The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wipawee.s2519, 2022-07-28 01:25:52

ภาษาญี่ปุ่นนอกตำรา ตอนยูกิเซนเซขอแก้หน่อยนะ

#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ


อีกตัวอย่างนึงจากข ้างบนค่ะ

✖今日の午後、先生教えますか。
Kyou no gogo, sensei oshiemasu ka.

บ่ายวันนี อาจารย์ “จะ” สอนมั้ยครบ


〇 今日の午後、先生は授業ありますか。

Kyou no gogo, sensei wa jugyou arimasu ka.

บ่ายวันนี อาจารย์มีชัวโมงสอนมั้ยครบ


>>เช่นเดียวกันค่ะ ถ ้าถามด ้วย 教える oshieru จะฟงเหมือนกับว่า อาจารย์นีช่างเอาแต่ใจตัวเอง จะเปด





สอนหรือไม่สอนก็ได ้แล ้วแต่อารมณ์วันน้น ควรใช ้ เป็น 授業がある jugyou ga aru เปนการแสดงสภาพ
อย่างเปนกลางๆ ดีกว่าค่ะ





คาว่า 授業 jugyou ส่วนใหญ่แล ้ว เรามักจะนึกถึงว่าแปลว่า “ชัวโมงเรียน” ซึงเปนการมองจากมุมมองของ


ผู้เรียน แต่จริงๆ แล ้วมันสามารถแปลว่า “ชัวโมงสอนของอาจารย์” ได ้เช่นเดียวกันค่ะ

อ ้อ ขอแถมอีกประโยคนึงค่ะ “อยากเรียนกับอาจารย์...” จะไม่ใช ้ ว่า ...先生と勉強したいで



す。 ...sensei to benkyou shitai desu. นะคะ เพราะนนแปลว่า อาจารย์กมาร่วมเรียนด ้วยกันค่ะ ><
ให ้ใช ้ ว่า

〇...先生の授業を受けたいです。

....sensei no jugyou o uketai desu.
อยากเข ้าเรียนชัวโมงสอนของอาจารย์....






























แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 45





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ









ยูกิเซนเซวันนี้ขอหยิบยกคาว่า 集める atsumeru มาพูดอธิบายค่ะ เราทุกคนคงเคยเรียนกันมาตั้งแต่




ชั้นต ้นๆ ทีพูดถึงงานอดิเรก แล ้วมีคาว่า 切手を集める kitte o atsumeru สะสมแสตมป เรากเลยรู้สึกว่า




คาว่า 集める atsumeru แปลว่า สะสม แต่ในความจริงแล ้ว นยของทั้งสองคาแตกต่างกันอยูค่ะ กล่าวคือ

คาว่า “สะสม” ในภาษาไทย มักจะเน้นความหมายไปทีการ “เก็บและทาให ้เพิ่มพูนขึ้นทีละเล็กละน้อย”




ในขณะทีคําว่า 集める atsumeru จะเน้นไปทีการ “เกบรวบรวมจากหลายๆ ทีมาไว ้ทีเดียว” มากกว่าค่ะ






ในกรณของการสะสมแสตมป มีทั้งความหมายของการเกบรวบรวมจากหลายๆ ทีมาไว ้ทีเดียว และการเกบ







เพิ่มขึ้นทีละเลกละน้อย จึงไม่มีปญหาอะไร แต่ในบางคําดังต่อไปนีจะเกิดปญหาขึนในการแปลค่ะ



คากลุมแรกเลย คือ คาว่า “เกบสะสมเงิน” และ “เกบสะสมแต ้ม” อันนี้จะไม่ใช ้ ว่า お金を集める okane o






atsumeru / ポイントを集める pointo o atsumeru ค่ะ เพราะว่าเน้นความหมายไปที่การเก็บและทา



ให ้เพิมพูนทีละเลกละน้อย ไม่ได ้เน้นไปทีการหาเงินหรือหาแต ้มมาจากทีต่างๆ ค่ะ กรณแบบนี้ เราจะใช ้



คากริยา 貯める tameru ค่ะ โดยคาว่า เก็บออมเงิน จะใช ้ คาว่า 貯金する chokin suru ไปเลยก็ได ้ค่ะ




หากเราใช ้ คาว่า お金を集める okane o atsumeru จะหมายถึง การเกบรวบรวมเงินจากหลายๆ คนค่ะ




