป็นระหว่างเรียน นักเรียนสามารถแจ้งความจำนงขอไปศึกษาบาง
รายวิชาในสถานศึกษา/สถานประกอบการอื่น แล้วนำมาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
บริหารหลกั สตู รและวิชาการของโรงเรียนพระแม่มารีอบุ ลราชธานี
5. การเทยี บโอนผลการเรยี นใหค้ ณะกรรมการการเทียบโอนโรงเรียนพระแม่มารอี ุบลราชธานี
จำนวน 5 คน เปน็ ผู้ดำเนินการ
6. การเทียบโอนใหด้ ำเนนิ การโดย พิจารณากรณีผู้ขอเทยี บโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตร
อื่น ใหน้ ำรายวิชาหรอื หนว่ ยกติ ท่ีมีตัวช้วี ัด/มาตรฐานการเรยี นร้/ู ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง/จุดประสงค/์ เน้ือหา
ทส่ี อดคลอ้ งกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 มาเทยี บโอนผลการเรยี นและพจิ ารณาใหร้ ะดับผลการเรียนให้สอดคล้อง
กับหลกั สูตรท่รี ับเทียบโอน
ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการและแนว
ปฏบิ ตั ิทเี่ ก่ยี วข้อง
6. การบรหิ ารจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนพระแมม่ ารีอุบลราชธานี
กระบวนการในการบริหารจัดการนำหลักสูตรไปใช้ถือว่าเปน็ ปัจจัยที่สำคัญเป็นอย่างมากที่จะช่วย
สนับสนุนส่งเสริมให้การใช้หลักสูตรของสถานศึกษาบรรลุผลสูงสุด ดังนั้นสถานศึกษาจึงได้กำหนดแผนการ
บริหารจัดการหลักสูตรของสถานศึกษาขึ้น เพื่อให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ในทุก ๆ ส่วน และทุกระดับ เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับจุดหมายของหลักสูตร การพัฒนาการเรียน
การสอน การนิเทศการศึกษา การบริหารหลักสูตร การประเมินผล และแนวปฏิบัติของสถานศึกษาที่จะต้อง
ดำเนินการให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพความต้องการของหลักสูตรสถานศึกษา สำหรับการบริหาร
จัดการหลักสูตรของสถานศึกษาโรงเรียนพระแม่มารีอุบลราชธานี กำหนดแนวทางการบริหารจัดการไ ว้
3 ขัน้ ตอน 7 ภารกจิ ดงั น้ี
7. แนวทางการบรหิ ารจัดการ
ข้ันตอนท่ี 1 การเตรยี มความพร้อมของสถานศกึ ษา
ภารกจิ ท่ี 1 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
1.1 สร้างความตระหนักให้แก่บุคลากร ซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร
ผู้สอน ผู้ปกครอง ชุมชน นักเรียน ทั้งนี้เพื่อให้เห็นความสำคัญ ความจำเป็นที่จะต้องร่วมมือกันบริหารจัดการ
หลกั สตู รสถานศึกษาของสถานศึกษา
1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการของสถานศึกษาตามระเบียบของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวชิ าการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
1.3 ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน องค์กรในชุมชนทุกฝ่ายได้รับทราบ
และความรว่ มมือในการบริหารจดั การหลกั สูตรของสถานศึกษา
1.4 จดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ
1.5 จัดทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดอบุ ลราชธานี

53

1.6 พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการ
จัดทำสาระของหลักสตู รสถานศกึ ษา

ข้ันตอนที่ 2 การดำเนนิ การจดั ทำสาระของหลักสูตรสถานศกึ ษา
ภารกิจที่ 2 จัดทำสาระของหลักสูตรสถานศึกษา
2.1 ศกึ ษาวิเคราะห์ข้อมูลท่เี กี่ยวข้อง
2.2 กำหนดปรัชญา และเปา้ หมายของการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
2.3 กำหนดโครงสร้างของหลกั สูตรแต่ละรายชนั้ และจัดสดั ส่วนเวลาเรียน
2.4 กำหนดตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้ของกลุ่มวชิ า
2.5 กำหนดสาระและกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รีย
2.6 กำหนดสื่อการเรยี นรู้
2.7 กำหนดการวัดและประเมนิ ผล
ภารกจิ ท่ี 3 การวางแผนบรหิ ารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา
3.1 การบรหิ ารการจดั การกจิ กรรมการเรียนรู้
3.2 การบริหารการจัดการกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น
3.3 การสง่ เสรมิ และสนับสนุนการจดั การกจิ กรรมการเรยี นรู้ และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น
ภารกจิ ท่ี 4 ปฏิบตั ิการบรหิ ารจัดการหลักสูตรสถานศกึ ษา

ดำเนนิ การบริหารจัดการหลักสูตรตามภารกจิ ท่ี 2 และภารกจิ ท่ี 3 ทกี่ ำหนดไว้
ข้นั ตอนที่ 3 การนิเทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงาน
ภารกจิ ที่ 5 การนเิ ทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล
5.1 การนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลการบรหิ ารหลักสูตร และงานวชิ าการภายในสถานศกึ ษา
5.2 การนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการจากภายนอก
สถานศึกษา

