The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

MACRO model รูปแบบการสอนสำหรับศตวรรษที่ 21

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sawitri Madoma, 2020-01-13 03:33:29

MACRO model รูปแบบการสอนสำหรับศตวรรษที่ 21

MACRO model รูปแบบการสอนสำหรับศตวรรษที่ 21

MACRO model : รูปแบบการจดั การเรยี นรู้สาหรับศตวรรษท่ี 21

ดร.ดเิ รก วรรณเศียร
มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดุสติ

ภาพอนาคตของโลก

1. กระแสโลกาภวิ ัตน์ โลกท่ไี รพ้ รหมแดนเปิดโอกาสให้มกี ารเคลื่อนยา้ ยทุนและ
ปจั จัยการผลติ ระหวา่ งประเทศได้อย่างคล่องตวั ความไดเ้ ปรียบของประเทศทัง้ หลายใน
อนาคตมไิ ด้ขน้ึ กบั ความรา่ รวยของทรัพยากรธรรมชาตแิ ต่อย่างเดยี วหากแต่ขนึ้ อยู่กบั พร้อมด้าน
ก่าลังคนและเทคโนโลยมี ากยง่ิ ขนึ้ ทรพั ยากรบคุ คลท่ีมีขีดความสามารถสูงจะสามารถ
นา่ ประเทศไปสู่ความกา้ วหน้าและมั่นคง

2. ความเปน็ พลโลก พลเมืองแตล่ ะประเทศ ต้องมีความเป็นพลเมืองดขี องโลก ตอ้ งมขี ีด
ความสามารถสงู ขน้ึ มีความสามารถในการติดต่อสัมพันธ์และเขา้ ใจเพ่ือนรว่ มโลกได้ดี

3. ความเปน็ พลวัต ประเทศต่างๆต้องมีพลวัตหรอื ความสามารถในการปรบั ตัวสงู
คนในชาติมีความสามารถในการเรียนร้แู ละปรับตัวตอ่ สถานการณใ์ หม่ๆทง้ั ทางเศรษฐกจิ และ
สงั คมได้ดี

4. โลกพหุวัฒนธรรม ในแต่ละประเทศจะมวี ฒั นธรรมผสมผสาน ประเทศต่างๆต้องมี
แนวทางท่ีดีในการสงวนรกั ษาเอกลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมของตนเอง ตอ้ งเตรยี ม
เผชญิ ความขดั แย้งทางวฒั นธรรมและความเชื่อ คนในชาติจึงต้องมปี ัญญาทีจ่ ะใตร่ตรอง
ใคร่ครวญและมีความรู้เทา่ ทนั ความเจริญทางวตั ถุมคี วามพอดีระหวา่ งการแสวงหาปจั จัยต่างๆ
ในการดา่ รงชวี ิตกบั การรักษาไว้ซ่งึ ค่านิยมและวฒั นธรรมอนั ดงี าม

5. การศึกษา การศกึ ษาเปน็ ปจั จยั สา่ คัญต่อความสา่ เรจ็ ของประเทศ ชาตใิ ดท่ีประชาชน
มกี ารศึกษาสงู กส็ ามารถใช้สตปิ ัญญาความคดิ และพลงั สร้างสรรคจ์ ากประชาชนในการพัฒนา
ชาติไดม้ ากมคี วามจรี ังยัง่ ยนื ในการพฒั นา เปน็ กา่ ลงั ปญั ญาในการช่วยใหป้ ระเทศสามารถ
แสวงหาโอกาสอย่างเหมาะสม สามารถหลกี เลยี่ งภัยคุกคามต่างๆได้อย่างทนั การ

สังคมไทยในอนาคต

1.แนวโน้มประชากรและการสาธารณสุข สัดส่วนประชากรวยั เด็กลดลงในขณะที่

1

ประชากรสูงอายุเพิ่มขึน้ เกิดปัญหาอัตราการพึ่งพิงของประชากรสูงอายุเพ่ิมมากขนึ้ มีความ
จา่ เป็นในการพฒั นาการสาธารณสุขพ้นื ฐานและคุณภาพประชากรทุกระดับอยา่ ง ต่อเน่ืองเพ่ือ
ขยายช่วงวยั แรงงานให้นานออกไป

2.แนวโนม้ เศรษฐกิจ จะมีความสา่ เรจ็ ระดับมหภาคแตส่ รา้ งปญั หาการกระจายรายได้และ
ความเหล่อื มล่า้ ทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะในภาคเกษตร

3.แนวโนม้ สงั คมวฒั นธรรม กระแสวัฒนธรรมใหม่ท่ีมากบั สอื่ สารสนเทศและสื่อบันเทิง
ตา่ งๆ จากนอกประเทศ ก่าลงั เขา้ แทนท่เี อกลักษณ์และคณุ ค่าแบบด้ังเดิมของสังคมไทย
นบั ตัง้ แต่อุปนิสัยแบบไทย คา่ นิยมเรอ่ื ง ศาสนา ค่านยิ มทางเพศ การเหน็ คณุ ค่าใน
ศลิ ปวฒั นธรรมอันเปน็ เอกลกั ษณข์ องไทยและการดา่ รงตนอย่างกลมกลืนกับธรรมชาติ น่ามาซึ่ง
ปัญหาสงั คมอกี หลายเรื่อง เช่นปัญหามนุษยสัมพันธแ์ ละความเอื้ออาทรระหว่าง
สมาชิกร่วมสังคม ปัญหาครอบครัวเด่ยี วและครอบครัวหยา่ ร้าง ปญั หาคุณภาพชีวิตของเดก็
และสตรี

4.แนวโนม้ การเมือง มีความเป็นธุรกจิ การเมืองมากขึน้ โครงสร้างอ่านาจทางการเมือง
สลบั ซบั ซอ้ น มกี ลุ่มพลงั ทางการเมืองทห่ี ลากหลายขึน้ เกิดการเปล่ยี นแปลงทางการเมืองบ่อย

5.แนวโน้มระบบราชการ มีขนาดเล็กลงระบบราชการดึงดูดคนดคี นเก่งเข้าสู่ระบบ
ไดน้ อ้ ยลง ภาพรวมของระบบราชการจึงมพี ลงั ในการสรา้ งสรรคแ์ ละพัฒนาน้อยลง กระแสวตั ถุ
นิยมในสังคมและแรงกดดนั ทางเศรษฐกจิ กดั กร่อนอุดมคติดั้งเดิมของข้าราชการท่ี เนน้ การอทุ ศิ
ตวั เสยี สละด้วยความสัตย์ซอื่ ต่อแผ่นดนิ ให้อ่อนแอลง

5.แนวโนม้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ยงั คงมีความก้าวหนา้ ต่ามากเมอื่ เปรยี บเทยี บกับ
ประเทศชน้ั นา่ ท้งั หลาย อิทธิพลของวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศจะนา่ การ
เปลยี่ นแปลงมาส่ทู ุกสาขา ท้ังการผลติ การบริการและการเรียนรูข้ องประเทศ

6.แนวโน้มดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม เกิดการท่าลายทรัพยากรธรรมชาติ ทงั้ ดิน นา่้ ป่า อยา่ งรุนแรง
และรวดเรว็ จนเขา้ ถงึ ขดี ภาวะวกิ ฤตเพราะขาดกลไกที่มปี ระสทิ ธภิ าพในการควบคมุ
ดูแลการใชท้ รัพยากรอย่างเหมาะสม

ความรแู้ ละทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

มนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ควรมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกบั ภาษาแมแ่ ละภาษาสา่ คญั
ของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภมู ิศาสตรป์ ระวตั ิศาสตร์ โดยวิชาเหล่านจ้ี ะนา่ มาสูก่ ารกา่ หนดเป็นกรอบแนวคิดสา่ คญั ต่อ
การจัดการเรียนรูใ้ นเนอื้ หาเชงิ สหวิทยาการ (Interdisciplinary)โดยสอดแทรกทักษะ
แห่งศตวรรษท่ี 21 เข้าไปในทุกวิชาพ้ืนฐานได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโลกความรู้เก่ียวกับการเงิน
เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองท่ีดี ความรู้ด้าน
สุขภาพ ความรดู้ า้ นสิง่ แวดล้อม

สาหรับทกั ษะด้านการเรยี นรู้และนวตั กรรม ทจ่ี ะเปน็ ตัวก่าหนดความพร้อมของ

2

นกั เรยี นเข้าสโู่ ลกการท่างานที่มีความซับซ้อนมากข้นึ ใน ปัจจบุ ัน ได้แก่ความรเิ ริม่ สร้างสรรค์
และนวัตกรรม การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและการแก้ปญั หา การส่ือสารและการร่วมมอื
ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชพี (ความยืดหยนุ่
และการปรับตวั การริเริม่ สร้างสรรคแ์ ละเป็นตวั ของตัวเองทักษะสงั คม
และสงั คมข้ามวฒั นธรรม การเปน็ ผูส้ รา้ งหรอื ผผู้ ลิต และความรับผิดชอบเชือ่ ถอื ได้
ภาวะผนู้ ่าและความรบั ผดิ ชอบ)

โดยสรุป ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ทท่ี กุ คนจะต้องเรียนรู้ตลอดชวี ิต คือ การ
เรยี นรู้ 3R x 7C