เช่น ในห ้องเรียน มีการเก็บรวบรวมเงินจากนกเรียนทุกคนเพือไปซือขนมมาจดงานปาร์ตี เปนต ้น










อีกคานึงทียูกิเซนเซบอกว่าเคยเจอนกเรียนใช ้ คาว่า 集める atsumeru แต่ญีปุนไม่ใช ้ กัน นนคือคําว่า


“สะสมประสบการณ์” ค่ะ จะไม่ใช ้ ว่า 経験を集める keiken o atsumeru แต่จะใช ้ เปนสํานวนว่า 経験を
積む keiken o tsumu ค่ะ คากริยา 積む tsumu นีเปนสกรรมกริยาคูกับคาว่า 積もる tsumoru ที่มัก









ใช ้ กับการที่หิมะทับถมกันนะค่ะ นอกจาก 経験 keiken ประสบการณ์ แล ้ว กจะเหนใช ้ เปนสํานวน 徳を積





む toku o tsumu ทาบุญ, 練習を積む ฝกฝนซํ้าๆ ค่ะ จะเห็นได ้ว่ามักจะใช ้ กับการกระทาทีเปนนามธรรม


ไม่ได ้ใช ้ กับการเก็บสะสมสิงของทีเปนรูปธรรมไว ้กับตัวจริงๆ


แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 46





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ
















ช่วงนีเปนช่วงแข่งกีฬาโอลิมปก อาจารย์เจอประโยคคาถามทีอาจารย์ฟงแล ้วรู้สึกแปลกๆ มาเล่าสู่กันฟงค่ะ



มาคิดไปพร ้อมๆ กันนะคะ ว่าถ ้าเปนเราจะถามว่าอะไร



สถานการณ์ที 1 ถ ้าเราเหน/รู้ว่าเพือนคนญี่ปุนกําลังดูถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอลอยู เราอยากรู้



ว่าทีมไหนแข่งกับทีมไหน เราจะถามว่าอะไรดีคะ
a. だれとだれ?Dare to dare? ใครกับใคร?
b. どことどこ? Doko to doko? ที่ไหนกับที่ไหน?
c. どっちとどっち? Dotchi to dotchi? ฝงไหนกับฝงไหน?




d. どれとどれ? Dore to dore? ทีมไหนกับทีมไหน?
.
.


.

เฉลยค่ะ b. どことどこ? Doko to doko? ที่ไหนกับที่ไหน?

อาจารย์บอกว่า คนไทยมักจะถามว่า a. だれとだれ?Dare to dare? ซึ่งคงเพราะคล ้ายกับภาษาไทย





ที่มักจะถามว่า “ใครแข่งกับใคร” แต่คนญี่ปุนฟงแล ้วงงค่ะ เพราะว่าบาสเกตบอลเปนกีฬาที่เล่นเปนทีม ถาม

ว่า “ใคร” ซึงหมายถึงคนหนึงคน เขาเลยไม่รู้จะตอบเปนชือใครนะค่ะ อย่างในการแข่งโอลิมปกนีเปนการ










แข่งระหว่างประเทศกับประเทศ เขาจึงไม่ถามว่า “ใคร” แต่จะถามว่า “ที่ไหน” และต ้องการคาตอบเปนชือ

ประเทศ แม ้ว่าจะเปนกีฬาที่เล่นคนเดียวก็ตาม ก็ยังคงใช ้ ถามด ้วย どことどこ? Doko to doko? ที่ไหน
กับที่ไหน? และต ้องการคําตอบเปนชือประเทศเหมือนกันค่ะ ยกเว ้นเสียก็แต่เปนนกกีฬาทีมีชือเสียงมาก







หรือทั้งคนถามและคนตอบรู้เรืองกีฬาประเภทน้นเปนอย่างดี ก็อาจจะถามและตอบเป็น “ใคร” และตอบเปน



ชือคนก็ได ้ค่ะ



สถานการณ์ที 2 เมือเพือนดูการแข่งขันจบแล ้ว เราอยากรู้ว่าทีมไหนชนะ เราจะถามว่าอะไรดีคะ


a. だれが勝った?Dare ga katta? ใครชนะ?
แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 47





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ



b. どこが勝った? Doko ga katta? ทีไหนชนะ?
c. どっちが勝った? Dotchi ga katta? ฝงไหนชนะ?


d. どれが勝った? Dore ga katta? ทีมไหนชนะ?

