The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดการขยะมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา-1-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yamila611, 2020-03-08 09:47:06

คู่มือการจัดการขยะมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา-1-1

คู่มือการจัดการขยะมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา-1-1

ค่มู อื การจดั การขยะมหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏยะลา

ภาษาองั กฤษ :

สารบญั

นโยบาย “มหาวิทยาลัยสเี ขยี ว”
นิยามความหมายของขยะ
ปรมิ าณขยะของ มรย.
ผลกระทบ

เป้าหมายในการจัดการขยะของ มรย.
ในถงั ขยะมรย. มขี ยะบ้าง

การคดั แยกขยะ (ประเภทถงั ขยะ)
การนาขยะไปใชป้ ระโยชน์

1. นิยานมยิ คาวมาคมวหามาหยมายของขยะ

พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ได้ให้
ความหมายของคาว่า มูลฝอย หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ท่ีเราไม่
ต้องการ ท่ีเป็นของแข็งหรืออ่อน มีความช้ืน ได้แก่ กระดาษ
เศษผ้า เศษอาหาร ถงุ พลาสติก ภาชนะกล่องใส่อาหาร เถ้า มูล
สัตว์ หรือซากสตั ว์ รวมตลอดถึงวตั ถุอื่น สิ่งใดที่เก็บกวาดได้จาก
ถนน ตลาด ที่เลีย้ งสัตว์หรอื ที่อืน่ ๆ

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม
พ.ศ. 2535 ได้ให้ความหมายของคาว่าของเสีย หมายความว่า
ขยะมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล น้าเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือวัตถุ
อันตรายอน่ื ใด ซึ่งถูกปล่อยทิง้ หรอื มีทีม่ าจากแหล่งกาเนิดมลพิษ
รวมท้งั กากตะกอน หรือส่งิ ตกค้างจากสงิ่ เหล่าน้ัน ท่ีอยู่ในสภาพ
ของแข็ง ของเหลว หรือกา๊ ซ

โดยให้ความหมายคาว่า ขยะมูลฝอย หมายถึง บรรดาส่ิงของที่ไม่ต้องการใช้แล้ว ซึ่งส่วนใหญ่จะ
เป็นของแขง็ จะเน่าเปอ่ื ยหรอื ไม่ก็ตาม รวมตลอดถึง เถ้า ซากสัตว์ มูลสัตว์ ฝุ่นละออง และเศษวัตถุท่ีทิ้ง
แล้วจากบ้านเรือน ที่พักอาศัย สถานท่ีต่าง ๆ รวมถึงสถานที่สาธารณะ ตลาดและโรงงานอุตสาหกรรม
ยกเวน้ อจุ จาระ และปัสสาวะของมนษุ ย์ ซึ่งเป็นส่ิงปฏิกูล

กรมควบคมุ
มลพษิ

ได้ใหน้ ิยามความหมายไวว้ ่า ขยะหรอื มลู ฝอย (Solid waste)
คือ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสนิ คา้ เศษวัตถุ ถุงพลาสติก
ภาชนะที่ใส่อาหาร เถา้ มลู สัตว์ ซากสตั ว์หรอื สิ่งอน่ื ใด ท่ีเกบ็ กวาดจาก
ถนน ตลาด ที่เลยี้ งสัตวห์ รอื ทอี่ ่ืน และหมายความรวมถงึ มูลฝอยตดิ
เช้ือ มูลฝอยท่ีเป็นพษิ หรืออันตรายจากชุมชนหรือครัวเรือน ยกเว้น
วสั ดุท่ีไม่ใชแ้ ลว้ ของโรงงานซงึ่ มีลักษณะและคณุ สมบตั ิท่ี กาหนดไว้
ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงงาน (กรมควบคุมมลพิษ, 2548)

สาหรับขยะอันตราย หรือขยะมีพิษ คือ ขยะ วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
ผลิตภัณฑ์เสื่อมสภาพ หรือภาชนะบรรจุต่างๆ ที่มีองค์ประกอบหรือ
ปนเปอื้ นวัตถุ สารเคมอี ันตรายชนิด ตา่ งๆ ท่ีมลี ักษณะเป็นสารพิษสาร
ไวไฟ สารเคมที ีก่ ดั กรอ่ นได้สารกัมมันตรังสีและ เช้ือโรคต่างๆ ท่ีทาให้
เกิดอนั ตราย แกบ่ ุคคล สตั วพ์ ชื ทรพั ย์สินหรือสงิ่ แวดล้อม เช่น ถ่ายไฟ
ฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์แบตเตอรี่โทรศัพท์เคล่ือนที่ ภาชนะบรรจุ
สาร กาจัดศัตรูพืช กระป๋องสเปรย์บรรจุสีหรือสารเคมีเป็นต้น (กรม
ควบคมุ มลพษิ , 2553)

