The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prkeng, 2022-03-16 05:23:04

รายงานประจำปี 2564 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค

รายงานประจำปี 2564 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

Keywords: รายงานประจำปี

ผลการดำเนนิ งานในกลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร

การปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการของกลมุ พัฒนาระบบบริหาร
อธิบดีกรมควบคุมโรค รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ผูบริหารของกรมควบคุมโรค และผูอำนวยการ

สำนกั /สถาบัน/กอง และสำนักงานปอ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 1 – 12 ไดร ว มในพิธลี งนามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการ
กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2563 ณ หองประชุมเพชร
อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ชน้ั 7 สถาบนั บำราศนราดรู กรมควบคมุ โรค

ภาพที่ 3-1 พธิ ลี งนามคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการกรมควบคุมโรค ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563 ณ หองประชมุ เพชร อาคารเฉลิมพระเกยี รติ ชนั้ 7 สถาบนั บำราศนราดูร กรมควบคมุ โรค

กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร ไดจดั การลงนามคำรบั รองการปฏบิ ัตริ าชการของหนว ยงาน ประจำปงบประมาณ
พ.ศ. 2565 เมอ่ื วนั ที่ 23 พฤศจิกายน 2563 ระหวา งผูอำนวยการกลุมพัฒนาระบบบรหิ ารกับหัวหนา กลุม ภารกิจ
และผูอำนวยการกลุมพัฒนาระบบบริหารกับหัวหนากลุมงาน โดยมีนางเบญจมาภรณ ภิญโญพรพาณิชย
ผอู ำนวยการกลุมพัฒนาระบบบรหิ าร เปน ประธาน พรอมดว ยขาราชการและเจาหนาที่กลุมพัฒนาระบบบริหาร
เขา รวมพิธีลงนาม ณ หองประชุมกลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร อาคาร 1 ช้นั 4 กรมควบคมุ โรค

ภาพที่ 3-2 ลงนามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว ยงานประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
วนั ที่ 23 พฤศจกิ ายน 2563 ณ หองประชมุ กลุมพัฒนาระบบบริหาร ชน้ั 4 อาคาร 1 กรมควบคมุ โรค

เม่ือสน้ิ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลุมพัฒนาระบบบริหาร ไดป ระเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ
โดยมีผลการประเมินไดคะแนนเต็ม 5.0000 คะแนน คิดเปนรอยละ 100 สามารถดำเนินการไดบรรลุตาม
เปา หมายในรอบ 12 เดือน จำนวน 7 ตวั ชว้ี ัด รายละเอียดดังแสดงในตารางท…ี่ ..

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 43 | 55

ตารางท่ี 3-1 ผลการปฏิบตั ิราชการตามคำรับรองการปฏิบตั ิราชการ กพร. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชว้ี ัด เปาหมาย นำ้ หนกั คะแนน คะแนน สถานะ กลุมงาน
ไตรมาสที่ 4 ประเมนิ ถวงน้ำหนัก ที่รบั ถายทอด
องคป ระกอบที่ 1 Functional Base 10 ตนเอง
1.1 ตัวชว้ี ดั การบรรลคุ วามสำเร็จของระบบปอ งกันควบคุมโรคใหไดมาตรฐาน ขั้นตอนท่ี 5 10 คณะทำงาน EOC
ขั้นตอนท่ี 5 5 0.50 คณะทำงานวจิ ยั ฯ
1.1.1 ระดบั ความสำเร็จในการโตตอบภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุขของหนวยงาน 20 5 0.50
1.1.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานผลิตภัณฑเพือ่ การเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรค ข้ันตอนที่ 5 กลมุ งานพฒั นาคุณภาพ
10 51 และองคกร
และภยั สุขภาพ ขั้นตอนท่ี 5 15
1.2 งานภารกจิ หลกั หนวยงาน ข้นั ตอนท่ี 5 15 5 0.50 คณะทำงานนวตั กรรมฯ
ขน้ั ตอนที่ 5 5 0.75 คณะทำงานเพิ่ม
1.2.1 ระดบั ความสำเรจ็ ในการขบั เคลอื่ นการดำเนนิ การบรหิ ารจัดการภาครัฐ และการปฏิรูป 20 ประสทิ ธภิ าพฯ
องคก รทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ข้ันตอนที่ 5 100 5 0.75 คณะทำงาน
นำ้ หนกั รวม
องคประกอบท่ี 4 Innovation Base 51 บรหิ ารจดั การภาครฐั ฯ
4.1 ระดับความสำเรจ็ ของนวัตกรรมที่หนวยงานสรา งใหมแ ลว นำไปใชประโยชน คาคะแนนท่ีได 5
4.2 ระดับความสำเรจ็ ของการเพิ่มประสทิ ธิภาพการปฏิบัตริ าชการของหนวยงาน กลุมงานยทุ ธศาสตรและ
อำนวยการ
4.3 ระดับความสำเรจ็ ของหนวยงานที่ดำเนินการบริหารจดั การภาครัฐและการปฏิรูปองคกรได
ตามเกณฑท ีก่ รมควบคุมโรคกำหนด

องคป ระกอบท่ี 5 Innovation Base
5.1 ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ประจำป

งบประมาณ พ.ศ. 2564

หมายเหตุ : ผลการประเมนิ ตนเอง =N/A =1.00-1.49 =1.50-2.49 =2.50-3.49 =3.50-4.49 =4.50-5.00