3R คือ Reading (อา่ นออก), (W)Riting (เขยี นได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเปน็ )
7C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และทักษะใน
การแก้ปญั หา)
Creativity and Innovation (ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม)
Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจความตา่ งวฒั นธรรม ต่าง
กระบวนทัศน์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมือ การ
ท่างานเปน็ ทมี และภาวะผู้น่า)
Communications, Information, and Media Literacy (ทกั ษะด้านการส่อื สาร
สารสนเทศ และร้เู ทา่ ทนั สือ่ )
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร)
Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นร)ู้

แนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21

แนวคดิ การจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ไดแ้ ก่ การเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรยี น
เป็นสา่ คญั คือแนวการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นใหผ้ ู้เรยี นสรา้ งความรใู้ หม่
และส่ิงประดิษฐ์ใหมโ่ ดยการใช้กระบวนการทางปญั ญา(กระบวนการคดิ ) กระบวนการทางสงั คม
(กระบวนการกลุ่ม)และใหผ้ เู้ รยี นมปี ฏิสมั พันธ์และมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นสามารถนา่ ความรไู้ ป
ประยุกตใ์ ช้ได้ โดยผสู้ อนมีบทบาทเป็นผอู้ ่านวยความสะดวกจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
ใหผ้ ู้เรียน การจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ ส่าคญั ต้องจดั ใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจ
ความสามารถและความถนัดเนน้ การบรู ณาการความรใู้ นศาสตรส์ าขาต่างๆ ใชห้ ลากหลายวธิ ี
การสอน หลากหลายแหล่งความรู้ สามารถพัฒนาปัญญาอย่างหลากหลายคือ พหุปญั ญา
รวมท้งั เน้นการวดั ผลอยา่ งหลากหลายวิธี

การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส่าคัญ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีลักษณะ
ดังนี้

1) ผู้เรียนมบี ทบาทรับผดิ ชอบต่อการเรยี นรขู้ องตน ผเู้ รียนเปน็ ผ้เู รียนรู้
บทบาทของผู้สอน คือ ผู้สนับสนุน (Supporter) และเป็นแหล่งความรู้ (Resource Person)
ของผเู้ รยี น ผูเ้ รียนจะรับผิดชอบต้ังแต่เลอื กและวางแผนส่งิ ทต่ี นจะเรยี นหรอื เขา้ ไปมี

3

ส่วนรว่ มในการเลอื กและจะเริ่มต้นการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองด้วยการศกึ ษาค้นควา้ รับผดิ ชอบ
การเรยี นตลอดจนประเมนิ ผลการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง

2) เนื้อหาวชิ ามีความส่าคัญและมคี วามหมายตอ่ การเรียนร้ใู นการออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ ปจั จัยส่าคญั ท่จี ะต้องน่ามาพิจารณาประกอบด้วยได้แก่เน้ือหาวิชา
ประสบการณเ์ ดมิ และความตอ้ งการของผเู้ รยี น การเรียนรู้ที่ส่าคญั และมคี วามหมายจึง
ขนึ้ อยู่กบั สงิ่ ทส่ี อน (เนื้อหา) และวธิ ีท่ใี ชส้ อน (เทคนคิ การสอน)

3)การเรยี นร้จู ะประสบผลส่าเรจ็ หากผู้เรียนมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรียนการสอน
ผู้เรยี นจะไดร้ บั ความสนกุ สนานจากการเรยี น หากได้เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการเรียนรู้ ได้ท่างาน
รว่ มกนั กบั เพอ่ื น ๆ ไดค้ น้ พบข้อค่าถามและคา่ ตอบใหม่ๆ สิ่งใหม่ๆ ประเด็นทีท่ ้าทาย
และความสามารถในเร่อื งใหม่ ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ รวมทง้ั การบรรลผุ ลส่าเรจ็ ของงานทพี่ วกเขา
ริเร่ิมดว้ ยตนเอง

4)สมั พันธภาพระหวา่ งผเู้ รยี น การมีสัมพนั ธภาพในกลุ่มจะช่วยส่งเสริม
ความเจรญิ งอกงาม การพฒั นาความเป็นผใู้ หญ่ การปรบั ปรุงการท่างานและการจดั การ
กับชวี ิตของแตล่ ะบคุ คล สมั พันธภาพระหวา่ งสมาชกิ ในกลุ่มจงึ เป็นสงิ่ สา่ คญั ที่จะช่วย
สง่ เสริมการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ซ่งึ กนั และกนั ของผู้เรียน