ภารกิจที่ 6 สรปุ ผลการดำเนินการบริหารจัดการหลักสตู รของสถานศกึ ษา
6.1 สถานศกึ ษาสรุปผลการดำเนินการ และเขียนรายงาน
6.2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานรปู แบบบริหารจดั การหลักสตู รสถานศกึ ษา
ภารกจิ ท่ี 7 ปรับปรุง และพฒั นากระบวนการบริหารจดั การหลักสูตร
7.1 สถานศึกษานำผลการดำเนินการ ปัญหา และข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน

การวางแผนปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการบริหารจดั การหลักสูตรของสถานศึกษา
7.2 สถานศึกษาดำเนินการปรับปรุง และพัฒนากระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร เพื่อให้เกิด

ประโยชนม์ ากขน้ึ

การตรวจสอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา

เมื่อสถานศึกษาจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา จนครบทุกองค์ประกอบและสอดคลองกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) เหมาะสมกับสภาพบริบทของ
ตนเองแล้ว ภารกิจต่อไปที่ควรต้องดำเนินการก่อนการนำหลักสูตรไปใช้ในสถานศึกษา คือ การตรวจสอบ
หลักสูตรสถานศึกษา ทุกองค์ประกอบให้เรียบร้อยสมบรู ณ์ กอ่ นนำไปเข้าเลม่ เป็นเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา
ซ่งึ ประกอบด้วย 1) ปกนอก 2) ปกใน 3) คำนำ 4) สารบัญ 5) องคป์ ระกอบและรายละเอียดขององค์ประกอบ

กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดอบุ ลราชธานี

54

หลักสูตรสถานศึกษาทุกองค์ประกอบ และ 6) ภาคผนวก เช่น ประกาศการใช้หลักสูตรสถานศึกษา คำสั่ง
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา
หนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลง มาตรฐานตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงของ
กระทรวงศึกษาธิการ เป็นต้น ซึ่งในการตรวจสอบอาจทำเป็นแบบตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา จะทำให้เกิด
ความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในที่นี้ขอเสนอตัวอย่างแบบตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา ที่สถานศึกษาสามารถนำไป
ปรับใชไ้ ด้ ดังตอ่ ไปน้ี

ภาคผนวกในเอกสารหลกั สูตรสถานศกึ ษา ในสว่ นของคำสัง่ และประกาศท่ีเกีย่ วข้อง หนงั สือแจง้
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถานศึกษาสามารถ Download ได้ท่ี http://academic.obec.go.th/missiondetail.php?id=34
เชน่

• คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ลงวนั ท่ี 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560

• คำสั่ง สพฐ. ที่ 30/2561 เรื่อง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ลงวนั ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2561

• ประกาศ สพฐ. เรื่อง การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ลงวนั ท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2561 (หมายเหตุ ขอ้ 3 การจดั การ
เรียนการสอน ข้อ 3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เทคโนโลยี 2) บูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ใหด้ ำเนินการตามคำส่ัง สพฐ.ที่ 921/2561 ลงวนั ท่ี 3 พฤษภาคม 2561)

• คำสั่ง สพฐ. ที่ 921/2561 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 2 การออกแบบและ
เทคโนโลยี และสาระท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ
และเทคโนโลยี และเปลี่ยนช่อื กลุม่ สาระการเรียนรู้ ลงวนั ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

• คำสั่ง สพฐ. ที่ 922/2561 เรื่อง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวนั ท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

• ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่
11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 (หมายเหตุ ข้อ 1 การบริหารจัดการเวลาเรียน ให้ดำเนินการตาม
คำสง่ั สพฐ.ท่ี 922/2561 ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม 2561)

กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั อุบลราชธานี

55

ตัวอย่างแบบตรวจสอบการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)

แบบตรวจสอบการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
โรงเรยี น....................................................อำเภอ......................................กลมุ่ ........................
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คำช้ีแจง
1. ตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาตามรายการที่กำหนด แล้วเขียนเครื่องหมาย ✓ ลงใน
ชอ่ งผลการตรวจสอบตามความเป็นจริง
2. บันทึกแนวทางในการปรับปรุง/แก้ไขแต่ละรายการเพื่อสถานศึกษาจำได้นำไปใช้ประโยชน์ในกา
ปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาต่อไป
3. หากมขี ้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอ่ืน ใหบ้ ันทึกลงในข้อเสนอแนะ อ่ืน ๆ
4. สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โดยเขียนเครื่องหมาย ✓ ลงใน
ตารางแสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลักสูตร

การใหร้ ะดับคุณภาพ
ให้ระดบั คุณภาพตามท่ีได้พิจารณาตรวจสอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โดยเขียนเครือ่ งหมาย ✓ลงใน

ช่องระดับคุณภาพ ดังน้ี
ระดบั คุณภาพ 3 หมายถงึ ครบถ้วน ถกู ต้อง สอดคล้อง เหมาะสม ทุกรายการ
ระดับคุณภาพ 2 หมายถงึ มคี รบทุกรายการ แตม่ ีบางรายการควรปรบั ปรุงแก้ไข
ระดับคุณภาพ 1 หมายถงึ ไมม่ ี มีไม่ครบทกุ รายการ ไม่สอดคล้อง ต้องแก้ไขหรือเพ่ิมเติม

