ระบบการใหน้ �ำ้ พืชแบบอัจฉรยิ ะ
พมิ พ์ครั้งที่ 2 : (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) จ�ำนวน 2,000 เล่ม มีนาคม พ.ศ. 2565
จัดพิมพ ์ : กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พิมพท์ ี่ : กลุ่มโรงพมิ พ์ สำ� นกั พัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
คำ� นำ�
ระบบให้น�้ำพืชเป็นวิวัฒนาการทาง
เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรประเภทหนึ่ง ที่มี
การพัฒนาข้ึนเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่
เกษตรกร ท้ังในด้านการลดภาระในการใช้แรงงานใน การให้น�้ำพืช การลดความเสี่ยง
จากความเสียหายของพืชอันเนื่องมาจากการขาดน�้ำ ปัจจุบันการให้น�้ำพืชโดยใช้
ระบบการให้น�้ำมิได้เป็นเพียงแค่การลดภาระหรือลดความเส่ียงเท่าน้ัน แต่ยังเพ่ิม
ประสิทธิภาพการท�ำงานได้โดยสามารถค�ำนวณการให้น�้ำแก่พืชได้อย่างเพียงพอเท่า
พืชต้องการ ส�ำหรับในประเทศไทย เกษตรกรนิยมใช้ระบบให้น้�ำพืชเพ่ือลดภาระงาน
และลดความเสี่ยงจากภัยแล้งกันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสวนผลไม้
พืชผัก และพืชไร่ นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ระบบ การให้น้�ำพืชท่ีมีจ�ำหน่ายท่ัวไป
ทัง้ ท่มี ีคณุ ภาพสูงและคุณภาพตำ�่ มีท้ังท่ผี ลิตในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งเกษตรกร
หรือแม้แต่นักวิชาการด้านการเกษตรส่วนมากยังมีความรู้ในด้านนี้อย่างแท้จริง
ไม่มากนัก กองส่งเสริมโครงการพระราชด�ำริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร จงึ ไดจ้ ดั ทำ� เอกสารแนะนำ� “ระบบการใหน้ ำ้� พชื แบบอจั ฉรยิ ะ”
เพ่ือเป็นการเผยแพร่ความรู้ โดยจะเน้นถึงการออกแบบระบบการให้น�้ำพืช
อย่างมีประสิทธิภาพ และเทคโนโลยีการควบคุมการให้น�้ำท่ีเหมาะสมถูกต้องตาม
หลักวชิ าการ ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคณุ ผบู้ รหิ ารของกรมสง่ เสริมการเกษตรที่ไดใ้ ห้
ความสำ� คัญ ต่อการพัฒนาการใชเ้ ทคโนโลยขี องเกษตรกรของประเทศ มา ณ ที่น้ี
กองส่งเสริมโครงการพระราชดำ� ริ การจัดการพื้นท่ีและวศิ วกรรมเกษตร
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 2564
สารบญั
15
8 21
ระบบการให้นำ�้ พชื 1 การเลอื กระบบการให้นำ�้ 17
ที่เหมาะสมกับชนดิ ของพืช
การใหน้ ้ำ� แบบฉดี ฝอย 4 พืชไร ่ 17
(Sprinkler Irrigation) 5 ● ระบบน้�ำหยด 17
● สปริงเกลอร์ (Sprinkler) ● ระบบสปรงิ เกลอร ์ 19
การให้น�้ำแบบเฉพาะจดุ 7 พชื ผัก 20
(Loaclize Irrigation) ● ระบบน�้ำหยด 20
● มนิ ิสปริงเกลอร์ (Mini Sprinkler) 8 ● ระบบมนิ ิสปริงเกลอร์ 20
● ไมโครสเปรย์ และเจท็ 10 ไมผ้ ล 21
(Micro Spray & Jet) ● ระบบมนิ สิ ปริงเกลอร ์ 21
● นำ้� หยด (Drip) 12 ● ระบบไมโครสเปรยแ์ ละเจท็ 21
ระบบการใหน้ �ำ้ พืชอัจฉรยิ ะ 25
โรงเรือน (Green House) 27
ระบบการใหน้ �้ำพชื
พืชทุกชนิดมีความต้องการน�้ำ โดยน้�ำเป็นปัจจัยอย่างหน่ึงของขบวนการ
สังเคราะห์แสงของพืชเป็นตัวละลายธาตุอาหารในดินเพื่อให้รากดูดขึ้นไปสร้าง
การเจริญเติบโต และคายน�้ำเพื่อระบายความร้อน นอกจากน้ี ยังเป็นตัวที่ส�ำคัญ
ในการก�ำหนดปริมาณและผลผลิตของพืชด้วย ซ่ึงพืชแต่ละชนิดมีความต้องการน�้ำ
ต่างกัน ข้ึนอยู่กับชนิด พันธุ์ และอายุของพืชน้ันๆ การให้น้�ำน้อยไปท�ำให้พืช
เจริญเติบโตช้า ผลผลิตต่�ำ ฯลฯ แต่ถ้ามากไปก็จะท�ำให้ส้ินเปลืองน้�ำและค่าใช้จ่าย
ดงั นัน้ จงึ จ�ำเปน็ ต้องใหน้ ำ�้ อยา่ งเหมาะสมกับความตอ้ งการนำ�้ ของพชื น้นั ๆ
1ระบบการใหน้ ำ�้ พืชแบบอจั ฉริยะ
ระบบการให้น้�ำพืชเป็นกลไกที่สามารถจัดการควบคุมปริมาณการให้น้�ำพืช
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม และสะดวก อนั จะเกดิ ผลดี ดงั น้ี
1. พชื เจรญิ เติบโตอยา่ งเตม็ ท่ี
2. พืชไม่ชะงกั การเจริญเติบโต
3. เพิ่มปรมิ าณและคณุ ภาพผลผลิต
4. ก�ำหนดเวลาเกบ็ ผลผลติ ได้
5. การใช้ปยุ๋ มปี ระสทิ ธิภาพสงู ขนึ้
6. สะดวกและประหยัดเวลาการให้น�้ำ
7. ลดความเส่ยี งในอาชพี เกษตรกรรม
ระบบการให้น้�ำท่ีดีจะต้องสนองความต้องการน้�ำของพืชได้อย่างเพียงพอ
อีกท้ังยังต้องเป็นระบบท่ีเหมาะสมกับปัจจัยอื่นๆ ท่ีเป็นความสะดวกของ
ผใู้ ช้ระบบด้วย เช่น ชนิดของแหล่งน�้ำ ข้อจำ� กดั ของเครอื่ งสบู น�้ำ เวลาในการให้น้ำ�
เป็นต้น ซึ่งในการเลือกระบบท่ีจะมาใช้กับพืชชนิดต่างๆ ผู้เลือกจะต้องรู้จักและ
ท�ำความเข้าใจกับระบบการให้น�้ำนั้นๆ ก่อน ซึ่งระบบให้น้�ำท่ีใช้อยู่ในปัจจุบัน
แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื
● การใหน้ ้ำ� แบบฉีดฝอย (Sprinkler Irrigation)
● การให้น�้ำแบบเฉพาะจุด (Localize Irrigation)
2 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
3ระบบการใหน้ ำ�้ พืชแบบอัจฉรยิ ะ หวั จ่ายน้�ำ
องคป์ ระกอบของระบบการให้น�้ำ
การให้นำ�้ แบบฉดี ฝอย
(Sprinkler Irrigation)