5)ผสู้ อนคอื ผ้อู ่านวยความสะดวกและเปน็ แหลง่ ความรู้ ในการจดั การเรยี นการสอน
แบบเน้นผู้เรียนเปน็ ส่าคญั ผ้สู อนจะต้องมคี วามสามารถท่จี ะคน้ พบความตอ้ งการท่แี ทจ้ รงิ ของ
ผ้เู รียน เป็นแหลง่ ความรทู้ ่ีทรงคณุ ค่าของผเู้ รียนและสามารถคน้ ควา้ หาส่อื วสั ดอุ ปุ กรณ์
ที่เหมาะสมกับ ผู้เรียน สิ่งที่ส่าคัญที่สุดคือความเต็มใจของผู้สอนที่จะช่วยเหลือโดยไม่มีเง่ือนไข
ผู้สอนจะให้ทกุ อย่างแกผ่ ู้เรียน ไม่วา่ จะเปน็ ความเชี่ยวชาญ ความรู้ เจตคติ และการฝึกฝน
โดยผ้เู รียนมีอสิ ระท่จี ะรบั หรือไมร่ ับการให้นั้นก็ได้

6)ผ้เู รยี นมีโอกาสเหน็ ตนเองในแงม่ ุมทแ่ี ตกตา่ งจากเดมิ การจดั การเรยี น
การสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ ส่าคัญ มงุ่ ให้ผูเ้ รียนมองเห็นตนเองในแงม่ มุ ที่แตกต่างออกไป ผู้เรียนจะ
มคี วามมน่ั ใจในตนเอง และควบคมุ ตนเองได้มากข้ึนสามารถเปน็ ในส่ิงท่ีอยากเป็น
มีวุฒภิ าวะสงู มากข้นึ ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมตนให้สอดคลอ้ งกบั ส่ิงแวดลอ้ ม และมีส่วนรว่ ม
กบั เหตุการณต์ ่าง ๆ มากข้นึ

7) การศกึ ษา คือการพัฒนาประสบการณก์ ารเรยี นรขู้ องผ้เู รียนหลายๆ
ดา้ นพรอ้ มกันไปการเรียนรูท้ ่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสา่ คญั เป็นจดุ เริ่มของการพฒั นาผ้เู รียนหลายๆ ด้าน
เชน่ คุณลักษณะด้านความรู้ ความคดิ ดา้ นการปฏบิ ัติ และดา้ นอารมณ์ ความรู้สึก
จะได้รับการพฒั นาไปพรอ้ ม ๆ กนั

อีก 2 แนวคิดในการจัดการเรยี นรู้สา่ หรบั ศตวรรษท่ี 21 คอื สอนน้อยลงทา่ ให้
เรียนรไู้ ด้มากข้ึน (teach less , learn more) `หมายถงึ ครูใช้วิธีสอนแบบบรรยายหรอื
ครคู อยบอกเล่าให้นอ้ ยลง แต่สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มข้ึน ส่วนอีกแนวคิดคือ
การเรียนรู้โดยตรง (Active learning) โดยมงุ่ จัดการเรยี นรูใ้ นลกั ษณะทใ่ี หผ้ ู้เรยี นไดม้ โี อกาส

4

เรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด โดยผ่านการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ลงมือปฏิบัติ คิด แก้ปัญหา
รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ท่างานเปน็ กล่มุ สรุปเปน็ ความรู้และสามารถน่าเสนอไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

กรอบแนวคิดในการจดั การเรยี นรรู้ ะดับอดุ มศกึ ษา

สถาบันอุดมศึกษามีภารกิจโดยตรงในการผลิตกา่ ลังคน ระดับสงู ให้มีคุณสมบัตพิ ร้อม
จะเป็นกา่ ลงั ในการพัฒนาประเทศ ดงั นัน้ การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา จึงควรมี
ความหลากหลาย จากการเรียนการสอนแบบด้ังเดิมในมหาวิทยาลัย ได้เปล่ียนวิธีการสอน
แบบบรรยาย มาเป็นการสอนเน้นการเรียนจากปัญหา โดยเฉพาะในสาขาแพทยศาสตร์ ธุรกิจ
และการผลิตครู โดยนักศึกษาจะได้ศึกษาปัญหา อภิปราย ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้ง
การปฏบิ ตั ิจรงิ ซ่งึ การเรียนการสอน
แบบนี้ช่วยให้เกิดการเรยี นรทู้ ีเ่ น้นประสบการณจ์ ริง

