จัดทำโดย
นางสาว เพียงดาว ดวงสาร
65181100218
เสนอ
อาจารย์ กนิษฐ์กานต์ ปัยแก้ว
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ขาสาสังคมปี1
มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง
คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่ งของวิชานวัตกรรมโดย
มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่อง การเลี้ยง
ปลาคราฟ ผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ในการทำรายงาน
เนื่องมาจากเป็นเรื่อง ที่น่าสนใจ และต้องขอขอบคุณ
อาจารย์ กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว ผู้ให้ความรู้ และ
แนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความช่วย
เหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้
ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ทุก ๆ ท่าน
สารบัญ
หน้าที่
คำแนะนำสำหรับนักเรียน 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
สถานการณ์ปัญหา ภารกิจ 3
ฐานความช่วยเหลือ 4
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม 5
บทสรุป 6
วิดีโอ 7
อ้างอิง 8
แบบฝึกหัด 9-11
ประวิตผู้จัดทำ 12
คำเเนะนำสำหรับนักเรียน
เรื่องการเลี้ยงปลากัดที่ถูกต้องเป็นเนื้อหา
ของม.1เพื่อให้เกิดความเข้าใจจะได้ใช้วิธีเลี้ยง
ปลากัดที่ถูกต้องเเละเป็นโยชน์อย่างมาก เพราะ
จะช่วยกา
รลด การสูญพันธ์ุของ ปลากัด เเละ
วิธีเลี้ยงที่ดีนักเรียนควรทำความเข้าใจเเละนำไป
เลี้ยงปลากัดที่ถูกต้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้
1 บอกวิธีเลี้ยงหรือเพาะพันธ์ุของ
ปลากัดได้
2 บอกลักษณะของปลากัดว่าต่าง
กับปลาชนิดอื่นอย่างไร
3 บอกประเภทของปลากัดได้
สถานการณ์
โตม่อน เป็นคนชอบเลี้ยงปลาชนิดเล็ก คือปบากัด
ไปร้านขายปลาซื้อเลี้ยงประจำ ปลากัดเป็นปลา
ชนิดเล็กที่ดุ มีขนาดตัวเท่ากับปลาหางนกยูง
เเต่มีหางเเละครีบที่สวยงาม ยังมีหลากสีต่างกัน
ไปในเเต่ละตัว โตม่อนซื้อมาก็จะอยู่ในโหลละ1ตัว
ช่วงเเรก โตม่อน ไม่รู้ว่าปลากัดมีความดุจึงนำปลา
กัดไปเลี้ยงรวมกับตู้ปลาหางนกยูง เมื่อเวลาผ่านไป
หลายวัน สังเกตได้ว่าปลาหางนกยูงทยอยตายใน
ที่สุด โตม่อนทราบเเค่ว่าปลาชนิดเล็กสามารถเลี้ยง
ร่วมกันได้เลยนำปลากัดที่ซื้อมาปล่อยรวมกับปลา
หางนกยูง
ภารกิจ
1 โตม่อนควร แยกปลากัดกับปลาหางนกยูงหรือไม่
เพราะเหตุใด
2 ทำไมปลาหางนกยูงที่เลี้ยงรวมกับปลากัดถึงทยอย
ตาย เพราะเหตุใด
ฐานความช่วยเหลือ
การเลี้ยงปลากัด
1. การเปลี่ยน "น้ำ"
เราควรเปลี่ยนน้ำ ทุกๆ 3-5 วัน ไม่แนะนำให้ถ่ายน้ำ
100% ทุกครั้ง เปลี่ยนถ่ายแค่ครั้งละประมาณ 30-