เป็นการให้น�้ำโดยฉีดน้�ำขึ้นไปบนอากาศเหนือต้นพืชกระจายเป็นฝอย
แล้วให้เม็ดน้�ำตกลงมา บนพ้ืนท่ีเพาะปลูก โดยมีเครื่องสูบน�้ำเป็นอุปกรณ์ส่งน้�ำ
ผ่านระบบทอ่ ดว้ ยแรงดันทส่ี งู เพอ่ื ใหน้ ำ้� ฉีดเปน็ ฝอยออกทางหัวจ่ายน�้ำ
หัวจา่ ยนำ�้
เปน็ อปุ กรณซ์ ง่ึ ทำ� หนา้ ทรี่ บั นำ้� มาจากทอ่ ยอ่ ย และจา่ ยใหก้ บั ตน้ พชื ตามปรมิ าณทกี่ ำ� หนด
หัวจา่ ยน�้ำมีมากมายหลายแบบซึ่งผใู้ ชจ้ ะตอ้ งเลอื กใช้ให้เหมาะสมกบั ชนิดของพืช
สง่ิ สำ� คญั ทีจ่ ะต้องพจิ ารณา คอื
● อัตราการจา่ ยน�ำ้ หมายถึง ปรมิ าณน�ำ้ ต่อหน่วยเวลา
● แรงดนั ที่ใช้ของหวั จา่ ยนำ้�
● รปู แบบการกระจายนำ้�
4 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
1. สปริงเกลอร์ (Sprinkler)
เป็นระบบที่ใช้แรงดันต้ังแต่ 20 เมตรข้ึนไป และมีอัตราการไหล
ของน�้ำตั้งแต่ 200 ลิตรต่อช่ัวโมงข้ึนไป เหมาะส�ำหรับการให้น้�ำในบริเวณกว้าง
ครอบคลุมพ้ืนที่ได้มาก เช่น พืชไร่ และพืชผกั
ระบบสปริงเกลอร์ เหมาะกับสภาพแหล่งน้�ำท่ีมีปริมาณน�้ำมากเพียงพอ
คุณภาพน�้ำปานกลาง การดูแลง่าย ปัญหาการอุดตันน้อย จึงไม่ต้องการระบบ
การกรอง แต่ถ้าคุณภาพน�้ำต่�ำและมีส่ิงเจือปนมาก ก็จ�ำเป็นต้องมีระบบการกรอง
แรงดันท่ีต้องใช้ในระบบค่อนข้างสูงท�ำให้การลงทุนด้านเคร่ืองสูบน้�ำและค่าใช้จ่าย
ดา้ นพลังงานสงู ที่สุด
หัวสปริงเกลอร์ ท�ำหน้าที่จ่ายน�้ำ
โ ด ย ฉี ด น�้ ำ จ า ก หั ว ฉี ด ไ ป ใ น อ า ก า ศ
แตกให้กระจายเป็นเม็ดน�้ำเล็กๆ ตกลง
ม า ยั ง พื้ น ท่ี เ พ า ะ ป ลู ก ก า ร ก ร ะ จ า ย น�้ ำ
มีรูปแบบเป็นวงกลม ระบบสปริงเกลอร์
ต้องการ 2 สิ่งคือ อัตราการไหลของน้�ำและแรงดัน หากแรงดันไม่พอระบบ
จะใช้งานไม่ได้ดี แรงดันเหมือนพลังงานในการผลักดันให้สปริงเกลอร์ท�ำงาน
จึงจะได้อัตราการไหลของน�้ำออกมาอย่างถูกต้อง แต่ก่อนที่น้�ำจะไหลมาถึง
บริเวณหัวสปริงเกลอร์จะเสียแรงดันไปในเส้นทางท่ีผ่าน เช่น มิเตอร์วัดน�้ำ
ท่อ วาล์ว ข้อต่อและประตูน�้ำต่างๆ แล้วจึงผ่านถึงหัวสปริงเกลอร์ และต้อง
มีแรงดันเหลือพอให้หัวสปริงเกลอร์ท�ำงานได้ แรงดันมีผลต่อการกระจายของน้�ำ
ให้โปรยท่ัวพื้นที่อย่างสม่�ำเสมอ ส�ำหรับต้นกล้าหรือพืชที่เพ่ิงปลูกควรใช้แรงดัน
ที่สูงกว่าก�ำหนดเพ่ือให้การแตกตัวของน้�ำเป็นละอองมากขึ้น จะได้ละอองน้�ำ
ทลี่ ะเอยี ด ระบบสปริงเกลอรน์ ิยมใชก้ ับพชื ไรแ่ ละพืชผัก
5ระบบการให้น้�ำพืชแบบอจั ฉริยะ
1 . รปู แบบการวางหัวจ่ายน�ำ้
รปู แบบการวางหวั สปรงิ เกลอร์ จะวางตามแนวทอ่ ยอ่ ย (a) และระยะระหวา่ ง
ทอ่ ยอ่ ย (b) สามารถจดั วางเปน็ รปู สเี่ หลยี่ มหรอื สามเหลย่ี ม โดยทวั่ ไประยะทเี่ หมาะสม
คือระยะ a = b
1. การวางแบบสเ่ี หลี่ยม
1) ไม่มลี ม วางหา่ ง 55 % ของเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางเขตเปยี ก
2) 0 – 6 กม./ชม. วางหา่ ง 50 % ของเส้นผา่ นศูนย์กลางเขตเปียก
3) 6-12 กม./ชม. วางห่าง 45 % ของเส้นผา่ นศนู ย์กลางเขตเปียก
B
A
แสดงการตดิ ต้งั หัวสปริงเกลอรแ์ บบรปู ส่เี หลี่ยม
2. การวางแบบสามเหล่ยี ม
1) ไม่มลี ม วางหา่ ง 60 % ของเส้นผ่านศูนย์กลางเขตเปยี ก
2) 0 – 6 กม./ชม. วางหา่ ง 55 % ของเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางเขตเปียก
3) 6-12 กม./ชม. วางห่าง 50 % ของเส้นผา่ นศูนย์กลางเขตเปยี ก
กรณไี มม่ ลี ม หมายถึงการใช้งานภายในอาคาร
B
A
6 แสดงการตดิ ตงั้ หัวสปริงเกลอรแ์ บบรูปสามเหลย่ี ม
กรมสง่ เสริมการเกษตร
การใหน้ ำ�้ แบบเฉพาะจุด
(Localize Irrigation)
เป็นการให้น้�ำบริเวณรากพืชโดยตรง น้�ำจะถูกปล่อยจากหัวจ่ายน�้ำสู่ดิน
ให้น�ำ้ ซมึ ไปในดินบรเิ วณเขตรากพชื ระบบน้เี ปน็ ระบบทปี่ ระหยัดน้ำ� ไดอ้ ยา่ งแท้จริง
เน่ืองจากจะเกิดการสูญเสียน้�ำจากปัจจัยอ่ืนน้อยมากและแรงดันที่ใช้กับระบบต�่ำ
ประมาณ 5 - 20 เมตร ทำ� ให้ประหยัดคา่ ใช้จ่ายในดา้ นต้นกำ� ลงั สูบนำ้� จ�ำแนกไดด้ งั นี้
● มินสิ ปรงิ เกลอร์ (Mini Sprinkler)
● ไมโครสเปรย์และเจท็ (Micro spay & jet)
● นำ้� หยด (Drip)
7ระบบการให้น้ำ� พชื แบบอัจฉริยะ
1. มินิสปริงเกลอร์ (Mini Sprinkler)
เป็นระบบที่ใช้แรงดัน 10 - 20 เมตร และมีอัตราการไหลของหัวจ่ายน้�ำ
35 - 300 ลิตร ต่อชั่วโมง เหมาะส�ำหรับไม้ผลที่มีระยะปลูกตั้งแต่ 4 เมตรขึ้นไป
และพืชผกั
หัวมินิสปริงเกลอร์ จะต่อไว้ยังจุดที่เลือกบนท่อย่อย วางไว้เหนือผิวดิน
กระจายน�้ำดว้ ยใบหมุนลงสดู่ นิ ในบรเิ วณเขตรากพืช รัศมี 3 - 4 เมตร ใหป้ ริมาณนำ�้
ทีละน้อยเพียงพอแก่การเจริญเติบโต เหมาะส�ำหรับพืชท่ีปลูกทั้งระยะชิดและ
ระยะหา่ งใช้กบั พชื ผกั ไดด้ ้วย
หวั มนิ สิ ปรงิ เกลอร์ บงั คบั ทางออกของนำ้� ใหม้ ขี นาดเลก็ ขอ้ แตกตา่ งจาก
หัวจ่ายน้�ำแบบอ่ืนๆ ที่ค่อนข้างจะเด่น คือมีส่วนท่ีหมุนได้ท่ีเรียกว่า ใบหมุน
ซึ่งเป็นตัวท�ำให้น้�ำกระจายออกเป็นวงกว้างได้ดีกว่าสเปรย์ขนาดเล็กแบบอื่น ท�ำให้