ขอ คน พบ และขอ เสนอแนะ
1) เน่อื งจากสถานการณการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทางรัฐบาล โดย
ศนู ยบรหิ ารสถานการณ โควิด-19 (ศบค.) ประกาศใหพ ื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล เปน พื้นที่สแี ดง จึงมีมาตรการ
ในการเฝาระวัง ปอ งกนั และควบคุมโรค COVID-19 ทเี่ ครงครดั ทำใหบางกิจกรรมไมสามารถดำเนินการตามแผนได
ตอ งมีการปรับเปล่ียนรปู แบบการดำเนินงาน ดังนน้ั ควรหารอื ในคณะทำงานฯ เพือ่ รีบปรบั แผนการดำเนินงานโดยดวน
2) ควรเขียนแผนใหมคี วามยืดหยนุ ตอ การดำเนินงาน
3) การเขียนแผน ไมค วรเวนวา งระยะเวลาในการดำเนนิ กิจกรรม ทำใหข าดความตอเนอื่ งในการดำเนินงาน
4) ควรทำความเขาใจรายละเอียด Template ใหช ัดเจน เพื่อลดขอ ผดิ พลาดในการรายงานผลการดำเนินงาน
เชน กรณตี ัวชี้วัดท่ี 4.1 แผนปฏบิ ตั ิการ ยงั ไมครอบคลุมกระบวนการคิดเชิงออกแบบในสว นของการ Empathy
Define Ideate เชน กิจกรรมที่ 1 - 3 ของแผน (อทุ ธรณ)
5) ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 หนว ยงานไมมบี ุคลากรผูเชี่ยวชาญที่จะใหคำแนะนำ และตรวจสอบความถูกตองของแผน
ความตอเนื่องภารกิจองคกร (Business Continuity Plan: BCP) ที่หนวยงานจดั ทำขึ้น และบุคลากรของหนวยงานไมท ราบ
รายละเอียดในแผนความตอเน่ืองภารกิจองคกรของกรมควบคุมโรค ดงั นั้น กองควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉิน
ควร upload แผนความตอเนื่องภารกิจองคกรของกรมควบคุมโรค ขึ้น Website เพื่อเปนการสื่อสารใหบุคลากรของ
กรมควบคมุ โรคจากทกุ หนว ยงานรบั ทราบในแนวทางและระเบยี บปฏบิ ตั ิ เมอ่ื มเี หตกุ ารณฉุกเฉนิ /ภาวะฉุกเฉนิ เกิดขนึ้
6) ตัวชีว้ ัดท่ี 4.3 การประเมินองคกรดวยตนเองหมวด 1 - 6 มบี างหมวดท่ปี ระเมนิ ถงึ ระดบั significance
แตผลการดำเนินงานยังไมครอบคลุมเกณฑ เพราะฉะนั้นควรทบทวนใหม และปด GAP ใหตรงประเด็น เชน
หมวด 1 ขอ 1.2 ระดบั Significance และหมวด 6 ขอ 6.2, 6.3 ระดบั Significance

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 44 | 55

ผลการเบกิ จายงบประมาณ
ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลุมพัฒนาระบบบริหาร ไดรับการจัดสรรวงเงินงบประมาณ รวมทั้งสิน้

5,547,955.74.-บาท (หาลานหาแสนส่ีหมื่นเจ็ดพันเการอยหาสิบหาบาทเจ็ดสิบสี่สตางค) มีโครงการที่
ดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการของหนวยงาน จำนวน 1 โครงการใหญ โดยใชงบดำเนินงานโครงการ

ผลผลิตที่ 2 กจิ กรรมหลกั ท่ี 2.1 โดยมผี ลการเบกิ จาย ดงั แสดงในตารางที่ 3-2 และ 3-3

ตารางท่ี 3-2 งบประมาณทไี่ ดร ับ และผลการเบิกจา ย ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเภทงบประมาณ ไดร ับจัดสรร ไดร บั จัดสรร เบิกจา ยเปน เงนิ คงเหลอื คิดเปน
(บาท) เพิ่มเตมิ (บาท) (บาท) รอ ยละ
งบบุคลากร : คาตอบแทนพนักงานราชการ (ผ.18 ก.18.1) (บาท) 100.00
งบลงทนุ (เหลอื จา ย) 2,357,200.00 71,298.05 2,428,498.05 0.00 100.00
0.00 666,445.20 0.00 100.00
งานซอ มแซมหอ งครวั (1 งาน) (ผ.5 ก.5.1) 0.00 666,445.20 99,510.00 0.00 100.00
งานปพู ืน้ กระเบอ้ื งไวนลิ หอ งทำงานภายใน กพร. (1 งาน) (ผ.5 ก.5.1) 0.00 99,510.00 30,816.00 0.00 100.00
จางเหมาบริการจัดทำเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ 0.00 30,816.00 160,000.00 0.00
PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0) (1 โปรแกรม) (ผ.5 ก.5.2) 160,000.00 100.00
งานปรบั ปรงุ หอ งประชมุ (1 งาน) (ผ.5 ก.5.2) 0.00 228,124.00 0.00 100.00
จดั ซ้ือครุภณั ฑเครอ่ื งคอมพิวเตอร (4 เครื่อง) (ผ.4 ก.4.1) 0.00 228,124.00 96,000.00 0.00 100.00
คา โตะประชมุ ขนาด 10 ท่นี ั่ง (1 ชุด) (ผ.8 ก.8.3) 0.00 96,000.00 27,000.00 0.00 100.00
อุปกรณใชในการประชุม จำนวน 3 รายการ (ผ.8 ก.8.3) 0.00 27,000.00 24,995.20 0.00
1. กลอ งเวบ็ แคม 24,995.20 100.00
2. ไมคพ รอ มลำโพง 191,112.59 191,112.59 0.00 100.00
3. ไมคโครโฟน สำหรบั ไลฟสด สำหรบั สมารท โฟน และกลองดิจติ อล 19,250.05 0.00 19,250.05 0.00 100.00
งบดำเนินงาน (ขน้ั ต่ำประจำ) 55,669.00 0.00 55,669.00 0.00 100.00
คาสาธารณปู โภค (ผ.2 ก.2.1) 116,193.54 0.00 116,193.54 0.00 100.00
ภารกจิ ประจำ (เงินสมทบประกันสงั คม) (ผ.18 ก.18.1) 1,651,900.00 0.00 2,261,899.90 0.00 100.00
คาเชาบาน (ผ.18 ก.18.1) 1,651,900.00 609,999.90 2,261,899.90 0.00
งบดำเนนิ งาน (โครงการ) 609,999.90 100.00
โครงการพัฒนาและบรหิ ารจดั การระบบเฝา ระวงั ปองกนั ควบคุม
โรคและภัยสขุ ภาพ (กลุมพัฒนาระบบบรหิ าร) (ผ.2 ก.2.1)

รวม 4,200,212.59 1,347,743.15 5,547,955.74 0.00

ตารางที่ 3-3 งบประมาณเบิกจายแยกประเภท เปรยี บเทียบ 5 ป ตง้ั แตป งบประมาณ 2560 – 2564

ประเภทงบประมาณ ปงบประมาณ ผลการเบกิ จา ย ปงบประมาณ
2560 2564
ปงบประมาณ ปง บประมาณ ปง บประมาณ
2561 2562 2563

