The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ces.dpu, 2020-03-14 11:49:49

CES Journal Vol.5 No.8

วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 47

ตัวเองมากกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่ของรัฐ ความอิสระดังกล่าวส่งผลต่อความเต็มที่ในการสร้างหลักหลักสูตร
4.0

ประการสุดท้าย ลักษณะของหลักสูตร 4.0 มีแนวโน้มปรากฏอยู่ในหลักสูตรของสายอาชีวศึกษา
มากกว่า เพราะในการจดั การเรียนรู้จนกระทั่งผลการเรียนรู้มักปรากฏผลงานท่ีเป็นรูปธรรมจับต้องได้มากกว่า
แสดงให้เห็นถึงการสร้างสรรค์ผลงานได้ชัดเจนกว่าหลักสูตรในการเรียนสายสามัญศึกษาที่ระบบการศึกษา
บังคบั ให้ต้องเรยี นต่อในระดับอดุ มศึกษาจงึ จะเป็นการเลอื กเส้นทางสายการทางานอย่างชัดเจนว่าจะได้เข้าไปสู่
ระบบตลาดงานในสาขาไหน

3. การใช้แนวคดิ 4.0 ให้เกิดอรรถประโยชนใ์ นวงการศึกษาไทย
การใช้แนวคิด 4.0 ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในวงการศึกษาไทยน้ัน วิธีการคือการยอมรับ ปรับตัว

เลือกใช้ของใหม่ และปรับของเกา่ ทีด่ ีอยแู่ ล้วใหด้ ยี ิง่ ข้นึ หลายคร้ังท่ีพวกเราพูดถึงการปฏิรูปการศึกษาไทย และ
พยายามดน้ิ รนปรบั ตัวให้กา้ วหนา้ แตก่ ม็ กั ล้มลุกคลุกคลาน ถึงเวลาแล้วท่ีจะเลือกสิ่งท่ีดีมาเสริมทัพกันเพ่ือช่วย
ใหป้ ระเทศกา้ วหน้าอย่างยั่งยืน ในหนังสือเรื่อง Finnish Lesson 2.0: ปฏิรูปการศึกษาให้สาเร็จ บทเรียนแนว
ใหมจ่ ากฟินแลนด์ ได้กล่าวถึงเหตุผลสาคัญท่ที าใหฟ้ ินด์แลนด์ปฏริ ปู การศึกษาของชาตติ นสาเรจ็ เนอ้ื ความวา่

“นโยบายการศึกษาจาเป็นต้องสอดคล้องกับนโยบายทางสังคมอื่น ๆ รวมไปถึงวัฒนธรรม
ทางการเมืองโดยรวมของประเทศด้วย ปัจจัยสาคัญท่ีนาไปสู่ความสาเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานความรู้ ท่ีควบคู่ไปกับธรรมาภิบาลและระบบการศึกษาที่เป็นที่ยอมรับนับถือ ก็คือความสามารถ
ของประเทศฟินแลนด์ในการขอฉันทามติในประเด็นสาคัญท่ีจะมีส่วนกาหนดทิศทางการพัฒนาชาติใน
อนาคต ซ่ึงมักจะขอฉันทามติได้สาเร็จ ผลก็คือ ฟินด์แลนด์ดูจะลงมือปฏิบัติตามนโยบายและแนว
ปฏิบัติได้ดีเป็นพิเศษ ท้ังยังสามารถคงนโยบายและแนวปฏิบัติที่นาไปสู่ ภาวะผู้นาและการ
เปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน ไว้ได้อย่างต่อเนื่อง (Hargreaves & Fink, 2006) การศึกษาในประเทศ
ฟินด์แลนด์ได้รับการมองว่าเป็นการดาเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์ อันเท่ากับว่ามีบทบาทในการ
ชว่ ยสร้างชาตใิ ห้แขง็ แกร่งข้ึนด้วย

(วิชยา ปดิ ชามกุ , 2560, น.131)

ปฏิเสธไม่ได้ว่าลักษณะสังคมและการเมืองของไทยในแต่ละยุคสมัยมีอิทธิพลต่อการพัฒนาการศึกษา
และการดาเนินนโยบายหลักสูตรการศึกษา 4.0 เอกสารเก่ียวกับหลักสูตรข้างต้นสะท้อนว่าส่วนรัฐมีบทบาท
สาคัญในการวางแผน และกาหนดกรอบแนวทางการดาเนินนโยบายทางการศึกษา ดังน้ันหากรัฐเล็งเห็น
ความสาคัญอย่างจริงจังในการสร้างคนและสร้างชาติด้วยการศึกษาย่อมไม่ปล่อยให้ผลกระทบจากการ
ผลัดเปลี่ยนรัฐบาลส่งผลต่อการพัฒนาการศึกษาของชาติ และรัฐบาลควรต้องร่วมมือกับทางภาคเอกชน เพ่ือ
สง่ เสริมการพฒั นาการศึกษาในยคุ 4.0 อย่างจริงจงั ขณะเดียวกนั ภาคประชาชนก็ต้องปรับตัวในฐานะที่ตนเป็น
ส่วนหน่ึงของพลเมืองชาติ ไม่เพียงเพื่อความอยู่รอดหรือการแข่งขันทางเศรษฐกิจ แต่ยังเป็นการผลักดันให้
ประเทศกา้ วหนา้ ไดอ้ ย่างยงั่ ยนื

ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562) 48

เอกสารอา้ งองิ
วิชยา ปิดชามุก. 2560. Finnish Lesson 2.0: ปฏิรูปการศึกษาให้สาเร็จ บทเรียนแนวใหม่จากฟินแลนด์.
กรงุ เทพฯ: โอเพ่นเวิลดส์ .
สนุ ทร โคตรบรรเทา. 2553. การพฒั นาหลักสูตรและการนาไปใช.้ กรงุ เทพฯ: ปญั ญาชน.

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถุนายน 2562) 49

การขับเคลอื่ นชาติไทย : ก้าวผ่านกบั ดกั สยู่ คุ เปลี่ยนแปลง ความพรอ้ มและ

ความดงี ามประเทศไทย 4.0

สกล วารินทราพร*

ประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่ยุค 1.0 ท่ีเป็นยุค
เกษตรกรรมซึ่งเน้นปลูกพืช เล้ียงสัตว์แล้วนาไปขายเพ่ือเป็นรายได้ยังชีพ ก้าวมาสู่ยุค 2.0 ท่ีเร่ิมมีการผลิต
สิ่งของต่างๆโดยใช้เครื่องมือต่างๆเข้ามาช่วย จนมาถึงยุค 3.0 ที่ประเทศไทยขับเคล่ือนชาติด้วยการนาเข้า
เคร่ืองจักรจากต่างประเทศเพ่ือเน้นผลิตและส่งออกสินค้าต่างๆในปริมาณมาก เป็นยุคอุตสาหกรรมหนักท่ี
มงุ่ เนน้ เปลีย่ นทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ภายในชาตเิ ป็นผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆ เพ่อื การสง่ ออก

อุตสาหกรรมหนักท่ีมุ่งเน้นผลิตสินค้าด้านปริมาณนั้นสามารถขับเคล่ือนประเทศชาติเป็นอย่างมาก
ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2540 จนทุกคนในยุคนั้นเช่ือว่าประเทศไทยสามารถก้าวเป็นผู้นาทางเศรษฐกิจของเอเชีย
หรือเสือตัวที่ 5 แห่งเอเชียได้ แต่ด้วยสภาพสังคมต่างๆท่ีเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายในประเทศ แต่
ประเทศไทยเรายังคงใชร้ ูปแบบการขบั เคลื่อนทางเศรษฐกจิ แบบเดิมซึ่งมุ่งเน้นพึ่งพานวัตกรรม เทคโนโลยี และ
การลงทุนจากต่างประเทศ อีกท้ังรูปแบบอุตสาหกรรมดังกล่าวยังใช้ทรัพยากรจานวนมากแต่ได้ผลผลิตท่ีมี
มูลค่าต่าถึงปานกลาง ทาให้กว่า 20 ปีท่ีผ่านมาประเทศไทยเหมือนตกอยู่ในกับดักต่างๆท่ีฉุดร้ังการขับเคล่ือน
ประเทศ1

กับดักรายได้ปานกลาง พฒั นาจากกล่มุ ประเทศยากจน แต่ตดิ หลม่ อยู่ในสภาพ
รายได้ปานกลาง และไมม่ ีแนวโนม้ จะกา้ วไปสู่ประเทศทม่ี รี ายไดส้ งู

กับดักความเหลอ่ื มลา้ เกิดความแตกตา่ งกนั ระหว่างเมอื งกับชนบท คนรวยกบั
คนจน รายไดไ้ ม่กระจายกันอย่างเท่าเทยี ม เกดิ การชมุ นุมประท้วง

กบั ดกั ความไม่สมดุล ปญั หาดา้ นสิง่ แวดล้อมและการหมดไปของทรพั ยากรใน
ประเทศ จากอตุ สาหกรรมที่ใชท้ รพั ยากรอย่างไมม่ สี มดุล

กบั ดกั ทางต่างประเทศ การใหค้ ณุ คา่ กบั ต่างชาตเิ หนือชาติไทย ใชแ้ ตส่ นิ คา้ และ
นวตั กรรมจากต่างชาติโดยไม่ไดท้ าหรอื คิดคน้ เอง

กับดกั ทางการเมือง การคอรัปชน่ั นักการเมืองไม่ได้มุ่งเนน้ เขา้ มาพฒั นาชาติ
อยา่ งจริงจงั มุ่งแสวงหาผลประโยชนท์ างการเมอื ง

*ครโู รงเรียนกาเนดิ วทิ ย์

ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 50

ดังนั้นการจะทาให้ประเทศไทยสามารถก้าวพ้นจากกับดักต่างๆเหล่านี้ได้คือการเปลี่ยนแปลงแนว
ทางการพัฒนาชาติที่แตกต่างจากยุค 3.0 น่ันคือการก้าวเข้าไปสู่ประเทศไทยยุค 4.0 ท่ีเป็นยุค Value-based
economy คือการพัฒนากระบวนการผลิตให้มีคุณภาพมากข้ึน โดยสาหรับโมเดลประเทศไทยยุค 4.0 น้ัน
ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรมี นี โยบายผลกั ดนั อตุ สาหกรรม 5 ดา้ นหลกั 2 ได้แก่

1) กล่มุ อุตสาหกรรมอาหาร เกษตรและไบโอเทคโนโลยี (Food, Agriculture and Bio-tech)
2) กลมุ่ อุตสาหกรรมเพ่อื สุขภาพ (HeaIth, Wellness and Bio-Medical)
3) กลุ่มอุตสาหกรรมอุปกรณ์อัจฉริยะ และหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม (Smart Devices Robotics

and Mechatronics)
4) กลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล พัฒนาระบบการส่ือสาร และเทคโนโลยีสมัยใหม่ (Digital and

Embedded Technology)
5) กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และการเพิ่มมูลค่าการบริการ (Creative, Culture and High

Value Service)
โดยแนวทางหลักในการพัฒนาศักยภาพด้านอุตสาหกรรมต่างๆของชาติ ต้องอาศัยกลไกขับเคล่ือน
หลกั 3 ตัวคือ Competitive growth engine, Inclusive growth engine และ Green growth engine3