มีบริเวณพืน้ ที่เปียกมาก
ปกติหัวมินิสปริงเกลอร์จะตั้งไว้บนขาตั้งและต่อกับท่อย่อยโดยใช้ท่ออ่อน
ท่ีถอดได้ ท่อน้ปี กติมีเสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 4 มลิ ลเิ มตร และยาวประมาณ 0.5 เมตร
เป็นประโยชน์เม่ือต้องการโค้งงอหรือเคลื่อนย้าย จุดปล่อยน�้ำรอบๆ โคนต้นพืช
อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับหัวที่ให้ปริมาณน้�ำท่ีมากกว่า 100 ลิตรต่อชั่วโมง ควรใช้
ท่อออ่ นทมี่ ีขนาดใหญ่ขน้ึ เพือ่ ช่วยลดการสญู เสียแรงดัน
8 กรมส่งเสริมการเกษตร
หัวจ่ายนำ้� แบบมนิ ิสปรงิ เกลอร์
แสดงการให้น้ำ� แบบมนิ สิ ปริงเกลอร์
9ระบบการให้นำ�้ พืชแบบอัจฉรยิ ะ
ไมโครสเปรย์ (Micro Spray) และเจ็ท (Jet)
เป็นระบบที่ใช้แรงดัน 10 - 20 เมตร และอัตราการไหลของหัวจ่ายน�้ำ
35 - 220 ลติ รต่อช่ัวโมง เหมาะส�ำหรบั ไม้ผลที่มีระยะปลกู 2 - 4 เมตร
ระบบไมโครสเปรย์และเจ็ท เหมาะกับสภาพแหล่งน้�ำท่ีมีปริมาณน�้ำจ�ำกัด
คุณภาพน�้ำค่อนข้างดี รูปล่อยน�้ำมีขนาดเล็ก ต้องการระบบการกรองที่ดี เพื่อ
ไม่ให้เกิดการอุดตัน ผู้ใช้ต้องมีความละเอียด ในการตรวจสอบและล้างไส้กรองน้�ำ
อยา่ งสมำ�่ เสมอทกุ วนั แรงดนั ทต่ี อ้ งใชใ้ นระบบปานกลาง การลงทนุ ดา้ นเครอื่ งสบู นำ้�
และคา่ ใช้จ่ายด้านพลงั งานน้อยกว่าระบบสปรงิ เกลอร์
การให้น้�ำแบบไมโครสเปรย์และเจ็ท เป็นรูปแบบการให้น�้ำโดยหัวจ่ายน้�ำ
กระจายน้�ำเป็นฝอยหรอื เป็นสาย หวั จา่ ยน�ำ้ จะไม่มใี บหมนุ หรอื ชนิ้ ส่วนทเ่ี คล่ือนไหว
ให้ปริมาณน้�ำทีละน้อยเพียงพอแก่การเจริญเติบโตของพืช หัวจ่ายน�้ำถูกวางไว้
ยังจุดท่ีเลือกบนท่อน�้ำ ส่วนใหญ่จะวางไว้เหนือผิวดินกระจายน้�ำลงสู่ดินในบริเวณ
เขตรากพชื รศั มี 1-3 เมตร ทำ� ใหเ้ กดิ เขตเปยี กซง่ึ จะมากหรอื นอ้ ยขนึ้ อยกู่ บั คณุ ลกั ษณะ
ของดนิ และเวลา ให้น้ำ�
โดยท่ัวไปไมโครสเปรย์และเจ็ทน้ัน เหมาะส�ำหรับพืชที่ปลูกระยะชิด
และต้องการความช้ืนสูง ไม้ผลระยะต้นเล็กๆ และในเรือนเพาะช�ำ แบบท่ีฉีด
เป็นฝอยละเอียดจะต้องหลีกเล่ียงการใช้ในท่ีแจ้งท่ีมีลมแรงปกติมักจะถูกน�ำมาติด
โดยตรงบนทอ่ ย่อย หรอื ตดิ บนปลายทอ่ ส้ันๆ หรือบนขาตงั้ หัวจา่ ยน�้ำเหล่าน้มี กั ใช้
ในสวนผลไม้ สวนกลว้ ย ฯลฯ
10 กรมสง่ เสริมการเกษตร
หัวจ่ายนำ้� แบบไมโครสเปรย์
แสดงการให้นำ�้ แบบไมโครสเปรย์
หัวจา่ ยนำ้� แบบเจท็
แสดงการให้น้ำ� แบบเจ็ท
11ระบบการใหน้ ้�ำพชื แบบอัจฉรยิ ะ
น�้ำหยด (Drip)
เป็นระบบที่ใช้แรงดัน 5 - 15 เมตร และอัตราการไหลของหัวจ่ายน�้ำ
1 - 8 ลิตรต่อช่ัวโมง ปล่อยน้�ำจากหัวจ่ายน�้ำสู่ดินโดยตรง แล้วซึมผ่านดินไปใน
บริเวณเขตรากพืชด้วยแรงดูดซับของดิน เหมาะส�ำหรับ พืชไร่ พืชผัก ท่ีปลูก
เปน็ แถวชดิ หรอื ไมผ้ ลบางชนิด
ระบบน�้ำหยด เหมาะกับสภาพแหล่งน้�ำที่มีปริมาณน้�ำจ�ำกัด คุณภาพน�้ำดี
รูปล่อยน�้ำมีขนาดเล็กมากต้องการระบบการกรองท่ีดีเพื่อไม่ให้เกิดการอุดตัน
ผู้ใช้มีความละเอียดในการตรวจสอบและล้างไส้กรองน�้ำอย่างสม่�ำเสมอทุกวัน
แรงดันที่ต้องใช้ในระบบค่อนข้างต�่ำท�ำให้การลงทุนด้านเคร่ืองสูบน�้ำและ
ค่าใชจ้ ่ายด้านพลงั งานนอ้ ยท่ีสุด
หัวน�้ำหยด จะถูกติดต้ังไว้ยังจุดที่เลือกบนท่อย่อย ส่วนใหญ่หัวน�้ำหยด
จะวางไว้บนผิวดินก็ได้หรือสามารถฝังไว้ในดินระดับต้ืนๆ เพื่อป้องกันการเสียหาย
ก็ได้ หัวน้�ำหยดจะจ่ายน�้ำสู่ดินให้น้�ำซึมไปในดินระหว่างหัวน้�ำหยดด้วยแรงดูดซับ
ซึ่งแรงดูดซับก็คือ การเคลื่อนท่ีของน�้ำผ่านดินโดยแรงดึงของดิน ส่วนอัตรา
การเคลอ่ื นทข่ี น้ึ อยกู่ บั ขนาดของชอ่ งวา่ งในดนิ และความชนื้ ของดนิ ชอ่ งวา่ งขนาดเลก็
จะมีแรงดูดซับสูง แต่การเคล่ือนที่ของน้�ำจะช้า ส่วนเขตเปียกของดินจะมากน้อย
ข้ึนอยกู่ บั คณุ ลักษณะของดนิ เวลาใหน้ ำ้� และจ�ำนวนของหวั จ่ายน�้ำที่ใช้
หัวน�ำ้ หยดแบบต่างๆ ท่ีพบทัว่ ไป แบ่งไดเ้ ปน็ กลุ่มใหญๆ่ ดังนี้
● หัวน้ำ� หยดแบบติดบนทอ่
โดยการเจาะและตดิ ตง้ั หวั จา่ ยนำ�้ ทท่ี อ่ ยอ่ ย ใชใ้ นโรงเรอื น โรงอนบุ าลพชื
พืชตระกูลส้ม มะนาว ไม้ผลัดใบ ไม้ผลต่างๆ และไม้เถา เช่น องุ่น บางแบบ
อาจใช้แยกเป็น 4 ทางกับหัวจ่ายน�้ำ ดังน้ันน้�ำสามารถกระจายออกได้
4 จุด ท�ำให้เป็นประโยชน์เม่ือใช้กับดินร่วนหรือดินทรายซึ่งไม่ค่อยมีการแผ่ขยาย
ของเขตเปียก หัวน้�ำหยดนี้ใชก้ นั มากในสวนองุน่ และสวนดอกไม้ การตดิ หวั น�้ำหยด
บนท่อทำ� ให้ยากตอ่ การมว้ นเกบ็ จึงนยิ มใชต้ ิดต้ังถาวร
12 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
หวั น้�ำหยดแบบตดิ บนท่อ
แสดงการใหน้ ้ำ� หยดแบบติดบนท่อ
● หวั นำ้� หยดแบบฝงั ภายในทอ่ (In Line)
มหี วั นำ�้ หยดเปน็ สว่ นเดยี วกบั ทอ่ ไมย่ น่ื ออกมาภายนอกทอ่ และสามารถ
ม้วนเก็บหลังการใช้ไดด้ ว้ ย ทีทั้งชนดิ ไม่ปรับแรงดันและชนิดปรับแรงดันในตวั ได้
● ทอ่ น้�ำหยด
● เทปน้ำ� หยด
13ระบบการให้น้�ำพืชแบบอัจฉริยะ
● หัวน้ำ� หยดแบบทอ่ นำ้� หยด
เป็นท่อผนงั หนาคงรูปมหี วั น้�ำหยดตดิ อยูภ่ ายใน แบ่งเปน็ 2 ชนิด
