กจิ กรรมที่ 2.2
การศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารท่เี กย่ี วข้อง
คำช้แี จง ให้นักเรียนอ่านบทความทก่ี ำหนดให้แล้วตอบคำถามตอ่ ไปนี้
เปิดเรยี นช้ากระทบอะไรบา้ ง
Jiyu kenkyu
เรียบเรียง: นรรัชต์ ฝนั เชยี ร
ถา้ จะกลา่ วถงึ เรื่องของการบ้านช่วงปิดภาคเรียน เรามักจะจนิ ตนาการถงึ การทำแบบฝึกหัดจำนวนมากของ
นักเรียน ซึ่งนักเรียนต้องใชเ้ วลาตลอดช่วงปิดภาคเรยี นน่ังทำจนแล้วเสร็จ เพื่อส่งครูผู้สอนในชว่ งเปิดภาคเรียน ซ่ึง
รูปแบบนี้มักเป็นรูปแบบท่ัว ๆ ไปของการบ้านช่วงปิดภาคเรียนที่ดูไม่แตกต่างอะไรกับการบ้านที่นักเรียนได้รับใน
ช่วงเวลาเรียนปกติเท่าไหร่นัก จะแตกต่างกันก็เพียงปริมาณที่ครูผู้สอนมักจะให้มากกว่าการเรียนปกติเพื่อ ให้
เพียงพอกบั วันหยุดในชว่ งปดิ ภาคเรยี น
ที่กล่าวมาขั้นต้นคือรูปแบบของการบ้านช่วงปิดภาคเรียนที่พบเจอกันเป็นส่วนใหญ่ แต่สำหรับที่ประเทศญี่ปุ่น
กลับมีรูปแบบของการบ้านช่วงปิดภาคเรียนที่สร้างสรรค์และน่าสนใจมากกว่า ซึ่งเรียกเป็นภาษาญี่ปุ่นว่า “จิยู เคงคิว”
自由研究
“จิยู เคงคิว” 自由研究 มีความหมายเป็นภาษาไทยว่าการค้นคว้าอิสระ ซึ่งมาจากคำสองคำคือคำว่า
jiyuu 自由 ที่แปลว่า อิสระ และ kenkyuu 研究 ที่แปลว่า วิจัยค้นคว้า ซึ่งทุกปีในช่วงปิดภาคเรียนของประเทศ
ญี่ปุ่น นักเรียนญี่ปุ่นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะนักเรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษา จะได้รับมอบหมายการบา้ นจากครูผู้สอนให้
ทำการค้นคว้าอิสระในหัวข้อที่ตัวเองสนใจมาคนละ 1 อย่าง เพื่อนำมาเสนอหรือทำเป็นรายงานส่งในช่วงเปิดภาคเรยี น
ซง่ึ สว่ นใหญโ่ ดยนิยมจัดในชว่ งปิดภาคเรียนภาคฤดูร้อน เพราะมรี ะยะเวลาในการปิดภาคเรียนท่ียาวนาน จึงมีเวลาเพียง
พอทจ่ี ะดำเนนิ การศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ
จิยู เคงคิว ได้มีการริเริ่มขึ้นมาในประเทศญี่ปุ่น ช่วงปี ค.ศ. 1920 โดยเป็นผลมาจากการปฏิรูปการศึกษาแนว
ใหม่ ซึ่งได้รับอิทธิผลมาจากประเทศฝั่งตะวันตก โดยในช่วงแรกนั้น นำมาใช้กับโรงเรียนบางแห่ง ก่อนที่จะเริ่มมีการ
บงั คับใชใ้ นโรงเรยี นท่วั ประเทศญปี่ นุ่ ในปี ค.ศ. 2003
ปจั จบุ ันกจิ กรรมนี้กลายมาเป็นกจิ กรรมหลกั ในช่วงปดิ ภาคเรียนของนักเรียนญ่ปี นุ่ ซึ่งมหี นังสือและเว็บไซตท์ ่ี
