ชนเผ่า
พื้นเมือง
มานิ
1. ประวัติความเป็นมา/การอพยพของกลุ่มคน
ประวัติศาสตร์มานิ มานิ ชนเผ่าพื้นเมืองมานิ ถิ่นกำเนิด
เป็นกลุ่มคนดั้งเดิมตาม
ประวัติศาสตร์นับพันปี ที่
เป็นชนเผ่าพื้นเมืองดั้งเดิมที่มีถิ่นกำเนิด ปัจจุบันอาจเรียกได้ว่าเป็น เอกสารต่างๆ ของผู้สนใจ
ในแถบเทือกนครศรีธรรมราชด้านใต้หรือที่ ตัวแทนของกลุ่มคนยุคเริ่ม สืบค้นและบันทึกความเป็นมา
รู้จักกันอีกชื่อว่าเทือกเขาบรรทัดที่ใช้เป็น แรกก่อนการลงหลักปัก ของชนเผ่าพื้นเมืองมานิระบุว่า
ฐานสร้างบ้านเมืองถาวร ชนเผ่ามานิเป็นคนดั้งเดิมใน
สันปันเขตปกครองจังหวัดตรัง สตูล และเป็นคนกลุ่มสุดท้ายที่ แหลมมลายูเป็นผู้บุกเบิกเข้า
พัทลุง และสงขลา และเทือกเขาสันกาลา ยังคงรักษาองค์ความรู้ของ มาอยู่อาศัยใช้ชีวิตเคลื่อนย้าย
คีรีที่ใช้เป็นสันปันเขตแดนประเทศไทยกับ ไปตามแหล่งอาหาร ครอบ
การใช้ชีวิตที่พึ่งพิง
ประเทศมาเลเซียทั้งสองเทือกเขา ธรรมชาติในผืนป่าภาคใต้ ครองพื้นที่ในผืนป่าแหลม
ว่า มานิ ชนเผ่าพื้นเมืองมานิเป็นกลุ่มคน มลายูมายาวนานหลายร้อย
ของประเทศไทย โดย
ดั้งเดิมตามประวัติศาสตร์นับพันปี ที่ ปราศจากซึ่งมายาคติ ด้าน หลายพันปี
ปัจจุบันอาจเรียกได้ว่าเป็นตัวแทนของ สิทธิเหนือพื้นดินใดๆ แต่ ชนเผ่ามานิมีลักษณะรูปพรรณ
กลุ่มคนยุคเริ่มแรกก่อนการลงหลักปักฐาน ที่ค่อนข้างเตี้ย สันทัด ผิวสี
สร้างบ้านเมืองถาวรและเป็นคนกลุ่ม เต็มไปด้วยหลัก ดำแดง ผมหยิก เป็นกลุ่มคนที่
สุดท้ายที่ยังคงรักษาองค์ความรู้ของการใช้ ธรรมาธิปไตยว่าด้วยการ
ชีวิตที่พึ่งพิงธรรมชาติในผืนป่าภาคใต้ของ เกื้อกูลและแบ่งปันอย่าง จัดอยู่ในตระกูลนิกริโต
ประเทศไทย โดยปราศจากซึ่งมายาคติ เท่าเทียมภายใต้การสร้าง (NEGRITO) และตระกูลออ
ด้านสิทธิเหนือพื้นดินใดๆ แต่เต็มไปด้วย กลไกการป้องกันตัวเอง
หลักธรรมาธิปไตยว่าด้วยการเกื้อกูลและ ตามการตัดสินใจขั้นพื้น สโตรเนเชียน
แบ่งปันอย่างเท่าเทียมภายใต้การสร้าง ฐานการดำรงชีวิตแบบ (AUSTRONESIAN)
กลไกการป้องกันตัวเองตามการตัดสินใจ
ขั้นพื้นฐานการดำรงชีวิตแบบดั้งเดิมของ ดั้งเดิมของชาวมานิ
ชาวมานิ
ก า ร ก ร ะ จ า ย ตั ว ข อ ง ชุ ม ช นเ ส้ น ท า ง ก า ร เ ค ลื่ อ น ย้ า ย
ชนเผ่าพื้นเมืองมานิในภาคใต้เป็นกลุ่ม
ชาติพันธุ์ที่มีวัฒนธรรมการเคลื่อนย้ายตาม
แหล่งอาหารธรรมชาติที่มีอยู่ในผืนป่าดิบชื้น
ทางภาคใต้ของไทย ซึ่งในอดีตอาจมีการ
เคลื่อนย้ายไปจนถึงประเทศมาเลเซียแต่
ปัจจุบันการเคลื่อนย้ายค่อนข้างแคบตามข้อ
จำกัดที่มีอยู่ในหลายๆ ประการทั้งด้านความ
มั่นคงปลอดภัยในชีวิตและการลดน้อยถอย
ลงของผืนป่าสมบูรณ์ที่เป็นแหล่งอาหาร
ตลอดจนความพยายามของภาครัฐในการ
พยายามให้กลุ่มชนเผ่ามานิหยุดเคลื่อนย้าย
สนับสนุนให้มีการตั้งหลักปักฐานถาวร
เป็นต้น
ที่พักของมานิที่สร้างด้วยไม้ไผ่และใบไม้ตระกูลปาล์มเรียก
