The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินการโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ประจำปีงบประมาณ2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lpdc, 2020-10-27 23:03:55

รายงานผลการดำเนินการโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ประจำปีงบประมาณ2563

รายงานผลการดำเนินการโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ประจำปีงบประมาณ2563

โครงการสง เสริมความรกั ความสามัคคี ความเขา ใจในสิทธหิ นา ทีข่ องตนเอง
และผอู นื่ ภายใตพื้นฐานของประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ เปนประมุข

วนั ท่ี 21 กมุ ภาพนั ธ 2563 ดําเนินการประชุมวางแผนดําเนินกิจกรรมจัดประกวดคลิปวิดีโอ รูรักสามัคคี
ซ่ึงไดร วมกาํ หนดเกณฑการตดั สนิ ผลงานการประกวด การวางแผนแนวทางการรบั สมคั ร และกาํ หนดการพิจารณา
ผลงานจดั ประกวด

กิจกรรมจติ อาสาพัฒนาทอ งถิน่
ณ ศูนยพ ฒั นาเด็กเลก็ บานเยาะ (สนั ต2ิ )
ตําบลแมหวาด อําเภอธารโต จังหวัดยะลา
วันที่ 22 กมุ ภาพันธ 2563 ณ อาํ เภอธารโต จังหวัดนราธวิ าส

ศูนยสง เสริมและพัฒนาทอ งถิ่น 2563 47

โครงการสงเสรมิ ความรักความสามัคคี ความเขาใจในสิทธิหนา ทีข่ องตนเอง
และผอู ื่นภายใตพ นื้ ฐานของประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยเ ปนประมขุ
จติ อาสา เราทําความดดี ว ยหวั ใจ ณ อาํ เภอหนองจิก จังหวัดปต ตานี

กจิ กรรมอาสาพฒั นาลาํ นา้ํ ลําคลอง และกิจกรรมปลกู ตนไม ตนบานบุรี จํานวน 500 ตน
จัดขึน้ เพ่ือถวายเปนพระราชกุศล เน่อื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา

พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา เจาอยูห วั และเพ่อื เปนการนอมรําลกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ
แสดงความจงรักภกั ดี เทิดทูนสถาบนั หลกั ของชาติ

วันที่ 14 มีนาคม 2563 ณ อาํ เภอหนองจกิ จงั หวัดปตตานี

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาทอ งถ่นิ

ตาํ บล กาหลง อาํ เภอ ศรีสาคร จงั หวัด นราธวิ าส
ถวายเปนพระราชกศุ ลวนั เฉลิม พระชนมพรรษาในหลวงรชั กาลที่ 10

วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2563 ณ อําเภอศรสี าคร จังหวดั นราธิวาส
ศูนยส ง เสรมิ และพัฒนาทอ งถน่ิ 2563 48

07 ตามบริบทของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

เมอื งยะลา แวง

เบตง จงั หวัดปต ตานี
ตวั ชี้วดั และเปาหมาย จงั หวดั ยะลา
จงั หวัดนราธิวาส

ตรวจวเิ คราะหต วั อยา งพืช จาํ นวนฐานขอมลู ทาง จํานวนชมุ ชนตน แบบการดูแลสง เสรมิ
สมุนไพรที่มอี ยเู ขตพน้ื ท่ี ศลิ ปวฒั นธรรมและภูมิปญญา สุขภาพผสู ูงอายุทามกลางความ
ปาฮาลา-บาลา ทองถ่นิ ความหลากหลายทาง หลากหลายวัฒนธรรมและการ
ชวี ภาพ 1 ฐาน เสรมิ สรา งทรพั ยากรมนุษย 1 ชุมชน

ศนู ยสง เสรมิ และพัฒนาทอ งถิน่ 2563 49

ตามบรบิ ทของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา

โครงการตามบรบิ ทของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ปงบประมาณ 2563 มกี จิ กรรมยอ ย จํานวน 3 กิจกรรม

13

กิจกรรมวิเคราะห 2 กจิ กรรมพัฒนาและ
ตัวอยา งพืชสมนุ ไพรใน สง เสรมิ สุขภาพผสู ูงอายุ
พื้นท่ปี า ฮาลา-บาลา กจิ กรรมการจดั เตรยี ม
ความพรอมเพื่อขอขึ้น
ทะเบยี นพ้ืนท่ปี า ฮาลา-

บาลา สูมรดกโลก

กจิ กรรมที่ 1 การวิเคราะหต ัวอยา งพืชสมนุ ไพรในพนื้ ที่ปาฮาลา-บาลา

- การตรวจวิเคราะหการปนเปอนเชื้อจุลินทรียในตัวอยางวัตถุดิบสมุนไพร จํานวน 10 ชนิด เชื้อ
แบคทเี รียท้งั หมด จํานวนยสี ต และราทง้ั หมด ไมเกนิ เกณฑม าตรฐานประกาศ อย.