งบบุคลากร 1,736,424.00 1,724,389.03 1,839,096.77 1,957,208.00 2,428,498.05

 คา ตอบแทนพนกั งานราชการ + คา ครองชีพ 1,736,424.00 1,724,389.03 1,839,096.77 1,957,208.00 2,428,498.05

งบดำเนนิ งาน (ภารกจิ ประจำ คาสาธารณปู โภค คา เชาบา น) 79,273.75 75,909.04 113,168.00 154,951.00 191,112.59

 เงินสมทบประกันสังคม 63,747.00 14,833.04 67,886.00 63,651.00 55,669.00
 คา สาธารณูปโภค 15,526.75 61,076.00 15,282.00 19,300.00 19,250.05
 คา เชา บา น 30,000.00 72,000.00 116,193.54
- -

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 45 | 55

ประเภทงบประมาณ ปง บประมาณ ผลการเบกิ จาย ปง บประมาณ
2560 2564
งบลงทนุ /งบกระตุนเศรษฐกจิ ปงบประมาณ ปงบประมาณ ปง บประมาณ
154,050.00 2561 2562 2563 666,445.20
 ครุภณั ฑค อมพวิ เตอร/ โฆษณาและเผยแพร
 งบลงทุน (เหลอื จา ย) 154,050.00 66,000.00 330,950.00 179,260.00 -
- 666,445.20
งบดำเนนิ งาน (โครงการ) 66,000.00 - -
2,415,682.71 - 330,950.00 179,260.00 2,261,899.90
1. โครงการพัฒนาและบริหารจัดการระบบเฝา ระวังปองกันควบคมุ โรค
และภยั สขุ ภาพ 1,785,906.71 3,358,447.70 2,175,220.00 2,553,750.00 2,261,899.90
1.1 การพฒั นาระบบคุณภาพบรหิ ารจัดการภาครฐั กรมควบคมุ โรค
1.2 การจดั ทำและการประเมินผลคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการ 343,370.40 3,322,589.70 2,114,040.00 2,553,750.00 -
1.3 การบริหารจัดการทรัพยากร และพัฒนาศักยภาพบุคลากร กลุม 333,882.21 -
พัฒนาระบบบรหิ าร 1,108,654.10 265,953.00 306,726.00 300,000.00 298,815.40
1.4 การปฏิรูปองคการ กรมควบคุมโรค 700,779.00 313,112.00 300,000.00
1.5 อ บ ร ม ห ล ั ก ส ู ต ร Digital Productivity Improvement เ พิ่ ม - 1,266,129.20 1,334,102.00 1,953,750.00 -
ผลผลติ ภาพองคก รดว ย Digital & Technology - -
1.6 การขับเคล่อื นตามแผนการปฏริ ูปประเทศดา นสาธารณสุข 479,463.00 - -
1.7 ปฏิรูปองคก รและแผนงาน - 16,585.00 - - -
1.8 ศึกษาอบรมหลักสูตร “พลิกบทบาทภาครัฐสูระบบราชการ 4.0 - -
ดวยนวตั กรรมดจิ ิทลั ฯ - 593,680.50 - - -
1.9 การพฒั นาระบบราชการกรมควบคมุ โรค ประจำป พ.ศ. 2564 - 93,600.00 -
1.10 การพัฒนาและปฏิรปู องคกรตามการบริหารจัดการองคกรแนว - - 66,500.00 - 191,280.00
ใหม ประจำป พ.ศ. 2564 - 689,899.00
1.11 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุมพัฒนาองคกร กรมควบคุม ---
โรค ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 - --- 559,170.50
1.12 การถอดบทเรียนผลการพัฒนาวชิ าการและการพัฒนาคุณภาพ
การบริหารจัดการองคกรดานการปองกันควบคุมโรคและภัย - --- 471,435.00
สุขภาพ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563
1.13 ฝก อบรมเสริมหลกั สตู รนกั บรหิ ารระดับสูง (ส.นบส.) รุนท่ี 13 - --- 51,300.00
619,776.00 -
2. โครงการพัฒนาศักยภาพเครือขายพัฒนาองคกร กรมควบคุมโรค - - -
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2560 หลักสตู รนักพฒั นาองคกรรุน ใหม รุน ท่ี 1 - - - - -

3. โครงการปฐมนิเทศขาราชการใหม “หลักสูตรการเปนขา ราชการทีด่ ี” - - - - -
(รับโอนจากกองการเจา หนา ท)ี่
- - - - -
4. โครงการพัฒนาองคความรู ดานการพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จดั การองคกร ของกลมุ พัฒนาระบบบริหาร - 35,858.00 61,180.00 - -

5. โครงการหลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผบก) และ 10,000.00 - - - -
หลกั สตู รผบู รหิ ารการสาธารณสุขระดับตน (ผบต)
4,385,430.46 --- 5,547,955.74
6. โครงการการศึกษาอบรมหลักสตู รการบริหารกิจการบา นเมืองท่ีดีเพื่อ  
การพัฒนาอยางยั่งยืน สำหรับนักบริหารระดับสูง รุนที่ 3 (นอกแผน 5,224,745.77 4,458,434.77 4,845,169.00
ขอรับการสนบั สนุนงบฯจากกรมเพม่ิ เตมิ ) 

7. โครงการรณรงค เผยแพร ประชาสมั พนั ธ ดานการปองกันการทุจริต
และประพฤตมิ ิชอบ ดา นคุณธรรม และจริยธรรม กลมุ พฒั นาระบบบริหาร

รวมท้งั ส้นิ

ผลการใชจา ยงบประมาณ เพิม่ /ลด

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 46 | 55

การบริหารจดั การทรพั ยากรอ่นื ๆ
1) สนับสนุนการดำเนินงานของกลุมพัฒนาระบบบริหาร ไดแก จัดซื้อวัสดุสำนักงาน เครื่องถาย

เอกสาร การบำรงุ รักษาเคร่อื งปรับอากาศ ซอ มแซมครุภณั ฑสำนกั งาน
2) การจัดประชุมราชการหนวยงาน ประชุมคณะทำงานฯ ตาง ๆ ภายในหนวยงาน ทั้งรายเดือน

และรายไตรมาส เพือ่ ตดิ ตามความกา วหนา การดำเนนิ งานของหนวยงาน
3) การดำเนินการสนับสนุนบุคลากร กลุมพัฒนาระบบบริหาร ในการเดินทางเพื่อเขารวมประชุม