ส่งเสริมการศึกษาในประเทศญปี่ ุ่นมากมายที่แนะนำแนวทางในการดำเนินการเก่ยี วกบั การศกึ ษาค้นควา้ อสิ ระน้ี ซึ่งถา้
คน้ หาคำว่า jiyukenkyu ในเว็บไซตเ์ พ่ือการสืบคน้ ทว่ั ไป จะพบว่ามีบทความท่ีนำเสนอในเรือ่ งน้ีอย่างมากมาย ซึ่งเป็น
แนวทางใหน้ กั เรียน สามารถนำไปประยุกตใ์ ชเ้ พ่ือทำกิจกรรมตามความสนใจของตวั เอง
46
การค้นคว้าอิสระ เป็นรูปแบบของการศึกษารปู แบบหนึง่ ที่กำหนดใหน้ กั เรยี นสามารถศึกษา ค้นคว้า และวจิ ยั
ในเรื่องท่ีตวั เองสนใจไดอ้ ย่างอสิ ระ นอกเหนอื จากการเรียนในชั้นเรยี นตามปกติ โดยครูผสู้ อนอาจมีการกำหนดหวั ข้อท่ี
เกีย่ วขอ้ งหรืออาจไม่มกี ารกำหนดก็ได้ ซงึ่ ในการกำหนดหวั ขอ้ ของการค้นคว้าอสิ ระ ครผู ูส้ อนอาจให้อิสระเต็มที่กับ
นักเรยี นในการเลือกเรื่องท่สี นใจได้เอง หรอื อาจจะขอดูเรื่องที่จะทำ เพอื่ ดูว่าเร่อื งนี้เหมาะสมกับการเรียนรู้ของนักเรียน
หรอื ไม่ นักเรยี นและครผู สู้ อนมคี วามพร้อมหรือไม่ และสอดคล้องกับเน้ือหาที่เป็นจุดมงุ่ หมายในการใหน้ ักเรียนเรียนรู้
หรือไม่ ซึ่งในประเทศญี่ปุน่ น้ัน มักไม่ไดร้ ะบุหัวขอ้ ใดเปน็ พเิ ศษ และมกั จะใหน้ ักเรียนคิดเร่ืองท่ีอยากคน้ ควา้ นนั้ ด้วย
ตวั เอง เพ่ือสง่ เสรมิ ให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และใหร้ ้จู กั ลงมือทำในส่งิ ทต่ี ัวเองสนใจ
การค้นควา้ วิจยั อสิ ระตามแนวทางจิยูเปน็ การบ้านทเ่ี น้นให้นักเรียนเรียนรู้จากสิง่ ท่สี นใจรอบตวั เพื่อใหน้ ักเรียน
เรียนร้กู ระบวนการศกึ ษาวจิ ัยอย่างงา่ ย ซ่ึงมรี ปู แบบและแนวทางในการดำเนินการนน้ั มีความหลากหลาย โดยไม่ได้
จำกดั อยู่แคก่ ารทดลองวทิ ยาศาสตรเ์ พียงอย่างเดียว เพราะเป้าหมายทีแ่ ท้จรงิ นั้นจะไม่ได้เนน้ ที่ผลลพั ธ์ของการ
ดำเนินการ แตจ่ ะให้ความสำคัญในเร่อื งของกระบวนการในการดำเนินการ เพราะเป็นส่วนสำคญั ทีส่ รา้ งให้นกั เรียนมี
ทักษะในการหาคำตอบดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงนับเป็นทกั ษะทส่ี ำคัญและเปน็ ประโยชน์ในการเรยี นรขู้ อง
นักเรียน ดังน้นั กจิ กรรมตา่ ง ๆ จงึ เน้นใหน้ ักเรยี นสนกุ กับกจิ กรรมทส่ี นใจ จงึ มีการเปดิ กว้างทำนกั เรยี นสามารถเลือกสิ่งท่ี
อย่างทำไดห้ ลากหลายและสร้างสรรค์มากกว่า ซึ่งรปู แบบของการคน้ คว้าอิสระที่หลากหลายนน้ั สามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็