ตอนที่ 1 องคป์ ระกอบของหลักสตู รสถานศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

รายการ ระดับคณุ ภาพ ข้อเสนอแนะ
54321 ปรับปรงุ /แกไ้ ข
1.สว่ นนำ
1.1 ความนำ
แสดงความเชื่อมโยงระหวา่ งหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) กรอบหลักสูตรระดบั ทอ้ งถ่นิ
จุดเน้น และความตอ้ งการ ของสถานศึกษา

1.2 วิสัยทัศน์
1.2.1 แสดงภาพอนาคตท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นท่สี อดคลอ้ งกบั

วิสยั ทศั น์ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) อยา่ งชัดเจน

1.2.2 แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงคข์ องผ้เู รยี นสอดคลอ้ งกบั กรอบ
หลักสตู รระดับทอ้ งถิ่น

1.2.3 แสดงภาพอนาคตทพ่ี งึ ประสงค์ของผเู้ รยี น ครอบคลมุ สภาพความ
ต้องการของโรงเรยี น ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ

1.2.4 มีความชดั เจนสามารถปฏิบัตไิ ด้

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี

56

1.3 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
มคี วามสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551
1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1.4.1 มีความสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551

1.4.2 มคี วามสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายจดุ เน้น กรอบหลกั สตู รระดบั
ท้องถน่ิ

1.1.3 สอดคล้องกบั วสิ ยั ทศั น์ของโรงเรยี น
2. โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา

2.1 โครงสรา้ งเวลาเรยี น
2.1.1 มีการระบเุ วลาเรียนของ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ทู เ่ี ปน็ เวลาเรยี น

พ้นื ฐานและเพม่ิ เติม จำแนกแตล่ ะชั้นปอี ยา่ งชดั เจน
2.1.2 มกี ารระบุเวลาจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นจำแนกแต่ละชน้ั ปีอย่าง

ชัดเจน
2..1.3 เวลาเรียนรวมของหลกั สูตรสถานศึกษาสอดคลอ้ งกับโครงสรา้ ง

เวลาเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)

2.2 โครงสร้างหลกั สตู รชน้ั ปี
2.2.1 มีการระบรุ ายวชิ าพน้ื ฐานท้ัง 8 กลมุ่ สาระสารเรียนรู้ พรอ้ มทั้ง

ระบุเวลาเรียนและหรอื หน่วยกิต
2.2.2 มีการระบรุ ายวิชาเพ่ิมเติมท่สี ถานศึกษากำหนด พร้อมทั้งระบเุ วลา

เรยี นและหรือหน่วยกิต
2.2.3 มีการระบกุ ิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พร้อมทั้งระบุเวลาเรยี น
2.2.4 มีรายวิชาพ้ืนฐานที่ระบุรหสั วิชา ช่ือรายวิชา จำนวนเวลาเรยี น

และหรือหน่วยกติ ไว้อยา่ งถกู ต้องชัดเจน
2.2.5 มรี ายวิชาเพม่ิ เตมิ / กิจกรรมเพ่ิมเติม สอดคล้องกบั วสิ ัยทศั น์

จุดเนน้ ของโรงเรียน
3. คำอธิบายรายวชิ า

3.1 มีการระบรุ หสั วชิ า ชื่อรายวชิ า และชื่อกลมุ่ สาระการเรียนรไู้ ว้อยา่ ง
ถกู ตอ้ งชดั เจน

3.2 มกี ารระบชุ น้ั ปีที่สอนและจำนวนเวลาเรยี นและ/หรือหน่วยกติ ไว้
อย่างถกู ตอ้ งชดั เจน

3.3 การเขยี นคำอธิบายรายวิชา เขยี นเปน็ ความเรยี ง โดยระบอุ งคค์ วามรู้
ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะหรอื เจตคติทีต่ อ้ งการ

3.4 มีการจัดทำคำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐานครอบคลุมตัวชี้วัด สาระการ
เรยี นรู้แกนกลาง

3.5 มกี ารระบรุ หัสตวั ชี้วัด ในรายวชิ าพ้นื ฐาน และจำนวนรวมของ
ตัวช้ีวัด

3.6 มกี ารระบผุ ลการเรยี นรู้ ในรายวชิ าเพ่มิ เติม และจำนวนรวมของผล
การเรยี นรู้

3.7 มกี ารกำหนดสาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่นิ สอดแทรกอย่ใู นคำอธบิ าย
รายวชิ าพน้ื ฐานหรือรายวิชาเพิม่ เติม

กล่มุ นเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดอบุ ลราชธานี

57

4. กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน
4.1 จดั กิจกรรมท้ัง 3 กจิ กรรมตามทก่ี ำหนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
4.2 จดั เวลาทั้ง 3 กิจกรรมสอดคลอ้ งกบั โครงสร้างเวลาเรียนท่ีหลกั สูตร

แกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
4.3 มีแนวทางการจัดกิจกรรมทีช่ ดั เจน
4.4 มีแนวทางการประเมินกจิ กรรมทีช่ ดั เจน

5. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
5.1 มกี ารระบุเวลาเรยี น/หนว่ ยกิต รายวิชาพ้นื ฐานและรายวชิ าเพิ่มเตมิ

ตามเกณฑ์การจบหลกั สตู รของโรงเรยี นไวอ้ ยา่ งชัดเจนและสอดคลอ้ งกบั
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา

5.2 มีการระบเุ กณฑ์การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี นไว้อย่าง
ชัดเจน

5.3 มกี ารระบุเกณฑก์ ารประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคไ์ วอ้ ยา่ งชัดเจน
5.4 มีการระบุเกณฑก์ ารผา่ นกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นไว้อยา่ งชัดเจน

ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ
............................................................................................................................. ........................................................
.....................................................................................................................................................................................