ว่า “ทับ” มีลักษณะเป็นเพิงหมา แหงน สำหรับอาศัยหลับ
นอนและพร้อมเคลื่อนย้ายไปตามแหล่งอาหาร แต่ละทับ
จะอยู่กันเป็นกลุ่ม ๆ ละ ประมาณ 20-30 คน จากการ
สำรวจเมือวันที่ 31 มกราคม ถึง 6 กุมภาพันธ์2560 มี
การตั้งถิ่นฐานของชนเผ่า พื้นเมืองชาวมานิอยู่ในพื้นที่ 3
จังหวัด คือ ตรัง สตูล และพัทลุงโดยกระจายอยู่ตามแนว
ชายป่าโดยรอบเทือกเขาบรรทัด
2.บริบททางเศรษฐกิจ/สังคม/วัฒนธรรมและ
ประเพณี/ทรัพยากร
ลักษณะทางเศรษฐกิจ
สภาพพื้นที่ป่าไม้ในเขตเทือกเขาบรรทัด ที่ถูกปรับ
เปลี่ยนจากป่าธรรมชาติเป็นป่าพื้นที่อนุรักษ์ของรัฐ โดย
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเทือกเขาบรรทัดก่อให้เกิดแหล่ง
ท่องเที่ยวทางธรรมชาติกระจายตัวอยู่ทั่วบริเวณพื้นที่
ประกอบกับการทำสวนยางพาราที่รุกคืบเข้าไปใช้ที่ดินป่า
ไม้ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์และระบบนิเวศทาง
ธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทำให้ชาวมานิในปัจจุบันเริ่ม
ปรับตัวรู้จักหุงข้าวและการต้มแกงที่มีวัตถุดิบ และเครื่อง
ปรุงที่หลากหลายจากการได้รับการถ่ายทอดความรู้และ
พฤติกรรมผ่านชาวบ้านโดยรอบ ชาวมานิบางกลุ่มเริ่ม
ออกมาจากป่าเพื่อรับจ้างทำงานแลกเงิน เช่น รับจ้าง
กรีดยาง แบกไม้ ถางป่า เพื่อนำเงินมาซื้อ อาหาร
เสื้อผ้า และสิ่งของต่างๆ ที่เริ่มเข้ามามีบทบาทต่อการ
ดำรงชีวิตมากขึ้น
โครงสร้างทางสังคม
พัฒนาการทางสังคมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มชน
เผ่าพื้นเมืองมานิจากกลุ่มสังคมหาของป่าล่าสัตว์ก่อให้เกิด
พัฒนาการของกลุ่มชนเผ่ามานิกึ่งเร่ร่อนกึ่งตั้งถิ่นฐานและ
กลุ่มที่ตั้งถิ่นฐานถาวรเป็นการปรับตัวต่อแรงกดดันในการ
พยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่อปากท้องโดยปัจจัยที่เป็นตัวแปร
สำคัญ ได้แก่ สภาพความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าที่ลดลง
และการแปรเปลี่ยนของป่าไม้เป็นสวนยางพาราที่นำไปสู่การ
ปฏิสัมพันธ์กับคนภายนอก
การสืบเชื้อสายหรือการผลิตสมาชิกใหม่ไม่ได้เกิดขึ้นจาก
การอยู่กินแบบผัวเดียวเมียเดียวและฝ่ายชายหรือฝ่ายหญิง
เป็นใหญ่มีอำนาจตัดสินใจแต่ขึ้นอยู่กับการสมัครใจและตกลง
ใจของทั้งสองฝ่าย
วัฒนธรรม ประเพณี
ในปัจจุบันถือว่าไม่แตกต่างอะไรมากนักกับในอดีตมีเพียง
การใช้ภาษาที่ใช้พูดถ้าพูดกันเองในเผ่าพวกเขาก็จะใช้ภาษา
มานิแต่ถ้าพูดกับคนภายนอกก็จะใช้ภาษาใต้ มีหัวหน้า
ปกครองกลุ่มเมื่อหัวหน้ากลุ่มตายลงก็เลือกกันใหม่ ไม่มี
การสืบตำแหน่งตามสายเลือด
ตัวอย่างวัฒนธรรม ประเพณีมีคนตายจะต้องย้ายทับทันที
ที่อยู่อาศัย
ครอบครัวที่รวมกันเป็นกลุ่มจะมี ทับ หรือ ฮะหยะ เป็นที่
อาศัย ซึ่งอยู่ในบริเวณเดียวกันโดยหันหน้าเข้าหากันเกือบ
เป็นรูปวงกลม รูปร่างของทับมีโครงสร้างง่ายๆ เป็นรูปเพิง
หมาแหงน หลังคามุงใบไม้ ข้างในมีแคร่นอนหันหัวออก