1. ปริมาณขยะของ มรย. 1500 kg
ประเภทของขยะ – งานวิจัยนศ. สวล. – (ทาบันทกึ
ขอขอ้ มลู จากอ.วารนิ ทร์ เพอื่ นามาเขียนกราฟ
ปรมิ าณขยะในมรย.)
และขอ้ มลู คา่ กาจดั ขยะที่จ่ายใหเ้ ทศบาลนครยะลา –
สนอ. (เอามาเขยี นกราฟ 5 ปี ยอ้ นหลงั )

- กราฟปริมาณขยะ

(รอขอ้ มูล)

2. ผลกระทบ
-ผลต่อสุขภาพ (โฟม) – ก่อมะเรง็
-ผลตอ่ สวล. (แหล่งเพาะพนั ธุ์ของเชอ้ื โรค, ขยะล้น, โลกรอ้ น)
-ผลเศรษฐกิจ

ใส่เป็นรูปใหเ้ หน็ ภาพ

ผลกระทบของขยะมลู ฝอย
1. ปัญหากลน่ิ เหมน็ จากขยะมูลฝอยสรา้ งความราคาญใหแ้ กช่ ุมชนพักอาศยั
2. แหลง่ นา้ เน่าเสยี จากการท่ขี ยะมูลฝอยมีอนิ ทรยี สารเนา่ เปื่อยปะปนอยู่ เปน็ อันตรายตอ่

การดารงชีวติ ของมนุษยแ์ ละสัตว์นา้ รวมทง้ั ผลเสยี ในดา้ นการใช้แหล่งน้าเพื่อการนันทนาการ
3. เปน็ แหลง่ เพาะพันธ์ุเช้อื โรคและสตั ว์นาโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงวนั เป็นตน้
4. การกาจดั มูลฝอยท่ไี ม่ถูกหลักวิชาการจะสรา้ งความเดือดร้อนราคาญแกผ่ ู้ทอ่ี าศยั ข้างเคยี ง

รวมท้งั ส่งผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มและสุขภาพของประชาชน
5. ทาให้ชุมชนขาดความสะอาด สวยงามและเป็นระเบยี บ และไมน่ า่ อยู่
6. การสูญเสียทางเศรษฐกจิ เชน่ ชมุ ชนจะต้องเสยี ค่าใช้จ่ายในการเก็บขนและกาจดั ขยะ มลู

ฝอย ค่าชดเชยความเสียหายในกรณีที่เกดิ เพลงิ ไหม้ และค่ารกั ษาพยาบาลหากประชาชนไดร้ ับ
โรคภัยไขเ้ จบ็ จากพษิ ของขยะมูลฝอย

ผลกระทบของขยะมูลฝอยตอ่ สภาวะแวดลอ้ ม
ขยะมูลฝอยนน้ั นบั วันจะเพ่มิ มากขึน้ ตามจานวนของประชากร ถ้าหากไมม่ กี ารกาจัดขยะ

มลู ฝอยใหถ้ ูกต้อง และเหมาะสมแล้ว ปญั หาความสกปรกต่างๆ ทเี่ กดิ จากขยะมูลฝอย จะต้อง
เกิดขึน้ อยา่ งแน่นอน ถ้ามองกนั อยา่ งผิวเผินแลว้ ขยะมลู ฝอยนน้ั ไม่ได้มผี ลกระทบตอ่ มนุษยม์ ากนัก
ทั้งน้ีอาจเปน็ เพราะผลกระทบที่เกดิ ข้นึ โดยตรงตอ่ มนุษย์ ยงั อยู่ในขั้นท่ไี ม่รุนแรงมากนัก ผลกระทบ
ทเี่ กิดข้ึนจงึ ไมช่ ัดเจนเทา่ ไร แตใ่ นความเป็นจริงแล้ว ขยะมูลฝอยจะก่อใหเ้ กดิ ปญั หาตอ่
สภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก และจะมผี ลกระทบต่อสขุ ภาพอนามัยของมนษุ ย์ดว้ ย ทัง้ โดยทางตรง
และทางอ้อม ทั้งนเ้ี น่ืองจาก

๑. ขยะมูลฝอย เป็นแหลง่ อาหาร และแหล่งเพาะพันธ์ุของแมลงนาโรค เชน่ แมลงวนั
แมลงสาบ ยงุ ฯลฯ และเป็นท่ซี กุ ซอ่ นของหนแู ละสัตว์อื่นๆ