ตอนท่ี 2 สรปุ ผลการตรวจสอบองคป์ ระกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา จุดเด่น จดุ ที่ตอ้ งเพิม่ เตมิ และพัฒนาจุดเด่น
ของหลกั สูตรสถานศึกษา
................................................................................................................. .....................................................
..................................................................................................................... .................................................
จุดท่ตี อ้ งเพิ่มเตมิ /พัฒนา
1.ส่วนนำ
คำนำ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................
วิสัยทศั น์
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................ ......................................
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................... ............................

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั อุบลราชธานี

58

2. โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................................................
3. คำอธบิ ายรายวิชา
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. ........................................
4. กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
............................................................................................................................. ...............................................
...........................................................................................................................................................
5. เกณฑ์การจบการศึกษา
............................................................................................................. .................................................................
............................................................................................................................. .............................

ลงชอ่ื ........................................................
(.......................................................)

ผู้บริหารสถานศกึ ษา/คณะกรรมการบริหารหลักสูตร

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั อุบลราชธานี

59

สว่ นที่ 3
การนำหลกั สตู รสถานศึกษาไปใช้

เมื่อสถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา รวมถึงมีการ
ประกาศใชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง
พ.ศ.2560) แลว้ นน้ั ลำดับต่อไปคอื การนำหลักสตู รสถานศึกษาท่ีพัฒนาขน้ึ ไปใช้ในระดบั ชนั้ เรยี น โดยครูผู้สอน
แต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำหลักสูตรระดับชั้นเรียน อันประกอบด้วย โครงสร้างรายวิชา
การออกแบบและจัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนการเรียนรู้และนำแผนไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยจดั ทำเปน็ เอกสารประกอบหลักสูตรระดบั ชน้ั เรยี น ซงึ่ ในทางปฏบิ ตั ิแลว้ หากรายวชิ าใดมผี ูส้ อนมากกว่าหน่ึง
คน ครูอาจร่วมมือกันทำงานเป็นทีมเพื่อวางแผนและออกแบบการจดั การเรยี นรู้ใหม้ ีคุณภาพและประสิทธิภาพ
และบรรลุเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษา การนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ในชั้นเรียน มีกระบวนการและ
ขั้นตอน แสดงไดด้ ังภาพประกอบ 9

จดั กิจกรรมการเรยี นรู้
และประเมนิ ผล

ภาพประกอบ 9 กระบวนการนำหลักสตู รสถานศกึ ษาไปใช้ในชนั้ เรยี น

กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดอบุ ลราชธานี

60

จากภาพประกอบ 9 กระบวนการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ ซึ่งเป็นหลักสูตรระดับชั้นเรียนนั้น
ครูผู้สอน ต้องนำคำอธิบายรายวิชาในแต่ละวิชาทั้งวิชาพื้นฐานและและชาเพิ่มเติม ไปจัดทำเป็นโครงสร้าง
รายวิชา ซึ่งรายวิชาแต่ละรายวชิ านัน้ ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรูห้ ลายหน่วย ท่ีได้วางแผนและออกแบบไว้
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้ใน
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรสถานศึกษา ดงั นัน้ เพือ่ ที่จะชว่ ยใหผ้ ู้สอน และผเู้ กย่ี วข้องเห็นภาพรวมของแต่ละรายวิชา
จำเป็นต้องมีการจัดทำโครงสร้างรายวิชา เพื่อให้ได้ทราบว่ารายวิชานั้นประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้จำนวน
เท่าใด เรื่องใดบ้าง แต่ละหน่วยพัฒนาให้ผู้เรียนบรรลุ มาตรฐาน ตัวชี้วัดใด โดยใช้เวลาในการจัดการเรียน
การสอนเทา่ ใด สัดส่วนการเกบ็ คะแนนของรายวิชานนั้ เป็นอยา่ งไร

ตัวอย่างแบบโครงสรา้ งรายวิชา

รายวิชา.............................รหสั วิชา ........................... กล่มุ สาระการเรียนรู้ ......................................
ชั้น ............................................................................ เวลา ............. ช่ัวโมง ………………. หนว่ ยกติ

หนว่ ยที่ ชือ่ หน่วย มฐ./ตช. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนกั
การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

ระหว่างภาค
สอบปลายภาค

รวม

ขอ้ ควรคำนงึ ในการจัดทำโครงสรา้ งรายวิชา
1) การตั้งชื่อหน่วย ควรตั้งชื่อหน่วยให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เนื้อหา สาระการเรียนรู้ที่จะ