Competitive growth engine ยกระดับความสามารถด้านการวิจัย การ
พฒั นาเทคโนโลยีและผลติ นวัตกรรมต่างๆโดยใช้ความคิดสรา้ งสรรค์

Inclusive growth engine ยกระดับความสามารถด้าน ICT ของคนไทย และ
ส่งเสริมการกระจายรายไดใ้ ห้ท่ัวถงึ ในระดบั ชมุ ชน

Green growth engine เน้นการผลิตท่ีเป็นมิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม คานึงถึงการ
ผลติ ที่ลดการสูญเสียที่เกิดข้นึ ทัง้ ระบบ พฒั นาการผลิตอยา่ งยั่งยืน

ซึ่งกลไกการขับเคลื่อนทั้ง 3 ตัวนี้จะสามารถเกิดขึ้นได้ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีประจาสานัก
นายกรัฐมนตรีและกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ได้กล่าวถึงประเทศไทย 4.0 ซึ่งประกอบไป
ดว้ ยคณุ ลักษณะ 3 ประการหลกั คือ สงั คมท่ีคนมีความสามารถในการสร้างรายได้ สังคมท่ีเปิดโอกาสให้ทุกคน
อย่างเทา่ เทียมกนั และสังคมที่ช่วยเหลอื ซ่งึ กนั และกัน โดยสงิ่ ที่จะทาให้เกิดสังคมในรูปแบบดังกล่าว จุดเร่ิมต้น
คือ “การสร้างคนท่ีมีทักษะในศตวรรษท่ี 21” ซึ่งเป็นคุณสมบัติของประชากรที่สามารถขับเคลื่อนประเทศให้
เข้าสยู่ ุค 4.0 ได้ ซ่ึงมีคณุ สมบตั คิ ือ

1) มีความรู้พื้นฐานในวชิ าแกนและความรใู้ นด้านอ่นื ๆทีจ่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
2) มที ักษะการเรียนรูแ้ ละสร้างนวตั กรรม

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 51

3) มที ักษะดา้ นเทคโนโลยี สื่อ และสารสนเทศ
4) มีทกั ษะชวี ิตและทักษะการทางาน

“การศกึ ษา 4.0” กุญแจไปสู่ประเทศไทย 4.0
ทักษะในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นประเด็นหลักที่ปัจจุบันผู้คนให้ความสาคัญอย่างย่ิงในการพัฒนาคนใน

ชาตใิ ห้สามารถกา้ วไปสเู่ ศรษฐกจิ ยคุ 4.0 เห็นได้จากนโยบายการพัฒนาชาติในปัจจุบันที่มุ่งเน้นพัฒนาประเทศ
เพ่ือเข้าสู่ยุคดิจิตัลไทยแลนด์ (Digital Thailand) ท่ีคนในชาติสามารถสร้างสรรค์และใช้เทคโนโลยีในการ
ขบั เคลอ่ื นการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมเพอ่ื นาไปสู่ความม่ันคงของชาติได้ ซ่ึงการจะก้าวข้ามไปสู่เศรษฐกิจยุค
4.0 ได้นั้น Prof. Dr. Thomas Osburg ศาสตราจารย์ชาวเยอรมนีด้าน Sustainable Marketing &
Leadership ไดก้ ลา่ วขอ้ ความท่ีน่าสนใจไว้ว่า “Industry 4.0 needs education 4.0.”4 นั่นคือการจะพัฒนา
เศรษฐกจิ ของชาตติ ้องลงไปต้ังแต่ระดับ “การศึกษา” ที่ต้องส่งเสริมให้คนในชาติมีทักษะและความสามารถท่ี
จาเป็นเสียก่อน โดย ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ ยังได้กล่าวถึงมุมมองของการศึกษาต่อการพัฒนาคนในชาติให้ก้าว
ไปสู่ประเทศไทย 4.0 ไว้อย่างน่าสนใจว่าการศึกษานอกจากจะสร้างคนตามหลัก 4H แล้ว ได้แก่ Head (มี
ความคิดและสติปญั ญา) Hand (สามารถลงมือปฏิบัติได้) Health (มีสุขภาพที่แข็งแรง) และ Heart (เป็นคนดี)
ยังต้องมองไปถึงการสร้างสังคมให้สมบูรณ์ตามหลัก 3H ได้แก่ Hope (สังคมแห่งความหวัง) Happiness
(สงั คมแหง่ ความสุข) และ Harmony (สงั คมแห่งความกลมเกลียว) โดยการสร้างสังคมท่ีสมบูรณ์เช่นนี้ บทบาท
ของการศกึ ษาคือการปลูกฝงั ให้คนรักการเรียนร้โู ดยใช้ 4H model ไดแ้ ก่

1) Love to learn การสรา้ งคนให้รกั การเรยี นรู้
2) Learn to learn การทาให้คนคนเข้าใจวา่ เหตใุ ดต้องเรียนรู้ ตอ้ งรอู้ ะไร อยา่ งไร และจากใคร
3) Learn to live การสอนให้คนเรียนรู้ทีจ่ ะดารงชีวติ อยา่ งไร
4) Learn to love การสร้างคนให้รู้จักใชช้ วี ิตรว่ มกบั ผู้อืน่ อยา่ งเป็นสขุ 5
โดยหากมองย้อนไปถึงระบบการศึกษาของไทยก่อนหน้าน้ี จะเห็นได้ว่ามีรูปแบบท่ีไม่ต่างจาก
สังคมไทยยุคก่อนที่มุ่งเน้นเชิงปริมาณในการผลิตประชากรเพื่อตอบสนองความต้องการแรงงานในระบบ
อุตสาหกรรม โดยเราจะเห็นลักษณะโรงเรียนจากการใช้หลักสูตรมาตรฐานจากส่วนกลางท่ีพัฒนาจากทาง
ตะวันตกเพือ่ ให้มีความรู้ในการใช้นวัตกรรมต่างๆของตะวันตก การเกิดโรงเรียนและมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ท่ี
เนน้ การผลติ นักเรียนและบัณฑติ ในด้านต่างๆจานวนมาก รวมถึงคณะครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ท่ีมุ่งเน้นผลิต
ครูจานวนมากเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมทมี่ คี วามต้องการครูในสถาบันการศึกษาต่างๆจานวนมาก
ซึ่งการจะก้าวไปสู่ประเทศไทยยุค 4.0 ได้นั้น ระบบการศึกษาก็ต้องมีการปฏิรูปให้เป็นการศึกษาในยุค 4.0
เชน่ เดยี วกนั นน่ั คือ “การปรบั ระบบนิเวศการเรยี นรู้”6 ได้แก่
1) Purposeful learning การเรยี นรูเ้ พือ่ สรา้ งแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนใชช้ วี ิตอยา่ งมีความหมาย
2) Generative learning การเรยี นรเู้ พ่ือบม่ เพาะใหผ้ ูเ้ รยี นมีความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ
3) Mindful learning การเรยี นรูเ้ พื่อปลูกฝงั จิตสาธารณะ
4) Result-based learning การเรียนร้เู พ่อื มุง่ เนน้ ผลสัมฤทธิ์ของการทางาน

ประเดน็ เปรยี บเทยี บ การศึกษาในยคุ กอ่ น

1. ลักษณะหลักสูตร มาจากส่วนกลางที่กาหนดมาตรฐานและ มีความยืด
คุ ณ ส ม บั ติ ผู้ เ รี ย น เ พ่ื อ ต อ บ ส น อ ง ของคนใน
ภาคอตุ สาหกรรมในรปู แบบเดยี ว

2. รปู แบบการสอน ครเู ปน็ ศนู ยก์ ลาง เนน้ เนื้อหาตามหลกั สูตร นักเรียน
กาหนดเน

3. ตาราการเรียนการสอน หนังสือท่ีมีเน้ือหาการเรียนการสอนตาม หนังสือร่

แบบตะวันตก มีรูปแบบและเน้ือหาที่ถูก และส่ือที่ห

กาหนดตายตัว ผเู้ รียนปฏ

4. วธิ ีการเรยี น เน้นการเรียนแบบฟังบรรยาย สาธิตการ เนน้ การเร

ทดลองโดยครู การเรียนร

5. การวัดประเมนิ เน้นประเมินความจาและความรู้เชิง พุทธิ ประเมินค

พิสัยเป็นหลัก เน้นประเมินผลหลังการ และทักษ

เรียนรู้แบบ summative เพ่ือตัดสิน เรียนรู้แบ

ความสามารถ กับผ้เู รยี น

6. การบริหารจัด เน้นเชิงปริมาณ ให้นักเรียนผ่านเกณฑ์ เน้นเชิงค

การศกึ ษา การศึกษาภาคบังคับในจานวนที่เพียงพอต่อ ผู้เรียนให

ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 52

การศึกษาในยคุ ปจั จุบัน การศกึ ษาในยุค 4.0

ดหยุ่น สอดคล้องกับความต้องการ มีความเป็นอิสระ ไม่มีรูปแบบ สอดคล้องกับ
นทอ้ งถิน่ ชมุ ชน และสงั คมนั้นๆ ความสนใจของผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล

นเป็นศูนย์กลาง โดยมีครูเป็นคน นักเรียนเป็นศูนย์กลาง และเป็นผู้กาหนด
นื้อหา เน้อื หาเอง

วมกับส่ือเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ท เครือข่ายไร้พรมแดน ตาราออนไลน์ ที่มี

หลากหลายขึ้น มีเนื้อหาที่มุ่งเน้นให้ เน้ือหาหลากหลายไม่ตายตัว ผู้เรียนสามารถ

ฏบิ ัติมากขึ้น เลือกเนอื้ หาที่เรียนรูไ้ ด้เอง

รียนแบบลงมือปฏิบัติจริง มีกิจกรรม มุ่งเน้นการผลิตผลงานและนวัตกรรม และ

รู้ทีห่ ลากหลาย การพฒั นาทกั ษะการทางานกลุ่ม

ครบทุกด้านทั้งพุทธิพิสัย จิตพิสัย ประเมินคุณสมบัติของผู้เรียนทุกด้านผ่านการ

ษะพิสัย เน้นประเมินระหว่างขณะ ลงมือทางานจริง มี feedback จากรอบด้าน

บบ formative เพื่อให้ feedback ทง้ั จากครู เพื่อนร่วมงาน และผู้ที่เก่ียวข้องกับ

นมากขนึ้ การทางานอื่นๆ

คุณภาพมากข้ึน เร่ิมมีการพัฒนา เน้นเชิงคุณภาพ พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน
ห้มีทักษะพิเศษต่างๆมากกว่าความรู้ ศตวรรษที่ 21 เพ่ือเป็นคนท่ีสามารถผลิต

ตลาดงาน พื้นฐานแก

7. คุณลักษณะและ เป็นผู้จบสายอาชีพด้านครุศาสตร์หรือ จบด้านใด

บทบาทของครู ศึกษาศาสตร์เท่านั้น เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ มีใบประ