50% ก็พอ แต่ควรหาสายยางเส้นเล็กหรือสายอ๊อกซิเยน
ดูดขี้ปลาก้นโหลด้วยเพราะขี้ปลาจะทำให้เกิดแก๊ส
อุณหภูมิของการถ่ายน้ำไม่ควรห่างกัน ปลาอาจเกิดภาวะ
ช็อกน้ำได้ ไม่ควรห่าง 5-7 องศา
ค2ำ. ตใชอ้นบ้ำคื"อปไรด้ะคปรัาบ"แแลต่ะน้บำปาดระาปลา
เจลีะ้มยีคงลปอลราีนไดซ้ึไ่งหจมะทำให้
ปลาหายใจหอบๆ ตัวซีดขาว เซลล์ถูกทำลาย และตายใน
ที่สุด ดังนั้นให้พักน้ำประปาก่อนนำมาเลี้ยงปลา อย่าง
น้อยประมาณ2-3วันขึ้นอยู่กับความเข้มของคลอลีน เพื่อ
ให้คลอรีนระเหยออกไป ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับความแรง
ของครอรีนในแต่ละที่ด้วยค้าบบ
3.เลี้ยงปลาใน "ห้องแอร์”
สามารถเลี้ยงได้ แต่ไม่ค่อยดี ภูมิของปลาจะต่ำลง ที่จะ
ต่อสู้กับโรค ก็น้อยลงตามไปด้วย ทำให้ป่วยและติดเชื้อได้
ง่าย อุณหภูมิที่ดีคือ 27-29 องศาแนะนำถ้าเลี้ยงในที่ที่มี
อากาศ "เย็น" ก็ติดฮีตเตอร์ซักนิด
เเหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
https://shareiowa.com/
https://readthecloud.co/siamese-
fighting-fish-betta-splendens/
http://www.lovebettafish.c
om/article/54/
บทสรุป
ห้ามเลี้ยงปลากัดกับปลาชนิดอื่น
เพราะปลากัดมีความดุ ปลาสวยงามตัว
อื่น ๆ จะทยอยตายในที่สุด ควรเลี้ยง
ปลากัดแยกโหล โหลละ 1 ตัว อย่าง
น้อย 2 โหล เพื่อให้ปลากัดไม่เครียด
เกินไป ห้ามใส่เกลือที่มีสารไอโอดีน
เพราะสารไอโอดีนจะทำให้ปลากัดเกิด
การระคายเคือง ห้ามใส่ใบหูกวางสด
เพราะใบหูกวางสดจะมียาง และเป็น
อันตรายต่อปลากัดของเราได้
วิดีโอ
อ้างอิง
https://shareiowa.com/
https://readthecloud.co/siamese-
fighting-fish-betta-splendens/
http://www.lovebettafish.c
om/article/54/
แบบฝึกหัด
1.ใครสามารถเลี้ยงปลากัดได้ถูกต้อง
ก.โตม่อน เลี้ยงปลากัดในโหลแก้ว
แยกโหลละหนึ่งตัว
ข.ทิวเลี้ยงปลากัดรวมกับปลาหางนกยูง
ค.เฟย์ เลี้ยงปลากัดโดยเอาไปใส่รวมกับ
บ่อปลาดุก
2.ปลากัดไทยแบ่งเป็นกี่ประเภท
ก.1 ประเภท
ข.2 ประเภท
ค.3 ประเภท
แบบฝึกหัด
3. ขนาดลำตัวของปลากัดยาวกี่เซนติเมตร
ก. 12-15 เซนติเมตร
ข. 1-3 เซนติเมตร
ค. 5-7 เซนติเมตร
4. ไข่ปลากัดจะฝักเป็นตัวหลังจากได้รับ
การผสมน้ำเชื่อกี่ชั่วโมง
ก. 1 ชั่วโมง
ข. 72 ชั่วโมง
ค. 36 ชั่วโมง
แบบฝึกหัด
5. ข้อใดคือลักษณะของปลากัดที่ถูกต้อง
ก. ลำตัวเรียวบาวแบนข้างปากมี ขนาดเล็กมี
ครีบ หางที่สวยงาม
ข. ลำตัวใหญ่เท่าใบโพธิ์ หางสีดำสั้น
ค. รูปร่างเรียวยาว มีหนวด 4 คู่อยู่ที่ปาก
ประวัติผู้จัดทำ
ชื่อ นางสาว เพียงดาว ดวงสาร
ชื่อเล่น ใบเตย
ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขา สังคมศึกษา
ขอบคุณค่ะ