- การตรวจวเิ คราะหการปนเปอนโลหะหนักท่ีมีพิษในตัวอยางวัตถุดิบสมุนไพร พบวา เฉพาะโสมเจียวกู
หลานที่มปี รมิ าณแคดเมียมสูงกวาเกณฑมาตรฐานตามประกาศ อย. และไมพบการปนเปอนโลหะหนักที่มีพิษใน
ตัวอยา งผลติ ภณั ฑสมนุ ไพร (สมุนไพรดองเหลา ) เพื่อพัฒนาเปน ผลติ ภัณฑส มุนไพรเพ่อื สุขภาพตอไป

ศนู ยส ง เสรมิ และพฒั นาทอ งถิน่ 2563 50

ตามบริบทของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

กิจกรรมที่ 2 การจดั การเตรียมความพรอ มเพอื่ ขอขน้ึ ทะเบียนพื้นท่ีปา ฮาลา-บาลา สมู รดกโลก

- ประชุมหารือเตรียมความพรอมเพื่อขอข้ึนทะเบียนพื้นที่ปาฮาลา-บาลาสูมรดกโลกโดยไดเชิญคณาจารยใน
หลกั สตู รตางๆและหนว ย งานท่เี กยี่ วขอ งในพนื้ ท่ี
- การระดมความคิดเห็นของชุมชนตอการเตรียมความพรอมเสนอพ้ืนที่ปาฮาลาบาลาเปนมรดกโลก”
ณ อ.แวง จงั หวัดนราธวิ าส และ อ.เบตง จงั หวัดยะลา
- จดั สนทนากลมุ การยกระดับปาฮาลาบาลาเปน มรดกโลก
- การเก็บรวบรวมขอ มลู ฐานทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอมในพนื้ ที่ปาฮาลาบาลา
- แนวทางการขับเคลอื่ นใหผ ืนปา ฮาลา-บาลา สูม รดกอาเซยี นและมรดกโลกทางธรรมชาติ

ศูนยสงเสริมและพัฒนาทอ งถนิ่ 2563 51

ตามบริบทของมหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

กจิ กรรมท่ี 3 พัฒนาและสง เสรมิ สขุ ภาพผูส งู อายุ

- อบรมแบบตอเน่อื งแกผ ดู ูแลผสู ูงอายุ (CAREGIVER) และอาสาสมคั รสาธารณสุขประจําหมบู าน (อสม.)
ในทองถ่นิ
- จดั อบรมการปฐมพยาบาลและการชว ยฟน คนื ชีพ มี อสม.ผูเ ขาอบรมจํานวน 70 คน
- อบรมการสงเสริมสขุ ภาพดว ยทาบรหิ ารเพื่อปรับสมดุลรา งกายดวยทา มณเี วชมผี เู ขา รว มอบรมจาํ นวน175 คน
- อบรมผูดแู ลผูส งู อายุ (หลักสูตรดูแลผสู ูงอายุ 70 ชั่วโมง) จดั อบรมจาํ นวน 10 วัน แกอาสาสมัครสาธารณสุข

จาํ นวน 45 คน เปน การใหความรูลงพ้นื ทฝี่ กปฏบิ ัติในศนู ยสุขภาพชมุ ชน 3 แหง ในเขตเทศบาลเมอื งเบตง
เพื่อพัฒนาตน แบบผดู ูแลผูสงู อายุ

ศูนยสง เสริมและพฒั นาทองถิน่ 2563 52

โครงการพัฒนาทอ งถน่ิ ของนักศกึ ษา

1. โครงการ สรา งสุขชายแดนใต ผานนักอานพลงั บวกสูสายใยครอบครัว

วัตถปุ ระสงค
1. เพอื่ เปน การสงเสรมิ ใหเดก็ และเยาวชนในพืน้ ท่ี 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใตรักการอาน
2. เพื่อสงเสรมิ ใหพ อ แม ผูปกครองไดม เี วลาวางใหก ับลูกๆของตน สรางความสมั พันธ ระหวางครอบครวั