ผู้ฝึก เป็นผู้รับนโยบายจากผู้บริหาร เน้น ความสาม

สอนบรรยายให้นักเรยี น หลากหลา

8. คุณลักษณะและ ภายในหอ้ งเรียนเท่าน้นั ทักษะต่า
บทบาทของครู (ตอ่ ) ต้องการข

9. บทบาทของนักเรียน เน้นฟังบรรยายเป็นหลัก รับความรู้ผ่านจาก ทากิจกรร

ตาราที่ใช้และการบรรยายของครูใน ทาโครงงา

ห้องเรยี นเท่านน้ั นอกหอ้ งเ

10. บทบาทของ ยังไม่ค่อยมีบทบาท เป็นส่ิงท่ีช่วยเสริมให้ มีบทบาท

เทคโนโลยี การเรยี นการสอนนา่ สนใจ ใหผ้ ู้เรยี นเ

11. ลักษณะห้องเรยี น เป็นห้องบรรยาย มีครูเป็นผู้บรรยายหน้า ปรับเปล

ห้องและมีท่ีน่ังตายตัวให้ผู้เรียนน่ังฟัง กิจกรรม

บรรยาย ระหวา่ งผ

12. คุณลักษณะของ เป็นผู้ส่ังการและกาหนดนโยบายต่างๆใน เป็นนักบ

ผู้บรหิ าร โ ร ง เ รี ย น ต า ม น โ ย บ า ย จ า ก สอดคล้อง

กระทรวงศึกษาธิการและหน่ว ยงาน

ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 53

กนกลาง นวตั กรรมและเทคโนโลยตี า่ งๆได้

ดกไ็ ดข้ น้ึ กบั เนอื้ หาที่ต้องสอน แต่ต้อง วุฒิการศึกษาไม่ใช่คุณสมบัติหลักของครู มี

ะกอบวิชาชีพทางด้านการสอน มี ประสบการณแ์ ละความสามารถในการบริหาร

มารถในการวางกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี สร้างสรรค์ และออกแบบการเรียนรู้ ใน

ายเพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นให้มี ลกั ษณะรว่ มมอื กับทง้ั นักเรยี น ผ้บู ริหาร

างๆท่ีสอดคล้องกับชุมชนและความ โรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสถาบันต่างๆ

ของสังคมมากขึน้ มากขึ้น

รมที่หลากหลาย เช่น อภิปรายกลุ่ม เน้นการประยุกต์นาความรู้ที่ได้มาผลิตเป็น

าน เป็นต้น สามารถหาแหล่งเรียนรู้ ผลงาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรมต่างๆ สามารถ

เรยี นไดเ้ อง แสวงหาองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง

ทเป็นแหล่งข้อมูล และส่ือในการช่วย เป็นส่ือหลักในการเรียนการสอน ผู้เรียน

เข้าใจเนื้อหามากข้นึ สามารถเข้าถึงและต่อยอดการใชเ้ ทคโนโลยีได้

ลี่ยนได้หลายแบบข้ึนกับรูปแบบ ทุกสถานท่ีสามารถเป็นห้องเรียนได้ เป็นการ

ม มีเทคโนโลยีท่ีเน้น interactive เรียนรู้ไร้พรมแดน สามารถเข้าถึงเนื้อหา

ผเู้ รียนกบั ผสู้ อน ความรู้ทีห่ ลากหลายผา่ น Wifi

บริหารจัดการ การกาหนดนโยบาย มเี ทคนิคในการ mobilize ไอเดียเอาคนต่างๆ
งกับความคิดเห็นและความต้องการ เข้ามา มารวมความคิดกัน มีสานึกว่าทุกคนมี

ความหมาย มีเปาู หมายและ product ชัดเจน

ส่วนกลางตา่ งๆโดยตรง ของฝาุ ยต

13. เปูาหมายของการจัด เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนผ่านเกณฑ์การศกึ ษามาตรฐาน เพื่อให้ผูเ้ ร

การศกึ ษา ความร้พู ืน้

14. จุดมุ่งหมายสูงสุดของ เพ่ิมลกู จา้ งท่ีผา่ นเกณฑ์มาตรฐานเข้าสู่ตลาด เพิ่มบุคลา

การศกึ ษา งานอย่างเพียงพอ การทางาน

ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 54

ตา่ งๆมากข้นึ ตอบโจทย์รายบคุ คล ยดื หยุ่น สอดคล้อง

รยี นมีทกั ษะและคุณสมบัติท่ีมากกว่า ตอบโจทย์และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล
นฐาน เพื่อนาไปสกู่ ารสรา้ งผลผลติ ต่างๆ

ากรท่ีมีทักษะและความสามารถใน เพ่ิมนักนวัตกรรมและนักออกแบบสร้างสรรค์
น ทสี่ ามารถสรา้ งผลผลติ ต่างๆได้

ปีที่ 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 55

กระบวนการเปล่ียนแปลงเพอื่ นาไปสกู่ ารศกึ ษา 4.0
จากลักษณะของการศึกษาในยคุ 4.0 เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาในยุคท่ีผ่านมา จะพบว่ามี

ความแตกตา่ งในประเดน็ ตา่ งๆ เป็นอยา่ งมาก โดยในภาพรวมนั้นจุดหนง่ึ ทีเ่ ห็นไดช้ ัดคอื การส่งเสริมให้
คนมีความสามารถในการผลิตนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์ โดยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ความ
ยดื หยนุ่ และความร่วมมอื กับหน่วยงานตา่ งๆ

ซง่ึ กระบวนการท่จี ะนาไปส่กู ารเปลีย่ นแปลงการศกึ ษาไทยให้เข้าไปสู่การศึกษาในยุค 4.0 นั้น
มีประเด็นต่างๆ ต้ังแต่ การเปล่ียนแปลงหลักสูตรหรือเปูาหมายทางการศึกษา การเปล่ียนแปลง
บทบาทผู้เรียน ผู้สอน และกิจกรรมการเรียนในห้องเรียน การเปลี่ยนแปลงการบริหารสถานศึกษา
และการเปล่ยี นแปลงนโยบายของรฐั บาลและหน่วยงานตา่ งๆ

ดังน้ันจึงมีการวิจัยเพื่อเน้นศึกษาความคิดเห็นเก่ียวกับกระบวนการเปล่ียนแปลงในประเด็น
ต่างๆ จากมุมมองของกลุ่มบุคคลท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาในกลุ่มต่างๆ จานวนทั้งสิ้น 130 คน
ประกอบไปด้วยนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ครูผู้สอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอน
ปลาย อาจารยใ์ นระดับมหาวิทยาลัย บุคลากรในสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(สสวท.) รวมทั้งกลุ่มบุคคลอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเช่น ผู้บริหารโรงเรียน บุคลากรใน
สถานศึกษานอกจากครู เพื่อสังเกตการให้ความสาคัญ ทัศนคติ และแนวทางเพื่อก้าวไปสู่การเปลี่ยน
ผ่านไปสู่การศึกษาในยุค 4.0 ในแต่ละประเด็น โดยให้ตอบแบบสอบถามโดยเรียงลาดับความสาคัญ
ของวิธีการในแต่ละประเด็นจากสาคัญน้อยที่สุด (1 คะแนน) ไปยังวิธีการที่สาคัญมากที่สุด (5
คะแนน) ปรากฏวา่ ไดผ้ ลดงั นี้

1) การเปล่ียนแปลงหลักสตู รหรอื เปูาหมายทางการศกึ ษา ไดแ้ ก่
- เนน้ เรยี นรู้จากปญั หาตง้ั แตร่ ะดบั ชุมชนรอบขา้ งจนไปถงึ ปัญหาระดับชาตแิ ละระดับโลก
ได้คะแนนเฉลย่ี 3.19 ± 1.51 คะแนน
- มลี ักษณะยดื หยุ่น เปลยี่ นแปลงได้ตามความต้องการของชมุ ชน
ได้คะแนนเฉลี่ย 2.85 ± 1.38 คะแนน
- เน้นการสร้างผลงานและนวัตกรรมท่เี ป็นช้ินงาน
ไดค้ ะแนนเฉลย่ี 2.79 ± 1.39 คะแนน
- เนน้ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองของผเู้ รยี น
ได้คะแนนเฉล่ยี 3.16 ± 1.52 คะแนน
- เน้นการร่วมมือ การติดตอ่ สื่อสาร และการทางานร่วมกันเปน็ กลุ่ม
ได้คะแนนเฉลีย่ 3.08 ± 1.26 คะแนน

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 56

ซึง่ ในประเด็นดังกล่าว การให้ความสาคัญของผู้ตอบค่อนข้างไม่แตกต่างกันมาก โดยในหัวข้อ
ท่ีผู้ตอบให้ความสาคัญค่อนข้างมาก ได้แก่ เน้นเรียนรู้จากปัญหาต้ังแต่ระดับชุมชนรอบข้างจนไปถึง
ปัญหาระดับชาติและระดับโลก เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน และเน้นการร่วมมือ การ
ติดต่อสื่อสาร และการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยในประเด็นดังกล่าวยังมีวิธีการเพิ่มเติมท่ีน่าสนใจ
เชน่

 หลักสูตรควรมีความยืดหยุ่น มีอิสระ เข้ากับศักยภาพของผู้สอนและผู้เรียน ตรงกับความ
สนใจของผเู้ รียน และเนน้ ให้ผู้เรียนค้นหาตนเอง โดยการใหผ้ ้เู รยี นเลือกวชิ าเรยี นเอง

 หลักสูตรเนน้ พฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และคดิ สร้างสรรคข์ องผู้เรียนเพื่อสร้าง
นวตั กรรม ไมเ่ น้นการทอ่ งจา ค้นควา้ และเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

 เนื้อหาในหลักสูตรเน้นทักษะกระบวนการ การนาไปใช้ได้จริง เน้นการปฏิบัติและลงมือทา
จริง

 หลักสูตรมีกจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่หลากหลาย ความร้ทู ี่ไดม้ าจากนอกชั้นเรยี น
 หลกั สูตรไมค่ วรเน้นใสเ่ น้ือหาท่มี ากเกินความจาเป็น ลดการแข่งขัน การให้ความสาคัญกับผล

การเรียนและผลการสอบ
 หลักสูตรควรมีความชัดเจนท้ังระบบ วิธีการวัดประเมิน เปูาหมายของการศึกษา และ

ประกาศอย่างชดั เจนเพ่ือให้ทกุ คนสามารถปรบั ตวั และใช้ปฏิบัติได้
 หลกั สูตรต้องเน้นใหผ้ ู้เรียนใช้เทคโนโลยีประกอบการเรยี นรแู้ ละสร้างนวตั กรรม
 หลักสูตรต้องสอดคล้องกับบรบิ ทของโรงเรียน ชุมชน และธรรมชาติรอบข้าง
 หลักสูตรเนน้ ให้ผเู้ รียนทางานอย่างเปน็ ระบบและการทางานร่วมกนั เป็นทีม
 หลักสูตรสอดคล้องกับการแก้ปัญหาของคนในชาติ การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก และ

มงุ่ เนน้ พัฒนาคนไปสู่การเปลี่ยนแปลงของโลก

2) การเปล่ยี นแปลงบทบาทผูเ้ รียน ผสู้ อน และกิจกรรมการเรียนในห้องเรียน ได้แก่
- เนน้ ความหลากหลายของกิจกรรม
ครตู ้องเป็นนักสร้างสรรค์คิดกิจกรรมต่างๆท่ีหลากหลาย โดยผู้เรียนต้องมีความกระตือรือร้น
ใน
การทากิจกรรมตา่ งๆทีค่ รูวางแผนเอาไว้
ไดค้ ะแนนเฉลยี่ 3.09 ± 1.39 คะแนน
- เน้นการใช้และจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ครูจัดส่อื การเรียนรดู้ ้วยเทคโนโลยตี ่างๆ และนักเรยี นเรียนรู้ท่ีจะใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างมี
ประสิทธภิ าพ
ไดค้ ะแนนเฉลี่ย 2.61 ± 1.29 คะแนน
- เน้นการทาโครงงานและนาเสนอผลงาน

ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 57

นักเรียนคิดและสร้างสรรค์โครงงานและการนาเสนอ โดยครูเป็นที่ปรึกษา ผู้อานวยความ
สะดวก

และใหค้ าแนะนาในการทาโครงงานของนักเรียน
ไดค้ ะแนนเฉลี่ย 2.69 ± 1.27 คะแนน
- เน้นการสบื สอบหาความรู้ด้วยตนเองจากปัญหาท่หี ลากหลาย
ครูจัดกิจกรรมที่ขึ้นนาด้วยเหตุการณ์หรือปัญหาต่างๆท่ีน่าสนใจ และนักเรียนทาการค้นคว้า
และ
เสาะหาหลักการหรือคาตอบด้วยตนเอง
ได้คะแนนเฉลยี่ 3.56 ± 1.43 คะแนน
- เน้นพัฒนาทางด้านเนื้อหาความรู้แกนกลาง (การอ่าน การเขียน และการคานวณ) (3.04/5
คะแนน)
ครูมุ่งเน้นจัดกิจกรรมท่ีพัฒนาทักษะพ้ืนฐานด้านการอ่าน การเขียน และการคานวณให้
นกั เรียน
ได้ฝกึ ฝนและพัฒนาทักษะเหล่านั้นใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
ไดค้ ะแนนเฉลยี่ 3.04 ± 1.50 คะแนน

ซึ่งในประเด็นดังกล่าว การให้ความสาคัญของผู้ตอบในส่วน “เน้นการสืบสอบหาความรู้ด้วย
ตนเองจากปัญหาท่ีหลากหลาย” เป็นคาตอบท่ีผู้ตอบให้ความสาคัญมากที่สุดในทุกกลุ่มบุคคล
โดยเฉพาะกลุ่มครูผู้สอนและกลุ่มบุคลากร สสวท. ท่ีให้ความสาคัญกับคาตอบข้อน้ีค่อนข้างชัดเจน
ในขณะที่กลุ่มนักเรียนจะให้ความสาคัญกับคาตอบในข้อย่อยดังกล่าวพอๆกับคาตอบในอีกข้อย่อยคือ
“เน้นความหลากหลายของกิจกรรม” ส่วนคาตอบในข้อย่อยท่ีได้คะแนนเฉล่ียค่อนข้างน้อยคือ “เน้น
การใช้และจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ” และ “เน้นการทาโครงงานและนาเสนอผลงาน” ซึ่งใน
ประเด็นหลังจะเห็นความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยที่ชัดเจนระหว่างกลุ่มครูผู้ สอนที่ค่อนข้างให้
ความสาคัญกับคาตอบในข้อน้ี แต่กลุ่มบุคลากรใน สสวท. กลับให้คะแนนในข้อนี้ค่อนข้างน้อย ทั้งน้ี
เน่ืองจากกลุ่มครูผู้สอนท่ีเป็นผู้ตอบแบบสอบถามชุดนี้ส่วนใหญ่เป็นครูในกลุ่มโรงเรียนที่ค่อนข้างเน้น
การทางานวิจยั ไดแ้ ก่ โรงเรียนกาเนิดวิทย์ และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี จึงอาจทาให้
คะแนนในส่วนนี้ของกลุ่มผู้ตอบดังกล่าวสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ โดยในประเด็นดังกล่าวยังมีวิธีการเพ่ิมเติมที่
น่าสนใจ เช่น

 กิจกรรมไม่ได้มุ่งเน้นแค่การท่องจา เน้นการคิดต่อยอด เรียนรู้ด้วยตนเอง แก้ปัญหา ค้นคว้า
พัฒนาตนเอง สืบเสาะ และวจิ ัย

 กจิ กรรมมีความหลากหลายและยดื หยุน่ ตามความสนใจของผเู้ รยี น

 ผู้สอนและผู้เรียนสามารถเข้าถึงกันได้ ไม่กดดันและเครียด ผู้สอนเข้าใจผู้เรียน เอาใจใส่ มี
การแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ซึ่งกนั และกัน

ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 58

 จดั กิจกรรมท่ีทาใหผ้ ู้เรียนเข้าใจเนอ้ื หามากขึ้น เห็นภาพ สัมผัสได้จริง เรียนรู้จากสถานการณ์
จริง และให้ผู้เรยี นลงมอื ทาจรงิ เช่น กจิ กรรม PBL

 ครูเป็นผู้แนะนา เป็นผู้อานวยความสะดวก และกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นใน
การแก้ปัญหาและหาคาตอบด้วยตนเอง ไม่บอกคาตอบตรงๆ เป็นการเรียนรู้แบบ Active
learning

 ครูต้องเป็นผูม้ คี วามรจู้ รงิ เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี และมคี วามสามารถในการถ่ายทอด เข้าใจงา่ ย
 ลดเวลาเรียนและการบา้ นเพอ่ื ให้นกั เรยี นมเี วลาค้นหาความรดู้ ว้ ยตนเอง

 กิจกรรมการเรียนการสอนฝึกความคิดสร้างสรรค์ การทางานกลุ่ม ความเป็นผู้นา และการ
แสดงความคิดเหน็

 กิจกรรมมกี ารใช้ส่ือและเทคโนโลยปี ระกอบการเรยี นรู้

3) การเปล่ยี นแปลงการบรหิ ารสถานศึกษา
- พฒั นาสถานที่และสิง่ แวดล้อมให้เออ้ื ตอ่ การเรยี นรูข้ องนักเรียน
เชน่ การจดั ห้องสมดุ การจัดแหล่งการเรียนรตู้ ่างๆ การเชิญวทิ ยากรบรรยาย เป็นต้น
ได้คะแนนเฉลยี่ 2.90 ± 1.19 คะแนน
- พัฒนาบคุ ลากรในด้านตา่ งๆ ทัง้ ด้านความสามารถและดา้ นความเป็นอย่พู นื้ ฐาน
เชน่ การสง่ บุคลากรไปอบรมพฒั นาความสามารถดา้ นวชิ าชพี โครงการแลกเปล่ยี น การให้
สวสั ดกิ ารบคุ ลากรในดา้ นต่างๆ การจดั ฝุายดูแลบคุ ลากร เปน็ ต้น
ได้คะแนนเฉลี่ย 3.60 ± 1.38 คะแนน
- เนน้ เปาู หมายความสาเรจ็ ในเชิงประจักษ์ของสถานศึกษา
เช่น ผลสัมฤทธิ์ด้านการศึกษาของนักเรียน รางวัล และผลงานในรูปแบบต่างๆ ความร่วมมือ
กับ
หน่วยงานตา่ งๆของโรงเรยี น การพฒั นาอนั ดับของสถานศกึ ษา เปน็ ตน้
ได้คะแนนเฉล่ยี 2.60 ± 1.16 คะแนน
- ตอบสนองนโยบายการศกึ ษาของหนว่ ยงานกลางของประเทศ (2.36/5 คะแนน)
เช่น กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สานกั งานคุรุสภา เป็นตน้ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสอดคลอ้ งกบั ระบบ
การศึกษาของชาติ
ได้คะแนนเฉลย่ี 2.36 ± 1.61 คะแนน
- เน้นกระบวนการทางานท่มี ีประสิทธิภาพ (3.53/5 คะแนน)
เช่น การจัดลาดับข้ันตอนการดาเนินการในแต่ละขั้นอย่างชัดเจนและเป็นระเบียบ การ
จดั ระบบ
บัญชีและการจดั ซอ้ื จดั จา้ งท่ถี ูกต้อง โปรง่ ใส เป็นระบบ และตรวจสอบได้ เปน็ ต้น
ได้คะแนนเฉล่ีย 3.53 ± 1.27 คะแนน

ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 59

ซึง่ ในประเด็นดังกลา่ ว การให้ความสาคญั ของผู้ตอบในส่วน “พฒั นาบุคลากรในด้านต่างๆ ท้ัง
ด้านความสามารถและด้านความเป็นอยู่พ้ืนฐาน” เป็นคาตอบท่ีผู้ตอบให้ความสาคัญมากท่ีสุด
โดยเฉพาะกล่มุ ครูผู้สอนและกลุ่มบุคลากร สสวท. ในขณะท่ีกลุ่มนักเรียนจะให้ความสาคัญกับคาตอบ
ในข้อย่อยดังกล่าวพอๆกับคาตอบในอีกข้อย่อยคือ “เน้นกระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพ” และ
อีกประเด็นที่กลุ่มนักเรียนให้ความสาคัญค่อนข้างมากกว่ากลุ่มอ่ืนๆ คือข้อย่อย “พัฒนาสถานที่และ
ส่ิงแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน” โดยในประเด็นดังกล่าวยังมีวิธีการเพ่ิมเติมที่น่าสนใจ
เช่น

 จัดส่ิงอานวยความสะดวก เทคโนโลยี และสร้างบรรยากาศให้เหมาะกับการเรียนรู้ของผู้เรียน
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยเอ้ือต่อการพัฒนาของผู้เรียนให้ได้ทาในสิ่งท่ีชอบและส่งเสริม
ความสามารถในดา้ นต่างๆ

 การบริหารควรมีการกระจายอานาจ เพิ่มการมีส่วนร่วมของนักเรียนและครูโดยฟังความเห็น
ของทกุ ฝาุ ยและจัดกิจกรรมให้ทุกฝาุ ยได้ทางานรว่ มกัน

 ลดงานทีไ่ ม่จาเปน็ สาหรบั ครู เพอื่ ให้ครูมุ่งเน้นการสอนได้
 เน้นการหาครแู ละบคุ ลากรทมี่ ีคุณภาพเข้ามาทางานและเน้นการพฒั นาครู
 การบริหารต้องมีประสิทธิภาพ เช้น เอกสาร ข้ันตอนการทางาน ข้อมูลระเบียนประวัติ

นักเรียน และท่ีสาคัญคือการจัดสรรงบประมาณอย่างมีคุณภาพ และมีความโปร่งใสในการ
ทางาน
 ควรมกี ารกาหนดแนวทางของโรงเรียนไปในทางใดทางหน่ึงอย่างชัดเจน เช่น สายอาชีพ
 ผู้อานวยการต้องเป็นคนดีและบริหารแบบธรรมาภิบาล และไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ผู้อานวยการบ่อยๆเพ่ือใหเ้ กดิ ความตอ่ เน่ืองในการทางาน
 การบรหิ ารสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทชมุ ชน นโยบายของชาติ การเปล่ยี นแปลงของโลกและสังคม
การบริหารควรให้กาลังใจครู ตรวจสอบผลงานของครใู นเชงิ ประจักษ์ที่แท้จริง ไม่ผวิ เผนิ