.


.

.

เฉลยค่ะ c. どっちが勝った? Dotchi ga katta? ฝงไหนชนะ?



ถ ้าเปนตามปกติ เราคงใช ้ ตามภาษาไทยว่า a. だれが勝った?Dare ga katta? ใครชนะ? ซึงตาม




เหตุผลข ้อด ้านบน คนญีปุนก็จะไม่ถามด ้วยคาว่า “ใคร”


ถ ้าคิดตามเหตุผลด ้านบน กควรถามว่า b. どこが勝った? Doko ga katta? ทีไหนชนะ? ใช่มั้ยคะ แต่




ั่

อาจารย์บอกว่า ในสถานการณ์นีไม่ใช ้ คาว่า “ที่ไหน” แต่จะใช ้ คาว่า どっち Dotchi ฝงไหน แทน เพราะ
การแข่งขันบาสเกตบอล เปนการแข่งระหว่าง 2 ทีมเท่าน้น การถามโดยมีตัวเลือกแค่ 2 ตัวเท่าน้นในการ




ตอบ จะใช ้ คาถามว่า どっち Dotchi ค่ะ



เรืองคาแสดงคาถาม どっち dotchi กับ どれ dore นี้ก็เปนอะไรที่คนไทยมักจะผิดกันบ่อยค่ะ อาจารย์


บอกว่า คนญีปุนฟงแล ้วจะงงมากค่ะ โดยเฉพาะถ ้ามีตัวเลือกหลายตัว (ตั้งแต่ 3 ขึนไป) แต่กลับโดนถาม




ด ้วยคาว่า どっち dotchi เช่น สมมติว่าไปร ้านไอศกรีมด ้วยกัน ตรงหน้ามีไอศกรีมให ้เลือกมากมายหลาย

รส แต่คนไทยถามว่า
どっちにしますか。
Dotchi ni shimasu ka.

เอาอันไหน?

>> คนญี่ปุนจะงงทันทีค่ะว่า เอ๊ะ ให ้เลือกระหว่างรสไหนกับรสไหนเนี่ย?

หวังว่าจะเชียร์กีฬาโอลิมปกและคุยกับเพื่อนญี่ปุนอย่างสนกสนานนะคะ ^^










แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 48





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ










วันนี้ขอเปดประเด็นด ้วยคําถามที่วันก่อนผู้เขียนโดนยูกิเซนเซถามมานะคะ ทุกคนคิดว่ายังไงคะ ^^
.

.
.

.



เฉลยค่ะ ในเซนส์ของคนญี่ปุน คําว่า 速い hayai เรวกว่า 結構速い kekkou hayai ค่ะ มีใครตอบถูกบ ้าง
คะ อาจารย์บอกว่าส่วนมากคนไทยจะเข ้าใจผิด คิดว่า 結構速い kekkou เร็วกว่า 速い hayai


คาว่า 結構 kekkou มีการพัฒนาการของความหมายค่อนข ้างมาก แรกเริ่มเดิมที มีการใช ้ คํานี้เปน adj.

หมายความว่า ยิงใหญ่อลังการ ทีญีปุนมีคาพูดชืนชมความงามของศาลเจ ้า 東照宮 Toushouguu ที่ 日光






Nikkou ว่า

日光を見ずして結構と言うな。
Nikkou o mizu shite kekkou to iu na.
หากยังไม่เคยเห็นนิกโค จงอย่าพูดว่า 結構 Kekkou



แต่ในปจจุบัน คาว่า 結構 Kekkou ที่เปนคําคุณศัพท์ จะมีความหมายในเชิงปฏิเสธ หมายถึง พอแล ้ว, ไม่



เอาแล ้ว โดยเฉพาะเวลามีคนชวนหรือเสนออะไรบางอย่างให ้ แล ้วเราไม่ต ้องการ




ในส่วนของการพัฒนามาเปนคาวิเศษณ์ขยายคาคุณศัพท์ทั้งหลาย จะให ้ความหมายว่า ...พอสมควร เช่น 結




構速い kekkou hayai เรวพอสมควร ให ้ความรู้สึกว่า กเรวกว่ามาตรฐานทัวไป อยูในเกณฑ์ทียอมรบได ้