และจะทาํ ใหครอบครวั เห็นคุณคาของคําวา ”ครอบครวั ” ไดม ากยิ่งข้ึน

สถาบันพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาชายแดนใต นําโดย โดยมี ผูชวยศาสตราจารยนูรีดา
จะปะกียา หัวหนางานหนวยวิจัย พัฒนา ใหบริการส่ือและนวัตกรรมทางการศึกษา พรอมคณะทีมงานเขาจัด
กิจกรรมโครงการสรางสุขชายแดนใต รวมจัดกิจกรรม ไดแก 1. ชวนพอเลนแมสอนอานสรางลูกสูพลังบวกลง
พ้ืนที่จัดกิจกรรม 2. ปลอยพลังนักอานสูนองๆ ชายแดนใต 3. ปรับทุกขสรางสุขแกปญหา ณ โรงเรียนบาน
ตะโละหะลอ อําเภอรามัน จังหวัดยะลา โดยมีนักเรียนท่ีเขารวมกิจกรรม คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี
1 –3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6, และ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 - 3 ผานนักอานพลังบวกสูสายใย
ครอบครัว เพื่อเปนประโยชนใหกับ เด็กนักเรียนและบุคคลในพ้ืนท่ีตอไป เปนการบูรราการรวมกับการดําเนิน
โครงการยกระดบั คุณภาพการศึกษา

ศูนยสง เสริมและพัฒนาทองถิ่น 2563 53

โครงการพัฒนาทองถน่ิ ของนกั ศกึ ษา

2. โครงการพัฒนาชุมชนดวยศาสตรพ ระราชา

กิจกรรมที่ 1 กจิ กรรมตน กลา จิตอาสา
วันท่ี 11 มีนาคม 2563 อาจารย ดร.นิมารูนี หะยีวาเงาะ รองคณบดีวิชาการและพัฒนานักศึกษา

อาจารยเบญญาดา เหลาธนถาวร หวั หนา งานจดั การศึกษา และอาจารยวัลยลดา พรมเวียง และทีมงาน ลงพื้นท่ี
จัดกิจกรรมตนกลาจิตอาสา ปลูกผักสวนครัวในโรงเรียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเยาวชนในชุมชนตระหนักถึง
การนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในชีวิตประจําวัน ท้ังนี้ ยังเปนการทํางานรวมกับเครือขายภายนอก โดย
ไดรับเกียรติจากนายอําเภอศรีสาคร นายกริช นอยผา มาตอนรับและกลาวเปดกิจกรรม รวมถึงไดรับความ
อนุเคราะหเมลด็ พันธุพ ืชและคาํ ปรึกษาในการทาํ กิจกรรมจากนักวชิ าการเกษตรอาํ เภอศรีสาคร เขา รวมกิจกรรม

กจิ กรรมที่ 2 กิจกรรมมาสเตอรเชฟ
วนั ที่ 11 มีนาคม 2563 อาจารย ดร.นิมารนู ี หะยวี าเงาะ รองคณบดวี ชิ าการและพฒั นานักศกึ ษา อาจารย

เบญญาดา เหลาธนถาวร หัวหนางานจัดการศึกษา และอาจารยวัลยลดา พรมเวียง ลงพื้นท่ีจัดกิจกรรมมาสเตอร
เชฟ เยาวชนตามรอยพอสืบสานศาสตรพระราชา โดยมีวัตถุประสงคของกิจกรรม เพ่ือใหเยาวชนในชุมชนสามาร
ประยุกตการทําอาหารอยางงาย แตส ามารถสรางมูลคา เพม่ิ ได โดยนําผักสวน ครัวจากกิจกรรมปลูกผักสวนครัวใน
โรงเรียนมาประกอบอาหาร ตามแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหเยาวชนสามารถนําไปใชพัฒนาทองถิ่นใน
อนาคต ณ หมบู าน สาคอ ณ อาํ เภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส

กิจกรรมท่ี 3 กิจกรรมตะลุยสวนยาง
วันท่ี 11 มีนาคม 2563 อาจารย ดร.นิมารูนี หะยีวาเงาะ รอง