การเรยี นการสอนในมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะระดบั ปริญญาตรใี นชัน้ เรียนที่
เนน้ ผู้เรยี นเป็นสา่ คัญนน้ั ผู้สอนจะมกี ารต้ังเปา้ หมายในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ี
จะให้ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ มากกว่าการให้ผเู้ รยี นฟังการบรรยายตลอดบทเรียน โดยผูส้ อน
จะใช้เวลาไมม่ ากในการให้ขอ้ มูลเบอื้ งตน้ เพือ่ แนะน่า แตเ่ วลาสว่ นใหญจ่ ะเนน้ ให้ผเู้ รยี น
ท่ากิจกรรมท่ีมีความหมายเช่น อภิปราย ศึกษาข้อมูลจากต่ารา ห้องสมุดหรืออินเทอร์เน็ต
ระดมความคิด สร้างโครงงาน ผลิตผลงาน แสดงบทบาทสมมติ การแก้ปัญหา การวิจัย เป็น
ต้น ซึ่งวิธีการเรียนรู้เหล่าน้ีต้ังอยู่บนฐานความคิด โดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม
มากกว่าการเรียนแบบรับฟังหรือรับรู้จากสิ่งท่ีผู้สอนพูดอยู่คนเดียวเป็นเวลานาน และ การ
เรยี นรอู้ ยา่ งมสี ว่ นร่วม ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรูม้ ากกวา่ การพยายามทา่
ความเขา้ ใจสง่ิ ท่ีผู้สอนอธบิ าย การจดั การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สา่ คญั จึงจ่าเปน็ ตอ้ ง
อาศยั รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายเข้าไปชว่ ย การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นส่าคัญในระดับอุดมศึกษา จะค่านึงถึงองค์ประกอบสามส่วน คือส่วนที่หนึ่งคือ
ผู้สอน ส่วนทส่ี องคือผูเ้ รียน และสว่ นประกอบทส่ี ามคอื ผ้เู รยี นได้เรยี นรแู้ ละท่างานดว้ ยตนเอง

การจัดการเรียนรู้ทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ ส่าคัญในระดับอดุ มศกึ ษาน้นั ผูส้ อนจะตอ้ ง
เปลี่ยนบทบาทจากผู้บรรยายให้ผู้เรียนฟัง มาใช้วิธีการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนเกิด การ
เรยี นรู้ด้วยตนเอง มากกว่าการน่งั ฟงั บรรยายตลอดบทเรยี น กล่าวคือผ้สู อน ควรเปิด
โอกาสให้ผู้เรยี นไดศ้ ึกษาค้นควา้ ลงมือปฏบิ ตั ิ เผชญิ สถานการณ์ หรอื วจิ ัย โดยใชก้ ระบวน
การคิดอย่างเปน็ ระบบ และมใี ช้วัดผลและประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยค่านึงถงึ การเรียนรู้
ของผู้เรียนทัง้ ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์และสมรรถนะ

การเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษา
คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ไดป้ ระกาศแนวทางการปฏิบัตติ ามกรอบมาตรฐาน
คณุ วฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2552 ใหสถาบันอุดมศึกษาบรหิ ารจดั การ
หลักสูตรเพือ่ ใหบัณฑติ มคี ณุ ลักษณะตามมาตรฐานผลการเรยี นรูทีก่ ่าหนดในมาตรฐานคุณวุฒิ
สาขา/ สาขาวชิ าน้ัน ๆ หรอื กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับอุดมศึกษาแหงชาติ

5

โดยสาระสา่ คัญให้มีการพฒั นาอาจารยทง้ั ดานวิชาการวธิ กี ารสอนและวิธกี ารวดั ผล
อยางตอเนื่อง จัดสรรทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอนและการวิจัยให เพียงพออยาง มี
คณุ ภาพ รวมทง้ั อาจประสานกับสถาบนั อุดมศึกษาหรอื หนวยงานอนื่ เพ่ือใชทรัพยากรรวมกนั
ในการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนใหมีคุณภาพและจัดใหมีการประเมนิ ผลการเรียนรูของ
นกั ศกึ ษา ทค่ี รอบคลมุ ทุกมาตรฐานผลการเรยี นรูในทุกดาน ตามทีก่ ่าหนดไวในหลักสูตร

การเรียนรู้ในท่ีน้ี หมายถึง การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมท่ีนักศึกษาพัฒนาขึ้นในตนเอง
จากประสบการณ์ท่ีได้รับระหวา่ งการศกึ ษา โดยกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั
อุดมศึกษาแห่งชาติ ก่าหนดผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังให้บัณฑิตมีอย่างน้อย 5 ด้าน โดยในระดับ
ปรญิ ญาตรี ประกอบด้วย

ด้านท่ี 1 คุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) หมายถึง การพัฒนานสิ ยั ใน
การประพฤติอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
ความสามารถในการปรบั วถิ ีชวี ติ ในความขดั แยง้ ทางคา่ นิยม การพัฒนานิสยั และการปฏิบตั ติ น
ตามศีลธรรม ท้งั ในเร่ืองสว่ นตวั และสงั คม

ดา้ นที่ 2 ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถ ในการเขา้ ใจ การนึกคดิ และ
การน่าเสนอขอ้ มูล การวิเคราะห์และจา่ แนกข้อเท็จจรงิ ในหลกั การทฤษฎตี ลอดจนกระบวนการ
ต่าง ๆ และสามารถเรยี นรดู้ ้วยตนเองได้