๒. ขยะมูลฝอย ทาใหเ้ กิดกลน่ิ เหมน็ และกอ่ ใหเ้ กิดความราคาญ
๓. ขยะมูลฝอยท่ที ิง้ เกลือ่ นกลาด ถูกลมพัดกระจดั กระจายไปตกอย่ตู ามพ้นื ทาให้พ้ืนท่ี
บรเิ วณน้ันสกปรก ขาดความสวยงาม เป็นท่รี ังเกียจแก่ผู้พบเห็น และผทู้ ีอ่ าศยั บริเวณใกล้เคียง
นอกจากนี้ขยะมูลฝอยที่ตกอยู่ หรือถกู ทง้ิ ลงในคคู ลอง หรือทางระบายน้า จะไปสกดั ก้นั การไหล
ของน้า ทาใหแ้ หล่งน้าสกปรก และเกดิ การเน่าเสยี
๔. น้าเสียทีเ่ กดิ จากกองขยะมูลฝอยทก่ี องท้งิ ไว้ เป็นน้าเสยี ท่มี คี วามสกปรกสูงมาก ซ่งึ มีท้ัง
สารอินทรยี ์ สารอนนิ ทรีย์ เชื้อโรค และสารพษิ ตา่ งๆ เจอื ปนอยู่ เม่ือน้าเสียจากกองขยะมลู ฝอย
ไหลไปตามพืน้ ดินบริเวณใด ก็จะทาใหบ้ รเิ วณน้ัน เกิดความสกปรก และความเส่อื มโทรมของ
พ้นื ดนิ และอาจเปลยี่ นสภาพ ทาใหด้ นิ มีคุณสมบตั เิ ป็นดินดา่ ง หรอื ดินกรดได้ ในกรณที ี่นา้ เสยี จาก
กองขยะมูลฝอย ไหลลงสแู่ หล่งนา้ กจ็ ะทาให้คณุ ภาพน้าเสยี ไป ทงั้ นี้ไม่วา่ จะเป็นแหล่งนา้ ผิวดนิ
หรือแหล่งนา้ ใตด้ ินกต็ าม ล้วนเป็นอันตรายต่อผใู้ ช้นา้ และส่ิงมีชีวติ ทอี่ าศัยในแหลง่ น้า น้าท่ีสกปรก
มาก หรอื มสี ารพษิ เจือปนอยู่ กอ็ าจทาใหส้ ัตวน์ า้ ตายในเวลาอันส้นั นอกจากน้ันสงิ่ สกปรกต่างๆ ที่
เจอื ปนในน้า ก็จะสง่ ผลตอ่ ระบบนิเวศของน้า ทาใหส้ ัตวน์ ้าท่ีมคี ่าบางชนดิ สูญพันธ์ไุ ป นอกจากน้ี
น้าทมี่ ีส่ิงสกปรกเจอื ปน ยอ่ มไมเ่ หมาะแกก่ ารอปุ โภค บรโิ ภค แม้จะนาไปปรับปรุงคณุ ภาพแล้วก็
ตาม เชน่ การทาระบบน้าประปา ซง่ึ ก็ต้องสน้ิ เปลืองค่าใชจ้ า่ ย ในกระบวนการปรบั ปรุงคณุ ภาพน้า

มากขึน้
๕. ขยะมลู ฝอย ทาให้เกดิ มลพิษแกอ่ ากาศ ขยะมลู ฝอยทกี่ องทงิ้ ไวใ้ นเขตชมุ ชน หรือท่กี อง

ทง้ิ ไวใ้ นแหล่งกาจดั ซง่ึ ไม่มกี ารฝงั กลบ หรอื ขณะที่ทาการเกบ็ ขน โดยพาหนะที่ไม่มกี ารปกปิดอยา่ ง
มดิ ชิด ขยะมูลฝอยเหล่าน้นั ส่งกลน่ิ เหม็นน่ารงั เกียจออกมา เศษชิ้นสว่ นของขยะมลู ฝอยจะสามารถ
ปลิวไปในอากาศ ทาใหเ้ กดิ ความสกปรกแกบ่ รรยากาศ ซึ่งมีผลตอ่ สุขภาพของมนุษย์ และทาความ
สกปรกใหก้ บั บริเวณข้างเคียงได้

นอกจากนีข้ ยะมูลฝอยทกี่ องทง้ิ ไวน้ านๆ จะมีก๊าซทเ่ี กิดจากการหมกั ขึ้น ได้แก่ ก๊าซชวี ภาพ
ซง่ึ ติดไฟ หรอื เกิดระเบิดขึ้นได้ และกา๊ ซไขเ่ นา่ (กา๊ ซไฮโดรเจนซลั ไฟด)์ ซึง่ มีกลนิ่ เหมน็

3. เปา้ หมายในการจัดการขยะของ มรย.
-งดการใชโ้ ฟม
-ลดการใช้พลาสตกิ
ลดปรมิ าณขยะ ใน มรย.

