The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นโยบายและจุดเน้น กศน.ประจำปีงบประมาณ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

นโยบายและจุดเน้น กศน.ประจำปีงบประมาณ 2563

นโยบายและจุดเน้น กศน.ประจำปีงบประมาณ 2563

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน.
ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

สาํ นักงาน กศน.
สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

กระทรวงศึกษาธกิ าร

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

คํานํา

สํานักงาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดทําเอกสาร นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน
สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้นตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือเป็นกรอบทิศทางและเคร่ืองมือในการดําเนินงาน ตาม
บทบาทหนา้ ท่ีในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ใน
อันที่จะเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษา นอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๔๐) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ นโยบาย แนวทางหลักในการ
ดาํ เนินงาน และโครงการสําคญั ของกระทรวงศึกษาธิการ

นโยบายและจุดเน้นฉบับนี้ ได้กําหนดการดําเนินงานภายใต้วิสัยทัศน์คือ “คนไทยได้รับโอกาส
การศึกษาและการเรียนร้ตู ลอดชีวิตอย่างมีคณุ ภาพ สามารถดํารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จําเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑” โดยประกอบด้วย ส่วนที่ ๑ คือ
นโยบายเร่งด่วนเพ่ือร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ได้แก่ ๑) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ๒)
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ๓) ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ ๔) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม ๕) ยุทธศาสตร์ด้านการ
สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๖) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบรหิ ารจัดการภาครัฐ และสว่ นท่ี ๒ ภารกิจตอ่ เนอ่ื ง ไดแ้ ก่ ๑) ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ ๒) ด้าน
หลักสูตร ส่ือ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล งานบริการทางวิชาการ และการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ๓) ดา้ นเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๔.) ดา้ นโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรือ
โครงการอนั เกย่ี วเนื่องจากราชวงศ์ ๕) ดา้ นการศกึ ษา ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ้นื ท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ
พ้ืนท่บี รเิ วณชายแดน 5) ด้านบุคลากร ระบบ การบริหารจัดการ และการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น

สํานกั งาน กศน. หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ หน่วยงาน/สถานศึกษา สังกัดสาํ นักงาน กศน. จะนํา นโยบายและ
จุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นกรอบแนวทาง การขับเคลื่อน
กศน. อย่างเปน็ รูปธรรม เพอ่ื บรรลวุ ิสัยทัศนท์ ่กี ําหนดไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ตอ่ ไป

นายดศิ กุล เกษมสวัสดิ์
เลขาธกิ าร กศน.

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

สารบญั หน้า

คาํ นํา ก
สารบัญ ข
ผังมโนทศั นน์ โยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ค
นโยบายและจดุ เน้นการดาํ เนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑
วสิ ัยทศั น์ 1
พนั ธกิจ 1
เป้าประสงค์ 1
ตัวชว้ี ัด 2
นโยบายเรง่ ดว่ นเพ่ือรว่ มขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 4
๑. ยุทธศาสตร์ดา้ นความมน่ั คง 4
๒. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 4
๓. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 4
๔. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 6
๕. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม 6
๖. ยุทธศาสตร์ด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 6
ภารกจิ ต่อเนอื่ ง 7
๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ 7
๒. ดา้ นหลักสตู ร ส่ือ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทาง
วชิ าการ และการประกันคณุ ภาพการศึกษา 9
๓. ด้านเทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษา 10
๔. ด้านโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรอื โครงการอนั เก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ์ 10
๕. ด้านการศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พ้ืนทีเ่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ และพ้ืนท่ีบริเวณชายแดน 11
๖. ดา้ นบคุ ลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน 11

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนินงาน สาํ นกั งาน กศน.

ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

วิสัยทศั น์
คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตที่เหมาะสม

กบั ช่วงวัย สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมที ักษะท่ีจําเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑

พันธกิจ
๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอื่ ยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรขู้ องประชาชนทกุ กลุ่มเป้าหมาย
ให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
ตลอดชีวติ อยา่ งยั่งยนื

๒. ส่งเสริม สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรกุ กบั ภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามสี ่วนร่วม
ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบ
ตา่ งๆ ให้กับประชาชน

๓. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาประสิทธิภาพใน
การจัดและให้บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนอยา่ งท่ัวถงึ

๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวตั กรรม การวดั และประเมินผลในทุก
รูปแบบใหม้ คี ุณภาพและมาตรฐาน สอดคลอ้ งกบั บริบทในปัจจบุ ัน

๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจัดการองคก์ รให้มีประสทิ ธิภาพ เพือ่ มุ่งจดั การศึกษา และ
การเรยี นรู้ท่ีมีคณุ ภาพ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล

เป้าประสงค์
๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาส ทาง

การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตาม
อัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องกา รของแต่ละ
กลุม่ เปา้ หมาย

๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็น
พลเมอื ง ที่สอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อนั นําไปส่กู ารยกระดับคุณภาพชีวติ และเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้ ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความม่ันคงและย่ังยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ประวตั ิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม

๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
สามารถ คิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง
สร้างสรรค์

๔. ประชาชนไดร้ ับการสร้างและสง่ เสรมิ ใหม้ นี ิสยั รกั การอา่ นเพ่ือพัฒนาการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา นอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้ังการขบั เคลอื่ นกิจกรรมการเรียนร้ขู องชมุ ชน

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๖. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้
ในการยกระดับคุณภาพในการจดั การเรยี นรู้และเพิ่มโอกาสการเรยี นรใู้ ห้กับประชาชน

๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และการจดั กระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปญั หาและ
พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม
ประวตั ศิ าสตร์ และส่ิงแวดล้อม รวมทง้ั ตามความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบทีห่ ลากหลาย

๘. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไป
ตามหลกั ธรรมาภบิ าล

๙. บคุ ลากร กศน.ทกุ ประเภททุกระดับไดร้ ับการพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตวั ช้ีวัด
ตวั ชีว้ ัดเชงิ ปริมาณ

๑. จํานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายตาม
สิทธิ ที่กําหนดไว้

๒. จํานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ได้รับบริการกิจกรรม
การศึกษา ต่อเน่อื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยทสี่ อดคล้องกบั สภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ

๓. รอ้ ยละของกาํ ลงั แรงงานทส่ี าํ เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นข้ึนไป
๔. จํานวนภาคีเครือข่ายท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย :
สถาน ประกอบการ องค์กร หน่วยงานท่มี ารว่ มจัด/พฒั นา สง่ เสรมิ การศึกษา)
๕. จาํ นวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพื้นที่สงู และชาวไทยมอแกน ในพื้นท่ี ๕ จังหวดั ๑๑ อําเภอ
ได้รบั บริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนสงั กัดสาํ นักงาน กศน.
๖. จํานวนผู้รับบริการในพื้นท่ีเป้าหมายได้รับการส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะชีวิต
๗. จํานวนนักเรียน/นกั ศกึ ษาทไี่ ด้รบั บรกิ ารติวเขม้ เต็มความรู้
๘. จํานวนประชาชนท่ไี ดร้ บั การฝกึ อาชีพระยะสนั้ สามารถสร้างหรอื พัฒนาอาชพี เพอื่ สร้างรายได้
9. จํานวน ครู กศน. ตําบล จากพ้ืนท่ี กศน.ภาค ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียน การ
สอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร
๑๐. จํานวนประชาชนทไี่ ด้รบั การฝกึ อบรมภาษาต่างประเทศเพือ่ การส่ือสารดา้ นอาชพี
๑๑. จํานวนผูผ้ ่านการอบรมหลกั สตู รการดแู ลผู้สูงอายุ
๑๒. จํานวนประชาชนที่ผา่ นการอบรมจากศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชมุ ชน
๑๓. จํานวนศูนย์การเรียนชมุ ชน กศน. บนพืน้ ที่สูง ในพนื้ ที่ ๕ จงั หวดั ทสี่ ่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะ การ
ฟงั พดู ภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร ร่วมกนั ในสถานศกึ ษาสังกดั สพฐ. ตชด. และกศน
๑๔. จํานวนหลักสูตรหรือสื่อออนไลน์ที่ให้บริการกับประชาชน ท้ังการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน การศกึ ษาตอ่ เน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั

ตวั ชี้วัดเชิงคณุ ภาพ
๑. ร้อยละของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุก

รายวิชาทุกระดับ
๒. ร้อยละของผู้เรียนทไี่ ดร้ ับการสนับสนุนการจดั การศึกษาขั้นพื้นฐานเทียบกบั ค่าเปา้ หมาย
๓. ร้อยละของประชาชนกลมุ่ เป้าหมายทล่ี งทะเบียนเรียนในทุกหลกั สูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ ง