คณบดีวิชาการและพัฒนานักศึกษา อาจารยเบญญาดา เหลาธนถาวร
หัวหนางานจัดการศึกษา และอาจารยวัลยลดา พรมเวียง และทีมงาน ลง
พ้ืนท่ีจัดกิจกรรมตะลุยสวนยาง โดยมีวัตถุประสงคของกิจกรรม เพื่อ
สง เสริมใหเยาวชนในชุมชน มีสุขภาพท่ีแข็งแรง โดยตระหนักถึงทรัพยากร
หลกั ในทอ งถ่นิ ณ หมบู านสาคอ ณ อาํ เภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

ศูนยสงเสรมิ และพฒั นาทอ งถิน่ 2563 54

คณะดาํ เนนิ งาน

ท่ีปรกึ ษา อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา
ผชู้ ่วยศาสตรจารย์ ดร.สมบตั ิ โยธาทพิ ย์ รองอธิการบดีฝ่ ายนโยบายและแผน
อาจารย์ ดร.นิรนั ดิเ์ กียรติ ล่ิวคณุ ปู การ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา

คณะดําเนินงาน ผอู้ าํ นวยการศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
อาจารยช์ นิ วจั น์ งามวรรณากร นกั วชิ าการศกึ ษา
นางสาวเซียนทพิ ย์ รตั นทอง เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นางสาวฟารดิ า เอล็ ลาฮี เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นางสาวกรรณิการ์ รตั นทอง เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นางสาวพรพมิ ล ศรสี มอ่อน เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นางสาวอานีตา ดีเย๊าะ เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นางสาวซารนี า ปมู ลู กู ือจิ เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นางสาวกิศลนิ สนทิ นรากลุ เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นางสาวแวรอฮานี แวหะยี เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นายอบั ดลุ ฮาเล็ม สาเม๊าะ เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นายบฆู อรี แยนา เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นายรุสดี ลานง เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน
นายธวชั ชยั ปราณขาํ

ตดิ ตอ กองบรรณาธิการ

ศูนยสงเสรมิ และพัฒนาทอ งถิ่น อาคาร 4 ช้นั 1
073-299660
ศูนยส ง เสริมและพฒั นาทอ งถน่ิ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

w http://lpdc.yru.ac.th

ศนู ยส ง เสริมและพัฒนาทอ งถิน่ 2563 55

บนั ทกึ

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศูนยสง เสรมิ และพฒั นาทองถนิ่ 2563 56

สรปุ โครงการยทุ ธศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏเพอ่ื การพัฒนาทองถิ่น
ประจาํ ปง บประมาณ 2563

โครงการ ตัวชี้วดั ผลการดําเนนิ งาน

1.พฒั นาระบบฐานขอมูล การพัฒนาระบบขอมลู ตาํ บล 1 ฐาน ดําเนินการเลอื กพนื้ ท่ีเปาหมาย จงั หวดั ละ 1 ตาํ บล ไดแก
1.ต.ทา สาป อ.เมือง จ.ยะลา
ตําบลในจังหวดั 2.ต.แมลาน อ.แมล าน จ.ปต ตานี

3.ต.ซากอ อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส

2.พัฒนาผลิตภณั ฑชุมชน ผลิตภัณฑชุมชนในพนื้ ทไ่ี ดรับ ยกระดบั ผลิตภณั ฑ ทงั้ หมด 54 กลมุ 68 ผลติ ภัณฑ
การพฒั นาและยกระดบั จาํ นวน - จังหวัดยะลา จาํ นวน 18 กลุม 19 ผลติ ภัณฑ
ทอ งถนิ่ ผลติ ภัณฑ/ จังหวดั 15 ผลิตภัณฑ - จงั หวัดปต ตานี จํานวน 16 กลุม 29 ผลติ ภัณฑ