ด้านที่ 3 ดานทักษะทางปญญา (Cognitive Skills) หมายถงึ ความสามารถในการ
วเิ คราะหสถานการณ และใชความรูความเขาใจในแนวคิด หลักการทฤษฎีและกระบวนการ
ตาง ๆ ในการคดิ วเิ คราะหและการแกปญหา เมือ่ ตองเผชิญกบั สถานการณใ์ หมท่ ไี่ มได
คาดคิดมากอน

ด้านที่ 4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ ความรับผิดชอบ (Interpersonal
Skills and Responsibility) หมายถึง ความสามารถในการท่างานเปนกลุม การแสดง ถึง
ภาวะผูน่าความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบใน
การเรียนรู ของตนเอง

ด้านท่ี 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) หมายถึง
ความสามารถในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ความสามารถในการใชเ้ ทคนิคทางคณิตศาสตร์
และสถิติ ความสามารถในการสื่อสารทัง้ การพดู การเขียน และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

MACRO model : รูปแบบการจดั การเรยี นรสู้ าหรบั ศตวรรษที่ 21

จากแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ดังกล่าวขา้ งต้น

6

การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่มีความสาคัญที่สุดผู้เขียนได้บูรณาการแนวคิดท่ีเกี่ยวข้อง
ท้ังหมด แลว้ ออกแบบรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ MACRO model โดยมีองค์ประกอบ ดงั น้ี

M motivation การสร้างแรงจูงใจ แรงบันดาลใจ ความสนใจ
และความต้องการในการเรยี นรู้

A active learning การเรยี นรู้ทผ่ี ้เู รียนได้มโี อกาสได้ความรู้โดยตรงจากการ
ลงมือกระทาด้วยตนเอง ดว้ ยวิธกี ารเรยี นร้ทู ี่หลากหลาย จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆทีห่ ลากหลาย
เป็นการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ

C conclusion ผ้เู รียนสรุปองคค์ วามรหู้ รอื สังเคราะห์สิ่งทไี่ ด้เรียนรตู้ ามความคดิ
ลลี า และภาษาของตนเอง

R reporting ผู้เรียนส่ือสารและนาเสนอผลการเรยี นรดู้ ้วยภาษา
วิธกี ารและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม

O obtain ผเู้ รียนนาผลการเรยี นร้ทู ไ่ี ด้รบั ไปใช้ประโยชน์
ทาการเผยแพร่ความรูส้ ู่ครอบครัว ชุมชน และสังคมด้วยวธิ กี าร สอ่ื หรือเทคโนโลยีท่เี หมาะสม

แนวการจดั การเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO

การจัดการเรียนรู้ตาม MACRO model แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน โดยแต่ละขั้นตอนมี
แนวทางดังนี้

1. ขัน้ สรา้ งแรงจงู ใจ (Motivation) ครผู ู้สอนร่วมมอื กับผเู้ รียนในการก่าหนด หรือตั้ง
ประเด็นความรู้ หรือหัวข้อเก่ียวกับการเรียนรู้ตามแผนท่ียึดโยงกับหลักสูตร เป็นขั้นท่ีผู้เรียนจะ
รับรู้ถึงจุดหมายและมีแรงจูงใจในการเรียนรู้บทเรียน ผู้สอนสามารถเลือกใช้กิจกรรมต่าง ๆ ใน
การนา่ เขา้ สู่บทเรียนและการเรยี นรู้ เชน่
การเลา่ เรอื่ งตา่ ง ๆ ให้ผเู้ รยี นซกั ถาม หรือตงั้ คา่ ถาม การฉายภาพนิง่ ใหผ้ ูเ้ รยี นชมและติดตาม
การชวนสนทนา เพื่อให้ผู้เรียนต้ังประเด็นที่ต้องการรู้ การกระตุ้นความสนใจด้วยเกม เพลง
ภาพ การอา่ น / ฟงั ขา่ วจากหนังสือพิมพ์ การยกตวั อยา่ งประโยค คา่ พังเพย บทกวี ฯลฯ

จุดทสี่ าคัญในขน้ั ตอนนี้คอื การตงั้ ประเด็นอภิปราย การใช้คา่ ถามสร้างพลังความคิด
การก่าหนด หรือการตั้งประเด็นความรู้ หรือหัวข้อเกี่ยวกับการเรียนรู้ในขั้นตอนต่อไป และให้
ผเู้ รียนได้เล็งเห็นประโยชน์ที่จะไดร้ บั จากการเรียนรู้ หรอื เกิดแรงบันดาลใจ