ทางด้านหน้า ด้านหัวนอนสูงกว่าปลายเท้า ถ้ามีคนตาย
จะต้องย้ายทับทันที ส่วนการย้ายด้วยสาเหตุอื่นๆ คือเมื่อ
ขาดแคลนอาหารหรือเกิดการเจ็บป่วย
อาหาร
อาหารของมันนิเดิมเป็นของป่าทั้งพืชและสัตว์ อาหาร
หลักคือพวกแป้ง ได้จากพวกมันต่างๆ ในป่า มีการแบ่ง
หน้าที่ระหว่างหญิงชายในการหาอาหาร ผู้หญิงเก็บพืชผัก
ผลไม้ หรือจับสัตว์ด้วยวิธีง่ายๆ ผู้ชายทุกคนจะมีกระบอก
ตุด สำหรับใช้ล่าสัตว์ มันนิไม่กินอาหารดิบ วิธีทำให้สุกคือ
การเผา เมื่อหามาไดก็แบ่งปันกันกินและกินหมดในคราว
เดียว ปัจจุบันเมื่อมีการติดต่อสัมพันธ์กับชาวบ้านมากขึ้น
มันนิรู้จักวิธีปรุงอาหาร เช่น หุง ต้ม หลาม และยังรู้จักรับ
ประทานอาหารประเภทขนมหรือบะหมี่สำเร็จรูปอีกด้วย
การแต่งกาย การแต่งงาน
แบบดั้งเดิม คือ ประดิษฐ์ขึ้นจากสิ่งที่หามาได้ มันนิจะแต่งงานเมื่ออายุประมาณ 14 – 15 ปี
ตามธรรมชาติ เช่นใช้ใบไม้หรือเอาเปลือกโสน ซึ่งทั้งคู่จะรักใคร่ชอบพอกันก่อน ที่สำคัญต้อง
มาทำเป็นทำผ้านุ่ง ผู้หญิงอาจจะเปลือยอก ต่างสายเลือดกัน ผู้ชายเป็นฝ่ายไปสู่ขอต่อ
หรือใช้ผ้าคาดอก ส่วนด็กมักจะเปลือยกาย ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิง ถ้าฝ่ายหญิงไม่ตกลงก็แต่งงาน
ผู้ชายนุ่งโสร่งผ้าปาเต๊ะหรือผ้าขาวม้า เปลือย ไม่ได้ ถ้าตกลงฝ่ายหญิงอาจจะไม่เรียกสินสอด
ท่อนบน ผู้หญิงนุ่งโสร่งปาเต๊ะ สวมเสื้อ แต่ หรือเรียกเป็นลิงเป็นค่างเพื่อใช้กินเลี้ยง โดย
พวกหนุ่มสาวชอบที่จะแต่งตามสมัยนิยมที่ เป็นหน้าที่ของฝ่ายชายที่ต้องออกป่าล่าสัตว์มา
พวกเขาเห็นจากชาวบ้านหรือโทรทัศน์ คือ นุ่ง เลี้ยงเพื่อนฝูง และหน้าที่ของฝ่ายชายอีกย่าง
กางเกงยีน สวมรองเท้าผ้าใบ แว่นตาดำ และ หนึ่งคือสร้างทับที่อยู่อาศัย เมื่อสร้างทับเสร็จ
กินเลี้ยงเสร็จ เจ้าบ่าวก็พาเจ้าสาวไปอยู่ด้วยกัน
สวมหมวก และจะอยู่แบบผัวเดียวเมียเดียวไปชั่วชีวิต
การเกิดและการตาย ความเชื่อและพิธีกรรม
เด็กมันนิที่จะออกมาลืมตาดูโลก ต้องอาศัย - มีความเชื่อเกี่ยวกับผีและวิญญาณ
หมอตำแย สามีจะหาสมุนไพรชื่อว่า ตำโตก มา - พิธีขึ้นเก เป็นพิธีที่ทำเมื่อเด็กนอนคว่ำได้
ให้ภรรยากินเพื่อจะได้คลอดง่าย ตัดสายสะดือเด็ก ก่อนทำพิธีพ่อเด็กจะออกไปล่าสัตว์มีขนเช่น
ด้วยไม้ไผ่บางๆ ล้างตัวเช็ดตัวให้แห้ง สามีก็จะ นก ลิง ค่าง นำขนสัตว์มาเผาไฟแล้วใช้มือกำ
ต้องขุดหลุมใกล้ๆ กับแคร่ที่ภรรยาคลอดให้ลึก ควันไฟไว้ เป่าใส่ปากเด็ก พร้อมกล่าวบท
ประมาณ 1 ศอก สำหรับฝังรก สวดแล้วลูบทั่วร่างกาย เพื่อให้เด็กมีร่างกาย
แข็งแรงไม่เจ็บไข้ได้ป่วย
เมื่อมันนิตาย จะไม่มีการฝังศพ หลังจากนั้น - พิธีศพ ไม่มีพิธีเกี่ยวกับคนตาย เมื่อมีคน
พวกที่อยู่ก็จะอพยพไปหาที่อยู่ใหม่ทันที เพราะ ป่วยหนักจะย้ายที่อยู่ไปแหล่งใหม่
เชื่อว่าคนที่ตายไปแล้วจะเป็นผีอาศัยอยู่ตาม - พิธีจังเดี้ยง เป็นพิธีสำหรับเด็กผู้หญิงเมื่อ