เรียนและเป็นที่ชื่อหน่วยที่มีจุดเด่น น่าสนใจ เพื่อสร้างความสนใจให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ มีเนื้อหาที่เชื่อมโยง
สัมพันธ์กนั ในแต่ละหนว่ ย ควรเรยี งลำดบั จากหน่วยท่งี า่ ยไปหาหน่วยท่ียาก

2) การกำหนดสัดส่วนของคา่ น้ำหนักคะแนน กำหนดชั่วโมงในแตล่ ะหน่วย ไม่มากหรือนอ้ ยเกนิ จนไป
ต้องคำนึงถึงความเหมาะสมกับเนื้อหา สาระการเรียนรู้ที่กำหนด รวมทั้งตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้
ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดให้มี จำนวน 20 ชั่วโมง หรือ 0.5
หนว่ ยกิตขน้ึ ไป เทา่ กับ 1 วชิ า สว่ นจำนวนชัว่ โมงในแผนการจดั การเรยี นรูค้ วรกำหนดแผนละ 1-3 ชว่ั โมง

3) การเขียนสาระสำคัญหรอื ความคิดรวบยอด ซง่ึ เป็น concept ) เปน็ องค์ความรทู้ เี่ ป็นหลักการ หรือ
หลักวิชาของแต่ละเรื่องเนื้อหาสาระการเรียนรู้ในหน่วยนั้น ๆ ควรเขียนให้กระชับ ชัดเจนว่า เรียนอะไร
เกิดอะไรข้นึ หรือมปี ระโยชน์จากการเรยี นรูใ้ นหน่วยน้นั อยา่ งไร

กล่มุ นิเทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั อบุ ลราชธานี

61

ตวั อยา่ งโครงสรา้ งรายวิชา

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวิชา ว 21104 รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เวลา 20 ชว่ั โมง 0.5 หน่วยกิต

หน่วย ช่อื หน่วย มฐ./ตช. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

1 หอ้ งเรียนนกั คดิ ว.4.2 ม.1/1, การออกแบบอัลกอรทิ มึ เพือ่ แกป้ ญั หาหรืออธบิ าย 4 20

ม.1/4 การทำงานในชีวติ ประจำวนั โดยใชแ้ นวคิดเชงิ

ส 1.2 ม.1/4 นามธรรมในการประเมนิ ความสำคัญในรายละเอียด

ค 2.1 ป.5/4 ของปัญหา คำนงึ ถงึ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

อยา่ งถูกต้องและปลอดภัย เกดิ ประโยชนต์ อ่ การ

เรยี นรแู้ ละไมส่ ร้างความเสยี หายใหก้ ับผอู้ ื่น

2 โปรแกรมเมอร์ ว.4.2 ม.1/2, การใชซ้ อฟต์แวร์ในการออกแบบและเขยี นโปรแกรม 10 40

ม.1/4 ท่มี ีการใชต้ วั แปร เงอื่ นไขวนซำ้ เป็นการแกป้ ญั หา

อย่างเป็นข้นั ตอนชว่ ยให้แก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ

3 ท่องโลกไซเบอร์ ว.4.2 ม.1/3, การรวบรวมขอ้ มลู จากแหล่งข้อมลู ปฐมภมู ิ โดยใช้ 4 20
ม.1/4 ซอฟตแ์ วร์หรือบรกิ ารบนอินเทอรเ์ น็ตทีห่ ลากหลาย
เพือ่ ประมวลผล สรา้ งทางเลอื กทำใหไ้ ด้สารสนเทศ 18 80
เพอื่ ใช้ในการแกป้ ญั หาหรอื การตัดสนิ ใจได้ถูกตอ้ ง 2 20
20 100
ระหว่างภาค

สอบปลายภาค

รวม

กล่มุ นิเทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั อบุ ลราชธานี

62

ตัวอยา่ งโครงสร้างรายวิชา

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา ท23101 ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลารวม 60 ชัว่ โมง 1.5 หน่วยกิต

หน่วย ช่ือหนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั

ท่ี เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด (ชวั่ โมง)

1 อ่านใหด้ ีมขี อ้ คิด ท1.1 ม.3/1,ม.3/2 บทร้อยแก้วมคี ตสิ อนใจ ชว่ ยให้ผู้อ่าน 10 12