2. ขั้นการเรียนรู้โดยตรง (Active Learning) ในการสอนคร้ังแรก ครูควรให้ความรู้
พื้นฐานเก่ยี วกับการสรา้ งองค์ความรู้ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 แนวทางการ
สืบคน้ ความร้เู พอ่ื ใหไ้ ด้ความรู้ท่ีตอ้ งการ ส่วนที่ 2 ศาสตร์ สาขา แขนงความรู้ และแหล่งความรู้
ที่เก่ียวข้อง ส่วนท่ี 3 การเรียบเรียงข้อมูล ข้อค้นพบ ความคิด ความคิดเห็น การให้เหตุผล
โต้แย้ง และสนับสนุน เพื่อใหผ้ ้เู รยี นเข้าใจถึงการกระบวนการสร้างองคค์ วามรู้

ในการจัดการเรียนรู้แต่ละคร้ัง ครูผู้สอนควรมีเทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ได้แก่ การอภิปรายกลุ่มเพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็น การระดมพลังความคิด การเรียนรู้โดยใช้

7

สถานการณจ์ ่าลอง โดยเน้นกระบวนการคิดซึ่งเป็นหัวใจของขั้นตอนการเรียนรู้ ผู้เรียนจะศึกษา
คน้ ควา้ ตามประเด็นความรู้ หรือหวั ข้อท่ีตกลงกัน ครผู ู้สอนจะกระตุ้นให้ผเู้ รยี น
ดา่ เนินกิจกรรมเพ่ือสืบค้นข้อมลู จากแหล่งเรยี นรู้ตา่ ง ๆ โดยใชว้ ิธกี าร ค้นควา้ จากแหลง่ เรยี นรู้
ต่าง ๆ สมั ภาษณ์ผู้รู้ ปฏิบัตกิ ารค้นหา (ทดลอง สบื เสาะ สังเกต สา่ รวจ) ร่วมมือเพ่อื เขียน
คา่ อธบิ าย แบ่งงานความรบั ผิดชอบภายในกลุ่ม โดยแหล่งความรมู้ ที ัง้ ภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ ฯลฯ

3.ขั้นสรุปองค์ความรู้ (Conclusion) ผู้เรียนนา่ ผลการอภิปรายและสาธติ ท่ีเปน็ ผล
จากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหว่างกันมาก่าหนดเป็นความคดิ ใหม่ หรอื ความรู้ใหม่ โดยใช้วิธีการ
เขียนด้วยแผนผังความคิดเขียนโครงงาน / โครงการ เขียนบรรยาย / เขียนรายงาน จดบันทึก
วาดภาพ แต่งคาประพันธ์ โดยสรุปเป็นภาษาไทยหรือภาษาองั กฤษ ฯลฯ

ในขน้ั ตอนน้ีผสู้ อนสามารถประเมนิ ความรู้และความคิดใหม่ ของผู้เรยี น โดยใชว้ ิธีการ
อภิปราย ตรวจสอบผลงาน สอบถามความคิดของกลมุ่ ทดสอบความรู้ ฯลฯ

3. ข้นั รายงานและนา่ เสนอ (Reporting) ขัน้ นี้จะชว่ ยให้ผเู้ รียนไดม้ ีโอกาสแสดง
ผลงานการสร้างความรูข้ องตนใหผ้ อู้ นื่ รับรู้ เป็นการชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นได้ตอกย่า้ หรอื ตรวจสอบ
ความเขา้ ใจของตน และชว่ ยส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ แต่หากต้องมี
การปฏบิ ัตติ ามความรู้ทีไ่ ด้ ขนั้ น้ีจะเป็นขัน้ ปฏบิ ัติ และมีการแสดงผลงานที่ได้ปฏิบัติด้วย ในขั้นนี้
ผู้เรียนสามารถแสดงผลงานด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การจัดนิทรรศการ การอภิปราย การแสดง
บทบาทสมมติ เรียงความ วาดภาพ การน่าเสนอดว้ ยเทคโนโลยี
สารสนเทศ โดยการนา่ เสนออาจเปน็ ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษตามความเหมาะสมฯลฯ
และอาจจัดใหม้ ีการประเมินผลงานโดยมีเกณฑ์ทเ่ี หมาะสม

5. ขัน้ การเผยแพร่ความรู้ (Obtain) เปน็ ขน้ั ของการส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน
การน่าความรู้ความเข้าใจของตนไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย เพิ่มความ
ชา่ นาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหาและความจา่ ในเร่ืองนั้น ๆ เป็นการให้โอกาส
ให้ผู้เรียนใชค้ วามรใู้ หเ้ ป็นประโยชน์ เป็นการสง่ เสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์