4. ในถังขยะมรย. มขี ยะบา้ ง
รปู ถงั ขยะ และใสเ่ ปอรเ์ ซน็ ตป์ ระเภทของขยะแตล่ ะประเภท –รอขอ้ มูลจากอ.วารินทร์
-ขยะรไี ซเคิล
-ขยะอินทรีย์
-ขยะอันตราย
-ขยะทวั่ ไป

(เปน็ กราฟวงกลม แสดงเปอรเ์ ซ็นต์)

ถา้ เปน็ รปู ถังขยะมรย. จรงิ ๆ จะดกี ว่า
5. การคัดแยกขยะ (ประเภทถังขยะ)
- ถังขยะ 4 ประเภท (ขยะทั่วไป, ขยะอนิ ทรยี ,์ ขยะอันตราย, ขยะรีไซเคลิ )

พรอ้ มยกตวั อย่างขยะ

- 3R (Reduce, Reuse, Recycle)

หลกั การ 3R หรือ 3 ใช้ เป็นวธิ กี ารงา่ ย ๆ เพ่อื จัดการขยะทเี่ กิดขึ้น และทุกคนสามารถ
ปฏบิ ัติได้ในชีวิตประจาวัน โดยหลกั การ 3 ใช้ หรอื 3R ประกอบด้วย R1 : Reduce (ใช้นอ้ ยหรอื
ลดการใช้) R2 : Reuse (ใชซ้ ้า) และ R3 : Recycle (การแปรรูปมาใช้ใหม่) ซงึ่ มีรายละเอียดดังน้ี

R1: Reduce (ใช้น้อยหรือลดการใช้) คือ การลดปริมาณการใช้ลง โดยใช้เท่าที่
จาเป็น หลีกเลีย่ งการใช้อยา่ งฟมุ่ เฟอื ยเพอื่ ลดการสญู เปลา่ และลดปรมิ าณของเสยี ใหม้ ากท่ีสุด

ใชต้ ะกรา้ หรอื ถงุ ผ้าแทนการใช้
ถุงพลาสติก
ใชแ้ ก้วส่วนตวั แทนการใชแ้ ก้วพลาสตกิ
หรือแก้วทใ่ี ชค้ รงั้ เดยี วทง้ิ
การใช้ผลติ ภณั ฑช์ นดิ เตมิ refill ใช้
ปรมิ าณพลาสตกิ ผลติ เปน็ ถุงน้อยกว่า
ผลติ เป็นขวด
ใชป้ ิ่นโตหรือกลอ่ งใสอ่ าหารแทนการ

Reduce
R2: Reuse (การใชซ้ า้ ) คือ การนาส่ิงของที่ใช้งานไปแล้วแต่ยังสามารถใช้งานได้มา
ใช้อีกให้คุ้มค่า การนาของเสียบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้กลับมาใช้อีกโดยไม่ผ่านกระบวนการ
แปรรปู เช่น การทาสิ่งปะดษิ ฐ์จากวัสดเุ หลือใช้ การใช้กระดาษสองหน้า

Reuse

R3: Recycle (การแปรรูปมาใช้ใหม่) คือ การนาขยะรีไซเคิล ของเสียบรรจุภัณฑ์
หรือวัสดุเหลือใช้มาแปรรูปเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต หรือเพ่ือผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่
โดยกรรมวิธตี า่ ง ๆ เพือ่ นากลบั มาใช้ใหม่ เช่น การนากระป๋องอะลูมิเนียมมาหลอมเปน็ ขาเทียม
(สานกั จดั การกากของเสยี และสารอนั ตราย, 2556)

Recycle

สานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย. (2556). คู่มือปฏิบัติการ 3ใช้ (3R) เพ่ือจัดการ
ขยะชมุ ชน. ส่วนลดและใชป้ ระโยชน์ของเสยี กรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อม.

ใช้รปู อธบิ ายหลกั แต่ละประเภท

6. การนาไปใช้ประโยชน์
- ขยะอนิ ทรีย์ (ปุ๋ย, กา๊ ซ)

- ขยะรไี ซเคิล – เปลี่ยนขยะเปน็ รายได้
ราคาขยะรไี ซเคลิ

ใช้รปู อธบิ ายให้เหน็ ภาพ


Click to View FlipBook Version