แต่ก็ไม่มากนกค่ะ อาจจะแค่พอๆ กันหรือมากกว่า まあまあ maamaa + adj. นิดหนอยเท่าน้นเองค่ะ


ในขณะที่ 速い hayai คําคุณศัพท์เดี่ยวๆ น้น ให ้ความรู้สึกว่า เปนเช่นน้นโดยไม่มีข ้อแม ้หรือเงือนไขค่ะ




เช่น お、速い!O, hayai! เร็วจง! ดังน้น จึงให ้ความรู้สึกว่า เรวกว่า 結構速い kekkou hayai เร็ว



พอสมควรค่ะ


แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 49





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ










คาว่า 皆さん ทุกคนอ่านคานีว่าอะไรคะ


a.mina-san
b.minna-san

c.ถูกทั้งสองข ้อ
.

.

.


เฉลยค่ะ a. อ่านว่า 〇mina-san เท่าน้นค่ะ ไม่สามารถอ่านว่า ✖minna-san ได ้ค่ะ ทั้งๆ ที่คําว่า 皆


เฉยๆ สามารถอ่านได ้ทั้ง mina และ minna แถมชื่อหนงสือเรียนที่เปนที่รู้จักกันดี みんなの日本語 ก็




เขียนชือเปนภาษาไทยชัดๆ ว่า “มินนะ โนะ นิฮงโกะ” จึงคาดว่านาจะมีคนไทยจานวนมาก ทีอ่านหรือพูดคํา

ว่า 皆さん โดยออกเสียงว่า minna-san คือ แบบมีตัวสะกด –n ด ้วย ซึงถือว่าผิดค่ะ






การออกเสียงผิดอันนี ไม่ได ้เกิดจากการทีคาว่า mina-san ออกเสียงยากแต่อย่างใด แต่นาจะเปนความไม่

รู้หรือเข ้าใจผิดมากกว่า เพราะฉะน้นนาจะแก ้ได ้ไม่ยากค่ะ เริมจากเพจเราก่อนเลยนะคะ




皆さん Mina-san ทราบแล ้ว-เปลียน! (วิธีอ่านออกเสียงกันค่ะ) ^^




























แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 50





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ



















ยูกิเซนเซเปดประเด็นนี้โดยการก็อปปหน้าจอผลการค ้นหาการใช ้ คาว่า でしょう deshou ในแชทมาให ้ดู

ค่ะว่า มีแต่ผู้เขียนที่ใช ้ คํานี้ ในขณะทียูกิเซนเซเองไม่เคยใช ้ เลยแม ้แต่คร้งเดียว!!





ก่อนอืน ขอพูดถึงความหมายของคาว่า でしょう deshou ก่อนนะคะ จริงๆ แล ้วคําว่า でしょう deshou
มีความหมายและการใช ้ 2 แบบค่ะ แบบแรกจะเปนแบบทีเราเคยเรียนกันมา คือ เปนการคาดคะเน โดยมี



ความมันใจประมาณ 50% แปลเปนไทยก็จะได ้ประมาณ คงจะ ค่ะ เช่น




来週、学校が始まるから、道がまた込むでしょうね。

Raishuu, gakkou ga hajimaru kara, michi ga mata komu deshou ne.

สัปดาห์หน้า โรงเรียนเปดแล ้ว รถคงจะติดอีกแล ้วนะคะ






ส่วนแบบทีสอง จะใช ้ ลงท ้ายประโยคเพื่อแสดงความมันใจของผู้พูดว่าเปนอย่างน้น และคาดหวังว่าผู้ฟง







จะต ้องเหนด ้วยอย่างแนนอนด ้วยค่ะ แปลเปนไทยนาจะประมาณ ใช่มั้ยล่ะ มักจะใช ้ ในภาษาพูดทีไม่เปน



ทางการนก เช่น พูดกับเพื่อน เปนต ้น โดยในรูปแบบนี้จะมีทั้งแบบที่ทํานองเสียง (intonation) ท ้าย
ประโยคขึ้นสูง และลงตํ่าด ้วยค่ะ เช่น


え、また食べるの?さっき食べたばかりでしょう?(ขึนเสียงสูง)
E, mata taberu no? Sakki tabeta bakari deshou?
เอ๊ะ จะกินอีกแล ้วเหรอ? เมือกีเพิงกินไปไม่ใช่เหรอ?