เทียบกับเปา้ หมาย

นโยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๔. ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะส้ันสามารถนําความรู้ไปใช้ในการ
ประกอบอาชีพหรือพัฒนางานได้

๕. ร้อยละของผู้เรียในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะ ด้าน
อาชพี สามารถมีงานทาํ หรอื นําไปประกอบอาชีพได้

6. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมท่ีสามารถนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมาย ของ
หลกั สูตร/กิจกรรม การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง

๗. ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

8. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายที่ได้รับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความรู้ความเขา้ ใจ/เจตคติ/
ทักษะ ตามจุดมงุ่ หมายของกิจกรรมทีก่ ําหนด ของการศึกษาตามอัธยาศัย

9. ร้อยละของผ้สู งู อายทุ ่เี ปน็ กลุ่มเปา้ หมาย มโี อกาสมาเขา้ รว่ มกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชวี ติ

นโยบายเร่งด่วนเพอ่ื ร่วมขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
๑.ยุทธศาสตรด์ ้านความม่นั คง

๑.๑ พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมท้ังน้อมนําและเผยแพร่
ศาสตร์ พระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดําริตา่ ง ๆ

๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมอื งดี ยอมรบั และเคารพ
ความหลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์

๑.๓ สง่ เสริมและสนับสนนุ การจัดการศึกษาเพื่อปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่
ท้ังยาเสพตดิ การคา้ มนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบัตใิ หม่ ฯลฯ

๑.๔ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา ในเขตพัฒนา
พิเศษ เฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และพ้นื ท่ีชายแดนอ่ืน ๆ

๑.๕ สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมของประเทศเพ่ือนบ้าน กลุ่มชาติ
พันธ์ุ และชาวต่างชาติทีม่ คี วามหลากหลาย
๒. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน

๒.๑ ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ
อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะในพื้นท่ีเขตระเบียง
เศรษฐกิจ และเขตพฒั นาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สาํ หรับพ้ืนทป่ี กติให้พัฒนาอาชีพท่ีเน้น การต่อ
ยอดศักยภาพและตามบริบทของพน้ื ท่ี

๒.๒ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบการศึกษา
อย่างน้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนําคุณวุฒิท่ีได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รองรับการพัฒนา
เขตพนื้ ท่รี ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC)

๒.๓ พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพื่อต่อยอดการผลิตและจําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.
ออนไลน์ พร้อมทัง้ ประสานความร่วมมอื กบั ภาคเอกชนในการเพิ่มชอ่ งทางการจําหนา่ ยสินคา้ และผลติ ภัณฑ์
ใหก้ ว้างขวางยิ่งขึน้

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
๓.๑ สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เชื่อมโยง

ความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการ
เปลีย่ นแปลง ของสังคม และเปน็ “ผ้อู ํานวยการการเรียนรู้” ท่สี ามารถบรหิ ารจดั การความรู้ กิจกรรม และการ
เรียนร้ทู ีด่ ี