● ชนดิ ปรับแรงดัน
● ชนิดไมป่ รบั แรงดัน
หัวน�ำ้ หยดแบบท่อนำ�้ หยด แสดงการใหน้ �ำ้ หยดแบบทอ่ น้ำ� หยด
● หัวน�้ำหยดแบบเทปน้�ำหยด
ประกอบด้วยทอ่ ผนงั บาง ล�ำเลยี งน้�ำไหลเพอื่ จ่ายน�ำ้ มีลกั ษณะเปน็ รอ่ ง
หรือบางแบบอาจเป็นรเู ลก็ ๆ และมหี วั น้�ำหยดฝงั อยู่ภายใน
● แบบแบน
● แบบกลม
หัวน�้ำเทปน้�ำหยดแบบแบน แสดงการให้น�้ำหยดแบบกลม
14 กรมส่งเสริมการเกษตร
เทปนำ้� หยด ปกตใิ ชก้ บั พชื ผลตา่ งๆ ทป่ี ลกู เปน็ แถว เชน่ สบั ปะรด ออ้ ย ขา้ วโพด
มนั สำ� ปะหลงั ผกั ตา่ งๆ และกล้วย ยง่ิ ขนาดของรอู อกเล็กมากเท่าไหร่การซึมลงดนิ
ก็ย่ิงดีมากขึ้น ในการให้น้�ำผัก ท่อน้�ำหยดจะถูกวางใต้พลาสติกท่ีคลุมอยู่ เพ่ือลด
การระเหยและป้องกันผลผลิตสัมผัสกับดิน นอกจากน้ียังสามารถใช้ท่อท่ีไม่มี
ความต้านทานต่อแสงอาทิตย์และมีราคาถูกกว่าได้ การฝังท่อระดับต้ืนๆ จะท�ำให้
การคน้ หาท่อภายหลังฤดูเก็บเก่ยี วง่ายขนึ้
การก�ำหนดขนาดทอ่ เมนยอ่ ยเทียบกับอตั ราการหยดต่อความยาวของเทปน�ำ้ หยด
ขนาดทอ่ เมนย่อย 1.0 อัตราการหยดของเทปนำ้� หยด 2.5
(นิ้ว) ลติ ร/ช่ัวโมง 1.5 2.0 ลติ ร/ชว่ั โมง
3,900 เมตร 1,600 เมตร
2 6,000 เมตร ลิตร/ช่ัวโมง ลิตร/ชวั่ โมง 2,400 เมตร
2 1/2 9,000 เมตร 2,600 เมตร 2,000 เมตร 3,600 เมตร
4,000 เมตร 3,000 เมตร
3 6,000 เมตร 4,500 เมตร
ขอ้ มูลจากตารางใช้กบั เทปทีม่ รี ะยะหยด 30 เซนตเิ มตร
หมายเหตุ :
1. เทปนำ้� หยดท่ีมีอัตราการหยด 2.5 ลิตร/ช่ัวโมง ความยาวท่อทีว่ างได้ไมเ่ กิน 120 เมตร
2. เทปนำ้� หยดทมี่ ีอัตราการหยด 1.5 ลิตร/ช่ัวโมง ความยาวท่อทว่ี างไดไ้ มเ่ กนิ 150 เมตร
15ระบบการใหน้ ำ้� พืชแบบอจั ฉริยะ
ตารางเปรยี บเทียบระบบการให้น�้ำแบบต่างๆ
ระบบ แรงดัน อัตราการไหล เวลาให้น้ำ�
สปรงิ เกลอร์ สงู มาก น้อย
(20 เมตรขนึ้ ไป) (200 ลติ รตอ่ ชว่ั โมงขึ้นไป)
มนิ ิสปรงิ เกลอร์ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
(10 - 20 เมตร) (35 - 300 ลติ รตอ่ ชั่วโมง)
ไมโครสเปรย์ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
และเจ็ท (10 - 20 เมตร) (35 - 200 ลิตรต่อชั่วโมง)
น้ำ� หยด ต่ำ� ต่�ำ นาน
(5 - 15 เมตร) (1 - 8 ลติ รต่อช่ัวโมง)
16 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
การเลอื กระบบการใหน้ �ำ้ ท่ี
เหมาะสมกบั ชนดิ ของพืช
พืชไร่
● ระบบน�้ำหยด
เหมาะส�ำหรับการให้น�้ำกับพืชไร่ท่ีมีการปลูกเป็นแถวชิด เช่น
มันสำ� ปะหลงั ออ้ ย ขา้ วโพด สบั ปะรด ที่มรี ะยะการปลูกระหวา่ งแถว 1 - 2 เมตร
สามารถใช้เทปน้�ำหยดวางตามแถวปลูกทุกแถว โดยใช้เทปน้�ำหยดที่มีอัตรา
2 - 4 ลติ รต่อชัว่ โมง ทุกชอ่ งทางออกระยะ 30 - 50 เซนตเิ มตร ลักษณะการติดต้งั
สำ� หรับขนาดพื้นท่กี ว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ดังภาพ
17ระบบการใหน้ �้ำพชื แบบอัจฉรยิ ะ
18 กรมสง่ เสริมการเกษตร
แสดงลักษณะการตดิ ตั้งระบบการใหน้ �้ำแบบน�้ำหยด
● ระบบสปรงิ เกลอร์
เหมาะสำ� หรบั พชื ไร่ทมี่ รี ะยะปลกู ทง้ั แถวชดิ เชน่ พชื ไร่พชื ผกั มนั สำ� ปะหลงั
อ้อย ขา้ วโพด สับปะรด ทีม่ รี ะยะการปลกู ระหว่างแถว 1 - 2 เมตร การตดิ ตงั้ ไม่ตอ้ ง
วางท่อย่อยทุกแถวพืช แต่ใช้ระยะห่างระหว่างแนว ท่อย่อยและระหว่างหัวต้ังแต่
10 เมตรข้นึ ไป เช่น ตดิ ตงั้ หัวสปริงเกลอร์ อตั ราการไหล 1 ลูกบาศก์เมตรต่อชวั่ โมง
รัศมกี ารกระจายน้ำ� 10 - 12 เมตร ทุกระยะ 10 x 10 เมตร สามารถติดต้งั ระบบ
สปริงเกลอร์ในการให้น้�ำ ลักษณะการติดต้ังส�ำหรับขนาดพื้นที่กว้าง 40 เมตร
ยาว 80 เมตร ดังภาพ
แสดงลกั ษณะการตดิ ตงั้ ระบบการใหน้ ำ�้ แบบสปรงิ เกลอร์
19ระบบการใหน้ ้ำ� พชื แบบอัจฉรยิ ะ
พชื ผกั
● ระบบน้ำ� หยด
เหมาะส�ำหรับพืชผักที่ปลูกเป็นแถวเป็นแนว เช่น มันส�ำปะหลัง
อ้อย ข้าวโพด สับปะรดที่มีระยะการปลูกระหว่างแถว 0.5 - 1 เมตร สามารถใช้
เทปนำ้� หยดวางตามแถวปลกู ทกุ แถว โดยใชเ้ ทปนำ�้ หยดทม่ี อี ตั รา 1 - 8 ลติ รตอ่ ชว่ั โมง
ทกุ ช่องทางออกระยะ 10 - 100 เซนตเิ มตร
● ระบบมินสิ ปรงิ เกลอร์
เหมาะส�ำหรับพืชผักที่ปลูกเป็นแปลงแบบหว่าน หรือแบบต้นกล้า
เช่น ผักกินใบ ผักหวาน การติดต้ังสามารถวางระยะห่างระหว่างแนวท่อย่อย
และระหว่างหัวประมาณ 2 - 4 เมตร อัตราการไหล 60 - 120 ลิตรต่อช่ัวโมง
รศั มีกระจายน�้ำ 2 - 3 เมตร
20 กรมส่งเสริมการเกษตร
ไม้ผล
● ระบบมนิ สิ ปริงเกลอร์
เหมาะสำ� หรับไมผ้ ลทม่ี รี ะยะปลูกตั้งแต่ 4 เมตรขนึ้ ไป เช่น ระยะปลูก
5 x 5, 6 x 6, 8 x 8 เมตร สามารถวางท่อย่อยตามแถวของไม้ผลทุกแถว
และตดิ ต้งั หวั มินสิ ปรงิ เกลอร์ต้นละ 1-2 หวั
● ระบบไมโครสเปรย์และเจ็ท
เหมาะส�ำหรับไม้ผลที่มีระยะปลูกไม่เกิน 4 เมตร เช่น ไม้ผล
ระยะปลูก 4 x 4 เมตร สามารถวางท่อย่อยตามแถวของไม้ผลทุกแถวและติดต้ัง
หวั ไมโครสเปรย์หรือเจ็ท ตน้ ละ 1-2 หวั
21ระบบการให้น�ำ้ พืชแบบอัจฉริยะ