そんな顔して、何かいいことあったでしょう。(ลงเสียงต่า)

Sonna kao shite, nanka ii koto atta deshou.

ทาหน้าแบบน้น มีเรื่องอะไรดีๆ ใช่มั้ยล่ะ


แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 51





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ




อ ้าว ก็เห็นในประโยคตัวอย่างใช ้ ได ้นี่นา แล ้วตกลงประโยคหัวข ้อของเราวันนี 明日は雨でしょう。

Ashita wa ame deshou. พรุ่งนี้ฝนคงจะตก มันผิดตรงไหน??

ใบ ้ให ้นิดนึงค่ะ อยู่ตรงข ้างหลังคาว่า でしょう deshou


.

.

.



เฉลยค่ะ กรณที่ใช ้ でしょう deshou ในความหมายแรก คือ การคาดคะเน หากหลังจากน้นจบประโยคไป




เลย ประโยคน้นจะฟงดูแข็งๆ ค่ะ เหมือนผู้ประกาศข่าวอ่านข่าวอยู (ไม่เหมือนการสนทนา แต่เปนการอ่าน)



นนเองค่ะ ในการสนทนากันทั่วไป คนญี่ปุนจึงมักจะไม่จบห ้วนๆ ด ้วยคําว่า でしょう。deshou. แต่จะเติม

คําลงท ้าย เช่น ね ne ลงไป หรือไม่ก็ต่อด ้วย から kara แล ้วตามด ้วยผลที่เกิดขึ้น เพื่อให ้ประโยคฟงดู




นมนวลและฟงเปนบทสนทนามากขึนค่ะ


来週、道が込むでしょうから、早く家を出たほうがいいですよ。
Raishuu, michi ga komu deshou kara, hayaku uchi o deta hou ga ii desu yo.


สัปดาห์หน้า รถคงจะติด ฉะน้นออกจากบ ้านเรวหนอยดีกว่านะครบ






ส่วนในความหมายทีค่อนข ้างมันใจและคาดหวังให ้อีกฝายเหนด ้วย ส่วนมากแล ้ว ในภาษาพูดมักจะพูดเสียง


สั้นลงค่ะ เปน でしょ。desho. でしょ?desho? มากกว่าค่ะ ตรงนี้ระวังนิดนึงค่ะ สําหรับผู้หญิงเรา

แม ้ว่าคาว่า でしょう deshou จะมีรูปไม่สุภาพเปน だろう darou แต่ในความหมายมันใจและคาดหวัง






ให ้อีกฝายเหนด ้วยน้น ผู้หญิงเราจะต ้องใช ้ でしょ(?) desho(?) เหมือนเดิมนะคะ ไม่เปลียนเปน だろ(?)

daro(?) ค่ะ เพราะนนเปนภาษาผู้ชายค่ะ














แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 52





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ

















วันนีมาด ้วยเรืองคาว่า 暇 hima ว่าง ค่ะ พอดีเมือวานเขียนประโยคตัวอย่างถามเพือนว่าว่างหรือเปล่า โดย
ใช ้ คาว่า 空いている aiteiru แล ้วเลยนึกถึงคาว่า 暇 hima ขึนมาค่ะ







คาว่า 暇 hima เปนคําคุณศัพท์ -na แปลว่า ว่าง กจริง แต่ด ้วยความหมายแฝงของคานีอาจทาให ้คนฟง





หลายคนไม่พอใจค่ะ เนืองจากคาว่า 暇 hima มีความหมายว่า ว่าง “ไม่มีอะไรทา” เมือเราถามว่า 明日、



暇ですか。 Ashita hima desuka? พรุ่งนี้ว่างมั้ยคะ? ผู้ฟงจึงรู้สึกเหมือนว่าเราถามเขาว่า “คุณไม่มีอะไร

ั่

ทาอยูใช่มั้ย นงว่างๆ อยู่เฉยๆ ใช่มั้ย” ประมาณน้นค่ะ โดยเฉพาะส่วนมากแล ้วการถามว่าเขามีเวลาหรือไม่









ส่วนมากจะเปนการเกรินเพือชักชวนหรือขอร ้องให ้ผู้ฟงทาอะไรซักอย่าง ผู้ฟงก็จะยิงรู้สึกไม่พอใจมากขึน


เหมือนกับว่า “ยังไงคุณก็นงอยู่ว่างๆ ไม่มีอะไรทาอยู่แล ้ว มากับฉนก็แล ้วกัน / มาช่วยฉนก็แล ้วกัน” คน
ั่