- จังหวัดนราธิวาส จํานวน 20 กลุม 20 ผลิตภัณฑ

3.พัฒนาคุณภาพชวี ิตและ - ครวั เรอื นยากจนที่เขา รวมโครงการ จงั หวดั ยะลา -ครัวเรือนเดิม ป62 จํานวน 102 ครวั เรือน
จงั หวัดละ 100 ครัวเรือน จาํ นวน 300 - ครวั เรอื นใหม ป63 จํานวน 100 ครวั เรือน รวม 202 ครวั เรอื น
ยกระดบั รายไดใ หก บั คนใน ครัวเรือน จังหวดั ปต ตานี -ครวั เรอื นเดิม ป62 จาํ นวน 106 ครัวเรือน
ชมุ ชนฐานราก - รายไดของครวั เรือนที่เขารว ม - ครัวเรอื นใหม ป63 จํานวน 100 ครัวเรอื น รวม 206 ครวั เรอื น

โครงการพน จากเกณฑค วามยากจน จงั หวัดนราธวิ าส -ครวั เรอื นเดมิ ป62 จาํ นวน 108 ครวั เรอื น
ไมน อ ยกวา รอยละ 60 - ครวั เรือนใหม ป 63 จํานวน 100 ครวั เรือน รวม 208 ครัวเรือน
* ***รวมท้งั ส้ิน 616 ครัวเรือน
***สรปุ รายไดเฉลี่ยของครวั เรอื นยากจนทตี่ กเกณฑ จปฐ. เฉล่ีย
รวม 30,000บาท/คน/ป
- รายไดทเี่ พ่ิมข้ึน 62 คดิ เปน รอ ยละ 1.40
- รายไดท เ่ี พิ่มขนึ้ 63 คิดเปน รอยละ 1.71

4.ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา -รอ ยละ 80 ของจํานวนสถานศึกษา โรงเรียนท่ีมผี ลคะแนน O–NET เพม่ิ ข้ึน ไมนอยกวา 3 คะแนน
ทเี่ ขา รว มโครงการมีคะแนนผลการ เมื่อเทียบระหวา งป 60 กบั 62
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ - จ.ปตตานี จาํ นวน 9 โรง คดิ เปน รอยละ 45
พ้ืนฐาน (ONET) เพ่ิมขึน้ ไมนอยกวา 3 - จ.ยะลา จาํ นวน 7 โรง คิดเปนรอยละ 35
คะแนน - จ.นราธิวาส จาํ นวน 2 โรง คิดเปนรอยละ 10

โรงเรียนที่มผี ลคะแนน O–NET ไมเ พมิ่ ขึ้น 3 คะแนน
เมอ่ื เทียบระหวางป 60 กับ 62

- จ.ปต ตานี จํานวน 11 โรงเรียน คดิ เปน รอ ยละ 55
- จ.ยะลา จํานวน 13 โรง คดิ เปน รอ ยละ 65
- จ.นราธิวาส จาํ นวน 18 โรงเรียน คิดเปนรอ ยละ 90

5. สง เสรมิ ความรักความ รอ ยละของผูเขารว มโครงการมี 1.คณะมนษุ ยศาสตรฯ จดั ประกวดกลา วสนุ ทรพจน 3 จงั หวัด
ชายแดนใต ในหัวขอ “รูรักสามัคคี” มผี ูเ ขารว มโครงการ จํานวน 200
สามคั คี ความเขาใจในสิทธิ ความรคู วามเขา ใจเก่ยี วกบั ความรกั คน
หนาท่ีของตนเองและผอู น่ื ความสามคั คี ความมีระเบียบวนิ ัย
ภายใตพ น้ื ฐานของสงั คม คณุ ลกั ษณะคนไทยทพี่ ึงประสงค 4 2. คณะวิทยาการจดั การ จัดประกวดคลิปวดิ โี อรรู ักสามัคคีใน
ประชาธิปไตยอันมี ประการ หนา ทสี่ ทิ ธขิ องตนเองและ รปู แบบออนไลนมีผูเขา รวมการประกวดทง้ั หมด 20 คน
พระมหากษตั รยิ เปน ประมขุ ผูอนื่ ไมนอยกวา รอ ยละ 80
3. ศูนยจิตอาสา จัดกจิ กรรมจติ อาสาพฒั นาทองถิน่ ในพืน้ ทีส่ าม
จงั หวดั ชายแดนภาคใต **รวมทุกกิจกรรมมีผูเขา รว มจํานวน 720 คน
คิดเปน รอ ยละ 80 **ผานตวั ช้วี ัด

ศูนยส ง เสริมและพัฒนาทอ งถ่ิน 2563 57

สรปุ โครงการยุทธศาสตรมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพ่อื การพัฒนาทอ งถิ่น
ประจําปงบประมาณ 2563