ต้นไม้ใหญ่และอาจจะทำอันตรายได้ เพราะฉะนั้น เริ่มจะมีประจำเดือนหญิงซาไกต้องอยู่แต่ใน
มันนิจะไม่กลับมาอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีคนตาย ทับออกไปไหนไม่ได้ หากผ้าถุงเปื้อนเลือด
เป็นอันขาด มากจะนำไปซัก ห้ามรับประทานสัตว์มีขน
3 . วิ ถี ชี วิ ต แ ล ะ ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต
วิ ถี ชี วิ ต แ ล ะ ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต
ไม่มีการทำเกษตรกรรม แต่ใช้วิธีเร่ร่อนหาอาหารตาม เมื่ออาหารเริ่มขาดแคลน ซาไกก็เริ่มหาของป่าแลก
ธรรมชาติ โดยหากินเฉพาะมื้อและไม่นิยมเก็บสะสม การ เปลี่ยนกับอาหารและสิ่งจำเป็นอื่น ๆ อาทิ ข้าวสาร มีด
ล่าสัตว์มักล่าครั้งละตัว เพราะเครื่องมือไม่เอื้ออำนวย และ ไม้ขีดไฟ และเมื่อต้องใช้เงินเป็นสิ่งแลกเปลี่ยน ซาไกจึงหัน
ยังไม่รู้จักวิธีถนอมอาหาร ซาไกบางกลุ่มซึ่งมีถิ่นที่อยู่ถาวร มาประกอบอาชีพรับจ้างถางป่า แบกไม้ กรีดยาง หา
และได้เรียนรู้วิธีเพาะปลูกจากชาวบ้าน เริ่มหันมารับ สมุนไพรขาย ซาไกที่อำเภอธารโต จังหวัดยะลา มีอาชีพ
ประทานข้าวแทนมันป่า ซาไกส่วนใหญ่นิยมบริโภคมันป่า หลัก คือ หาสมุนไพรขายให้นักท่องเที่ยวที่แวะมาชม
เป็นอาหารหลัก โดยขุดเอาเฉพาะส่วนหัวทิ้งรากบางส่วน หมู่บ้านมัดละ 20 บาท บางกลุ่มก็รับจ้างกรีดยาง ซาไก
ไว้ให้ต้นมันสร้างหัวใหม่ได้ นิยมบริโภคมันตามรากและมัน กลุ่มคลองตงและกลุ่มเจ้าพะ ซึ่งตั้งถิ่นฐานถาวรเรียนรู้
โสม มันปูนไม่ค่อยนิยมเพราะมีพิษ หากมันป่าซึ่งเป็น การเพาะปลูกข้าว ยาพารา พืชและผลไม้จากชาวบ้าน จึง
อาหารหลักเกิดขาดแคลน ก็จะบริโภคพืชอื่นทดแทน อาทิ ไม่ประสบปัญหาขาดแคลนอาหารเหมือนกลุ่มอื่น ชาไก
มันสำปะหลัง กล้วยน้ำว้าดิบ หยวกกล้วยป่า และ กลุ่มที่ยังนิยมย้ายถิ่นฐานจะประสบปัญหาการขาดแคลน
มะละกอดิบนำมาต้มสุกเสียก่อน สำหรับอาหารจำพวก อาหารน้อยกว่า เพราะยังสามารถหาของป่ามาเป็นอาหาร
โปรตีน ที่ได้จากเนื้อสัตว์ต่าง ๆ การจับสัตว์น้ำมีทั้งใช้มือ ได้ กิจกรรมหลักในแต่ละช่วง คือ การหาน้ำผึ้งป่าช่วง
จับ ใช้เบ็ด ตาข่ายดัก การล่าสัตว์บกจะใช้กระบอกตุด เดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม น้ำผึ้งที่หาได้จะนำมา
หรือบอเลา ยิงหนังสติ๊ก ดักแร้ว หรือใช้การเป่าลูกดอก จำหน่ายให้ชาวบ้านในราคาแกลลอนละ 500 -1,000
อาบยาพิษ ปัจจุบัน ซาไกบางกลุ่มนำสุนัขมาเลี้ยงไว้เพื่อ บาท นอกจากนี้ ยังหา "เหรียง" ขายได้ราคากิโลกรัมละ
ช่วยในการล่าสัตว์ ซาไกรับประทานผักในแต่ละมื้อน้อย 50-90 บาท ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม เมื่อสะตอ
มาก ผักที่นำมารับประทาน เช่น ผักกูดขาว อ้ายเบี้ยว ให้ผลผลิตก็จะหาสะตอขายฝักละ 0.5 -1 บาท ช่วงเดือน