ทัวไป ถึงแม ้ว่าจะไม่มีธุระหรือนดกับใคร แต่ก็ไม่ใช่ไม่มีอะไรทาค่ะ จึงไม่ควรใช ้ คํานี้ถามผู้อื่นค่ะ โดยเฉพาะ




กับผู้ทีอาวุโสกว่านะคะ

ถ ้าอย่างน้น เราควรถามว่าอะไรดี? ให ้ถามว่า “มีเวลา / ธุระหรือเปล่า” แทนค่ะ เช่น

明日、ちょっと(お)時間ありますか。
Ashita, chotto (o) jikan arimasu ka.
พรุ่งนี้ มีเวลาซักนิดมั้ยคะ

明日、何か(ご)予定ありますか。
Ashita, nanika (go) yotei arimasu ka.
พรุ่งนี้มีกําหนดการทําอะไรบ ้างหรือเปล่าคะ

ส่วนคาว่า 空いている aite iru ว่าง แม ้จะแปลว่า ว่าง เหมือนกับ 暇 hima แต่ความหมายแฝงต่างกัน


ตรงที่ 空いている aite iru หมายถึง ว่างจากกาหนดการต่างๆ คือ ไม่มีนด ไม่มีแผน/กําหนดการ ทีจะทา





อะไรชัดเจน แต่ไม่ใช่ไม่มีอะไรทาค่ะ ดังน้นจึงยังสามารถใช ้ ถามคูสนทนาว่า 明日、空いてますか。

Ashita, aitemasu ka. ได ้ค่ะ แต่อาจไม่เปนทางการนกค่ะ



แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 53





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ










วันนีมาว่ากันด ้วยเรื่องการออกเสียงกันค่ะ พอดีวันก่อนยูกิเซนเซพูดถึงว่า คนไทยหลายคนออกเสียงคาว่า
ざっし zasshi ทีแปลว่านิตยสาร แปลกๆ แล ้วหลังจากน้นบังเอิญได ้ดูคลิปสอนการออกเสียง っ (tsu


เล็ก) ในภาษาญีปุนโดยคนไทยอยูคลิปนึง และมียกตัวอย่างคานีด ้วย แต่คนสอนกลับออกเสียงผิด ผู้เขียน






เลยคิดว่า อาจมีคนไทยหลายคนเข ้าใจผิดและออกเสียงผิดอยู เลยมาขอเล่าสู่กันฟงในวันนี้ค่ะ





เสียง っ (tsu เลก) หลายคร้งจะได ้ยินเรียกกันว่า เสียงกัก คล ้ายเปนการเพิ่มตัวสะกดให ้พยางค์แรก โดยใช ้

เสียงของพยัญชนะต ้นของพยางค์ถัดไปมาเปนตัวสะกด แต่เว ้นจงหวะเสียงให ้ยาวนิดนึง เสมือนเปนอีก 1



พยางค์ กล่าวคือ ภาษาญีปุนจะนบเสียง っ (tsu เล็ก) เปน 1 จังหวะด ้วยค่ะ เช่น






คาว่า きって kitte มี 3 จังหวะ (拍 haku) ได ้แก่ ki - t – te โดยตัว っ (tsu เล็ก) ก็ออกเสียงเปน
ตัวสะกด t แต่หยุดทีเสียงตัวสะกด t น้นนานนิดนึงค่ะ ก่อนจะออกเสียง te ถดไป




หากเสียงพยัญชนะต ้นของพยางค์ถัดไปเปนเสียง t, p, k ก็ไม่ค่อยมีปญหาอะไรเท่าไหร่นก เพราะ



ภาษาไทยเรามีเสียงตัวสะกดแม่กด (t), แม่กบ (p), แม่ กก (k) เพียงแต่ต ้องระวังเว ้นจงหวะให ้ดีเท่า


น้นเอง

แต่เสียงทีอาจจะมีปญหาคือเสียง s และ sh ค่ะ เนืองจากในภาษาไทยไม่มีเสียงตัวสะกด 2 ตัวดังกล่าว