รวมกับหนว ยงานตา ง ๆ

ภาพท่ี 3-3 ประชมุ ราชการหนว ยงาน ประชุมคณะทำงานฯ ตา ง ๆ ภายในหนวยงาน

การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร
กลุมพัฒนาระบบบริหาร มรี ะบบการพัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับภารกิจของหนวยงาน เพอื่ เพิ่มประสิทธิภาพ

ในการปฏิบัติงาน โดยมกี ารสอบถามความตองการในการฝกอบรม (Training Need) ของบคุ ลากร ซ่ึงนอกจาก
หนวยงานจะสงบุคลากรเขา รับการอบรมเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏบิ ัตแิ ลว ยังใชว ิธีพฒั นาบุคลากรอยางไมเปนทางการ
โดยการสอนงาน (On the job Training) การเปน พเ่ี ล้ียง (Coaching & Mentoring) การเรียนรดู วยตนเอง (Self-Study)
และจัดใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูทุกการประชุมประจำเดือนของหนวยงาน เพื่อเพิ่มพูนความรูมากขึ้น สำหรับแผนระยะยาว
ไดว างแผนใหบ ุคลากรเขารับการอบรมในสว นท่บี ุคลากรสนใจหรอื ตามความเหมาะสมดานตา งๆ ประกอบดว ย

1) การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ เร่อื ง การพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรกลุมพัฒนาระบบบริหารในการเปน
ผปู ระกอบการภาครฐั และการสื่อสารท่มี ปี ระสิทธิภาพ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ความเปนมา
การประชุมเชิงปฏบิ ัติการ เรือ่ ง การพฒั นาศักยภาพบุคลากรของกลุมพัฒนาระบบบริหาร เพื่อเตรียม
ความพรอมเขาสรู ะบบราชการ 4.0 ระหวา งวนั ที่ 30 – 31 มีนาคม 2564 ณ โรงแรมไมดา โฮเทล งามวงศวาน จงั หวัดนนทบุรี
มวี ัตถปุ ระสงคเ พ่อื เสรมิ สรางใหบุคลากรกลุมพฒั นาระบบบริหารมีความสามารถในการคิดวิเคราะห การวัดประเมินผล
รวมท้ังทักษะความสามารถดา นดิจิทัลในรปู แบบของการส่ือสารผานส่อื ดจิ ิทัลสมยั ใหม (new media) และเพ่อื เสริมสรา ง
สขุ ภาพกาย สขุ ภาพใจ ของบุคลากรกลุมพัฒนาระบบบริหารใหส ามารถปฏิบัตงิ านอยางมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน
โดยรูปแบบการประชุมฯ ประกอบดวย การบรรยาย อภิปรายใหความรู และรวมกิจกรรมการออกกำลังกาย
“เสน ทางสูการมสี ขุ ภาพท่ดี ี หา งไกลโรค”

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 47 | 55

ผลการดำเนินงาน
1) อบรมการเขียน การวิเคราะหบทความ (content) ในรูปแบบกิจกรรมการบรรยาย ในหัวขอเรื่อง
"สื่อสารตวั ตนอยา งไรใหประสบความสำเร็จในการทำงานยุคดจิ ิทัล" โดย นายธนบัตร ดานชาย วิทยากรอิสระ
ซง่ึ บุคลากรกลมุ พฒั นาระบบบรหิ ารไดร ับความรูเกยี่ วกบั Storytelling การเลาเร่อื ง รูปแบบการนำเสนอ และ
การเขียนบทความใหมีความนาสนใจ สามารถนำไปตอยอดในการเขียนหนังสอื ทางวชิ าการ และบทความของ
หนวยงาน ซึ่งพบวาปจ จยั ความสำเร็จในการส่อื สารท้งั ทผี่ านวาจา และการเขียนบทความนัน้ ประกอบไปดว ย

 การเลอื กใชค ำพดู และขอความทดี่ ี มีความสภุ าพ และสรางสรรค
 รูจักใชการสื่อสารทั้งวาจาและลายลักษณอักษรพรอมๆ กัน การสงขอมูลไปใหใครผาน
อเี มล หรอื โซเชียลมเี ดีย ควรสื่อสารแบบ 2 ทาง คอื การโตต อบกนั มากกวา สงขอ มลู ทางเดียว
 ใชก ารสอ่ื สารท่ีสน้ั กระชับ ไมย ืดยาว
 รจู กั การประชุมท่ีไมตดั สินมมุ มองคนอื่น หรอื วาคนอื่นในทป่ี ระชมุ ใหเ กิดความอบั อาย
 เปด ใจรับฟง ความคิดของคนอนื่ ๆ

ภาพที่ 3-4 กิจกรรมสอื่ สารตัวตนอยา งไรใหป ระสบความสำเร็จในการทำงานยคุ ดจิ ทิ ลั

2) การอบรมการผลติ ส่ือนำเสนอ และเผยแพรส่ืออิเล็กทรอนิกส (E-book) ที่มีผลตอผรู ับบริการ
และผูมีสวนไดสวนเสีย โดย นางสาวพรปวีณ ทิวทิพยสกุล และนายเอกะสิทธิ์ สุมะนะ สาขาวิชานิเทศศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยในการอบรมนั้นไดจัด Workshop ใหบุคลากรกลุมพัฒนาระบบบริหาร ผลิตส่อื
สังคมออนไลนดวยแพลตฟอรมการออกแบบกราฟก Canva (https://www.canva.com) และสรางสื่อ
อิเลก็ ทรอนิกส (E-book) ดวยเว็ปไซด https://issuu.com ในหัวขอ “COVID-19” เพอ่ื ใชเ ปนแนวทางในการจัดทำ
สื่อประชาสัมพันธ คูมือการพัฒนาองคกร และสื่อการเรียนการสอนตอไป ซึ่งจากการอบรม พบวาจุดเดนของ
สื่ออิเล็กทรอนกิ ส (E-book) คือ สามารถแสดงภาพ แสง เสียง ภาพเคลื่อนไหว และการมีปฏิสัมพนั ธก ับผูใชมี

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 48 | 55

ลักษณะไมตายตัว สามารถแกไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา และสามารถกระจายสื่อไดอยางรวดเร็ว
และกวางขวางตอบสนองความตองการของผรู บั บริการและผมู ีสว นไดส ว นเสีย ศึกษาไดทุกทท่ี กุ เวลา