หมากหมก มะเขือพวง เนียง สะตอ เป็นต้น ผลไม้ที่รับ กันยายนถึงมกราคมที่ผลผลิตจากป่ามีน้อย ซาไกจะล่า
ประทาน เช่น มะเม่าควาย งำเงาะ ลำแข เดื่อปล้องหิน สัตว์เพื่อบริโภคและรับจ้างทั่วไป ซาไกกลุ่มที่ห่างไกลจาก
จันหาน เป็นต้น การปรุงอาหารนิยมใช้การต้ม ย่าง หรือ สังคมเมืองยังไม่รู้จักการใช้เงิน เนื่องจากนับเลขได้ไม่เกิน
เผาไฟ เมื่อหาอาหารมาได้ ซาไกจะนำมาแบ่งปันให้สมาชิก หลักสิบ
ครอบครัว ๆ อื่นอย่างเท่าเทียมกัน เพราะเชื่อว่า หากไม่
แบ่งปันให้คนอื่นถือว่าบาป
ด้วยชนเผ่าซาไกเป็นพวกที่มีวิถีชีวิตแนบแน่นอยู่กับ สมุนไพรและยา
ป่า ยามเจ็บไข้ได้ป่วย พวกเขาจะนำเอาพืชพรรณใน รักษาโรค
ธรรมชาติมาใช้บำบัดโรคภัย และยังมีความเชื่อกัน
ก า ร จั ก ส า น ว่า ต้นเหตุที่ทำให้เกิดโรคคือผีสางนางไม้ ดังนั้น จึง
ต้องมีการป้องกันมิให้เกิดโรคภัยต่างๆ เช่น ในเวลา
อพยพต้องแขวนหัวไพล เกล็ดลิ่น หรือใช้ขี้เถ้าทา
ตามตัว ตามหน้า เพื่อป้องกันผีทำอันตราย การ
ติดต่อกับชาวบ้านและดูโทรทัศน์ทำให้มันนิมีทัศนคติ
ใหม่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย คือก่อนจะออกไปล่า
สัตว์ ตีผึ้ง จะดื่มยาชูกำลัง หากเป็นไข้ก็จะกินยา
ซองแทนยาสมุนไพรที่ใช้กันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ
หญิงและเด็กซาไกมักสาน
ภาชนะไว้ใส่ของ และสานเสื่อ
ใบเตยเมื่อมีเวลาว่างนำมาสาน
แบบขัดแตะทรงกระบอก สาน
ให้แผ่กว้างใช้เป็นเสื่อ การแต่ง
กาย ซาไกในอดีตใช้เปลือกไม้
ใบไม้และตะไคร่น้ำมาถักเป็น
เครื่องนุ่งห่ม ใช้ปกปิดร่างกาย
ชายหญิงนิยมเปลือยท่อนบน
หญิงมักนำเครื่องสำอางมา
ตกแต่งใบหน้า และใช้เครื่อง
ประดับจากของป่า อาทิ เมล็ด
ต้นไทหรือลูกหับ นำมาขัดจน
ดำวาว ร้อยเชือกสวมเป็น
สร้อยคอ
4.เครื่องมือ วิธีการศึกษาภาคสนาม
1 การสนทนาอย่างมีศิลปะ 2 การจดบันทึกภาคสนาม
ตัวอย่างการสนทนาอย่างมี
ศิลปะ ตัวอย่างเช่นการจดบันทึกภาคสนาม
ใช้วิธีพูดแบบไม่เป็นทางการ มีการจดบันทึกเรื่องราวที่น่าสนใจ และสำคัญ ที่พบเจออย่าง
เพราะจะทำให้ชาวบ้ารู้สึกมี
อิสระ กล้าพูดกล้าคิดมากกว่า ละเอียด เช่น วันที่เท่าไหร่ ไปทำอะไร สังเกตเห็นอะไรบ้าง ที่ไหน อย่างไร
การสัมภาษณ์ ต้องใช้วิธีการพูด พบเจอประเด็นอะไรหลังจากลงพื้นที่
แบบที่ไม่ใช่เชิงสอบถามแต่จะ
เข้าไปพูดอย่างเป็นกันเอง ไม่ การแต่งงานของซาไกเกิดจากการตกลงปลงใจระหว่างหญิงสาวและ
ถามตรงไปตรงมา และจะพูด ครอบครัวกับ ฝ่ายชายหนุ่ม โดยที่มีการบอกกล่าวแก่หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้า
คุยเรื่องทั่วไป จะทำหน้าที่เป็นพ่อสื่อแจ้งแก่บิดามารดาฝ่ายหญิง พร้อมให้ฝ่ายชายจัดหา
ชาวมันนิย้ายหลักแหล่งเมื่อ มีดพร้าและผ้าแดงไปมอบให้ เมื่อฝ่ายหญิงรับของไว้ก็แสดงว่าตกลงจะรับ
อาหารไม่พอหรือคนในกลุ่ม เป็นลูกเขย การประกอบพิธีมักเลือกทำเลที่มีจอมปลวกอยู่ มีการเลี้ยง