เวลาคนไทยออกเสียงคาทับศัพท์ภาษาอังกฤษทีมีตัวสะกดเปน s หรือ sh เรามักรวบเปนเสียงตัวสะกดแม่
กด (t) เหมือนกันหมด เช่น รถบัส เราก็อาจออกเสียงว่า รด-บด, แฟลช เราก็อาจออกเสียงว่า แฝล็ด เป็น
ั๊

ต ้น ดังน้น เมื่อเจอคาภาษาญี่ปุน เช่น いっそ isso ก็อาจจะออกเสียงเปน it-so, いっしょ issho ก็



อาจจะออกเสียงเปน it-sho เปนต ้น แต่ในภาษาญีปุน ทีถูกต ้องจะต ้องออกเสียง s หรือ sh ลากยาวค่ะ







ดังน้น คาว่า ざっし zasshi วิธีออกเสียงทีถูกต ้อง ต ้องเปน za-sh-shi ค่ะ




แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 54





#ยูกิเซนเซขอแกหนอยนะ

















วันนี้มาดูกันเรื่องคําทักทายค่ะ เพิงสังเกตเหนว่านกเรียนไทยเวลาทีหมดชัวโมงเรียน แล ้วบอกนกเรียนไปว่า


じゃ、また明日。Ja, mata ashita. ง้นพบกันพรุ่งนี้ มีนกเรียนหลายคนจะตอบกลับมาว่า また明日で
す! Mata ashita desu! แล ้วเจอกันพรุ่งนี้ค่ะ




คาทักทาย また明日。Mata ashita. เปนการพูดย่อๆ ของประโยคเตมๆ ว่า また明日会いましょう。


Mata ashita aimashou. ทีนีคาดว่านกเรียนหลายคนคงรู้สึกว่ามันสั้นๆ ห ้วนๆ ไป ถ ้าจะพูดกับคุณครู ก็

เลยเติม です。 desu. มาให ้เพือความสุภาพ ซึงผู้เขียนก็ว่านารกดี แต่.....คนญีปุนไม่ใช ้ กันค่ะ











คาว่า です。desu. เปนคําสุภาพก็จริง และแม ้ว่าในภาษาญี่ปุน หลายคร้งเราสามารถละคากริยาแล ้วพูด
เหลือแค่ です desu ได ้ อย่างทีเคยโพสต์ไว ้เรืองโครงสร ้างประโยคแบบประโยคปลาไหล (ภาษาญีปุน




เรียกว่า ウナギ文 unagi bun เนืองจากประโยคตัวอย่างทียกมานาเสนอโครงสร ้างประโยคแบบนีคือ ぼく





はウナギだ。Boku wa unagi da. ซึงเขาอธิบายว่า ไม่ได ้แปลว่า ผมเปนปลาไหล แต่เปนการละ



คากริยาว่า “ขอ(เอา)” เอาไว ้ โดยประโยคนี้หมายถึงว่า “ผมขอสังปลาไหล” นนเองค่ะ) แต่การใช ้ です。
ั่




desu. ก็มีความหมายแฝงถึงการบอกข ้อเทจจริงหรืออะไรทีตัดสินใจแนนอนแล ้ว (คือไม่ใช่การราพึง, คาด





เดา, ขอร ้อง, ชักชวน เปนต ้น) ดังน้น จึงฟงดูแปลกๆ ทีจะเอามาย่อจากประโยคเตมทีเปนเหมือนรูปชักชวน



นะค่ะ





เอ แล ้วจะตอบคุณครูว่ายังไงดีให ้ดูสุภาพล่ะ ลองไปสังเกตคนญี่ปุนดู ถ ้าเปนเดกเลกๆ เช่น เดกอนบาลหรือ




ประถม ก็จะตอบว่า また明日。Mata ashita. ได ้ค่ะ แต่ถ ้าโตแล ้ว เช่น เดก ม.ปลายหรือนกศึกษา

มหาวิทยาลัย ส่วนมากจะตอบว่า 失礼します。Shitsurei shimasu. มากกว่าค่ะ ลองถามยูกิเซนเซ เซน
เซบอกว่า ถ ้าจะพูด また明日。Mata ashita. กับคุณครู ก็จะพูดเสียงเบาๆ หนอยค่ะ จะไม่พูดแบบเสียง



ดังฟงชัด เพราะจะฟงดูแข็งกร ้าวเกินไปค่ะ

แม่ยุก-ยูตะ / ยูกเซนเซ | ภาค 2 อนๆ 55




Click to View FlipBook Version