3) การออกกำลังกาย “เสน ทางสกู ารมสี ุขภาพท่ีดี หางไกลโรค” เพอ่ื เสรมิ สรางความสัมพันธข อง
บุคลากรภายในหนวยงาน โดย นายสุนันต ระฆังทอง และคณะ บริษัท โกลเดนเบลล ฟตเนส จำกัด โดยใน
กิจกรรมการออกกำลังกาย ไดมีการชั่งน้ำหนัก วัดมวลกาย เช็คสมรรถภาพรางกาย เสริมสรางกลามเน้ือ
Warm up Cardio exercise และ Stretching ซึง่ จากการจดั กิจกรรม พบวาบคุ ลากรของกลุมพัฒนาระบบบริหาร
สว นใหญมีนำ้ หนักเกนิ เกณฑมาตรฐาน ทางผูจดั กจิ กรรมจึงสอนเทคนคิ การออกกำลังกายและการดูแลสุขภาพ
ใหดยี ง่ิ ข้นึ แกบคุ ลากร

ภาพที่ 3-5 กิจกรรมเสนทางสกู ารมสี ขุ ภาพท่ีดี หางไกลโรค

ผลลัพธ (Outcome)
1) บุคลากรกลุมพัฒนาระบบบริหาร ไดพัฒนาทักษะความสามารถดานการสื่อสาร การเขียน
บทความ และการนำเสนอเร่ืองราวใหมคี วามนาสนใจ ตรงกับเปา หมายในการถา ยทอดเรอ่ื งราว
2) บคุ ลากรกลุมพฒั นาระบบบรหิ าร ไดพัฒนาทักษะความสามารถดา นดจิ ิทลั ในรูปแบบของการ
ส่ือสารผานสอ่ื ดิจิทัลสมัยใหม (new media) อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใชโ ปรแกรม Canva และ Issue
ความพงึ พอใจจากการประชมุ ในดานกระบวนการและข้ันตอนในการใหบริการมีความพึงพอใจเฉล่ีย
คดิ เปน รอยละ 83.20 ประเด็นท่มี ีความพึงพอใจมากทสี่ ุด คอื รปู แบบของการจัดโครงการมีความเหมาะสม คิดเปน
รอ ยละ 84.29 ดานเจา หนาทหี่ รือบคุ ลากรท่ใี หบริการ มีความพึงพอใจเฉลีย่ คดิ เปนรอยละ 89.90 ประเดน็ ท่ีมี
ความพึงพอใจมากที่สุด คอื การใหบ ริการโดยไมเลอื กปฏบิ ัตดิ วยความเสมอภาค คิดเปน รอ ยละ 91.43 ดา นสิง่ อำนวย
ความสะดวก มีความพึงพอใจเฉล่ยี คดิ เปนรอ ยละ 86.60 ประเด็นท่มี ีความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ คอื ความชัดเจน
ของเอกสารประกอบการอบรม คิดเปนรอยละ 91.43 สรปุ ผลความพึงพอใจในภาพรวม คิดเปน รอยละ 90.00
อยใู นระดับมาก

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 49 | 55

2) การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุม พัฒนาระบบบริหารในการ
ทำงานเปนทีม และองคกรสรางสขุ ในหัวขอ “การประเมินตนเองตามหลกั การ Strengths Finder”

ความเปนมา
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุมพัฒนาระบบบริหารในการทำงานเปนทีม
และองคกรสรางสุข ในหัวขอ การประเมินตนเองตามหลักการ Strengths Finder ผานระบบ Zoom ซึ่งจัดประชุม

จำนวน 2 ครั้ง คือ คร้ังท่ี 1 วนั ที่ 30 สงิ หาคม 2564 และครั้งท่ี 2 วันท่ี 6 กนั ยายน 2564 โดย นายอนชุ าติ เจรญิ วงศมิตร

มีความเชี่ยวชาญและประสบการทางดาน HR Planning OD Team และนางสาวจารุวรรณ ยอดระฆัง (I/O Psychologist)
มคี วามเชยี่ วชาญและประสบการณทางดา นจิตวทิ ยาอุตสาหกรรมและองคการ มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื 1) เพ่อื พัฒนา

บคุ ลากรกลุมพัฒนาระบบบรหิ ารใหมีความรดู านความผูกพันตอองคกร (Engagement) ดานความสุขในการทำงาน

(Happinometer) และสามารถวิเคราะหจ ุดแขง็ ของตนเอง 2) เพอ่ื พัฒนาบุคลากรกลุมพฒั นาระบบบริหารให
เกดิ ความสามคั คใี นการทำงาน มกี ารทำงานเปน ทมี มีทัศนคตเิ ชิงสรางสรรคแ ละมีคณุ ธรรมจริยธรรม

ผลการดำเนินงาน
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ เรอื่ ง การพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุมพัฒนาระบบบริหารในการทำงานเปนทีม
และองคกรสรางสขุ ในหัวขอ “การประเมนิ ตนเองตามหลกั การ Strengths Finder” มรี ูปแบบการประชมุ ประกอบดว ย

การอภปิ รายใหความรู เร่ือง 1) การเจาะจุดแข็ง 2.0 (Strengths Finder 2.0) 2) การประเมินตนเองตามหลักการ

StrengthsFinder และ Journey From Talents to Strengths และ 3) การวิเคราะหผ ลการประเมินตนเองตามแบบ
Clifton StrengthsFinder โดยเนนการนำแนวคิดของ StrengthsFinder และ Journey From Talents to Strengths

เพื่อวิเคราะหต นเองเบื้องตน คน หาจดุ แขง็ ในตัวเองและจัดการกับจดุ ออน จากการประชุม พบวาการทราบจุดแข็ง

ของตนเองเพื่อสรางความเปนเลิศไดอยางตรงจุด และไดเรียนรูจุดแข็งของผูอื่น จะทำใหการทำงานเปนไปได
อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ นอกจากบุคลากรของกลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร ไดรูจักตนเองเพม่ิ มากขน้ึ แลว สามารถนำไป

พฒั นาตนเอง มที ศั นคติบวกเชิงสรางสรรค เกดิ ความสามคั คีในการทำงาน มีการทำงานเปน ทมี และมคี ณุ ธรรมจริยธรรม

ภาพที่ 3-6 การประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร เร่ือง การพฒั นาศักยภาพบุคลากรกลุมพัฒนาระบบบรหิ ารในการทำงานเปนทีม และองคกรสรา งสขุ
ในหวั ขอ “การประเมนิ ตนเองตามหลกั การ Strengths Finder” ผานระบบ Zoom