4) การเปลย่ี นแปลงนโยบายของรัฐบาลและหนว่ ยงานต่างๆ
- การจัดสรรงบประมาณเพอ่ื พฒั นาสถาบนั การศึกษาตา่ งๆ
ได้คะแนนเฉลย่ี 2.72 ± 1.30 คะแนน
- การเนน้ ใหส้ ่ือตา่ งๆส่งเสริมความสาคัญของการศึกษาในยคุ 4.0
ไดค้ ะแนนเฉล่ีย 2.77 ± 1.42 คะแนน
- การกาหนดหลักสตู รแกนกลางแบบการศกึ ษา 4.0
ไดค้ ะแนนเฉล่ยี 2.85 ± 1.33 คะแนน

- การพฒั นาหลกั สตู รครศุ าสตร์และศึกษาศาสตร์เพอ่ื นาไปสกู่ ารศึกษา 4.0

ปีที่ 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดือน มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 60

ได้คะแนนเฉลยี่ 3.29 ± 1.28 คะแนน
- การพัฒนาคุณภาพชวี ิตของประชากรภายในชาติ
ไดค้ ะแนนเฉล่ยี 3.37 ± 1.61 คะแนน

ซ่ึงในประเด็นดังกล่าว การให้ความสาคัญของผู้ตอบในแต่ละส่วนค่อนข้างไม่แตกต่างกัน
ยกเว้นในกลุ่มครูผู้สอนท่ีให้ความสาคัญกับคาตอบในข้อย่อย “การกาหนดหลักสูตรแกนกลางแบบ
การศึกษา 4.0“ และ “การพัฒนาหลักสูตรครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์เพ่ือนาไปสู่การศึกษา 4.0”
แตกตา่ งกับคาตอบในข้อย่อยอนื่ ค่อนขา้ งชัดเจน โดยในประเด็นดังกล่าวยังมีวิธีการเพ่ิมเติมท่ีน่าสนใจ
เช่น

 ควรมกี ารลงทุนและจัดสรรงบประมาณกบั การศึกษาอยา่ งจริงจงั เชน่ การให้เงินสนับสนุนกับ
สถานศึกษาที่ขาดแคลน การให้ทุนการศึกษา และโดยเฉพาะอย่างย่ิง การเพิ่มเงินเดือนครู
เพอื่ เป็นการจูงใจให้คนทีม่ ศี กั ยภาพมาเป็นครู

 นโยบายทางการศึกษาต้องมีความทันสมัย ผ่านการรวบรวมความคิดเห็นของครูผู้สอนและ
คนทงั้ ประเทศ และมีเหตผุ ลทางวิชาการโดยมีผลการวจิ ัยรองรับ

 ต้องให้คนที่มีความรู้เป็นผู้ดาเนินนโยบายทางการศึกษา โดยมีการจัดต้ังคณะคนทางานท่ีไม่
โดนแทรกแซงทางการเมอื งและสามารถทางานได้ตอ่ เนอ่ื งโดยไม่มีการเปลี่ยนคณะทางานเมื่อ
การเมอื งเปลี่ยนแปลง

 การคัดคนท่ีมีคุณภาพมาเป็นครู การพัฒนาครู และการพัฒนาหลักสูตรครุศาสตร์ของแต่ละ
มหาวิทยาลยั ใหม้ คี ณุ ภาพ

 การปรับหลักสูตรแกนกลางและการระบุตัวชี้วัดให้เน้นทักษะกระบวนการคิดมากกว่าเน้น
เนือ้ หา เพ่อื ให้การเรยี นการสอน การจัดกิจกรรมในช้ันเรียน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอบ
วัดประเมินในระดับต่างๆมีคณุ ภาพ

 การใช้นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาเรยี นรู้ โดยปรบั หลกั สูตรให้มีเนอ้ื หาทไ่ี ม่ยาก

 การกาหนดนโยบายการศกึ ษาเพื่อมุ่งเน้นพัฒนาการศึกษาอย่างจริงใจ โดยให้ความสาคัญกับ
ผู้เรียน ผู้สอน หลักสูตร และสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะการให้ครูได้มุ่งเน้นการสอน พัฒนา
ตนเอง ลดงานเอกสาร และลดการมุ่งเน้นเล่ือนวิทยฐานะเพียงอยา่ งเดียว

 ส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษาท่ัวประเทศ เช่น การให้ความรู้ประชาชนใน
ชาติทุกระดับให้ตามทันเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง การเปิดโอกาสทางการศึกษาให้เด็กท่ีด้อย
โอกาส การกระจายโรงเรียนที่มีคุณภาพไปอยู่ตามพื้นท่ีอื่นๆนอกจากตัวเมืองใหญ่ๆ การลด
ความแตกตา่ งระหว่างโรงเรียนรัฐบาลกับเอกชน เปน็ ต้น

 พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนไทย โดยสง่ เสริมความเป็นอยู่ที่ดี ส่งเสริมให้คนในสังคมเป็นคนดี และ
ปลูกจิตสานึกให้คนไทยอยากมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้าน
งานวจิ ยั

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดือน มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 61

 การบรหิ ารการทางานของรัฐบาลให้มีประสิทธิภาพ เพ่ิมความคล่องตัว ตรวจสอบได้ และลด
การแข่งขัน และการวางนโยบายให้เกิดความร่วมมือกันในทุกภาคส่วนท้ังรัฐบาลและเอกชน
ในการพัฒนาชาติ

 สร้างความเข้าใจที่ชัดเจนแก่ประชาชน องค์กร และหน่วยงานต่างๆเก่ียวกับแนวคิด
การศกึ ษา 4.0 และมีการกาหนดกรอบการทางานและการตดิ ตามผลทเี่ ป็นรูปธรรมชดั เจน

 ส่งเสริมให้คนไทยเห็นความสาคัญของการศึกษา เช่น ยกย่องสถานศึกษาต้นแบบ และการ
แนะแนวดา้ นการศกึ ษา

 การสง่ เสรมิ ให้เห็นความสาคญั ของอาชพี ในสายต่างๆที่หลากหลาย รวมถึงการจัดต้ังโรงเรียน
ที่มีเปูาหมายในการผลิตบุคลากรท่ีมีความสามารถเฉพาะด้าน เช่น ด้านคณิตศาสตร์และ
วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การทางานวิจยั เปน็ ตน้
การกาหนดนโยบายดา้ นการศกึ ษาของรัฐบาลใหส้ อดคล้องกับบริบทของผ้เู รียน สถานศกึ ษา
ประเทศ และประชาคมโลก

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562) 62

“การศึกษา 4.0” ไมเ่ กดิ ขึน้ ได้ในชัว่ ข้ามคนื และต้องอาศัยความรว่ มมือของคนท้ังชาติ
จากผลการวิจัย จะเห็นได้ว่าความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในประเด็นเรื่อง

กระบวนการเปลี่ยนผ่านไปสู่การศึกษา 4.0 น้ันมีความหลากหลาย โดยส่วนใหญ่ผู้ให้คาตอบจะให้
คาตอบจากประสบการณ์จริงและปัญหาท่ีใกล้ตัว เช่น คาตอบท่ีได้จากกลุ่มนักเรียนจะอยู่ในระดับ
หอ้ งเรยี นและโรงเรียนเปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ ตน้ อาจพอสรุปได้ว่าแนวคิดเร่ืองการศึกษา 4.0 ณ เวลาน้ียัง
มีความไม่ชดั เจนในความคดิ ของคนในกลุม่ น้ี

ในทางกลับกนั ความคิดและคาตอบที่หลากหลายเช่นน้อี าจนาไปสู่แนวทางในการเปลี่ยนผ่าน
ไปสู่การศึกษา 4.0 ในข้ันตอนแรก น่ันคือการทาความเข้าใจกับคนในชาติให้มองเห็นปัญหาของ
การศกึ ษาทต่ี อ้ งมีการปรบั ปรุงและเปลย่ี นแปลงในปัจจุบัน ความหมายและความสาคัญของการศึกษา
4.0 ในการแก้ปัญหาเพ่ือพัฒนาประเทศไทย ท้ังนี้เพ่ือให้เกิดความชัดเจนของแนวทางการปฏิบัติงาน
ขององค์กรและหน่วยงานต่างๆท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงตัวผู้เรียนผู้สอนเองท่ีจะต้องปรับหลักสูตรและ
กิจกรรมภายในห้องเรยี นให้สอดคล้องกับบริบทดังกลา่ วอีกดว้ ย

การจะเปล่ียนแปลงการศกึ ษาของไทยให้ไปสกู่ ารศึกษา 4.0 ไม่ใชส่ ิง่ ท่สี ามารถเปล่ียนแปลงได้
ทันทีทันใด เป็นนโยบายระยะยาว เพราะการศึกษานั้นเกิดจากการบ่มเพาะและการปลูกฝังกระบวน
ทัศน์ความคิดในตัวผู้เรียนต้ังแต่เด็กๆ ยกตัวอย่างเช่น การใช้อินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยี ซึ่งเป็นหน่ึง
ในปัจจัยทีส่ าคญั ของการศกึ ษา 4.0 ทม่ี ุ่งเน้นให้ผคู้ นมีความสามารถในการเขา้ ถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทักษะดังกล่าวไม่ใช่เร่ืองที่ง่ายและเป็นสิ่งที่ไม่คุ้นเคยสาหรับคนทั่วไปท่ีไม่เคยได้ใช้ส่ิงน้ีตั้งแต่เด็ก แต่
เป็นเรื่องท่ีง่ายดายมากสาหรับเด็กในยุคนี้ที่จะเข้าถึงข้อมูลต่างๆในอินเตอร์เนท เปูาหมายการศึกษา
4.0 ซ่งึ ตอ้ งการใหผ้ ู้เรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเองนั้นก็ไม่ใช่สิ่งท่ีจะเกิดข้ึนได้ทันทีทันใด
เนอ่ื งจากรปู แบบการเรียนรู้ของประเทศไทยเกิดจากการถ่ายทอดจากครูสู่นักเรียนเป็นเวลานาน การ
จะเปล่ียนบทบาทผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นหาข้อมูลเอง การเปลี่ยนบทบาทครูไม่ให้ถ่ายทอด
ความรู้ตรงๆ หรือแม้แต่เปูาหมายการวัดประเมินการศึกษาของผู้เรียนผ่านกระบวนการคิดมากกว่า
การวัดความรู้ความเข้าใจ สิ่งเหล่าน้ีล้วนไม่สามารถเปล่ียนแปลงได้ง่ายและรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลง
ต้องมีความค่อยเป็นค่อยไปและเริ่มต้นแก้ไขทีละส่วนตั้งแต่การปรับเปูาหมายและการปฏิบัติงานทาง
การศึกษาให้เกิดความสอดคล้องกันทุกฝุาย ส่วนนโยบายในระยะส้ันน้ัน เราไม่สามารถทาให้คนไทย
ทกุ คนเป็นคนไทยยุค 4.0 ไดท้ ันที อาจเพยี งไดแ้ ตค่ ัดกรองคนในปจั จุบันทม่ี แี นวโน้มและความสามารถ
จะเปน็ คนในยุค 4.0 ซึ่งมีองคป์ ระกอบหลกั สาคญั 3 ประการ ไดแ้ ก่