๑) เพ่มิ อตั ราข้าราชการครูใหก้ บั สถานศึกษาทกุ ประเภท
๒) พัฒนาขา้ ราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สตู รทเ่ี ชื่อมโยงกบั วทิ ยฐานะ
๓) พัฒนาครใู ห้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเนน้ เร่อื งการพฒั นาทกั ษะการจัด
การเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้
๔) พัฒนาศึกษานิเทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบตั กิ ารนเิ ทศได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
๕) พัฒนาบคุ ลากรทุกระดบั ทุกประเภทให้มีความรแู้ ละทักษะเร่ืองการใชป้ ระโยชน์จากดิจิทลั และ
ภาษาตา่ งประเทศท่จี ําเปน็ รวมทั้งความรู้เกย่ี วกบั อาชพี ทีร่ องรบั อตุ สาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S-
Curve และ New S-Curve)
๓.๒ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสม กับ
บริบทของพนื้ ที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผูร้ ับบรกิ าร
๓.๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ที ันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการเรียนรู้สําหรับทุกคน สามารถ
เรียนไดท้ กุ ทที่ ุกเวลา มกี จิ กรรมทีห่ ลากลาย นา่ สนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชมุ ชน
๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสรมิ ความร่วมมือภาคีเครือข่าย ท้งั ภาครัฐ
เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน
เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความรว่ มมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ
ประชาชนอย่างมคี ุณภาพ
๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จัด
การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และ
การศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้ังสง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏบิ ัติงาน การบรหิ ารจัดการ การจดั การเรียนรู้
และใช้การวิจยั อย่างง่ายเพอ่ื สร้างนวตั กรรมใหม่
๓.๖ พัฒนาศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนท่ัวไป ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ และ
ทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Literacy)
๓.๗ ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจําการ รวมท้ังกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่น ๆ
อาทิ ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้จบการศึกษานอก
ระบบ ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
๓.8 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้นทักษะ
ภาษาเพอ่ื อาชพี ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการทอ่ งเท่ียว
๓.9 เตรยี มความพร้อมของประชาชนในการเขา้ สู่สงั คมผู้สงู อายุทีเ่ หมาะสมและมคี ุณภาพ
๓.๑๐ จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุกให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่าย
ทั้งวทิ ยาศาสตรใ์ นวถิ ีชีวิต และวทิ ยาศาสตรใ์ นชีวติ ประจําวนั รวมทั้งความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวตั กรรม
๓.๑๑ สง่ เสรมิ การรู้ภาษาไทยใหก้ ับประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพนื้ ท่สี งู ให้
สามารถฟัง พูด อา่ น และเขยี นภาษาไทย เพ่อื ประโยชน์ในการใชช้ ีวติ ประจาํ วันได้

นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๔. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม ในการ

ใหบ้ ริการกจิ กรรมการศึกษาและการเรยี นรู้
๑) เร่งยกระดบั กศน.ตาํ บลนํารอ่ ง ๔๒๘ แห่ง (อําเภอละ ๑ แหง่ ) ให้เป็น กศน.ตําบล ๕ ดี พรีเมียม

ที่ประกอบด้วย ครูดี สถานที่ดี (ตามบริบทของพ้ืนท่ี) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีดีมี
ประโยชน์

๒) จดั ให้มีศนู ย์การเรียนรู้ตน้ แบบ กศน. เพ่ือยกระดบั การเรยี นรู้ เปน็ พ้นื ท่กี ารเรยี นรู้ (Co - Learning
Space) ทีท่ ันสมยั สาํ หรบั ทุกคน มีความพร้อมในการใหบ้ ริการตา่ ง ๆ

๓) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ให้เปน็ Digital Library
๔.๒ จดั ตง้ั ศูนย์การเรียนร้สู าํ หรบั ทุกชว่ งวยั ทีม่ ีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการ ใน
การเรียนรใู้ นแตล่ ะวัย เพื่อใหม้ ีพฒั นาการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสม และมคี วามสขุ กบั การเรียนรู้ตามความสนใจ
๔.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้สําหรับกลุ่มเป้าหมายผู้พิการ โดยเน้น
รูปแบบการศกึ ษาออนไลน์

๕. ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตที่เป็นมติ รต่อส่งิ แวดล้อม
๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัย

ธรรมชาตแิ ละผลกระทบทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ
๕.๒ สร้างความตระหนักถึงความสําคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน

เกยี่ วกับการคดั แยกต้ังแต่ต้นทาง การกําจดั ขยะ และการนาํ กลับมาใชํ้ซ้า
๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้

ทรพั ยากรทีส่ ่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม เช่น รณรงคเ์ ร่อื งการลดการใชถ้ ุงพลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เป็นต้น

6. ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
๖.๑ พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ

ประพฤติมิชอบ บรหิ ารจัดการบนข้อมลู และหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์มีความโปรง่ ใส
๖.๒ นาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยีระบบการทํางานทีเ่ ปน็ ดิจทิ ัลมาใช้ในการบรหิ ารและพัฒนางาน
๖.๓ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่ง

ให้ตรงกบั สายงาน ความชาํ นาญ และความตอ้ งการของบุคลากร

ภารกิจตอ่ เน่ือง
๑. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
๑.๑ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
๑) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยดําเนินการให้

ผ้เู รยี นไดร้ บั การสนับสนนุ คา่ จดั ซอ้ื หนังสือเรียน ค่าจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน และคา่ จัดการเรียน
การสอนอย่างท่ัวถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไม่เสีย
ค่าใชจ้ ่าย

๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด
โอกาสทางการศกึ ษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบช้ันเรียน และการจดั
การศึกษาทางไกล

นโยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๓) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน ท้ังด้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล
การเรยี น และระบบการให้บรกิ ารนักศึกษาในรปู แบบอนื่ ๆ

๔) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมี
ความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกําหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ
กลุม่ เป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

๕) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลกั สูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการป้องกันและ
แก้ไข ปัญหายาเสพตดิ การแข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครอง
ในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด
กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนํากิจกรรมการบําเพ็ญประโยชน์
อนื่ ๆ นอกหลกั สตู ร มาใช้ เพิ่มชัว่ โมงกิจกรรมใหผ้ เู้ รยี นจบตามหลักสตู รได้

๑.๒ การสง่ เสริมการรู้หนงั สือ
๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน
ท้ังสว่ นกลางและส่วนภูมิภาค
๒) พัฒนาหลักสูตร ส่ือ แบบเรียน เคร่ืองมือวัดผลและเครื่องมือการดําเนินงานการส่งเสริม การรู้
หนังสอื ท่สี อดคล้องกบั สภาพแต่ละกลุม่ เปา้ หมาย
๓) พฒั นาครู กศน. และภาคีเครือขา่ ยทรี่ ว่ มจดั การศึกษา ให้มคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะ
การจัด กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้
หนงั สือในพนื้ ท่ี ทม่ี ีความต้องการจาํ เปน็ เป็นพเิ ศษ
๔) สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการร้หู นงั สือ การคงสภาพการรูห้ นงั สือ
การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด
ชวี ิต ของประชาชน
๑.๓ การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง
๑) จดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาํ อย่างย่ังยนื โดยให้ความสําคญั กบั การจดั การศกึ ษาอาชีพ
เพื่อการมีงานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ
การบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพ
ของแต่ละพื้นที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการ
พัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมทั้งให้มี
การกาํ กบั ตดิ ตาม และรายงาน ผลการจดั การศึกษาอาชพี เพอื่ การมีงานทาํ อยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง
๒) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุท่ี
สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดํารงชีวิต
ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพง่ึ พาตนเองได้ มคี วามรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวติ ของตนเองให้
อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม สาํ หรบั การปรับตัวใหท้ ันต่อการเปล่ยี นแปลงของข่าวสารขอ้ มูลและเทคโนโลยี
สมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรม ท่ีมีเนื้อหาสําคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด
เพศศกึ ษา คณุ ธรรมและค่านยิ ม ทพ่ี งึ ประสงค์ ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ ิน ผา่ นการศกึ ษารปู แบบ
ตา่ ง ๆ อาทิ ค่ายพฒั นาทักษะชวี ิต การจดั ต้ังชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๓) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ
บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิต
อาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละ
พื้นท่ี เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกตา่ งและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทง้ั สังคม
พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิต
สาธารณะ การสร้างจิตสํานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็ น
พลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการํน้า การรับมือกับ
สาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนา
สงั คมและชุมชน อย่างยัง่ ยนื

๔) การจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งผ่านกระบวนการเรียนรตู้ ลอดชีวิต ใน
รูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบริหาร
จดั การ ความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดลุ และย่งั ยนื

๑.๔ การศกึ ษาตามอัธยาศัย
๑) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ
การเรียนรใู้ หเ้ กดิ ข้ึนในสังคมไทย ให้เกดิ ข้ึนอยา่ งกว้างขวางและท่ัวถงึ เชน่ พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนทกุ แห่งให้
มี การบริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน
จัดหน่วย บรกิ ารเคล่อื นท่ีพร้อมอุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ทีห่ ลากหลายให้บรกิ าร
กับประชาชน ในพ้ืนท่ีต่างๆ อย่างทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ์
เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจดั กิจกรรมเพ่อื สง่ เสรมิ การอ่านอยา่ งหลากหลาย
๒) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต
ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงศิลปะวิทยาการประจํา
ท้องถิ่น โดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการ สื่อและกิจกรรมการศึกษาท่ีเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง
บันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ท่ีบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน
และประเทศ รวมท้ังระดับภูมิภาคและ ระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนําความรู้และทักษะ
ไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวติ การพัฒนา อาชพี การรักษาส่ิงแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัว รองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเป็นไปอย่าง
รวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Change) ได้อยา่ ง มปี ระสทิ ธภิ าพ
๑.๕ ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ เพื่อส่งเสริม
การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น
พพิ ิธภณั ฑ์ ศูนย์เรียนรู้ แหลง่ โบราณคดี หอ้ งสมดุ เปน็ ตน้
๒. ด้านหลักสตู ร สอ่ื รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล งานบริการ
ทางวชิ าการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา
๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพ่ือส่งเสริม
การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมทัง้ หลกั สตู รท้องถิน่ ท่ีสอดคลอ้ งกับ
สภาพบริบท ของพื้นท่ี และความต้องการของกล่มุ เปา้ หมายและชมุ ชน