● ระบบควบคมุ การใหน้ ำ้� อัตโนมัติ (Controllers)
เครอื่ งควบคมุ การใหน้ ำ�้ อตั โนมตั ิ เปน็ การใหน้ ำ�้ ตามทพี่ ชื ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
เคร่ืองควบคุมสามารถสั่งการไปยังวาล์วไฟฟ้า สามารถใช้ Sensor ความช้ืน
เพื่อควบคุมการเริ่มต้นจ่ายน�้ำและช่วงของการหยุดจ่ายน�้ำ ตามความต้องการ
น้ำ� ของพืชในแตล่ ะวัน

เครอื่ งควบคุมการใหน้ �้ำอตั โนมัติ (Controllers)
ประโยชน์ของระบบอัตโนมัติ
1. ประหยัดน�้ำเป็นส่ิงที่แสดงถึงประสิทธิภาพของระบบอัตโนมัติเน่ืองจาก
มีความแน่นอนในระบบการสั่งการสามารถควบคุมปริมาณน้�ำได้อย่างถูกต้องตาม
ตอ้ งการ ซง่ึ สามารถใชป้ ระกอบกบั Sensorความชนื้ ทำ� ใหป้ ระหยดั นำ�้ ไดถ้ งึ 12 - 22 %
(Motorola, 1982)
2. ประหยัดพลังงาน เนื่องมาจากการประหยดั นำ้� จงึ ท�ำให้ประหยดั พลงั งาน
ไปด้วย
3. ประหยดั แรงงาน ระบบอตั โนมตั นิ ไี้ มต่ อ้ งอาศยั คนคอยควบคมุ การใชไ้ ฟฟา้
จะประหยดั กว่าโดยเฉพาะกับตน้ ไม้ท่ียังเลก็ และต้องการให้นำ�้ สปั ดาห์ละหลายครง้ั
4. ช่วยเพ่ิมผลผลิต เน่ืองจากการควบคุมความชื้นและปริมาณน�้ำถูกต้อง
แม่นย�ำ ดังนัน้ ต้นไมจ้ ะไม่เกิดความเครยี ดจากการได้รับนำ�้ ไม่เพยี งพอและสมำ่� เสมอ
ก่อนที่ผู้ให้น�้ำจะตัดสินใจใช้ระบบอัตโนมัติหรือไม่ ควรจะพิจารณาจากความต้องการ
และโครงการวา่ ค้มุ กับการลงทนุ หรอื ไม่
22 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
การควบคมุ การใหน้ ำ้� พชื โดยใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ความชนื้ ในดนิ (Tensiometer
Control)
เนอื่ งจากการใหน้ ำ้� ตอ้ งใหต้ ามความตอ้ งการของพชื โดยไมใ่ หท้ ง้ิ ไปโดยเปลา่
ประโยชน์ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งใหน้ ำ้� พชื ตามสภาพความชน้ื ทอี่ ยใู่ นดนิ หากมกี ารใหน้ ำ้� มาก
เกินไปน�้ำจะไหลซึมเลยเขตรากพืชซึ่งเป็นการสูญเสียน�้ำและพลังงานไปโดยเปล่า
ประโยชน์ในทางกลับกันการให้น�้ำน้อยเกินไปก็จะท�ำให้ผลผลิตต่�ำกว่าปกติ ดังนั้น
การควบคุมการให้น้�ำพืชโดยใช้เคร่ืองมือวัดความชื้นในดินในการควบคุมการให้น้�ำ
จะท�ำให้การใช้น้�ำของพืชมีประสิทธิภาพสูงสุด การติดต้ังจะใช้แบบควบคุมปั๊มน้�ำ
โดยตรงหรือรว่ มกบั ปั๊มน้�ำแบบอตั โนมตั ิกไ็ ด้
Sensor วัดความชนื้ ในดนิ
ทง้ั นี้ รปู แบบการสงั่ การหรอื การแสดงผลอาจใชส้ ง่ั ดว้ ยโทรศพั ทม์ อื ถอื Smart
Phone หรือ ไมโครคอมพวิ เตอร์ ก็ได้ ซึง่ ในปัจจบุ นั มีอปุ กรณ์ และ Sensor ต่าง ๆ
ทม่ี ีการผลิตเพ่ือการค้าอยูห่ ลายรปู แบบ
23ระบบการใหน้ ้�ำพชื แบบอัจฉรยิ ะ
วาลว์ ไฟฟ้า (Solinoil Valve)
เปน็ วาลว์ ทใ่ี ชค้ วบคมุ การเปดิ ปดิ นำ�้ ดว้ ยระบบไฟฟา้ ใชร้ ว่ มกบั ระบบควบคมุ
การให้น�้ำแบบอัตโนมัติ หรือใช้ร่วม Sensor ความช้ืน ซ่ึงการเลือกใช้แต่ละแบบ
ขน้ึ อยู่กับความต้องการใช้งาน
วาลว์ ควบคุมอัตโนมตั แิ บบใชไ้ ฟฟา้ (Solenoid Valve)
24 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
ระบบการให้น�ำ้ พชื อจั ฉรยิ ะ
ระบบการให้น้�ำพืชอัจฉริยะ เป็นระบบการให้น�้ำพืชท่ีน�ำเซ็นเซอร์วัดค่า
ความช้ืนในดินมาท�ำงานรระ่วบมบกับกชาุดรคใหวบ้นคํา+ุมพไมืชโอคจั รฉคอริยนะโทรลเลอร์ โดยเซ็นเซอร์
จเมะคอื่ ทวใบำ�ดคกุมแาไลมรโะสครรเง่ะมคบคออ่ืบา่นกคโคาทวรวรใาลหามเ(นมล้ำชอชพรน้ื ืช>น้ื โอใดใัจนยนฉเดรซดิย็นนิ ะนิเซเเหไอปปร8นม>จรยะาะทงับะำชบสกกดุ ามารครแสใวBงหลค(นบว้Bา้ำคคพชวืชมุาดุทมเี่นคชพำื้นวเอื่ซใบน็นปดเคซินรอมุ ไะรปร>วมยัดะังวคชบBาลุดคบคผววจาลบมะควชทุมื้นา่ เใำ�จพนกื่ดะอินปาเมปรระาปดิทมวำดิรงละกาผนบลารวรBวบBามทจปกะำ�ับเม๊ั ปงชKาดุดนนำ�้
ขอรงะบปบม๊ั ปLMมนนำ�้ ้ำเอมัตื่อใโดนแมละตั เมิ ่ือความชืน้ ในดินเหมาะสมแลว( ชดุ ควบคุมระบบจะทำการปKดการทำงานของปมLM น้ำอตั โนมัติ
สBงข(อมูลที่กำหนด เชBน ความช้ืนในดิน อณุ หภูมิ
ผBานสญั ญาณ WIFI ไปที่แอฟพลเิ คชน่ั Blynk
และบันทกึ ไวใ( น cloud server เพ่ือใช(เป8นข(อมลู
สำหรับเปรียบเทยี บในฤดูปลูกถดั ไป
WIFI สBงข(อมูลความช้ืน
และอุณหภมู ิในอากาศ
รเี ลย+ ไมโครคอนโทรลเลอร+
สั่งเชือ่ มตอB วงจรไฟฟRา ความชืน้ ในดนิ ต่ำกวBาทก่ี ำหนด
สง่ั ตดั วงจรไฟฟาR ความชืน้ ในดินเทาB กับทก่ี ำหนด เซ็นเซอร+วดั
ปLมM นำ้ หยุดทำงาน ความชื้นในดิน
ปLMมนำ้ ทำงาน
ให(น้ำพชื
ปม0/ นำ้ โซลนิ อยดว+ าล+ว สปรงิ เกลอร+
กรณไี มBมถี ึงสงู เก็บนำ้ กรณีมีถงึ สงู เกบ็ นำ้ ระบบนำ้ หยด ถงั สูง 5-10 เมตร
ระบบมินิสปรงิ เกลอร> ถงั สงู 15-20 เมตร
ระบบสปรงิ เกลอร> ถังสงู 20 เมตรข้ึนไป
25ระบบการให้น้�ำพืชแบบอัจฉรยิ ะ
ชดุ บอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Microcontroller)
ท�ำหน้าที่ประมวลผลตามท่ีได้ท�ำการเขียนโปรแกรมไว้ โดย
รับสัญญาณจากเซ็นเซอร์ต่างๆในระบบ เช่น เซ็นเซอร์วัด
ความช้ืนในดิน ,เซน็ เซอรว์ ดั อณุ หภูมิ เป็นตน้