- ความคิด คนไทยในยุค 4.0 จะต้องมีความสามารถในการผลิต คิดค้น และสร้างสรรค์
ผลงานต่าง ความคดิ อย่างมวี ิจารญานในการดงึ เอาข้อมลู ท่มี ีอยู่มากมายและเข้าถึงได้ง่าย
และรวดเร็วในปัจจุบัน คือส่ิงท่ีสาคัญมากสาหรับคนไทยในยุคนี้ รวมทั้งความคิดอย่างมี
เหตุผล และความคดิ สรา้ งสรรคต์ ่อยอดจากขอ้ มลู ที่มี แล้วนามาสรา้ งสรรคเ์ ป็นผลงานได้

- ความดี ในโลกปัจจุบันท่ีไม่มีพรมแดนแห่งการติดต่อส่ือสาร รวมทั้งส่ือต่างๆ ท่ีสามารถ
เขา้ ถึงคนทุกเพศทกุ วัยไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย แม้แต่ในเด็กที่ยังไม่มีวิจารณญาณต่างๆ เพียงพอ

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 63

คนไทยในยุคปัจจุบันจะตอ้ งพบเจอกับความทา้ ทายทางด้านศลี ธรรมต่างๆ เป็นอย่างมาก
การสั่งสอนให้คนในสังคมมีความคิดท่ีดี เห็นแก่ส่วนรวม และไม่คิดเบียดเบียนผู้อ่ืนจึง
ยังคงเป็นสิ่งที่จาเป็นที่คนในยุค 4.0 จะต้องมีเพื่อสร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ เพื่อประโยชน์สุข
ของมวลมนุษยชาติ
- ความมุ่งม่ัน นอกจากคนในยุค 4.0 จะต้องเป็นคนที่มีความคิดและความดีแล้ว สิ่งหนึ่งท่ี
จะสามารถทาให้คนสามารถผลิตผลงานช้ินหนึ่งๆ ให้สาเร็จลงได้น้ันคือ ความมุ่งม่ัน ไม่
ย่อท้อ และตามติดการทางาน เพราะการสร้างงานให้สาเร็จได้แต่ละชิ้นนั้น อาจจะต้อง
พบกับผลท่ีไม่คาดคิดหรือความล้มเหลว การมีกาลังใจไม่ย่อท้อและหาหนทางแก้ปัญหา
ท่เี กิดข้ึนเพอ่ื มุง่ ไปสคู่ วามสาเร็จได้นั้นจงึ เป็นส่ิงท่ีคนในยคุ ผลติ ภาพจะต้องมี
เพื่อนาไปสู่การพัฒนาชาติในแนวทาง 4.0 ได้ เม่ือเฟูนหาคนท่ีมีคุณสมบัติเหล่านั้นแล้ว สิ่งท่ี
ขาดไม่ได้คือการสนับสนุนและพัฒนาต่อยอดคนกลุ่มนี้ให้ขับเคล่ือนชาติต่อได้ เช่น การสนับสนุน
การศึกษาดา้ น STEM การสนับสนุนการทางานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ เป็นต้น
สิ่งเหล่านี้อาจเป็นแนวทางที่จะสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของชาติไปสู่การเป็นประเทศไทย
4.0 ได้
การเปล่ียนแปลงใดๆก็ตามไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเปูาหมายปลายทางน้ันไม่
ชัดเจน ความชัดเจนและแน่วแน่ของนโยบายการศึกษาของชาติเป็นส่ิงที่สาคัญมากในการ
เปลี่ยนแปลงไปสู่การศึกษายุค 4.0 กาลังใจถือเป็นอีกหน่ึงสิ่งสาคัญสาหรับนักเดินทางเพ่ือไปให้ถึง
เปาู หมาย ผูเ้ รียนกต็ ้องการกาลังใจจากครูผู้สอนในการช้ีแนะแนวทางที่ถูกต้องและสร้างความสัมฤทธ์ิ
ทีเ่ ปน็ รูปธรรมในการเรียนของผเู้ รียน ครผู สู้ อนก็ต้องการกาลังใจจากผู้บริหารที่ต้องคอยสนับสนุนการ
ทางานของครูผู้สอนให้สามารถพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างเต็มท่ี ผู้บริหารโรงเรียนก็ต้องการ
กาลังใจจากรัฐบาลในการสนับสนุนงบประมาณและการวางนโยบายสนับสนุนต่างๆเพื่อการพัฒนา
สถานศึกษา และทา้ ยทส่ี ดุ รฐั บาลและหน่วยงานด้านการศึกษาก็ต้องการกาลังใจจากคนทั้งชาติในการ
เสนอแนะและร่วมมือกันทาให้นโยบายของรัฐบาลในด้านต่างๆสัมฤทธ์ิผลได้จริง ส่ิงน้ีไม่สามารถ
เกิดขึ้นได้ดว้ ยคนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง แต่ต้องมาจากความเห็นชอบและการร่วมมือกันของทุกๆคนในชาติ
เพือ่ เปาู หมายปลายทางร่วมกันคือการทาให้ประเทศไทยก้าวพ้นจากกับดักต่างๆและก้าวไปสู่ประเทศ
ไทยยคุ 4.0 ทมี่ คี วามมัน่ คงทง้ั ทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างคน
ไทย 4.0 ที่มีความพร้อมทั้งทางด้านความคิดและความดีเพ่ือก้าวไปสู่โลกแห่งการเปล่ียนแปลงใน
อนาคต

ปที ่ี 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562) 64

เอกสารอ้างอิง

สุวิทย์ เมษินทรยี ์. (2559). 3 กลไกขบั เคลื่อนไทย 4.0. สืบคน้ เมื่อ 1 กันยายน 2560, จาก
https://www.facebook.com/drsuvitpage/posts/1401674970139229:0.
นครินทร์ ศรเี ลิศ. (2559) ‘Thailand Economy 4.0’ ความหวงั ไทย. สืบค้นเมอื่ 1 ตุลาคม
2560, จาก http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/637748.
สุวทิ ย์ เมษินทรยี ์. (2560). Thailand 4.0: Sustainable Growth with Shared Prosperity.
สืบค้นเม่ือ 1 ตลุ าคม 2560, จาก https://www.facebook.com/drsuvitpage/
posts/1427182884255104.
Osburg, T. (2015). Industry 4.0 needs Education 4.0. Retrieved October 1, 2017,
from
https://www.linkedin.com/pulse/industry-40-needs-education-thomas-osburg.
สุวทิ ย์ เมษนิ ทรยี ์. (2560). การบรหิ ารการศกึ ษาเพอ่ื รว่ มสรา้ งประเทศไทย 4.0. สบื คน้ เม่อื
1 ตลุ าคม 2560, จาก https://www.facebook.com/drsuvitpage/posts/
1426302961009763.
ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์ และคณะ. (2560). การศกึ ษา 4.0 เปน็ ยิ่งกวา่ การศึกษา. พมิ พ์ครั้งท่ี 4.
กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกณ์มหาวิทยาลยั .
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). การศึกษา 4.0 ปรัชญาการศกึ ษาเชงิ สรา้ งสรรค์. พิมพค์ รัง้ ที่ 3.
กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกณม์ หาวิทยาลยั .
ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์ และคณะ. (2560). โรงเรยี น 4.0: โรงเรยี นผลิตภาพ. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 3.
กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกณม์ หาวทิ ยาลัย.
ประเวศ วะสี. (2557). ปฏิรปู การศึกษาใหเ้ ปน็ จุดคานงัดประเทศไทย. กรุงเทพฯ: หมอ
ชาวบ้าน.
สถาบนั เพ่ิมผลผลิตแห่งชาติ. (2559). ประเทศไทย 4.0 โมเดลการพัฒนาประเทศ ม่นั คง มัง่ ค่ัง
และยงั่ ยนื . สบื คน้ เมอ่ื 1 ตลุ าคม 2560. จาก http://www.ftpi.or.th/2016/9835.

ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 65

The Effectiveness of Images in Accelerating Vocabulary Acquisition and the
Development of Critical and Creative Thinking Skills for Gifted Students

Jane Kanjanaphoomin

Abstract

The effectiveness of images in accelerating vocabulary acquisition and the
development of critical and creative thinking skills was examined in the context of
gifted education. The school under study uses English as a medium of instruction.
And, no formal preliminary test in English is administered to gauge students’
proficiency level prior to their enrollment. A qualitative data collection was
undertaken using methods of participant observation and document analysis. The
findings revealed that images do have a positive effect on students’ vocabulary
retention of old and new words learned. Furthermore, one other significant influence
of images was the ability of students to demonstrate their creative and critical
thinking skills using these new words learned in creating stories.

Keywords: images, vocabulary acquisition, critical and creative thinking skills,
gifted students

Introduction

Kamnoetvidya Science Academy (KVIS) was established in 2015 with the aim
of creating valuable resources in crucial industries such as science, technology,
engineering and math (STEM). The school attracts some of the country’s best high
schoolers and offers a 3-year scholarship to a total of 72 15-18-year-olds who are
talented in science and math. The medium of instruction is English. Admission to the
school sees the administration of two rounds of testing, with round one and two
covering both content knowledge in science and math. No English test scores are
formally used whatsoever to evaluate students’ aptitude in English.

The primary objective of this research was to address how English teachers
can aid students in obtaining vocabulary words using images, subsequently, triggering
and developing their critical and creative thinking skills. The research was guided by
three questions: 1) To identify the current proficiency levels of students in two areas:

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 66

vocabulary knowledge and critical and creative thinking skills using images; 2) To
investigate if images could contribute to a longer retention of vocabulary words; 3)
To see if repeated exposure to images develop the critical and creative thinking skills
of students.

Two major areas of relevant theories were looked into; the first area of
investigation was theories related to memory that explained how learners retrieve
what they have learned, and the second part examined areas that would ignite the
development of the higher order thinking skills such as critical and creative thinking
using Bloom’s Taxonomy of Learning.

Part 1. Under Dual Coding Theory, Allan Paivio (1971) contended that
picture stimuli have an advantage over word stimuli because they are dually
encoded. Pictures or images generate a verbal and image code, whereas word stimuli
only generate a verbal code. Paivio’s Dual Coding Theory is “one of the most
influential theories of cognition in the 20th century” (Marks, 1997), and has been
fruitfully applied to a wide range of psychological issues, including: thinking processes
(Paivio, 1975a); individual differences in thinking styles (Paivio & Harshman, 1983);
language understanding (Paivio & Begg, 1981); bilingualism (Paivio & Desrochers, 1980;
Paivio, 1986); metaphor (Paivio, 1979); creative thinking (Paivio, 1983b); the
observational/theoretical distinction in science (Clark & Paivio, 1989); the psychology
of reading and writing (Sadoski & Paivio, 2001); and even the use of visualization to
enhance athletic performance (Paivio, 1985; Hall et al., 1998; Munroe et al., 2000).

Paivio stated that imagery potentiates recall of verbal material because when
a word evokes an associated image (either spontaneously, or through deliberate
effort) two separate but linked memory traces are laid down, one in each of the
memory stores. Obviously, the chances that a memory will be retained and retrieved
are much greater if it is stored in two distinct functional locations rather than in just
one.

The Sensory Semantic Theory supports this notion when Nelson pointed
out that images hold two encoding advantages over words. Images are perceptually
more distinct from one another than are words, thus increasing their chance for
retrieval. Images are also believed to assess meaning more directly than words.
Levels of processing theory apply when words and images are compared under
semantic study instructions, and recall is very similar for images and words, as both

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 67

were encoded at deeper levels. Image superiority results from superior encoding for
images as opposed to words, which facilitate greater recollection for images.