โครงการ ตัวชว้ี ัด ผลการดําเนินงาน

6. อบรมเพื่อสรางความรู - นกั ศกึ ษาครูและนกั ศึกษาทว่ั ไป - นักศึกษาครแู ละนกั ศึกษาท่วั ไป เขา รว มโครงการพฒั นาทกั ษะ
ทกั ษะดานภาษาองั กฤษใหแ ก ไดร บั การพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ จํานวน 565 คน
นักศึกษาคณะครศุ าสตรต าม จาํ นวน 450 คน ** ผานตัวชีว้ ดั
DรพBา.eรEปพชะvdภารรe8.ฮอSัฏาl.oาโtมชuก(ลpเEบพdาาmnรา-eื่อgบจeยnขlาnดัขitsอลstอกh)ขางาfึน้oSมรสkrเทหตูมilาะรlรวเsียดบทิ มกียยคโนาลวลพกาัยนื้ มทสรสี่ อุดอคศ--ยทบวลินนลาผจาปะักกัยาาํมวศศรนน2หฒัึกกึเ0วกลัสษษนนณาจาาธ5ฐกํารคฑร8านหะรรน-ดวแูลC5มขนับลา9EแอยะปFล9ปมนทRร0ะกลูิญกัาภBางคทศญมู1รชนกึาศิปาีวงไษึกตมญภาษรนาทญีาอพชั่วายไน้ั2ทปก15ปอว6ฐาง2าถนิน่ คขึน้ว*ลห--*าไานมปนนต--รวจกักับกปูภาํยศศาตนารึกกึลัวงษะวษษชาาชนาสาา้วีนอมุ รคัดูมท3งัหะรร4กเี่ ดแูากดฤรับลค่ยีกษอืะนปวโเนลรขจตกญิกั ําอรโศนยีงญดึกใวมายนนษคตไพาดวร7ทื้นีเา7ชชัว่มทไน้ัญิคพ่ีปปนครสรอณสดุหมอาทัสเบจพา5าผยอ่ื ร9ารขยนห–อใเัสนกข6ณหึ้น518ลทฑเ-ักขะ5Cสาเ9บสEูตยีอFปรนRบตกพวาารรดังนื้ะศๆรดทึกะแับี่ปดษลาับBาะฮ1า
ทุกคณะ ไดรบั การพัฒนาทักษะ 2562- ทกุการครณะะดมเขคา วราว มมคโคดิ รเหงกน็ าขรอพงัฒชนุมาชทนักตษอะกภาารษเตารอยีังกมฤคษวาจมําพนรวอ นมเสนอ
ภาษาองั กฤษ จํานวน 1,577 คน - 23พ7้นื คทนป่ี า ฮาลาบาลาเปนมรดกโลก” ณ อ.แวง จงั หวัดนราธิวาส
นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ชน้ั ป แ**ละตกอต.ัวเชบวี้ ตัดง จงั หวัดยะลา
สุดทา ยรหสั 58 -59 ปก ารศึกษา --จนัดกั สศนึกษทานราะกดลับุมปกราญิ รยญการตะรดีชบั้นั ปปาส ฮุดาทลาายบราหลัสาเ5ป8น-5ม9รดปกกโาลรกศทกึ าษงา
2562 ทุกคณะ สอบผา นเกณฑ CEFR 25ธ6ร2รมทชุกาคตณิ แะลเะขกา สารอเบกจบ็ าํ รนววบนรว1ม56ขอคมนูลฐานทรพั ยากรธรรมชาติ
9. การพัฒนาและสง เสรมิ B1 ข1ึ้น.จไปัดอบไมรมน กอ ายรกปวฐา มรพอ ยลาบะา2ล0และ สอบผ1า.ผนูเขกาณรฑวม CอEบFรRมBจ1ํานขวึน้ นไป7จ0ํานควนนสา8มคานรถปฏิบัติ และใหการปฐม
สขุ ภาพผูส ูงอายุ จํากนาวรนชว 9ย0ฟคนนคืนชีพ *พ*ยตากบตาัวลชแีว้ ลดั ะการชว ยฟนคืนชีพไดถูกตอ ง