หลังจากประยุกตใ์ ช้ความรู้ ควรทา่ การเผยแพร่ความร้ไู ปยงั ครอบครัว ชุมชน และ
สังคม หรือแม้แต่ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยการเผยแพร่อาจจัดท่าเป็นเอกสาร จัดป้าย
นิเทศ จัดกิจกรรม หรือการเผยแพร่ผ่านส่ือสังคมออนไลน์ เช่น websites FaceBook Line
YouTube หรอื สื่อและวธิ กี ารอื่นๆ

การเรยี นรู้ข้นั ท่ี 1-3 เป็นกระบวนการของการสร้างความรู้
ขั้นที่ 4-5 เป็นขนั้ ตอนทช่ี ่วยให้ผเู้ รียนได้นา่ เสนอและน่าความร้ไู ปใช้ รวมทัง้ เผยแพร่
องคค์ วามรไู้ ปยงั สาธารณชน

ความสาคัญของ MACRO model

8

1. ฝึกให้ผเู้ รยี นกลา้ ต้งั ค่าถาม กล้าคิด กล้าตัดสินใจ กลา้ แสดงออก เปล่ียนการ

เรียนจากแบบรับฟังอย่างเดยี ว (passive) เปน็ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (active) การ

ตัง้ ค่าถามเพราะเกิดข้อสงสัย เปน็ จดุ เริม่ ตน้ ของ Lifelong Learning ถามแบบสรา้ งสรรค์

ก่อให้เกิดประโยชน์ เป็นการต้ังต้นหาค่าตอบอย่างถูกวิธี ย่ัวยุให้เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ เป็นการ

เรยี นรู้และแก้ปัญหา

2. การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ตามแนวคดิ การจดั การเรียนร้โู ดยเน้นผู้เรยี น

เปน็ ส่าคญั เป็นการสอนให้สามารถสืบคน้ ความรู้ ทมี่ ีมากมายในโลก ตามแนวคิดของปราชญ์

ชาวจนี ทว่ี ่า สอนชาวบา้ นหาปลา ดีกวา่ เอาปลาไปใหช้ าวบา้ น ทา่ ให้ผ้เู รยี นมที ักษะ

ในการเรยี นรู้ตลอดชีวิต

3. การสรปุ ความรู้ เป็นการแสดงใหเ้ หน็ วา่ ผเู้ รียนไดค้ วามรทู้ ่ีตกผลกึ

เป็นของผเู้ รยี นเอง เปน็ ความรใู้ หม่ทผี่ า่ นกระบวนการเรยี นรูท้ ี่ถกู ตอ้ ง ผูเ้ รียนจะจดจา

ความร้นู ี้ได้นาน

4. ก่อนสรุปองค์ความรู้ ครูเปิดโอกาส ให้นักเรียนได้อภิปรายกัน ดูเหตุผลท่ีมี

ทฤษฎีรองรับก่อนสรุป ซ่ึงจะเป็นการส่งเสริมทักษะการท่างานเป็นทีม ความร่วมมือ และวิถี

ชีวิตตามระบอบประชาธปิ ไตยดว้ ย ฝกึ ความเปน็ ผ้นู ่า สง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม

4.การสือ่ สารและนา่ เสนอ เป็นสมรรถนะส่าคญั ในระดบั สากลทา่ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้มี

พัฒนาการทางดา้ นภาษา และมีความสามารถในการน่าเสนอ มที ักษะการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

5. ความรู้ทน่ี าไปใชแ้ ละเผยแพร่ เป็นการส่งเสริมให้มกี ารพัฒนานวัตกรรม

เพอื่ ใชใ้ นการพัฒนาประเทศตอ่ ไป

เอกสารอ้างองิ

กิตตพิ งศ์ ดารกั ษ.์ วธิ ีการศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: จรัลสนทิ วงศก์ ารพิมพ์,
๒๕๕๐.

เกรยี งศักดิ์ เจริญวงศ์ศักด์ิ. แนวโนม้ การศึกษาไทยในศตวรรษหนา้ . (ออนไลน์)
เข้าถึงได้ จาก http://blog.eduzones.com/drkrieng/7005. (ค้นเม่อื วันท่ี
15 ธนั วาคม 2557)

คณะกรรมการการอดุ มศึกษา.ประกาศคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาเรอ่ื งแนวทางการ
ปฏบิ ัติตามกรอบมาตรฐาน คณุ วุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552.
[Online]. Available: http://www.academic.chula.ac.th/Qa_Curr/TQF/
Road_map.pdf. (ค้นเมอ่ื วนั ที่ 17 ธันวาคม 2557)

Greg Light and Roy Cox. Learning and Higher Education: The Reflective
Professional. London: Sage, 2001.

Heather Fry. A Handbook for Teaching & Learning in Higher Education.
London: Routledge, 2007.

9

10


Click to View FlipBook Version