รเี ลย์ (Relay) ทำ� หนา้ ทตี่ ดั ตอ่ วงจรไฟฟา้ ตามคำ� สง่ั
จากชุดบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์
เซน็ เซอรว์ ดั ความชน้ื ในดนิ (Soil moisture sensor)
ท�ำหน้าที่ส่งข้อมูลความชื้นในดิน ซ่ึงอาจเป็นความต่างศักย์
ไฟฟา้ , สัญญาณอนาลอ็ ก หรือสญั ญาณดิจติ อล ข้ึนอยกู่ บั
ชนดิ ของเซ็นเซอร์
เซ็นเซอร์วัดความช้ืนและอุณหภูมิในอากาศ
(Humidity and Temperature sensor) ทำ� หนา้ ทส่ี ง่ ขอ้ มลู
ความชื้นและอุณหภูมิในอากาศ ซ่ึงอาจเป็นความต่างศักย์
ไฟฟ้า , สญั ญาณอนาลอ็ ก หรอื สญั ญาณดจิ ิตอล ข้ึนอยกู่ ับ
ชนดิ ของเซ็นเซอร์
โซลนิ อยดว์ าลว์ หรอื วาลว์ ไฟฟา้ (Solenoid valve)
ท�ำหน้าทีเ่ ปิด-ปดิ ท่อนำ้� ดว้ ยแรงดันไฟฟา้ จากรเี ลย์
เซ็นเซอร์แสง (Optical Sensor) คืออุปกรณ์
อเิ ล็กทรอนกิ สท์ เี่ ปล่ียนแปลงค่าความตา้ นทาน หรอื การน�ำ
ไฟฟ้า ท่ีไหลผา่ นตัวมันได้ เมื่อมีแสงมาตกกระทบ
ถึงแม้ว่าจะมีเทคโนโลยีที่ดีในการควบคุมการให้น�้ำพืช แต่ถ้าการออกแบบ
ระบบการใหน้ ำ�้ พชื ไมถ่ กู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ พชื กจ็ ะไมไ่ ดร้ บั นำ�้ ในปรมิ าณทเ่ี ทา่ กนั
ทกุ ตน้ ทวั่ ทงั้ แปลง ซง่ึ มผี ลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ดงั นนั้ การออกแบบระบบ
การใหน้ ำ�้ พชื ถอื ว่าเป็นเร่ืองส�ำคัญทตี่ ้องคำ� นงึ ถึงเป็นอันดบั แรก
26 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
โรงเรอื น (Green House)
ปจั จุบัน การท�ำการเกษตรในประเทศไทย ยงั ตอ้ งพงึ่ พาธรรมชาติเปน็ หลกั
ไมว่ า่ จะเปน็ ชว่ งเวลา ปรมิ าณนำ�้ ฝน แสงแดด อณุ หภมู ิ ความชน้ื ของอากาศ ดนิ และ
สภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ รอบแปลงเพาะปลกู ตลอดจนพนั ธพ์ุ ชื ทปี่ ลกู จะมคี วามแตกตา่ ง
กนั แมว้ ่าจะอยใู่ นพื้นทใี่ กล้เคียงกันกต็ าม โดยสภาพแวดล้อมทแี่ ตกต่างกนั นน้ั จะมี
ผลใหผ้ ลผลติ แตกตา่ งกนั ดว้ ย ดงั นนั้ เพอื่ ปรบั สภาพทแี่ ตกตา่ งกนั ใหเ้ หมาะสมกบั พชื
ทป่ี ลูก จะทำ� ใหไ้ ดผ้ ลผลิตพืชมปี ระสิทธิภาพทง้ั ปริมาณ และคณุ ภาพ ในทางปฏบิ ตั ิ
การเกษตรกรหนั มาสนใจปลกู พชื ภายในโรงเรอื นทมี่ กี ารควบคมุ สภาวะใหเ้ หมาะสม
กบั การเจรญิ เตบิ โตของพชื เพมิ่ มากขนึ้ ปจั จบุ นั หลายประเทศ เชน่ อสิ ราเอล สหรฐั อเมรกิ า
ญี่ปุ่นและจีน ได้มีการปลูกพืชโดยใช้เทคโนโลยีการปลูกภายในโรงเรือนกันอย่าง
แพรห่ ลาย ขอ้ ดกี ค็ อื สามารถปลกู พชื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพไดต้ ลอดทงั้ ปี เนอื่ งจากสามารถ
ควบคุมสภาวะภายในโรงเรอื นได้ เชน่ อุณหภูมิ ความช้นื ปรมิ าณแสง ปรมิ าณน้ำ�
ปริมาณปุ๋ย ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทั้งการควบคุมโรคและแมลงศัตรู
พืชในประเทศไทยเกษตรกรยุคใหม่เริ่มมีความสนใจเทคโนโลยีการปลูกพืชโรงเรือน
เพิ่มมากขึ้น แตเ่ กษตรกรยังมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจทถี่ ูกต้องด้านน้นี ้อยมาก
27ระบบการใหน้ ำ้� พชื แบบอัจฉรยิ ะ
โรงเรอื นปลกู พชื มหี ลากหลายชนดิ ขนึ้ อยกู่ บั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการใชง้ าน และ
เงนิ ทุนของเกษตรกร แบง่ ได้ 3 ชนิด คอื
1. โรงเรอื นเปดิ เปน็ โรงเรอื นทค่ี ลมุ มงุ้ ตาขา่ ยทงั้ หมดหรอื เปน็ บางสว่ น เชน่
คลมุ ดว้ ยมงุ้ ตาขา่ ยเฉพาะดา้ นขา้ งดา้ น ดา้ นบนหลงั คาคลมุ พลาสตกิ ทบึ โรงเรอื นแบบ
น้ีไม่สามารถควบคมุ สภาวะภายในได้ แตช่ ว่ ยป้องกันแมลงศัตรพู ืชได้
2. โรงเรอื นปดิ เปน็ โรงเรอื นทปี่ ดิ ดว้ ยวสั ดโุ ปรง่ แสง เชน่ พลาสตกิ ทกุ ดา้ น
เพ่ือป้องกันไม่ให้อากาศภายนอกเข้าไปภายในโรงเรือนได้ โรงเรือนแบบนี้สามารถ
ควบคุมสภาวะภายในโรงเรอื นได้
3. โรงเรือนแบบผสม โรงเรอื นแบบน้สี ามารถเปิด – ปิด บางสว่ นได้ เชน่
หลงั คา หรอื ดา้ นขา้ งของโรงเรอื นในกรณสี ภาวะภายนอกโรงเรอื นเหมาะสมกส็ ามารถ
เปิดเพ่ือใหอ้ ากาศภายนอกเขา้ ไปภายในโรงเรอื นได้ โดยผา่ นมุ้งตาขา่ ย และถา้ หาก
สภาวะภายนอกโรงเรอื นไมเ่ หมาะสม กส็ ามารถปดิ เพอ่ื ควบคมุ สภาวะภายในโรงเรอื น
โรงเรอื นปลกู พชื มรี ปู แบบหลักๆ ดังนี้
1. โรงเรือนแบบโดม (Tunnel)
2. โรงเรอื นแบบ Gothic – closed Roof
3. โรงเรอื นแบบ Gothic – closed Single Roof Vent (หลงั คาเปดิ - ปดิ
ได้ดา้ นเดียว)
4. โรงเรอื นแบบ Fixed Roof Vent (หลังคามชี อ่ งเปดิ )
5. โรงเรือนแบบ Saw Tooth (หลงั คามชี ่องเปิด)
6. โรงเรอื นแบบ Net House
28 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
1. โรงเรือนแบบโดม (Tunnel)
เป็นโรงเรือนแบบเรียบง่าย มีต้นทุนไม่สูงแต่โรงเรือนแบบน้ี การระบาย
อากาศภายในโรงเรือนจะตำ่� กวา่ แบบอื่น มีขนาดความกวา้ งต้ังแต่ 2 – 12 เมตร
ทมี่ า : https://m.facebook.com/1743774265836155/photos/pcb. ทม่ี า : โรงเรอื นพลาสตกิ .blogspot.com/2016/08/greenhouse-type.html