ความพึงพอใจจากการประชุมในดานกระบวนการและขั้นตอนมีความพึงพอใจเฉลี่ย คิดเปน
รอยละ 92.35 ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ รูปแบบของการจัดโครงการมีความเหมาะสม คิดเปน
รอยละ 96.47 ดานสิ่งอำนวยความสะดวกมีความพึงพอใจเฉลี่ย คิดเปนรอยละ 90.59 ประเด็นที่มีความพึง
พอใจมากทส่ี ุด คอื ความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณ และความชัดเจนของเอกสารประกอบการประชุม คิดเปน
รอยละ 90.59 สรุปดา นความพงึ พอใจตอ การประชมุ ในภาพรวม คิดเปนรอยละ 94.12 อยใู นระดับมาก

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 50 | 55

3) หนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส (E-book)ถอดบทเรียนความสำเร็จของกรมควบคุมโรค(RoadtoSuccessDDC4.0)
ความเปนมา
กลุมพัฒนาระบบบริหาร ยึดมั่นในหลักการ “บันไดสูความสำเร็จ 5 ส.” เพื่อพัฒนาองคกรไปสูมาตรฐาน

ระดบั สากล โดยหลักการ 5 ส. ประกอบไปดว ย 1) สรางความรู และความเขาใจ 2) สรางความรสู กึ และการมีสวนรวม
ในองคกร 3) สรา งทมี งานทเี่ ขมแขง็ 4) สรา งระบบติดตามและประเมินผล และ 5) สนับสนุนจนเกดิ เปนนโยบาย

ของผบู รหิ าร อีกทง้ั กลมุ พัฒนาระบบบริหารเปนตน แบบของระบบราชการ 4.0 ตนแบบของแหลงความรูเชิงระบบ

ดงั น้นั กลมุ พฒั นาระบบบริหาร จึงมีแนวความคดิ ที่จะถอดบทเรียน (Tacit Knowledge to Explicit Knowledge)
ความรู ประสบการณ ไปยังสวนราชการอื่นๆ ใหสามารถนำไปประยุกตใชใหเหมาะสมกับบริบทของแตละ

หนวยงานในหวั ขอความรู “Road to Success DDC 4.0”
ผลการดำเนนิ งาน
กลุมพัฒนาระบบบริหาร ถอดบทเรยี นบุคคลตัวอยางตนแบบ จำนวน 12 ทาน เพื่อใหเห็นถึงแนวทาง

ความสำเรจ็ ของหนวยงานภายในกรมควบคุมโรคทนี่ ำหลักการของ PMQA มาปรบั ใชในหนวยงาน โดยบคุ คลท่ี

รวมถอดบทเรียน แบงเปน ระดับผูบริหาร จำนวน 2 ทาน คือ นายแพทยสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย และ
นายแพทยปรีชา เปรมปรี ระดบั ผูอำนวยการ จำนวน 5 ทาน คือ แพทยหญิงศศธิ ร ตั้งสวสั ด์ิ นายแพทยด เิ รก ขำแปน

นางเบญจมาภรณ ภญิ โญพรพาณิชย นายแพทยย งเจือ เหลา ศริ ถิ าวร และนายแพทยป ณธิ ี ธมั มวิจยะ ขาราชการ

จำนวน 3 ทา น คอื นางนวพรรณ สันตยากร ดร.บุญทนากร พรมภกั ดี และผูแทนจากกองโรคเอดสและโรคติดตอ
ทางเพศสัมพันธ ท่ปี รกึ ษา จำนวน 2 ทาน คือ ดร.ธนาวิชญ จนิ ดาประดษิ ฐ และอาจารยกิตติณัฐ พนมฤทธ์ิ พรอมจัดทำ

เปนหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส (E-book) และเผยแพรเ พ่ือเปน ประโยชนก ับหนวยงานอื่นผา นเวป็ ไซดกรมควบคุมโรค

ภาพท่ี 3-7 E-book ถอดบทเรยี นความสำเร็จของกรมควบคมุ โรค (Road to Success DDC 4.0)

ความพึงพอใจและการนำไปใชประโยชนของหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-book) ถอดบทเรียน
ความสำเรจ็ ของกรมควบคุมโรค (Road to success DDC 4.0) ในภาพรวม คิดเปน รอ ยละ 84.60 อยใู นระดับดีมาก

4) การจัดทำบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (E-learning) หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จดั การภาครัฐ PMQA 4.0

ความเปนมา
ในการพัฒนาองคการสูการเปนองคการชั้นเลิศ มีระบบการบริหารจัดการที่ไดรับการยอมรับใน
ระดบั สากล ไดแก ระบบ Malcom Baldrige National Quality Award; MBNQA ของประเทศสหรัฐอเมริกา

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 51 | 55

ซึง่ ภายหลงั มีการเผยแพร ปรับปรุง และนำไปใชท ่ัวโลก รวมทั้งประเทศไทย ไดน ำระบบ MBNQA มาปรับปรงุ เปนระบบ
Thailand Quality Award; TQA ต้งั แตป 2001 ซง่ึ มีองคก ารภาคเอกชนช้นั นำมากมายไดนำไปใชใ นการพัฒนาองคการ
จนประสบความสำเร็จ ซ่งึ ตอมาสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนกั งาน ก.พ.ร.) ไดเลง็ เหน็ ถึง
ประโยชนข องการนำระบบการบรหิ ารงานท่เี ปน มาตรฐานสากลนี้มาเปนหลกั ในการปรับปรุงพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการ
ของหนวยงานภาครัฐ จึงไดพัฒนาระบบ TQA ใหเหมาะสมกับการพัฒนาตามบริบทของหนวยงานภาครัฐ
เรียกวาระบบ Public Sector Management Quality Award; PMQA ซึ่งไดกำหนดใหทุกสวนราชการในประเทศไทย
ใชเ ปนแนวทางการพฒั นา โดยมกี ารปรับปรุงเกณฑ PMQA ใหเหมาะกบั ยุคสมยั จนถึงปจจบุ ันไดพัฒนาเกณฑ
PMQA เพ่อื ตอบสนองตอ การยกระดบั สว นราชการใหเ ปนระบบราชการ 4.0 ท่เี รยี กวาเกณฑ PMQA 4.0

กลุมพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค จึงเห็นควรใหมีการพัฒนาวิดีทัศนสื่อการสอนเรื่อง
PMQA 4.0 เพื่อใชสรางความรู ความเขาใจแนวทางการพัฒนาองคการตามหลักเกณฑใหบุคลากรสามารถ
นำไปพัฒนาการทำงานในหนวยงานของตนได

ผลการดำเนินงาน
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (E-learning) หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
PMQA 4.0 สำหรบั บุคลากรภายในกรมควบคุมโรค เปนนวตั กรรมการเรียนรูดวยตนเองทีช่ วยในการพัฒนาศักยภาพ
บคุ ลากรของหนว ยงานภายในกรมควบคุมโรค ซงึ่ บทเรยี นดังกลาวผูเรียนสามารถศึกษาผานระบบ DDC ACADEMY
โดยการลงทะเบียนเขาใชงานสามารถใชชื่อผูใชงานและรหัสผานเดียวกับที่เขาใชงานระบบอินเตอรเน็ตของ
กรมควบคุมโรค โดยมีองคประกอบของเนื้อหาในประเด็นที่สำคัญ อาทิ แนวคิดพื้นฐาน PMQA 4.0 ลักษณะสำคัญ
ขององคการ หมวด 1 การนำองคกร หมวด 2 การวางแผนเชงิ ยทุ ธศาสตร หมวด 3 การมุงเนนผูรับบรกิ ารและ
ผมู สี วนไดส ว นเสีย หมวด 4 การวดั การวิเคราะห และการจัดการความรู หมวด 5 การมงุ เนนบุคลากร หมวด 6
การมุงเนนระบบปฏิบัติการ และหมวด 7 ผลลพั ธการดำเนนิ การ ซ่ึงมกี ารกำหนดตัวชว้ี ัดผลลพั ธในแตล ะขอ เปนตน
ความพึงพอใจของบุคลากรภายในกรมควบคุมโรคที่เขาเรียนหลักสูตรการพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จดั การภาครัฐ PMQA 4.0 ดว ยระบบ DDC Academy ในภาพรวม คดิ เปนรอ ยละ 95.8 อยใู นระดบั ดีมาก
ขอคน พบ
บุคลากรของกรมควบคุมโรคยังขาดความเขาใจในความหมาย และองคประกอบของการ
วิเคราะหลักษณะสำคัญขององคการ อีกทั้งยังขาดความเขาใจเกี่ยวกับการกำหนดวิสัยทัศน แผนยุทธศาสตร
และการนำองคกรท่ีสรางความย่ังยนื
5) การพัฒนาเคร่ืองมือการบรหิ ารจัดการภาครฐั PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0)
ความเปนมา
กรมควบคุมโรค มีนโยบายใหองคการเปดกวางและเชื่อมโยงถึงกัน มีการบูรณาการศูนยขอมูล
และสามารถแลกเปลี่ยนขอมูล ประสานและบูรณาการความรวมมือระหวางหนว ยงานและเครอื ขายทั้งภายใน
และภายนอกประเทศ ซึ่งกลุมพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค มีภารกิจที่สอดคลองกับนโยบายดังกลาว
ของกรมควบคุมโรคในการดำเนนิ งาน สนับสนนุ และติดตามผลการปฏบิ ัติราชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการ
ทั้งในระดับกรมควบคุมโรค และระดับหนวยงาน โดยใชเครื่องมือ PMQA 4.0 ที่มุงเนนการทำงานที่เปดกวาง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 52 | 55

และเชื่อมโยงกัน โดยยดึ ประชาชนเปนศูนยกลาง และเปนองคการท่ีมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย โดยในการประเมินองคกร
กรมควบคุมโรค ตามกรอบและเกณฑก ารประเมินสถานการณเ ปนระบบราชการ 4.0 เพอ่ื ใหหนวยงานไดว ิเคราะห
ถงึ ชองวา งและโอกาสในการพัฒนา โดยเปนการประเมินระบบบรหิ ารจัดการของหนว ยงานภาครัฐในเชิงบรู ณาการ
ถึงแมวาในป พ.ศ. 2563 ที่ผานมากรมควบคุมโรคไดรับรางวัลเลิศรัฐ สาขาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ระดับ Significance แตก รมควบคุมโรคยังตองสรางกลไกการขับเคล่ือนพัฒนาทุกหนวยงานเขาสูระบบราชการ 4.0
เพ่อื ใหกรมควบคุมโรคสามารถมีความพรอมเขาสูระบบราชการ 4.0 จงึ เห็นควรที่จะนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพัฒนา
ระบบราชการ และเชอ่ื มโยงเครอื ขา ยพัฒนาองคกร ดงั นนั้ กลุม พฒั นาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค จึงมีความจำเปนตอง
มกี ารจัดทำเคร่อื งมือการบรหิ ารจัดการภาครฐั PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0) ซึง่ เปนระบบการบรหิ ารจัดการ
ผาน Web Application เพอื่ บริหารติดตามงานดังกลาวในทุกหนวยงานของกรมควบคุมโรค ใหม ีความสะดวก
รวดเร็ว และโปรง ใส พรอ มสนับสนนุ การดำเนนิ งานของเครือขา ยพัฒนาองคกรใหมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ

ผลการดำเนินงาน
การพัฒนาเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0) มีวัตถุประสงค
เพื่อติดตามความพรอมของทุกหนวยงานใหเขาสูระบบราชการ 4.0 ไดอยางสะดวก รวดเร็ว และโปรงใส นั้น
พบวาความพึงพอใจในภาพรวมและการนำไปใชประโยชนของเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0
(โปรแกรม DDC-PMQA 4.0) อยูในระดับดี คิดเปนรอยละ 81.20 โดยหนวยงานสามารถทบทวนลักษณะ
สำคัญขององคกร และประเมนิ องคกรดว ยเครื่องมอื การบรหิ ารจดั การภาครฐั PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0)
ในทกุ หมวดถึงระดบั Significance ภายใตแ นวคิดการปฏิรูป Retreat Rethink Redesign ซึ่งเขา ใจงายมีความ
เปนปจจุบัน ทันสมัย เนื้อหาภายในเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0)
สอดคลองตามหลักการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั (PMQA 4.0) มีสาระประโยชน ครบถวนตาม
ความตองการสำหรบั การใชงาน
สวนดานการนำไปใชประโยชน ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของเครื่องมือการบริหารจัดการ
ภาครัฐ PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0) พบวาโปรแกรมสามารถใชเปนแนวทางการกำหนดขอเสนอ
เชิงนโยบายได มีความโปรงใสของขอมูลภายในโปรแกรมที่หนวยงานสามารถตรวจสอบผลการประเมินได
สามารถขยายขอบเขตทัง้ เชิงพ้นื ท่ี เชิงพาณชิ ย หรอื การใชประโยชนในวงกวา งมากข้ึน มีการใชเทคโนโลยีหรือ
ความรูใหมเขามาพัฒนาทั้งตนแบบและผลงานนวัตกรรมที่ชวยใหนวัตกรรมมีประสิทธิภาพ สามารถบอกตอ
หรือแนะนำใหผูอื่นไดใชบริการโปรแกรม มีกระบวนการพัฒนานวัตกรรมสงเสริมหรือกระตุนใหผูพัฒนา/
ผูเกี่ยวของ ตองศึกษา คนควาและแสวงหาความรู จนทำใหเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0
(โปรแกรม DDC-PMQA 4.0) เปน “นวตั กรรมใหม” มีประโยชนต อการนำไปใชไดจ ริง ทง้ั ตอบุคคลสังคม เศรษฐกิจ
ชมุ ชน และผมู ีสวนไดส ว นเสยี นอกจากนี้เครื่องมอื การบริหารจดั การภาครัฐ PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0)
ไดรบั การประเมนิ ผลงานนวัตกรรม กรมควบคุมโรค ป 2564 จากกองนวัตกรรมและวิจัย กรมควบคมุ โรค

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 53 | 55

ภาพที่ 3-8 เครือ่ งมอื การบริหารจดั การภาครฐั PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0)

ปจ จัยความสำเร็จ
1) ผูบรหิ ารใหความสำคญั และสนบั สนนุ ในการบริหารจดั การหนว ยงาน

2) บคุ ลากรมีความรู และความเชี่ยวชาญ

3) งบประมาณสนับสนุนการถอดบทเรียนความสำเร็จของกรมควบคุมโรค (Road to Success DDC 4.0)

และการพฒั นาเครอ่ื งมอื การบรหิ ารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0)

ขอ คนพบ
1) ระบบโปรแกรม PMQA 4.0 ไมเ สถยี ร ไมสามารถใชง านไดอ ยา งตอเนือ่ งมตี ิดขัดในบางคร้งั
2) หนวยงานภายในกรมควบคุมโรคมีการปรับเปลี่ยนผูรับผิดชอบในกลุมพัฒนาองคกรบอยคร้ัง
ทำใหข าดความตอเน่ืองในการใชงานเครื่องมือการบริหารจดั การภาครัฐ PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0)
ขอ เสนอแนะในการพัฒนาและปรับปรุง
1) พัฒนาระบบการสำรองขอมูลของเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0 (โปรแกรม
DDC-PMQA 4.0) กรณเี กิดปญหาใหสามารถปองกนั ขอมูลไมใหเสียหายได
2) พัฒนาหัวขอหรือเมนูคูมือแนะนำ/อธิบาย/ขั้นตอน/การใชงานแบบเขาใจงาย ใหผูที่เปนมือใหม
หรือผูที่เพิ่งเขามาใชงาน/ใชบริการ สามารถรูและเขาใจไดงายกอนการเขาใชงานฯ เพื่อเปนการเพิ่มคุณภาพ
ขอ มูลที่ตอ งการไดต รงวตั ถปุ ระสงคและเพ่ิมประสทิ ธิภาพของผใู ชง าน ใชบริการใหดีย่งิ ข้นึ
3) จัดประชุมราชการชี้แจงการใชงานโปรแกรมสำหรับบุคลากรที่เพิ่งบรรจุใหม หรือบุคลากรท่ี
เพิ่งเขามารับชวงตอดานการบริหารงานพัฒนาองคกร เพื่อสรางความเขาใจที่ตรงกัน นำไปสูการดำเนินงาน
อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพตอไป

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 54 | 55

บทสรุป

การวิเคราะหผลสัมฤทธเ์ิ ชิงคณุ ภาพ (Output และ Outcome)
การดำเนินงานตามแผนงาน โครงการของกลุมพัฒนาระบบบริหารทุกโครงการ สามารถดำเนินการ
ไดแลวเสร็จ บรรลุวัตถุประสงคของโครงการตามแผนปฏิบัติราชการที่ตั้งไวทั้งป โดยในสวนที่เปนการ
ดำเนินงานในภาพของกรม และถือเปน ภารกจิ หลกั ของกลุมพฒั นาระบบบรหิ าร ไดแก
การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองคกร กรมควบคุมโรค ดำเนินการขับเคลื่อนและผลักดัน
ทั้งในรูปแบบของคณะทำงาน เครือขายพัฒนาองคกร หนวยงานผูรับบริการ และการติดตอประสานงานกับ
หนว ยงานภายในกรม ทงั้ นี้ เพ่ือยกระดบั การบริหารจดั การกรมควบคุมโรค ใหไ ดม าตรฐานสากล และในสวนที่
เปน การดำเนินงานภายในของหนวยงาน กอ็ าศัยความรว มมือ รว มแรง รว มใจ การรว มระดมสมอง การทำงานเปน ทีม
และการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน เพื่อผลักดันการดำเนินงานภายในอยางตอเนื่องและเขมแข็ง โดย
คาดหวังวาจะสงผลใหการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองคกรของกรมควบคุมโรค เกิด
ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลอยา งตอเนอื่ ง ย่ังยนื ตอ ไป
โดยในสวนของงบประมาณท่ีไดรับในแตละป เมอ่ื เทยี บกับความจำเปน และปริมาณงานที่กลุมพัฒนาระบบบริหาร
ตองดำเนินงานทั้งป ยังไมเพียงพอ จึงตองมีการขอรับการจัดสรรงบประมาณจากสวนกลางกรมเพิ่มเติมเปน
ระยะ เพอ่ื ขับเคล่อื นงานใหสำเร็จตามเปาหมายที่ไดกำหนดไว และไดผ ลลพั ธท่ีมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผล
อยา งไรก็ตาม การดำเนินงานภายในหนวยงาน จะเนน หนกั ในรปู แบบของการบูรณาการ ในกิจกรรม
ทมี่ ีกลมุ เปา หมายเดยี วกนั และระยะเวลาใกลเ คยี งกัน และการสือ่ สารผานชอ งทางตาง ๆ เพอ่ื ใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ

*************************************

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 55 | 55


Click to View FlipBook Version