ตาย “ถ้ามีใครคนใดคนหนึ่งใน อาหารและร้องรำทำเพลง เมื่อได้ฤกษ์หัวหน้าซาไกจะประกาศต่อที่ชุมนุม
กลุ่มตาย เราก็จะทิ้งศพไว้ที่นี่
เราก็ย้ายถิ่นฐานไปที่อื่น ศพจะ 3 ภาพถ่ายเล่าเรื่อง/เรื่องผ่านภาพ
ถูกสัตว์ป่าลากเอาไปกินจนหมด
ภาพถ่ายจัสะท้อนและเก็บเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี และยังช่วยเตือน
อีก ๓-๔ ปี เราก็จะกลับมาที่ ความจำเกี่ยวกับเหตุการณ์นั้นๆ
เดิม หรือไม่กลับมาแล้ว แต่ทุก ตัวอย่างเช่น
วันนี้เราไม่ทำอย่างนั้นแล้ว” ผู้
เฒ่าเระ ผู้นำกลุ่มชาวมันนิเล่า
ให้ฟังด้วยสีหน้าและท่าทีจริงใจ
ภาพที่ 8 การใช้อุปกรณ์ล่าสัตว์ในการดำรงชีวิต
ชายหนุ่มร่างสูงใหญ่ชาวมันนิตั้งสมาธิจดจ่อกับเป้าหมายเบื้องหน้า จากนั้น
ค่อยๆ ยกลำไม้ไผ่ขนาดยาวเล็งยังเป้าหมาย และใช้พลังจากลมหายใจเป่า
ลูกดอกไปยังเป้าหมายอย่างแม่นยำ
5.กิจกรรมการพัฒนาของกลุ่มคน/กลุ่มชาติพันธุ์
กิจกรรมการพัฒนาของกลุ่มคน/กลุ่มชาติพันธุ์
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของสังคมภายในของชนเผ่าซาไก เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป ในขณะที่
ได้รับอิทธิพลจากสังคมภายนอกและมีแนวโน้มจะถูกกลืนมากขึ้น การบุกรุกพื้นที่ป่าทำให้ ซาไกบางกลุ่ม
หนีเข้าป่าลึก ในขณะที่บางส่วนค่อย ๆ ซึมซับและเรียนรู้วัฒนธรรมภายนอก เช่น การทำเกษตร เพาะ
ปลูก ใช้ปืนล่าสัตว์แทนบอเลา การหันมาบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก ภาษาถิ่นภาคใต้มีบทบาทในการ
ดำรงชีวิตเพิ่มขึ้น เด็กซาไกรุ่นใหม่ซึ่งเป็นลูกผสม พูดภาษาซาไกได้น้อยลง เนื่องจากซาไกแต่งงานกับคน
ท้องถิ่น การแต่งกายก็เปลี่ยนแปลงไปตามวัฒนธรรมเมือง ชายซาไกหันมาสวมกางเกงยีนส์ในขณะที่
หญิงซาไกนุ่งผ้าถุง แม้จะมีการพัฒนาด้านวัตถุและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ แต่ซาไกก็ยังไม่สามารถแยกแยะ
ผลดีผลเสียจากการรับวิถีชีวิตแบบคนเมืองเข้ามา และไม่สามารถแยกแยะบุคคลที่เข้ามาเกี่ยวข้องได้
ทำให้มักถูกแสวงหาผลประโยชน์ หรือเอารัดเอาเปรียบอย่างไม่ยุติธรรม บางครั้งก็ตกเป็นเครื่องมือของ
กลุ่มคนที่ต้องการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ
นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตแบบก้าวกระโดดโดยความช่วยเหลือจากทางการ เช่น ซาไก
กลุ่มที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานที่บ้านแหร อำเภอธารโต จ. ยะลา ได้รับการจัดสรรที่ดินทำกินปลูกสร้างที่อยู่
อาศัย ให้ซาไกทำเกษตร เลี้ยงสัตว์และปลูกยางพารา ทำให้ซาไกประสบปัญหาในการปรับตัวเข้ากับสิ่ง
แวดล้อม ซาไกบางส่วนจึงหันกลับไปใช้ชีวิตแบบเดิม บางส่วนก็อพยพไปอยู่มาเลเซีย แตกต่างจากซาไก
กลุ่มที่อาศัยบริเวณเทือกเขาบรรทัดซึ่งออกมาตั้งถิ่นฐานถาวรโดยความสมัครใจ จนปัจจุบันสามารถปรับ