- การทดลอง 実験 jikken เปน็ การให้นกั เรยี นทำการทดลอง เพ่ือพสิ จู น์สมมตุ ิฐานของตวั เอง
- งานประดิษฐ์, งานฝมี ือ 工作 : kousaku เป็นการใหน้ ักเรยี นสรา้ งสรรค์งานประดษิ ฐ์หรืองานฝีมอื จากวัสดุ
ต่างๆ ทนี่ กั เรียนสามารถหาได้รอบๆตัว
- การสังเกตกุ ารณ,์ เฝ้าดู 観察 : kansatsu เปน็ กิจกรรมการเฝา้ สังเกตการเปลยี่ นแปลงของสิ่งตา่ งๆ รอบตัว
โดยมกี ารจดบันทึกการเปล่ียนแปลงในแตล่ ะวนั เพ่อื เปรียบเทียบความแตกต่าง
- การสำรวจ 調査 : chousa เปน็ กิจกรรมทใี่ ห้นักเรียนออกไปเดนิ สำรวจพ้นื ที่ตา่ งๆ
- การเยี่ยมชมโรงงาน 工場見学 : koujou kengaku คือการไปเยย่ี มชมโรงงานตา่ ง ๆ ซึง่ ในประเทศญป่ี ุ่น
มีโรงงานหลายแหง่ ท่ีเปดิ โอกาสให้นักเรียนได้เขา้ ชมเพื่อศึกษา
การดำเนนิ การค้นคว้าวจิ ยั อิสระตามแนวทางจิยู เคงควิ นั้น นกั เรยี นจะต้องเป็นคนเลือกหวั ขอ้ ท่จี ะทำดว้ ย
ตัวเอง โดยเร่มิ จากการสังเกตส่ิงรอบ ๆ ตัว ในชวี ติ ประจำวัน และตัง้ ข้อสงสัย หรือต้ังคำถามกับส่ิงนั้น
เชน่ ทำไม อยา่ งไร เพราะอะไร และ ถา้ ทำเช่นน้ีจะเป็นอย่างไร เป็นตน้ หลังจากน้นั จึงเริ่มวางแผนการทำ กำหนด
ระยะเวลาในการทำ โดยตอ้ งสอดคลอ้ งกบั เวลาปดิ ภาคเรยี น และกำหนดว่าต้องใชอ้ ุปกรณอ์ ะไรบา้ ง มีอนั ตรายมากน้อย
แคไ่ หน ซ่ึงในส่วนนพ้ี ่อแมผ่ ู้ปกครองมสี ่วนในการใหค้ ำแนะนำ หรือชว่ ยเหลือนักเรยี นในกรณที จี่ ำเปน็ ต้องใชอ้ ปุ กรณท์ ี่มี
ความเสย่ี งจะเกิดอนั ตราย เช่น การใชเ้ ลื่อย หรอื การใชส้ ารเคมีต่าง ๆ และสดุ ทา้ ยเมือ่ ได้ผลการศึกษาแลว้ นกั เรยี น
จะต้องจดบนั ทึกและจดั ทำเป็นรายงาน เพ่อื ส่งครูผ้สู อน หรืออาจจะต้องนำผลการค้นควา้ นัน้ ไปนำเสนอหน้าห้องเรียน
จึงจะเสรจ็ ส้ินกระบวนการคน้ ควา้ วิจัยอิสระ
47
การคน้ คว้าอสิ ระของนักเรยี นญีป่ ุ่นนนั้ นอกจากจะเนน้ ให้นักเรยี นลงมอื ทำดว้ ยตวั เองแลว้ ยังเปน็ กิจกรรมท่ี
ส่งเสรมิ ความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั อกี ด้วย เพราะการดำเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ จำเป็นต้องได้รับความร่วมมอื จากพอ่ แม่และ
ผู้ปกครองในการดำเนนิ การต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้กำลังใจ การช่วยเหลือ การใหค้ ำแนะนำ และ การเปน็ ทปี่ รึกษา