ม.3/3,ม.3/5 ได้ข้อคิดแนวทางการดำเนนิ ชีวติ

ม.3/6,ม.3/7 สามารถปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั

ม.3/8,ม.3/9 โดยการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ

ม.3/10 นำเสนอแงค่ ดิ โดยการพูด และเขียน

ท 2.1 ม.3/1,ม.3/4 อย่างมีมารยาท

ม.3/10

ท 3.1 ม.3/1,ม.3/2

ม.3/4

ท 4.1 ม.3/5

ท 5.1 ม.3/1,ม.3/2

ม.3/3,ม.3/4

2 นทิ านแสนสนุก ท1.1 ม.3/1,ม.3/2, การร้คู วามหมายของคำศัพทท์ จี่ ะ 10 12

ม.3/3,ม.3/5 นำมาไปใช้เพอ่ื การอา่ นบทรอ้ ยกรอง

ม.3/6,ม.3/7 และการอา่ นในชีวติ ประจำวนั จะชว่ ย

ม.3/8,ม.3/9 เพมิ่ คุณคา่ ของภาษาเม่ือนำไปพดู และ

ม.3/10 เขยี นในโอกาสตา่ ง ๆ

ท 2.1 ม.3/2,ม.3/6

ท 3.1 ม.3/1,ม.3/2

ม.3/4,ม.3/6

ท 4.1 ม.3/4

ท 5.1 ม.3/1,ม.3/2

ม.3/3,.3/4

3 เขยี นดีมีคณุ คา่ ท1.1 ม.3/1,ม.3/2, การพดู การเขียน การแสดงความ 12 14

ม.3/3,ม.3/5 คิดเห็นในเชิงวจิ ารณ์ โตแ้ ยง้ ควร

ม.3/6,ม.3/7 คำนงึ ถงึ ความสมเหคุสมผล และความ

ม.3/8,ม.3/9 น่าเชื่อถือของข้อมูลท่ีนำไปประกอบ

ม.3/10

ท 2.1 ม.3/2,ม.3/3

ม.3/5,ม.3/7

ม.3/8

ท 3.1 ม.3/1,ม.3/3

ม.3/5

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดอุบลราชธานี

63

ท 4.1 ม.3/1,ม.3/2

ม.3/3,ม.3/6

ท 5.1 ม.3/1,ม.3/2

ม.3/3,ม.3/4

4 ตำนานบ้านเรา ท1.1 ม.3/1,ม.3/2, การอา่ น การฟัง การดู โดยผา่ น 12 14

ม.3/3,ม.3/4 ตำนานท้องถนิ่ หรอื เร่อื งเลาเร่อื งราวใน 18

ม.3/5,ม.3/6 อดีต แสดงใหเ้ ห็นถงึ วถิ ีชีวติ ซง่ึ จะชว่ ย 70
30
ม.3/7,ม.3/8 ใหไ้ ด้ขอ้ คิด และแนวทางการปฏิบัติตน 100

ม.3/9,ม.3/10 ของคนในยคุ ปจั จุบนั

ท 2.1 ม.3/4,ม.3/6

ม.3/8

ท 3.1 ม.3/3,ม.3/4

ท 4.1 ม.3/4,ม.3/5

ท 5.1 ม.3/1,ม.3/2

ม.3/3,ม.3/4

5 วรรณกรรม ท1.1 ม.3/1,ม.3/2, คำศพั ทท์ ีไ่ ดจ้ ากการอา่ นวรรณกรรม 14

ทอ้ งถ่ิน ม.3/3,ม.3/5, ท้องถนิ่ ของแต่ละยคุ แตล่ ะสมัย ช่วยให้

ม.3/6,ม.3/7 ผู้อ่านมีความรู้ ความเข้าใจในภาษา

ม.3/8 และววิ ัฒนาการของภาษา รูเ้ รือ่ งราว

ท 2.1 ม.3/7,ม.3/9 นอดตี และเปน็ ขอ้ คิดในชวี ติ ประจำวนั

ท 3.1 ม.3/3,ม.3/4

ม.3/3,ม.3/4

ท 4.1 ม.3/5

ท 5.1 ม.3/1,ม.3/2

ม.3/3,ม.3/4

ระหวา่ งภาค 58
ปลายภาค 2
60
รวม

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เป็นกระบวนการหนึ่งในการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ในชั้นเรียน
เน่อื งจาก หน่วยการเรยี นรู้เป็นหัวใจสำคัญของหลักสูตร จำเปน็ ต้องมีการออกแบบให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้จึงจำเป็นต้องมีความรู้ที่ครบวงจรในเรื่องหนึ่ง ที่เกิดจากการบูรณการสาระต่าง ๆ ของกลุ่ม
สาระการเรียนรู้หนึ่งๆแล้ว จัดเป็นเรื่องหรือหน่วยย่อย หน่วยการเรียนรู้เป็นขั้นตอนสำคัญที่สุดในการจัดทำ
หลักสูตรระดับชั้นเรียน เพราะเป็นส่วนสาระการเรียนรู้ย่อยของรายวิชาที่สามารถนำมาใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ ที่จะนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติในการเรียนการสอนอย่างแท้จริง ทุกองค์ประกอบของหน่วย
การเรียนร้ตู อ้ งเชื่อมโยงกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั ในรายวชิ านน้ั ๆ

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดอุบลราชธานี

64

สำนักคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( 2551 :7 ) ได้กำหนดการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ไว้ว่า
การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้มีหลายรปู แบบ ในแต่ละรูปแบบที่สถานศึกษากำหนด ต้องเป็นไปตามขั้นตอนท่ี
ชัดเจนโดยมีมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายของหน่วยและองค์ประกอบภายในหน่วยการเรียนรู้
ได้แก่ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ ชิ้นงานหรือภาระงานที่กำหนดให้ผู้เรียน
ปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนการรู้และเกณฑ์การวัดและประเมินผลครบทุกองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้
จะตอ้ งเชื่อมโยงมาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้วี ัด เปน็ เปา้ หมายของหน่วย ดงั นี้

ตวั อยา่ งตารางการออกแบบหน่วยการเรียนรู้

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้
หน่วยการเรียนรเู้ รอ่ื ง.........................................................ชน้ั ................................................................. เวลา.................ชั่วโมง
รายวิชา............................................................................................... กลุ่มสาระการเรียนร.ู้ .........................................................
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั .....................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

......................................................................................................................................................................... .....