Another theory on memory that has importance and is strongly advocated is
Weldon and Roediger’s Transfer Appropriate Processing (TTP). TTP shows that
greater overlap of processing and test result in increased performance. TAP accounts
for image superiority by an interaction of encoding and retrieval. If items are encoded
during a semantic task, performance should be higher for a memory test that relies
on concepts related to the items for retrieval than a test that relies on perceptual
features.

Part 2. Understanding the 1990s’ revised version of Bloom’s Taxonomy of
Learning Domains (as cited in Pohl, 2000) would also provide a clearer framework for
teachers to plan on what type of questions would provide optimal help in the
ignition of higher-order thinking (analysis, evaluating, creating) of gifted students when
images are used. There are various techniques that teachers can apply to guide their
students through Bloom’s Taxonomy.

For example, a teacher could use an image and model some questions
according to the taxonomy levels:

 Remember: What items or people can you name with the vocabulary you
know?

 Understand: What is happening in the photo?

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 68

 Apply: What one sentence caption would you write?
 Analysis: Where do you think they are?
 Evaluate: What might they be thinking?
 Create: Are they too young to play soccer? Why or why not?

Teachers can also use Picture Word Inductive Model (PWIM) to generate
writing. This key strategy uses images to prompt writing and has been effective for
learners of all proficiency levels. Images are immediately engaging and often less
daunting for students than texts. Therefore, images can be used to effectively push
language development and thinking and creative skills within a thematic unit.
Moreover, students can describe in writing what they observe, trying to record as
many details as possible based on the image that they have seen. The PWIM induces
students to recall their own associative vocabulary based on what they know as well
as retrieving from their background knowledge.

Research Methodology

All 72 Mathayom 4 students were chosen to be the sample population of this
research. The teacher/participant observer met with the students weekly on a 50-
minute period, and each group comprised 18 students. These students were grouped
based on their proficiency levels after a TOEFL-itp exam whiich was administered at
the start of their academic year. Table 1 below shows the results of the students’
placement in their homerooms. Class 1, students with the lowest proficiency and
Class 4, the highest proficiency. The research was conducted for three consecutive
weeks, from June 25 to July 10, 2019 and amounted to 150 hours of treatment.
Table 1: Comparisons between various test scores and CEFR level

Class TOEFL-ITP Proficiency Level CEFR IELTS
(677)
Pre-intermediate A2-B1 low 3.5
4/1 363 - 447 Lower Intermediate B1 low 4.0
4/2 448 - 477 4.5 - 5.5
4/3 480 - 533 Intermediate B1 6.0 – 7.0
4/4 537 - 633 Upper-Intermediate - B2 – C2

Advanced

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 69

Research Instruments

The qualitative data in the research was collected through observations and
document analysis. These methods were used in order to obtain an accurate
research outcome for the phenomena under examination. In this study, the
researcher acted as a participant observer and their teacher.

Participant Observation is a part of the broader qualitative research
paradigm (Denzin and Lincoln, 2000), where the researcher serves as the primary
instrument for observing and collecting data (Creswell, 2003). More importantly, the
focus of the research is on the process rather than outcomes (Merriam, 1988). Also,
since the research was descriptive, it sought to draw meaning or understanding from
observations, hence, increasing the validity of data than other types of quantitative
instruments.

Some of the advantages of the researcher being the participant observer
were:

a) Students’ natural behavior can be studied. When the group of students
knew that they were observed by someone else other than their teacher,
they would feel conscious, uncomfortable and therefore neutrality in
their behavior and activity would be compromised. But in this case, the
researcher was also teaching the subject, therefore, the role of a
participant observer became natural, and the students reacted normally.

b) The close rapport between teacher and the students. In participant
observation, the teacher/researcher has a very close relationship with the
respondents, having had contact with them both in class and outside of
class from mid-April 2018. This resulted in the researcher obtaining rich
data from a close angle and thus could interpret the situation better than
a non-participant observer.

Document Analysis

Document analysis is a systematic procedure for reviewing or evaluating
documents. Like other analytical methods in qualitative research, document analysis
requires that data be examined and interpreted in order to elicit meaning, gain

ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 70

understanding, and develop empirical knowledge (Corbin & Strauss, 2008; see also
Rapley, 2007). Documents contain text (words) and images that have been recorded
without the researcher’s intervention.

Documents that were used for systematic evaluation as part of this study
took three forms; the images used in the research, the words listed down by the
group of students and the one paragraph short description of the images written by
the students. The data were collected in three systematic stages as follows:

Figure 1

Research •Participant Research • Participant Research • Participant
Objective 1 Observation Objective 2 Observation Objective 3 Observation

Pre-Activity • Document Whilst- •Document Post- •Document
Analysis Activity Analysis Activity Analysis

Accelerating Vocabulary Acquisition & Development of Critical and Creative
Thinking

Research Findings

The primary purpose of this research was to investigate the effectiveness of
images in accelerating vocabulary acquisition and the development of critical and
creative thinking skills for gifted students. The data and findings presented in this
chapter were organized according to the three research objectives.

Part one was an attempt to address research objective 1: To assess the
current vocabulary knowledge and critical and creative thinking skills
possessed by students using images. The researcher designed the activities using
the qualitative data collection method comprising two instruments as discussed
below:

- First phase presents findings from classroom observation where the
researcher the teacher in-charge of the intensive English class
implemented the activity. The class was naturally unaware of the reason
behind the lesson as there were no changes made or announcement
made to the students regarding the research.

- Second phase sees the use of documents to investigate the current
vocabulary level, as well as the critical and creative thinking skills
possessed by the students.

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 71

Design of the Activity

Students were randomly selected and grouped into 3-4 members to a group,
and each group was given a different image. The researcher then gave each student a
colored hat to indicate the role and responsibility of each member. Word class
master roles were given such as the “Verb Master”, “Adjective Master”, “Noun
Master” and the “Any word Master” so that students were guided into thinking of
words that fell in the respective categories. The groups were told that they had only
a minute to come up with as many words as possible that were associated with the
image. Once one minute is up, each group had to move clockwise, to another
group’s image. They were told not to replicate any word that has already been
written. The activity ended when all groups reached their original image. The images
were pasted on the glass boards around the class, and marker pens were handed
out to the students to list out their words beside the image. See Image 1 below as
reference to the activity.

Image 1: Activity

Also, after the activity ended, the teacher held a discussion with students and
scaffolded them with other vocabulary words that could have been produced by the
students. Suggested words in class for Image 1a: infectious, infection, onlookers,
villagers, protective suits, goggles, mask, bury, disease, Ebola.

Participant Observation

The students were observed to show regular behaviors, and the researcher noticed
that all students in their respective groups were totally engaged in their assigned
roles. There were some who were slower that the others in listing their words.
However, as more words were listed, all members had a harder time to list down
new ones, and unreplicated words made their tasks harder. Most students could

ปีที่ 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 72

write an average of 4 words when the board was empty but had only 1-2 words
when there were more vocabulary words written next to the picture.
Document Analysis
The document analyses in this data collection stage were as follows:

(i) The compilation of all the words written down on the glass boards by
each proficiency level which was later transferred on to a word
document for records and analysis (see Table 2), and

(ii) The classifications of high frequency words and low frequency words
(see Table 3).

Under stage 1 of implementing the activity, Image 1a was showed for the first
time. Table 2 compiled all the words that the students listed down in one minute. It
was interesting to note that the words produced by the lower proficiency students
comprised more of “sight” words or vocabulary words that were recognizable and
recalled when compared with students from the higher proficiency levels. Figure 2
depicts a diagrammatical summary of all the words listed down by Mathayom 4
students, categorized by their level of proficiencies.

Image 1a (Week 1)

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 73

Table 2: Current Vocabulary Words of Mathayom 4 Students

4/1= Pre-Intermediate 4/2= Low 4/3= Upper 4/4 = Upper - Advanced
Intermediate Intermediate
1. Human 2. Dirt 1. African 2. Nature
3. Bag 4. Leaf 1. Human 2. Dirt 1. Human 2. Clothes 3. Ecology 4. Hole
5. Air 6. Glasses 3. Trash bag 4. Leaves 3. Garbage 4. Forest 5. People 6. Soil
7. Man 8. Mask 5. Soil 6. People 5. Mask 6. Soil 7. Community 8. Officer
9. White 10. Green 7. Man 8. Mask 7. Protect 8. Tree 9. Colorful 10. Protection
11. Blue 12. Gray 9. Green 10. Blue 9. Glasses 10. Gloves 11. Environment 12. Tree
13.Yellow 14. 11. Gray 12. Danger 11. Fertilizer 12. Shoes 13. Society 14. Research
Dangerous 13. Dirty 14. Watch 13. leaf 14. Rubbish
15. Dirty 16. Die
17. Watch 18. Stand
19. Carry 20. See
21. Walk

When analyzed, it was found that out of a total of 32 words listed down by
all students (excluding repetitive words), there were only 15 words that can be
classified as directly related to the picture and were low frequency words. The
students in the highest proficiency level (Class 4/4) produced 60% of those 15 words,
with 9 low frequency words out of an overall total of 14 words that this advanced
class students listed down. On the other hand, a large number of words that are also
termed “sight words” or high frequency words that appear in regular reading, were
generated by the lower proficency level students.

Figure 2 gives a clear classification between the high frequency and low
frequency words. A higher activation resting threshold is triggered with high frequency
words while it takes a longer time of activation for low frequency words. In low
frequency category, words that are associated with the images are not easily
recognizable. Hence the threshold resting level of activation is low and slow as
students do not normally associate or perceive these words with Image 1a.

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 74
Figure 2. High Frequency vs Low Frequency Vocabulary Words

Human, dirt, bag, leaf, air, glasses, man, white, green, High frequency words or
blue, gray, yellow, dirty, die, watch, stand, carry, see, sight words; higher level of
walk, trash bag, leaves, soil, people, tree, clothes, activation
garbage, officer, leaf, shoes, rubbish, colorful, officer.

Total = 32

Mask, dangerous, danger, forest, protect, gloves, Low frequency words;
African, nature, ecology, hole, community, lower level of activation
protection, environment, society, research.

Total = 15

Part two was an attempt to address research objective 2: To prove if images really
aid in retaining vocabulary acquisition.

Participant Observation

In investigating if images really aided in retaining the acquired vocabulary by
the students, the following week’s class, referred here as Class 2 saw the teacher
researcher starting off her class with a recall and recite activity of the vocabulary
words she had introduced in the previous class. The class was conducted on July 2-
3, 2018 and students were once again given the preceding week’s Image of 1a. It was
observed and noted that the students were successful in recalling almost all their
vocabulary words learned including the teachers’ suggestion at the end of the class.

The vocabulary words recalled for Image 1a were “infections, onlookers,
protective suits, villagers, bury, disease, Ebola” and others. The only word that they
could partially guess but mispronounce was “epidemic”. The recalling and reciting
technique was a success especially for the lower proficiency students in accelerating
their vocabulary acquisition process.

ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 75

In the second week of treatment, the teacher researcher chose a new image
and repeated the whole process by showing the image to the students on power
point, and then giving the groups a minute to list down the words on whiteboard
sheets.