วิถีชีวิตให้สอดคล้องและอยู่ร่วมกับสังคมเมืองได้ลักษณะพิเศษของชนเผ่าซาไกคือ การเดินทนโดยไม่ต้อง
สวมรองเท้า เนื่องจากซาไกมีผิวหนังใต้ฝ่าเท้าที่ค่อนข้างหนา หญิงซาไกอายุ 70 ปี สามารถเดินป่าขึ้น
เขาลงห้วยได้นานร่วม 10 ชั่วโมง โดยไม่เหนื่อย เคยมีคนพยายามนำรองเท้าไปให้ซาไกที่อาศัยอยู่ในป่า
สวม ปรากฏว่าซาไกใช้ได้ไม่นานก็ต้องถอดออกเพราะเดินไม่ถนัดเท่าเท้าเปล่า แสดงให้เห็นว่า การสวม
รองเท้าแบบคนเมืองไม่เหมาะกับซาไกกลุ่มที่อาศัยอยู่ในป่านัก
6.สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา
สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา ส รุ ป อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางสังคมที่เกิดขึ้นของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ จากกลุ่มสังคมหา
ของป่า-ล่าสัตว์แบบดั้งเดิม ไปสู่กลุ่มกึ่งเร่ร่อน เริ่มตั้งถิ่นฐาน และกลุ่มที่ตั้งถิ่นฐานถาวรแล้ว เกิด
จากแรงผลักดันในการพยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่อปากท้อง โดยปัจจัยสำคัญที่เป็นตัวแปร ได้แก่
สภาพความสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าและการปฏิสัมพันธ์กับคนภายนอก ทำให้กลุ่มชาติพันธุ์มานิใน
ปัจจุบันเริ่มรู้จักบริโภควัตถุดิบที่หลากหลาย ซึ่งมาจากการที่ได้รับอิทธิพลจากชาวบ้านทำให้กลุ่ม
ชาติพันธุ์มานิบางกลุ่มต้องออกจากป่ามารับจ้างทำงานแลกเงิน เพื่อนำเงินมาชื้ออาหาร เสื้อผ้า
และสิ่งของต่าง ๆ ที่เริ่มเข้ามามีอิทธิพลกับกลุ่มชาติพันธุ์มานิ ปัญหาสำคัญที่ยังคงเจออยู่คือการ
เอารัดเอาเปรียบค่าแรง การแลกเปลี่ยนของป่าที่ได้ราคาไม่ยุติธรรม อย่างไรก็ตามวิถีชีวิตที่
เปลี่ยนไปนี้ทำให้มานิเริ่มเปลี่ยนวิถีชีวิตแบบหาของป่า-ล่าสัตว์ มาเป็นวิถีแบบกึ่งสังคมเมือง และ
เผชิญกับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว กลุ่มชาติพันธุ์มานิบางกลุ่มที่ไม่ต้องการ
การเปลี่ยนแปลงและไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับวิถีชีวิตเหล่านี้จึงหนีเข้าป่าลึก อีกทั้งมีปัญหา
ความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มชาติพันธุ์มานิบางส่วนจึงอพยพไปอยู่ที่
ประเทศมาเลเซีย ที่ยังมีพื้นที่ป่าที่ยังอุดมสมบูรณ์อยู่
แม้ว่าการเปลี่ยนแปลงที่เข้ามาเปลี่ยนวิถีการดำรงชีวิตของชาวมานิจนเปลี่ยนแปลงไป
มาก แต่กลุ่มชาติพันธุ์มานิก็ยังคงมีวิถีชีวิตที่ยังสัมพันธ์กับป่า ไม่ว่าจะเป็นอาหารที่หามาจากป่า
ที่อยู่อาศัย พิธีกรรม ตลอดจนการใช้สมุนไพรที่ทำให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในป่าได้อย่างกลมกลืน
มานิมีภูมิปัญญาที่สั่งสมมาตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันและภูมิปัญญาบางส่วนมีการผสม
ผสานระหว่างความรู้ดั้งเดิมกับความรู้สมัยใหม่ และภูมิปัญญาที่ได้จากบทเรียนชีวิตจริงตาม