นโยบายและจดุ เน้นการดาํ เนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๒.๒ ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออ่ืนๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กลุ่มเปา้ หมายทั่วไปและกลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ

๒.๓ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม
การสอบออนไลน์

๒.๔ พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
เพ่ือให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รวมทง้ั มกี ารประชาสมั พนั ธ์ให้สาธารณชนไดร้ ับร้แู ละสามารถเขา้ ถึงระบบการประเมนิ ได้

๒.๕ พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ใน
ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานใหไ้ ด้มาตรฐาน โดยการนาํ แบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-
Exam) มาใช้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๒.๖ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพ่ือพัฒนาหลกั สูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การ
วัด และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษา ตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มีการนําไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ
บริบทอย่างตอ่ เนอ่ื ง

๒.๗ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรับการประเมิน
คุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกัน
คุณภาพและสามารถดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อ เน่ืองโดยใช้การประเมิน
ภายในด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพี่เล้ียงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรับสถานศึกษาท่ียัง
ไม่ได้เข้ารับการประเมิน คุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานท่ี
กําหนด

๒.8 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการด้าน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิชาการของ
หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่างๆ การจัดนิทรรศกา ร/
มหกรรมวิชาการ กศน.

๓. ดา้ นเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา
๓.๑ ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อให้เช่ือมโยงและตอบสนอง
ต่อ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือกระจายโอกาสทาง
การศึกษา สําหรับกลุ่มเปา้ หมายตา่ งๆ ให้มีทางเลอื กในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา
ตนเองให้รู้เท่าทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทํา
รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทั ศน์เพ่ือการศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทาง อนิ เทอร์เน็ต
๓.๒ พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่านระบบ
เทคโนโลยีดิจิทลั และช่องทางออนไลน์ตา่ งๆ เชน่ Youtube Facebook หรอื Application อื่นๆ เพอ่ื สง่ เสริม
ให้ ครู กศน. นําเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)
๓.๓ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพ่อื การศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการ
ออกอากาศให้กลมุ่ เปา้ หมายสามารถใช้เปน็ ชอ่ งทางการเรียนรทู้ ี่มคี ณุ ภาพไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย
เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนที่ท่ัวประเทศ และเพ่ิมช่องทาง ให้สามารถ

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

รับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band C Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ีจะ รองรับ
การพัฒนาเป็นสถานวี ิทยุโทรทัศนเ์ พ่ือการศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV)

๓.๔ พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง
อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอ่ืนๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet รวมท้ังส่ือ Offline ใน
รูปแบบต่างๆ เพ่ือให้ กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้
ตามความต้องการ

๓.๕ สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือนําผล
มาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต ของ
ประชาชนได้อย่างแทจ้ ริง

๔. ดา้ นโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอนั เก่ยี วเน่อื งจากราชวงศ์
๔.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อัน
เก่ยี วเนอื่ งจากราชวงศ์
๔.๒ จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเ น่ืองมาจาก
พระราชดําริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ เพ่ือนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ
การพฒั นางาน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
๔.๓ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
เพ่ือให้เกิดความเข้มแขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๔.๔ พัฒนาศนู ยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการศกึ ษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าทที่ ีก่ ําหนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
๔.๕ จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนที่สูง ถิ่น
ทรุ กนั ดาร และพื้นที่ชายขอบ
๕. ดา้ นการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พน้ื ที่เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และพืน้ ทบี่ ริเวณชายแดน
๕.๑ พฒั นาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และ
ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย รวมทัง้ อตั ลกั ษณ์และความเปน็ พหุวฒั นธรรมของพื้นท่ี
๒) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง เพื่อให้
ผู้เรยี นสามารถนําความรทู้ ่ีได้รบั ไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ
๓) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและนักศึกษา
กศน. ตลอดจนผมู้ าใชบ้ รกิ ารอยา่ งทวั่ ถึง
๕.๒ พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ
๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และ
บริบทของแตล่ ะจังหวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ
๒) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด ให้เกิด
การพฒั นาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพ้นื ที่
๕.๓ จัดการศึกษาเพือ่ ความม่นั คง ของศูนยฝ์ ึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.)
๑) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ
ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง สาํ หรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรยี นรู้ที่หลากหลาย

นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๒) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุก เพ่ือการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนําด้าน
อาชพี ทเ่ี น้นเรื่องเกษตรธรรมชาติทีส่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของชมุ ชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดน

6. ด้านบุคลากร ระบบการบรหิ ารจดั การ และการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ น
๖.๑ การพัฒนาบคุ ลากร
๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ท้ังก่อนและระหว่าง การ
ดํารงตําแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงาน ของ
หนว่ ยงานและสถานศึกษาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั ส่งเสริมใหข้ ้าราชการในสังกัดพฒั นาตนเอง เพ่อื เลอื่ น
ตาํ แหน่งหรือเลอ่ื นวิทยฐานะ โดยเนน้ การประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจักษ์
๒) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะท่ีจําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ
ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อัธยาศัยในสถานศึกษา
๓) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตําบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้นเพื่อการบริหารจัดการ กศน. ตําบล/แขวง
และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อํานวย
ความสะดวกในการเรยี นรูเ้ พอื่ ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรูท้ ่ีมปี ระสทิ ธิภาพอย่างแทจ้ รงิ
๔) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้
อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสรมิ ให้มีความร้คู วามสามารถในการจดั ทําแผนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การ
วัด และประเมนิ ผล และการวจิ ัยเบอ้ื งตน้
๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้
ความสามารถ และมีความเป็นมืออาชพี ในการจดั บรกิ ารส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน
๖) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มสี ่วนร่วมในการบริหาร
การดําเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อย่างมีประสทิ ธิภาพ
๗) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาํ หน้าที่สนับสนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ
ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางาน
ร่วมกันในรูปแบบท่ีหลากหลายอย่างต่อเน่ือง อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา
ประสทิ ธภิ าพ ในการทํางาน
๖.๒ การพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานและอัตรากําลัง
๑) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี
ความพร้อมในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้
๒) บริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏบิ ัติงาน
๓) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนํามาใช้ในการ
ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั และการส่งเสรมิ การเรียนรู้สาํ หรบั ประชาชน

นโยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๖.๓ การพัฒนาระบบบริหารจดั การ
๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทนั สมัย และเชื่อมโยงกันท่ัวประเทศ อยา่ งเป็น
ระบบเพอ่ื ให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กัดสามารถนาํ ไปใช้เป็นเครื่องมอื สําคัญในการบริหาร การวางแผน
การปฏิบตั ิงาน การตดิ ตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย อยา่ ง
มปี ระสทิ ธภิ าพ
๒) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเร่งรัด
การเบกิ จา่ ยงบประมาณให้เป็นตามเปา้ หมายที่กําหนดไว้
๓) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนกั ศึกษา กศน. ให้มีความครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยง
กนั ท่ัวประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจดั การศึกษาให้กับผูเ้ รียน
และการบริหารจดั การอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
๔) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพ่ือ
สามารถนํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และ
ชุมชนพร้อมทง้ั พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแขง่ ขันของหนว่ ยงานและสถานศึกษา
๕) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม
การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ
๖) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E - office) ในการบรหิ ารจัดการ เช่น ระบบการลา
ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เป็นตน้
๖.๔ การกาํ กบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล
๑) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัยใหเ้ ชอื่ มโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครอื ขา่ ยท้ังระบบ
๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตาม และ
รายงาน ผลการนํานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ให้สามารถตอบสนองการดําเนนิ งานตามนโยบายในแตล่ ะเร่ืองได้อย่าง
มีประสิทธภิ าพ
๓) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพ่ือการกํากับ
นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอย่างมีประสทิ ธิภาพ
๔) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี
ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี
ของสํานักงาน กศน. ใหด้ ําเนนิ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาทก่ี ําหนด
๕) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่
ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล
และการพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

นโยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version