Document Analysis

It was found that the students listed more perceptive words, words that were
not easily activated and were therefore considered as low frequency words. Table 5
shows the words listed by the students representing various classes, from low
proficiency to the top proficiency class at the school. The researcher can conclude
that within Week 2, Lesson 2 with a new image, students critical thinking has been
activated and they have acquired the necessary vocabulary words that were
contextually associated with the image.

Image 2 (Week 2)

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 76

Table 3: Vocabulary Words of Mathayom 4 Students

4/1= Pre-Intermediate 4/2= Low Intermediate 4/3= Upper 4/4 = Upper - Advanced

1. depressed 2. Upset Intermediate
3. competition 4. player
1. legs 2. hand 5. fair game 6. Clap 1. soccer 2. captain 1. football player 2. team
7. accident 8. captain
3. useless 4. number 9. football 10. soccer 3. upset 4. defeat 3. depressed 4. lost
11. cheer-up 12. sad
5. black 6. purple 13. viewer 14. failure 5. stadium 6. players 5. disappoint 6. console
15. aggressive 16. courtesy
7. competitive 8. clap 17. disappointed 7. coach 8. Audience 7. applause8.encouragement
18. Thirteen 19. coach
9. sadness 10. serious 9. match 10. clap 9. sportsmanship 10. coach

11. teamwork 12. Cheer 11. audience 12. sponsor

13. collaboration 14. cry 13. teamwork 14. thirteen

15. depressed 16. fail

17. defeat 18. Football

19. hopeful

Figure 3 gives a clear classification between the high frequency and low
frequency words. In Lesson 2, Week 2, a total of 42 words fell in the low frequency
word category (note that there were more red fonts than black fonts) and were
words that were contextually related to the image such as “teamwork, clap, defeat,
cheer-up, courtesy, disappointed, audience, sportsmanship, encouragement,
applause, console, coach etc.” All four proficiency levels improved with some
exceptional words such as “hopeful” from M4/1, “failure, cheer-up, fair game,
courtesy” for M4/2, and words like “defeat, stadium, audience, match” by M4/3 and
sportsmanship, console, encouragement, applause” from the advanced class M4/4.
And the high frequency words reduced significantly, six times less than the low
frequency words.

ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 77
Figure 3. High Frequency vs Low Frequency Vocabulary Words

Legs, hand, number, black, purple, thirteen, sponsor High frequency words or sight
words; higher level of activation
Total = 7
Low frequency words;
Useless, clap, competitive, sadness, serious, teamwork, lower level of activation
depressed, collaboration, cheer, cry, hopeful, defeat,
football, fail, upset, clap competition, failure, fair game,
accident, captain, football, soccer, cheer-up, sad, viewer,
failure, aggressive, courtesy, disappointed, coach, stadium,
audience, match, team, lost, teamwork, applause,
encouragement, sportsmanship, audience.

Total = 42

Class Discussion

The teacher researcher shared with the class all the words that the students
listed down and gave further explanation to those that were unknown to some
students. Some vocabulary words were explained by soliciting their alternative word
forms. In addition, the teacher researcher also introduced other new vocabulary
words that the students never considered. They were “spectators, stand,
substitute or players, jerseys, despair, comfort, foul, offence, tie, fair play”.

Part three was an attempt to address research objective 3: To evaluate if repeated
use of images really aided the development of critical and creative thinking
skills.

Participant Observation

Before the new activity began in the final week, Week 3 on July 9 and 10,
2018, the teacher researcher started-off with a warm-up activity on Week 2’s Image.
The objective was to observe if students could recall the low frequency vocabulary
words that were produced by each class, as well as some that were introduced by
the teacher and discussed in class.

ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 78

The recall and recite method was used, where the teacher researcher
showed the image and solicited responses. From her observation, it could be noted
that the vocabulary acquisition and retention levels were high as the students
successfully recalled many of the vocabulary words learned from the image on
football.

The vocabulary words recalled for Image 2 were “match, stadium,
sportsmanship, encouragement, console, teamwork, fair play, foul, applause,
spectators, stand, cheers, applause, comfort, captain, coach, player, substitute etc.”
The results clearly showed that students could retrieve and recall their acquired
vocabulary words from an image. The teacher researcher then moved on with the
final image to evaluate if the students were able to not only critically think of
vocabulary words but to creatively write a story or convey a key message on the last
image as seen below. A piece of paper was handed out to all groups to list their
vocabulary words, and later to write their story on the same paper.

Image 3 (Week 3)

Table 4: Vocabulary Words of Mathayom 4 Students

4/1= Pre- 4/2= Low 4/3= Upper 4/4 = Upper -
Intermediate Intermediate Intermediate Advanced

1. reflect 2. mirror 1. appearance 1. beggar 2. poor 1. mirror 2. human
3. poor 4. inequality 2. homeless 3. trick 4. clever 3. look into 4. comedic
5. beggar 6. rich 3. beggar 4. donation 5. money 6. sacrifice 5. reflection 6. homeless
7. class 8.communicate 5. wealthy 6. mirror 7. give 8. beg 7. poverty 8. Social class

ปีที่ 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 79

4/1= Pre- 4/2= Low 4/3= Upper 4/4 = Upper -

Intermediate Intermediate Intermediate Advanced

9. kindness 10. different 7. reflection 8. future 9. mirror 10. Reflect 9. social inequality
11. social 12.economic
13. sadness 14. caste 9. level of people 10. rich 11. wall 12. Glass 10. beggar
15. selfishness
16. reversible 11. poor 12. problem 13. hat 14. Poor 11. self-portrait 12. Side walk
17. homeless 18. fake
19. hungry 20.donation 13. money 14. hat 15. inequality 13. mimic 14. Identity

15. suit 16. street 16. Wealthy 15. abstract 16. Gap

17. businessman 17. curious 17. man 18. suit

18. corner 18. Social class 19. torn 20. money

19. miserable 19. generous

20. poverty

During the observation of this new image, the teacher researcher noted that
one group member in M4/1 was reluctant to call out some words that were listed on
his group’s paper such as “wall, street, hat and door” as he was aware that these
words were “sight” words. His hesitation indicated that the students have become cr
itically aware when they view images and their interpretations.

Figure 4: Writings from Class 4/1: Pre-intermediate

This picture represents the social inequality and selfishness of people in the society. There was a man who is very
selfish, he never donate. One day, he saw one skinny man while he was walking on the street. He walked towards to
that man and then he saw himself. So, that was a first time he wanted to donate but he donated because he thought
that the skinny man who was sitting in front of him was himself. This situation shows that if the skinny man doesn’t use
the mirror, he won’t get the money from the rich.

Unedited version

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562) 80

Figure 5: Writings from Class 4/2: Lower-intermediate

Reverse Life
Once upon a time, in the nearest land. A young prince lived in royal castle. One day he was making a contact with the
mirror wizard. He needed a comfortable life without working. The wizard accept his request. After that he fell asleep.
The he woke up by the noise of cars. He found that he became a poor man look like beggar. Next to him there is a
mirror, the symbol of wizard. When he saw through the mirror. He saw an ugly old man. Immediately, he knew the
wizard took all his appearance exchange with his new life, the life without working and being beggar. The prince has to
beg for the money from his citizen to survived. He always hold the mirror cover his face. One day, a businessman came
and give him some money. The mirror reflected the man face. The beggar said “I want to be like you, sir”.

Figure 6: Writings from Class 4/3: Intermediate

There is a beggar holding a mirror and a generous man picking his money. This picture reflects about our social
community which has completely devided of social classes. The generous man is looking curiously through the mirror,
this refers that the man doesn’t interest in the beggar, he only sees about himself and the diviation about his social
classes and he wants to fix this.
Unedited version

Figure 7: Writings from Class 4/4: Upper-Intermediate to Advanced

I think this picture defines social inequality between the rich and the poor people because we can see that even though
they are in the same place and society, there is still a big gap between them. The man is looking into the mirror and
seeing himself as a beggar. It shows that the man and the beggar is the same, being human. The man gives the beggar
money because he realized that we are all human and we should help each other. The poor people are just unlucky to
be born in poverty and cannot have as good of a job as the man.
Unedited version
Writers: Earny, Faye, Garn, Non and Jaden 4/4

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 81

Conclusion and Findings

The purpose of this study was to investigate the effectiveness of images in
accelerating vocabulary acquisition and the development of critical and creative
thinking for gifted students. The researcher undertook a qualitative approach to the
research, where two methods of data collection were used. First, through
observation of the students in class, and second, a thorough analysis was done on
the documentation used in the activities. The entire research was implemented
within a three-week span, which started on June 25 and ended on July 10, 2018. The
researcher met these students once a week for a 50-minute period and the entire
study was conducted for a total of 150 hours with 72 Mathayom 4 students.

The primary intention of this research was to create awareness on the
effectiveness of images in triggering vocabulary acquisition and critical and creative
thinking skills. Often as teachers, images are overlooked for text and reading
passages, and students have a harder time memorizing the words. And according to
the dual coding theory, Paivio (1971) contended that picture stimuli have an
advantage over word stimuli. Pictures or images generate a verbal and image code,
whereas word stimuli only generate a verbal code.

The findings from classroom observations and document analysis have
proven that images were effective in reducing the time for retrieval of acquired
vocabulary, whereby, vocabulary words were recalled effortlessly by the students,
week after week. In the first data collection in Week 1, students were subjected to
Image1a for the first time, and the list of vocabulary words that the students
produced were largely regular words or sight words. Image 1a produced a total of 32
sight words (also high frequency words) in comparison with only 15 perceptive words
(also low frequency words). The number of critical words were 53% less than the
number of words that the students could easily “see” from the image. This also
demonstrated that at the initial stage, students were not using their critical side of
the brain to make sense of the image.

The second time that the researcher implemented the activity, students were
observed to be able to recall and recite most of the new vocabulary words that the
researcher had taught for Images 1a. The activation level was high despite the words
being new. This showed that students were using their critical side of their brain to
recognize these low frequency words. The new image (Image 2) showed in Week 2,

ปที ี่ 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ นุ ายน 2562) 82

also produced a list of words that were more low frequency in nature. A majority of
the words listed down by all students in each proficiency level was at 42 words
versus 7 high frequency words. This means the students produced six times more
words, at a significant percentage of 83% within one week. Image 3, the last image to
be shown to the students produced an even bigger leap. Almost all words were
perceptive words, a total of 56. This was a stark contrast to the minimal six sight
words. This was almost a ten-fold increase. Table 5 shows the progression rate of
words the students produced over a three weeks’ treatment.

Table 5: Summary of the Comparison between High Frequency Words and Low

Frequency Words

Words Week 1 Week 2 Week 3

Classification

Image 1a Image 2 Image 3

High Frequency 32 7 6

Low Frequency 15 42 50

From the above, the researcher can conclude that students’ activation of the
low frequency word were optimally induced after a progress of three weeks. Gifted
learners acquire vocabulary easier and develop their critical skills effectively using
images. In addition, the stories created by most groups demonstrated a significant
level of creativity in the students.

References

Bowen, A. Glenn. (2009). Document Analysis as a Qualitative Research Method.
Creswell, W. John (2001). Research Design: Qualitative, Quantitative, and Mixed.
Methods Approaches
Jiang, X., & Perkins, K. (May, 2012). Examining the effectiveness of the Picture Word
Inductive Model. Paper presented at the Sunshine State TESOL 2012 conference.
Orlando, FL.


Click to View FlipBook Version