7.การวเิ คราะหตัวอยางพชื ตร2ว.จวัดิเกคจิรกาะรรหมต อวั บอรยมา งกพารชื สงมเนุสรไพมิ ร - ก2า.รผตูเขราวรจวมิเคโรคาระงหกการารจปํานวเปนอ 1น7เช5ือ้ คจนุลินผทูดรูแียลใ นผูตสูวังอายยางุใหวัตคถวุดามิบสนใจ
สมนุ ไพรในพืน้ ที่ปา ฮาลา-บาลา ท่ีมสอี ขุ ยภูเ าขพตดพวนื้ ยทท่ี าบริหารเพอื่ ปรับสมดุล สมุนเปไพนรอจยํา นงวมนาก1น0ําชเอนดิาคเวชา้ือมแรบูสคูกทาีเรรยี ดทูแงั้ ลหมลดงพจื้าํนนทว่ีฝนกยปสี ตฏิบแัตลิใะนราศูนย
ปารฮาางลกาา-ยบดาวลยาทามณเี วช ทั้งหสมุขดภาไมพเ ชกุมินเชกนณเมฑือม งาต3รฐแาหนงปใรนะเกขาตศเทอยศ.บาลเมืองเบตง เพ่ือพัฒนา
-ตกน าแรบตบรวผจดู วแู เิ ลคผราูสะงู หอาก ยาุรปนเปอ นโลหะหนักท่ีมีพิษในตัวอยาง
วัตถดุ ิบสมนุ ไพร พบวา เฉพาะโสมเจียวกหู ลานทีม่ ีปริมาณแคดเมยี มสูง
กวาเกณฑมาตรฐานตามประกาศ อย. และไมพบการปนเปอนโลหะ
หนักที่มพี ิษในตวั อยางผลิตภัณฑสมุนไพร (สมนุ ไพรดองเหลา) เพ่ือ
พฒั นาเปน ผลติ ภณั ฑส มุนไพรเพื่อสขุ ภาพตอไป

8. การจัดการเตรียมความ จาํ นวนฐานขอ มูลทาง - ประชุมหารอื เตรียมความพรอมเพ่ือขอขึ้นทะเบียนพน้ื ที่ปา ฮาลา-
พรอ มเพอ่ื ขอขึ้นทะเบยี นพ้ืนที่ ศิลปวฒั นธรรมและภมู ปิ ญ ญาทองถิน่ บาลาสูมรดกโลกโดยไดเ ชิญคณาจารยใ นหลกั สูตรตา งๆ และหนว ยงาน
ปา ฮาลา-บาลา สมู รดกโลก ความหลากหลายทางชีวภาพ 1 ฐาน ท่เี ก่ยี วของในพืน้ ท่ี
- การระดมความคิดเหน็ ของชุมชนตอการเตรียมความพรอมเสนอ
พ้นื ทปี่ า ฮาลาบาลาเปนมรดกโลก” ณ อ.แวง จงั หวดั นราธวิ าส
และ อ.เบตง จังหวัดยะลา
-จดั สนทนากลมุ การยกระดบั ปาฮาลาบาลาเปนมรดกโลกทาง
ธรรมชาติ และการเก็บรวบรวมขอมลู ฐานทรพั ยากรธรรมชาติ

9. การพัฒนาและสง เสรมิ 1.จัดอบรมการปฐมพยาบาลและ 1.ผูเขารวมอบรมจํานวน 70 คนสามารถปฏิบัติ และใหการปฐม
พยาบาลและการชวยฟน คืนชีพไดถกู ตอ ง
สุขภาพผสู ูงอายุ การชว ยฟนคืนชพี
2.จดั กิจกรรมอบรมการสง เสริม 2.ผูเขารวมโครงการจํานวน 175 คน ผูดูแลผูสูงอายุใหความสนใจ
สุขภาพดว ยทา บรหิ ารเพ่อื ปรับสมดุล เปนอยางมากนําเอาความรูสูการดูแล ลงพื้นที่ฝกปฏิบัติในศูนย
สุขภาพชุมชนเมือง 3 แหงในเขตเทศบาลเมืองเบตง เพื่อพัฒนา
รางกายดวยทา มณีเวช
ตนแบบผูดแู ลผูสงู อายุ

ศนู ยส งเสริมและพัฒนาทอ งถิน่ 2563 58

ศนู ยส ง เสริมและพัฒนาทอ งถิ่น
มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา


Click to View FlipBook Version