2333262576887318/2333262476887328/?type=3&source=48
2. โรงเรือนแบบ Gothic – closed Roof
เปน็ โรงเรอื นทมี่ ลี กั ษณะหลงั คาคลา้ ยแบบ Tunnel แตส่ ว่ นหลงั คาจะแหลม
กว่า และโครงสร้างจะสูงใหญ่กว่า มขี นาดความกวา้ งต้ังแต่ 8 – 9.6 เมตร
ทีมา : https://thai.alibaba.com/p-detail/Skyplant-60802771922. ทีมา : https://thai.alibaba.com/product-detail/farm-poultry-
html?spm=a2700.7724857.normal_offer.d_image.24fe5c047EFdoq greenhouse-equipment-for-sale-60221217362.html
29ระบบการให้นำ้� พชื แบบอจั ฉรยิ ะ
3. โรงเรือนแบบ Gothic – closed Single Roof Vent (หลังคา
เปิด- ปดิ ไดด้ ้านเดยี ว)
เป็นโรงเรอื นทม่ี ลี กั ษณะหลังคาออกแบบใหส้ ามารถยก เปดิ – ปิด ได้ นิยม
สร้างขนาดความกวา้ งตั้งแต่ 8 – 9.6 เมตร สามารถสรา้ งแบบเดี่ยวหรอื หลายหลัง
ตดิ กนั กไ็ ด ้
ท่มี า : https://www.facebook.com/farm.greenhouse/
4. โรงเรือนแบบ Fixed Roof Vent (หลงั คามชี ่องเปิด)
เป็นโรงเรือนที่ออกแบบให้มีช่องระบายอากาศด้านบนหลังคาในลักษณะ
เฉยี งเพอ่ื ระบายอากาศรอ้ นออกทางดา้ นบนและอากาศเยน็ จะเขา้ ดา้ นลา่ ง นยิ มสรา้ ง
ขนาดความกวา้ งตั้งแต่ 8 – 9.6 เมตร สามารถสร้างแบบเดี่ยวหรือหลายหลังตดิ กันกไ็ ด้
ท่มี า : https://armando-kingdom.blogspot.com/2017/11/ ท่ีมา : https://www.indiamart.com/proddetail/nursery-poly-
blog-post_9.html house-15017141088.html
30 กรมสง่ เสริมการเกษตร
5. โรงเรอื นแบบ Saw Tooth (หลังคามีช่องเปดิ )
เป็นโรงเรือนท่ีออกแบบให้มีช่องระบายอากาศด้านบนหลังคาในลักษณะ
ต้ังตรงคลายฟันเล่ือย เป็นโรงเรือนที่ระบายอากาศได้ดีมาก โดยอากาศเย็นจะเข้า
ดา้ นขา้ งของโรงเรอื น นยิ มสรา้ งขนาดความกวา้ งตงั้ แต่ 6.4 เมตร ขนึ้ ไป สามารถสรา้ ง
แบบเด่ยี วหรอื หลายหลงั ติดกนั กไ็ ด ้
ที#มา : https://th.jdgreenhouse.com/multi-span-film-greenhouse.html
6. โรงเรือนแบบ Net House
เป็นโรงเรือนท่ีคลุมด้วยมุ้งหรือตาข่ายสามารถสร้างได้ทั้งแบบหลังคาโค้ง
หรือแบบทรงสเี่ หล่ยี ม
ท#ี มา : https://forloveandmelon.com/2018/02/09/story-of-greenhouse/
31ระบบการใหน้ ำ�้ พชื แบบอจั ฉริยะ
โรงเรือนแบบอัจฉรยิ ะ
เป็นโรงเรือนปิด หรือแบบผสม ซ่ึงจะท�ำให้สามารถควบคุมสภาวะภายใน
โรงเรือนได้ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ชว่ งแสง ปรมิ าณน้�ำ ปรมิ าณปุย๋ และยงั สามารถ
ควบคมุ โรค และแมลงศัตรพู ืชส่วนใหญ่ได้ดว้ ย
โรงเรือนแบบอัจฉรยิ ะ ประกอบดว้ ยระบบหลกั ๆ ดังน้ี
1. ระบบ Evaporative cooling System
2. ระบบ Humidity System
3. ระบบ ระบบ Air Circulator
4. ระบบ Automatic Shading System
5. ระบบ Irrigation Systems & ระบบ Fertigation System
6. ระบบการเตมิ CO2
7. ระบบ Assimilation Lighting System
8. ระบบควบคมุ ภายในโรงเรือน
32 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
1. ระบบ Evaporative cooling System
เป็นระบบที่ใช้ส�ำหรับช่วยลดอุณหภูมิภายในโรงเรือน ประกอบด้วยแผ่น
ระเหยนำ�้ (Cooling Pad) และพดั ลมดดู อากาศ ซง่ึ ระบบนจ้ี ะมผี ลกระทบกบั ความชนื้
ภายในโรงเรือนน้อย สว่ นมากนยิ มใช้ในประเทศท่มี อี ากาศรอ้ นจัดในเวลากลางวัน
ที่มา : https://www.agribusiness.name/17224313/ความรู้เบื้องต้น
เกยี่ วกับโรงเรือนระบบอีแว๊ปรวมถึงการออกแบบโรงเรือน
2. ระบบ Humidity System
เป็นระบบที่ใช้ส�ำหรับควบคุมความช้ืนภายในโรงเรือน ประกอบด้วย
ป๊มั แรงดันสงู กรองน�้ำ และหวั พ่นหมอก ระบบพน่ หมอกจะตอ้ งใชห้ วั พ่นหมอกและ
แรงดันทีถ่ ูกตอ้ ง โดยการพ่นหมอกจะตอ้ งไม่มผี ลกระทบกบั การใช้นำ้� ของพชื ท่ปี ลกู
ไม่แนะน�ำให้ใช้ระบบนี้ส�ำหรับลดอุณหภูมิภายในโรงเรือนแบบปิด เน่ืองจากมี
ผลกระทบกบั ความชนื้ ภายในโรงเรอื นคอ่ นขา้ งสงู ระบบพน่ หมอกตอ้ งการแรงดนั ใชง้ าน
สงู ประมาณ 50 – 250 บาร์ เพอ่ื สง่ นำ�้ ไปตามทอ่ สง่ ออกไปยงั หวั พน่ หมอกทอี่ อกแบบ
พเิ ศษใหล้ ะอองละเอยี ดขนาด 10 ไมครอน กระจายไปในอากาศโดยไมท่ ำ� ใหพ้ ชื เปยี ก
ทีม่ า : https://mgronline.com/science/detail/9600000101248
33ระบบการใหน้ �ำ้ พืชแบบอจั ฉริยะ
3. ระบบ ระบบ Air Circulator
ท�ำหน้าท่ีในการหมุนเวียนอากาศภายในโรงเรือนเพ่ือกระจายอุณหภูมิ
ความช้ืนใหส้ ม�ำ่ เสมอ พดั ลมหมนุ เวียนอากาศ จะช่วยสรา้ งกระแสลมที่ช่วยกระจาย
ความรอ้ นทส่ี ะสม ความชนื้ และอากาศทถ่ี กู กกั ไวภ้ ายในโรงเรอื น ใหม้ กี ารหมนุ เวยี น
อยา่ งสมำ่� เสมอ และยังชว่ ยป้องกนั การกล่นั ตัวเปน็ หยดนำ้� ซ่ึงเปน็ สาเหตุใหก้ ารส่อง
ผา่ นของแสงลดลง โดยเฉพาะในชว่ งเชา้ ตรู่ บางครงั้ จะตดิ ตง้ั ระบบพน่ สารเคมปี อ้ งกนั
ก�ำจัดโรคพืช ร่วมดว้ ย
ท่ีมา : https://www.facebook.com/bcsmartgreenhouse/