............................................................................................................................. ................................

สาระการเรียนรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน การวัดและประเมนิ ผล แนวทางการจัดกิจกรรม
แกนกลาง วธิ ีการ เครื่องมอื การเรียนรู้

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั อบุ ลราชธานี

65

ตัวอยา่ งการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง พากเพยี รการใช้ภาษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 10 ชั่วโมง

รหสั วชิ า ท 23101 รายวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัด

มฐ.ท1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคิดเพอื่ นำไปใชต้ ัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชวี ติ และมีนสิ ัยรักการอ่าน

ม.3/2 ระบคุ วามแตกตา่ งของคำทม่ี คี วามหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั 23101

มฐ. ท2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราวในรปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูล

สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ

ม.3/2 เขยี นข้อความโดยใชถ้ อ้ ยคำได้ถกู ตอ้ งตามระดบั ภาษา

มฐ. ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษาภูมิปัญญาทางภาษา

และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ

ม.3/2 วเิ คราะหโ์ ครงสร้างประโยคซบั ซ้อน

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

ภาษามีความจำเปน็ และสำคัญอย่างย่งิ ชวี ิตประจำวนั ทงั้ ฟัง พูด อา่ น และเขยี นพูด การอา่ นร้อยกรองจากวรรณคดี

การใช้วิจารณญาณ วิเคราะห์วิจารณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผลก่อให้เกิดความเข้าใจ ประเมินเรื่องที่อ่าน ฟัง และ การพูดแสดง

ความคิดเห็นภาษาไทยได้ถูกต้อง เหมาะสมทั้งประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน เพื่อใช้ในการเขียนเรียบเรียง

เรื่องราว อย่างถูกต้องตามหลักการ เป็นการพัฒนาทักษะทางด้านการใช้ภาษา เป็นประโยชน์ต่อการสื่อสารใน

ชวี ิตประจำวัน ทำใหก้ ารสอ่ื สารมีประสิทธิภาพทำให้เกดิ ผลดใี นการทำงาน ดำรงชวี ติ อยู่ในสังคม อย่างมคี วามสุข

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ช้นิ งาน/ภาระงาน การวัดและประเมนิ ผล แนวทางการจดั กจิ กรรม

วธิ ีการ เครอ่ื งมอื การเรียนรู้

- ลักษณะของประโยคใน -ผลงานการเขียนเรยี ง -สงั เกต -แบบสงั เกต 1.กิจกรรมศกึ ษา กลุ่มคำ

ภาษาไทย ร้อยประโยคเปน็ -สัมภาษณ์ -แบบสมั ภาษณ์ ประโยค ความหมาย

-ประโยคสามญั เรือ่ งราว -ตรวจ -แบบบันทึกการ ส่วนประกอบของประโยค

-ประโยครวม -ผลการงานการเขียน ผลงาน ตรวจผลงาน จากเรอ่ื งท่ีกำหนดให้

-ประโยคซ้อน วิเคราะห์ สังเคราะห์ -ทดสอบ -แบบทดสอบก่อน 2.กจิ กรรมจบั คกู่ บั เพอ่ื นฝกึ

-ประโยคทซี่ บั ซอ้ น สรุปความตามประเด็น และหลงั เรยี น การเขียนประโยคสน้ั ๆ คน

-คำทีม่ ีความหมายโดยตรง หรือเรื่องที่กำหนดให้ ละ 1 ประโยค ฝึกเขยี นบท

และความหมายโดยนยั -โครงงานภาษาไทย สื่อและแหล่ง ขยายหรือสว่ นขยายให้

- ระดับภาษา เรยี นรู้ ประโยค ครูและนักเรียน

-หนงั สอื เรยี น ร่วมกันตรวจสอบความ

ภาษาไทย ชัน้ ถูกตอ้ ง

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 3.กจิ กรรมอภิปรายความรู้

- ห้องสมดุ เรอ่ื ง ชนดิ ของประโยค โดย

- อินเตอร์เน็ต ศึกษาจากส่อื Power

-สือ่ ส่ิงพิมพ์ point แล้วให้นกั เรยี นทำใบ

-บุคคล งานท่ี 1 เร่ือง โครงสร้าง

ของประโยค จากนั้นครูสมุ่

เรียกนักเรียนออกมาเฉลย

คำตอบทหี่ น้าชน้ั เรียน

กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั อุบลราชธานี

66

4. กิจกรรมกลมุ่ ๆ ละ 5 คน
คละกันตามความสามารถ
แต่ละกลุ่มเขยี น ประโยค
ความเดียว ประโยคความ
รวม และประโยคความซ้อน
แล้วนำไปเขยี นบนกระดาน
แต่ละกล่มุ ชว่ ยกันวิเคราะห์
โครงสร้างประโยค
5. กิจกรรมกลมุ่ วเิ คราะห์
ประโยค กลุม่ ส่งตวั แทน
ออกมาเฉลยคำตอบที่
ถูกตอ้ ง จากนัน้ ครสู มุ่ เรยี ก
นกั เรยี นออกมาแตง่ ประโยค
ที่หนา้ ชัน้ เรยี น โดยใหแ้ ตง่
ประโยคความเดยี วและ
ประโยคความรวม
6. กิจกรรมอภปิ รายหน้าท่ี
ของประโยค การวเิ คราะห์
สว่ นประกอบของประโยค
วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ปญั หา
การเขียน การพดู โดยใช้
ประโยคต่าง ๆ
7.กจิ กรรมโครงงาน
ภาษาไทยเกีย่ วกบั การพดู
การเขียน การใช้ภาษาไทย
ให้ถกู ต้องตามอักขระวิธี
และอัตลกั ษณ์ทางภาษา

การนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ในระดับชั้นเรียนนั้น หลังจากที่นำคำอธิบายรายวิชามาจัดทำเป็น
โครงสร้างรายวิชา จัดทำการออกแบบหน่วยการเรียนรู้แล้ว ลำดับต่อไปคือการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
ของแต่ละหน่วยการเรยี นรู้ท่ีได้ออกแบบไว้ ซึ่งคุณครูผูส้ อนสามารถจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ได้หลากหลาย
วิธี ในที่นี้ได้เสนอตวั อยา่ งหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรยี นรู้ ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้เผยแพร่หน่วยการเรียนรู้ Active Learning ที่ได้รับรางวัลเพื่อเป็นตัวอย่าง
ให้กบั ครใู นการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้และจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ ดังต่อไปน้ี
https://www.hongpakkroo.com/2826.html
หน่วยการเรียนรู้เรอ่ื ง MyStory
https://drive.google.com/drive/folders/0B9t56k6dmUe5SVBVVTl0dV9taE0
หน่วยการเรยี นรู้เรื่อง การคาดคะเนระยะทางและความสูง
https://drive.google.com/drive/folders/0B9t56k6dmUe5dFR1SmlfZG5Wa3M
หนว่ ยการเรยี นร้เู รื่อง มารู้จักจงั หวะการอา่ นโนต๊ เพลงไทยแสนง่าย
https://drive.google.com/drive/folders/0B9t56k6dmUe5ZUNBQ2kzT1Q3Y1E

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั อบุ ลราชธานี

67

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน. มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชี้วดั กลมุ่
สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
พิมพ์ครั้งท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2560

. ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ
พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 พิมพ์ครง้ั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรง
พิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2560

. ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 พมิ พ์ครั้งท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรง
พิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560

. ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมศิ าสตรฯ์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2560

. แนวทางการบรหิ ารจัดการหลักสตู ร ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553

. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช
2551 พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553

. แนวทางการจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 พิมพ์ครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2553

. แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั
พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 พิมพ์ครง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย,
2553

. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 พิมพ์คร้ังที่ 1. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2551
โรงเรยี นพระแม่มารีอุบลราชธาน.ี หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพระแม่มารีอุบลราชธานี พทุ ธศักราช 2563
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) พิมพค์ รั้งท่ี 1. ฝา่ ย
วิชาการ, 2563

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั อุบลราชธานี

68

คณะผู้จัดทำ

คณะกรรมการทป่ี รกึ ษา ศกึ ษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี ประธานคณะกรรมการ
1. ดร.วีระพงศ์ เดชบญุ
2. ดร.อุดมศกั ดิ์ เพชรผา รองศึกษาธิการจงั หวัดอบุ ลราชธานี กรรมการ

คณะกรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิภายนอก

1. ผศ.ดร.ภูมพิ งษ์ จอมหงษ์พพิ ฒั น์ ประธานสาขาวิชาการพัฒนาหลกั สูตรและการเรยี นการสอน

(ดษุ ฎีบัณฑิต) คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี

2. ดร.สาวติ รี เถาวโ์ ท อาจารย์ประจำ สาขาวชิ าการพัฒนาหลักสตู รและการเรยี นการสอน

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี

คณะผูจ้ ดั ทำ ศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดอุบลราชธานี
1. ดร.ยอดอนงค์ จอมหงษ์พพิ ัฒน์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั อุบลราชธานี
2. นายวทิ ยา ครองยตุ ิ ศึกษานเิ ทศก์ สำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั อบุ ลราชธานี
3. ดร.ดนภุ ัค เชาวศ์ รีกลุ ศกึ ษานิเทศก์ สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั อุบลราชธานี
4. ดร.สวุ ิมล ไวยารตั น์ ศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี
5. นางสาวณฐลมนต์ ทองสทุ ธิ์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั อบุ ลราชธานี
6. นายคมั ภรี ์ เจริญราษฎร์

ผ้จู ัดทำและตรวจสอบรปู แบบ
นางสาวนงลกั ษณ์ มสุ ิกา

กล่มุ นเิ ทศตดิ ตามและประเมินผล สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดอุบลราชธานี

กล่มุ นิเทศตดิ ตามและประเมินผล สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั อบุ ลราชธานี

กล่มุ นิเทศตดิ ตามและประเมินผล สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั อบุ ลราชธานี


Click to View FlipBook Version