ธรรมชาติมีองค์ความรู้ปรากฏอยู่ในเครื่องใช้ ยาสมุนไพร ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรมต่าง ๆ
ช่วยให้สังคมชาวมานิมีภูมิต้านทานอย่างเข้มแข็งและพัฒนามาอย่างมั่นคงไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก
แม้ว่าสังคมโลกสมัยใหม่เปลี่ยนแปลงไปมากแล้วก็ตาม การสร้างศูนย์การเรียนรู้ในลักษณะ
พิพิธภัณฑ์กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามานิเป็นทางเลือกหนึ่งในการสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนัก
ในคุณค่าของมนุษย์ควบคู่กับยอบรับในสิทธิการดำรงอยู่ตามแบบวิถีชีวิตดั้งเดิม
7.สรุปแนวทางการนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ใน
กับงานพัฒนาชุมชน
ส รุ ป แ น ว ท า ง ก า ร นำ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ที่ ไ ด้ รั บ
ไ ป ป รั บ ใ ช้ ใ น กั บ ง า น พั ฒ น า ชุ ม ช น
องค์รู้ที่สามารถนำไปบูรณาการกับการพัฒนา
ชุมชนเรื่องสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และการเรียนรู้ด้าน
กฎหมาย หลังจากที่กลุ่มชนเผ่ามันนิมีการปรับ
เปลี่ยนวิถีชีวิตความเป็นอยู่เข้ามาอาศัยในชุมชนเมือง
กันมากขึ้น อีกทั้งคนเมืองยังได้เข้าไปรุกล้ำป่า ทำให้
กลุ่มมันนิประสบปัญหาการใช้ชีวิตในป่า ต้องดิ้นรน
เพื่อความอยู่รอด รวมทั้งเรื่องอาชีพและอาหาร
แต่ละพื้นที่มีปัญหาที่แตกต่างกันไป และอยู่ในจังหวะ
ที่มีการเปลี่ยนผ่านของการเป็นพลเมืองไทย ถึงแม้
ปัจจุบันมันนิจะมีบัตรประจำตัวประชาชน และมีบัตร
สวัสดิการต่างๆ แต่ปัญหาคือ พวกเขายังใช้สิทธิดัง
กล่าวไม่ได้ จึงต้องอาศัยพึ่งพาชุมชนที่อยู่ใกล้ๆใน
พื้นที่ในการที่จะไปใช้สิทธิเหล่านี้เช่นการรักษา
พยาบาลผู้สูงอายุ
นอกจากนั้น จากทรัพยากรในพื้นที่ป่ากว้างที่
อุดมสมบูรณ์ ซึ่งชนเผ่ามันนิสามารถพึ่งพาอาศัยป่า
เป็นแหล่งอาหารแต่ปัจจุบันทรัพยากรเหล่านี้เริ่ม
สูญหายไม่พอที่จะหาเลี้ยงชีพ มันนิจึงต้องออกมาสู่
ชุมชนภายนอกบางกลุ่มมีการพัฒนาด้วยการปลูกผัก
และรับจ้างทำงานเพื่อหารายได้เลี้ยงชีพ ขณะ
เดียวกันกลุ่มมันนิในจังหวัดตรังและสตูลยังถูกดึง
เข้าไปหาผลประโยชน์เกี่ยวกับการท่องเที่ยว เช่น
บอกว่ามาเที่ยวมาชมวีถีชีวิตมันนิ แต่ปัญหาที่ตามมา
คือ เรื่องขยะจากการนำเข้าไปบริจาคจนส่งผลต่อสิ่ง
แวดล้อม โดยเฉพาะในเขตป่าต้นน้ำที่พวกเขาอาศัย
อยู่
จั ด ทำ โ ด ย
1.นางสาวปริยาภรณ์ ยงประเดิม 6116209001041
2.นางสาวประภัสสร อุ่นเรือน 6116209001054
3.นางสาวศศิวิมล พลหลา 6116209001055
4.นางสาวศรัญญา ช่วยเกิด 6116209001057
5.นายชัยณรงค์ จันทร์แก้ว 6116209001059
6.นางสาววิภาพร ศรีขวาน 6116209001115
7.นางสาวพิมพ์ลภัส พลเพียร 6116209001118
8.นางสาวกาญจนา แป้นหนูมาศ 6116209001178
นักศึกษาชั้นปีที่ 4
สาขารัฐประศาสนศาสตร์