34 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
4. ระบบ Automatic Shading System
มีหน้าท่ีควบคุมความเข้มแสงไม่ให้มากเกินไปจนท�ำให้การเจริญเติบโตของ
พืชลดลง และอาจท�ำให้ต้นพืชเสียหาย เช่น ใบไหม้ จึงจ�ำเป็นต้องมีม่านพรางแสง
เพื่อลดความเข้มของแสงลงให้เหมาะสม โดยการติดตั้งม่านแนวนอนในระดับสูง
ใต้คาน หรือด้านข้าง มีมอเตอร์
ไฟฟ้าส�ำหรับดึง ปิด-เปิด ม่าน
วัสดุของม่านที่นิยมในปัจจุบัน
เป็นผ้าม่านใยสังเคราะห์ประเภท
โพลีโพรพลิ นี (Polypropylene)
โพลีเอสเตอร์, ซาราน (Saran) ซงึ่
อย่รู ะหว่าง 20 - 90 % ซึ่งจะช่วย
กนั ความร้อนจากการแผร่ ังสี แต่ถา้ ทมี่ า : https://www.researchgate.net/figure/Thermal-and-shading-screens-
inside-a-greenhouse-in-northern-Europe_fig8_40800639
มีส่วนผสมของอลมู ิเนียมกจ็ ะชว่ ยสะท้อนความร้อนออกไปไดด้ ว้ ย
5. ระบบ Irrigation Systems & ระบบ Fertigation System
เป็นระบบท่ีใช้ส�ำหรับควบคุม
การให้น�้ำพืช และให้ปุ๋ย ประกอบด้วย
ชดุ ควบคมุ การใหน้ ำ�้ และใหป้ ยุ๋ ตามทพี่ ชื
ตอ้ งการปม๊ั นำ้� หวั จา่ ยนำ�้ โซลนิ อยสว์ าลว์
กรองและระบบการให้ปุ๋ยซ่ึงจะเป็นไป
ตามชนิดและระบบการปลูกพืชภายใน
โรงเรือนโดยท่ัวไปน้�ำท่ีเหมาะสมควรมี
คา่ เกลอื ประมาณ 7.5 -1.6 DS/m และ
ค่าความเปน็ ดา่ งอยทู่ ี่ 70 – 150 ppm.
ที่มา : https://in.pinterest.com/pin/850828554584802759/
35ระบบการใหน้ ำ�้ พืชแบบอัจฉรยิ ะ
6. ระบบการเตมิ กา๊ ซ CO2
ก ารเจริญกเาตริบปโลตูกขพอชืงใพนืชโรจงเึงรจือ�ำนเปใน็นเตวล้อางกใหล้เาพง่ิมวนัเตอิมาจโมดกี ยา๊ จซะเCรOิ่มไ2ดไ้ตมั้ง่เแพตยี ่พงพระออสา�ำทหิตรบัย์
ขนึ้ จนถงึ กอ่ นพระอาทติ ยต์ ก 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยอยู่ท่ปี ระมาณ 200 - 400 ppm.
แตท่ ่ัวไปจะอยู่ท่ี 1,000 – 1,500 ppm. มี 2 แบบด้วยกันคือ
6.1 ใชเ้ คร่ืองผลิตกา๊ ซ CO2
6.2 ใชถ้ ังกา๊ ซ CO2 และมีเครอ่ื งควบคุมการจ่ายแบบอัตโนมัติ
ที่มา : https://www.lerdthaisupply.co.th/product/view.php?cate=&subcate=&brand=&main_id=186
36 กรมส่งเสริมการเกษตร
7. ระบบ Assimilation Lighting System
พืชในโรงเรือนแสงเป็นส่วนส�ำคัญในการเจริญเติบโตของพืช ช่วงเวลาของ
แสงสวา่ งก็มคี วามสำ� คญั อยา่ งย่งิ สำ� หรบั การเจริญเตบิ โตของพชื เช่นกัน พชื บางชนิด
ต้องการช่วงกลางวันหรือช่วงมีแสงสว่างยาวนานส�ำหรับการเจริญเติบโต หรือการ
ผลิตดอกจึงจ�ำเป็น ต้องให้แสงเพิ่มเติมโดยการติดหลอดไฟ ปัจจุบันนิยมใช้หลอด
โซเดยี มความดันสูง (High Pressure Sodium - HID Lamps) หรอื หลอด LED
ซ่งึ มรี าคาถูกกว่าพชื ทว่ั ไปจะใช้ความเขม้ แสงประมาณ 6.5 Klux
ทีม่ า : https://www.hortinergy.com/features/assimilation-lighting-greenhouse-design/
37ระบบการใหน้ ้�ำพชื แบบอจั ฉริยะ
8. ระบบควบคมุ ภายในโรงเรอื น
ระบบการควบคุมในโรงเรือนปจั จุบันมกี ารพฒั นามาอยา่ งต่อเนื่อง เรมิ่ จาก
ใช้คนควบคุม เพ่ือก�ำหนดสภาวะต่าง ๆ ต่อมาก็พัฒนามาสู่การใช้ชุดควบคุมแบบ
อตั โนมตั ดิ ว้ ยระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ ซงึ่ จะควบคมุ การทำ� งานผา่ นเซนเซอรแ์ ละ
อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทำ� ใหเ้ กดิ ความแมน่ ยำ� สงู จนกระทง่ั ถงึ ยคุ ปจั จบุ นั เราสามารถควบคมุ
ทางไกลผา่ นสมารท์ โฟน โดยการควบคมุ หรอื สงั่ งานอปุ กรณใ์ นระบบตา่ ง ๆ ทที่ ำ� งาน
ร่วมกับระบบไมโครคอนเลอร์ หรือสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า อินเทอร์เน็ตของ
สรรพสง่ิ (ioT)
38 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
ระบบการใหน้ �้ำพืช
ทีป่ รกึ ษา อธบิ ดีกรมส่งเสริมการเกษตร
รองอธบิ ดีกรมสง่ เสริมการเกษตร
นายเขม้ แข็ง ยุตธิ รรมด�ำรง รองอธบิ ดกี รมส่งเสรมิ การเกษตร
นายนวนิตย์ พลเคน ผ้อู �ำนวยการสำ� นกั พฒั นาการถา่ ยทอด
นางอญั ชลี สวุ จติ ตานนท์ เทคโนโลยี
นางอมรทิพย์ ภริ มย์บรู ณ์ ผ้อู ำ� นวยการกองส่งเสริมโครงการพระราชด�ำริ
การจดั การพืน้ ทแ่ี ละวศิ วกรรมเกษตร
นายกิตตพิ นั ธ์ จันทาศร ี
เรียบเรยี ง หวั หนา้ ฝา่ ยบริการงานชา่ งเกษตร
นายพรี ะ ชา้ งเยาว์
นายคณาวุฒิ พันธนะบุญ วิศวกรการเกษตรปฏบิ ัติการ
นายสพุ จน์ แก้วปินตา นายช่างเครอ่ื งกลช�ำนาญงาน
นายศราวุฒิ หมวดชาล ี นายชา่ งเครื่องกลปฏบิ ัตงิ าน
กองสง่ เสรมิ โครงการพระราชดำ� ริ การจดั การพืน้ ท่ีและวศิ วกรรมเกษตร
บรรณาธิการ ผ้อู ำ� นายการกลุ่มพัฒนาส่ือสง่ เสรมิ การเกษตร
นกั วิชาการเผยแพรป่ ฏบิ ตั กิ าร
นางสาวพนิดา ธรรมสุรกั ษ์ สำ� นกั พฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
นางสาวสมทิ ธินี ขาวศรี
ออกแบบโดย นายช่างพมิ พช์ �ำนาญงาน
ช่างพมิ พ์
นายศราวฒุ ิ นนุ่ ยอ้ ย ส�ำนกั พฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
นางสาวปยิ ะดา นานะ
www.doae.go.th