อกี ด้วย แต่อย่างไรก็ตาม การให้ความรว่ มมือของพ่อแม่ผู้ปกครองนั้น จะต้องไมเ่ ปน็ การลงไปชว่ ยนักเรยี นทำหรือทำ
แทนเปน็ อนั ขาด เพราะจะทำใหก้ จิ กรรมน้ีไมเ่ กดิ ประโยชน์กับนกั เรยี นอย่างแท้จรงิ
สำหรับประเทศไทย กิจกรรมการค้นคว้าอิสระ มักไมไ่ ด้รับความนยิ มเทา่ ไหร่นัก และส่วนใหญ่ในชว่ งเวลา
ปดิ ภาคเรยี น โรงเรยี นหลายแห่ง โดยเฉพาะโรงเรยี นของรฐั ก็ไม่ค่อยไดใ้ หก้ ารบา้ นนกั เรียนเทา่ ไหร่ เพราะมองว่า
เป็นช่วงเวลาท่นี กั เรียนควรได้พกั จากการเรยี นและอาจใช้เวลานีใ้ นการเพ่ิมพนู ความรนู้ อกหอ้ งเรยี นโดยไม่เป็นการ
บังคับ แตอ่ ย่างไรก็ดใี นช่วงทโี่ รงเรียนจำเปน็ ตอ้ งเลอื่ นเปิดภาคเรยี นเนื่องจากการแพร่ระบายของเช้ือโรค Covid-19
การสนบั สนนุ ให้นักเรยี นได้คน้ คว้าอสิ ระในชว่ งปดิ ภาคเรยี น ก็ดจู ะเป็นแนวทางท่ชี ่วยส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรขู้ อง
นักเรียนไดไ้ ม่น้อยครผู ้สู อนอาจใชก้ ารส่อื สารออนไลน์ในการให้ขอ้ มูลและสั่งการเก่ยี วกับการให้นักเรียน
ทำการค้นควา้ อิสระ โดยดำเนินกิจกรรมควบคู่กบั การเรยี นรู้ผ่านช่องทางออนไลนต์ ่าง ๆ เพอื่ เพ่ิมประสิทธภิ าพใน
การเรียนรขู้ องนกั เรียน ซง่ึ จะเป็นประโยชน์กับการศึกษาไทยเป็นอย่างมาก ถ้าไดร้ ับความรว่ มมอื และสามารถ
ดำเนนิ การได้สำเรจ็
Jiyu kenkyu งานคน้ ควา้ อิสระ การบ้านเด็กประถมญีป่ ุ่นช่วงปิดเทอม. สืบคน้ เมื่อ 31 พฤษภาคม 2563
“การคน้ ควา้ อสิ ระในชว่ งปดิ เทอมใหญ”่ ของนักเรียนประถมญ่ีปุ่นสร้างสรรค์มาก!. สบื ค้นเมอ่ื 31 พฤษภาคม 2563
48
คำถาม จากบทความ หากนกั เรียนต้องการศกึ ษาและแก้ไขปัญหาดังกลา่ ว นกั เรยี นจะศึกษาแนวคดิ ทฤษฎี และเอกสารท่ี
เกยี่ วข้องในประเดน็ ใดบ้าง จงแสดงอย่างละเอียด
49
กจิ กรรมที่ 2.3
การเขียนกรอบแนวคิดในการศกึ ษาคน้ คว้า
คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ จากการสบื คน้ ข้อมูลใน Internet และอภปิ รายหนา้ ช้ันเรยี น
1.กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษาคน้ ควา้ หมายถึงอะไร
2.กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษาค้นคว้า มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
3.นกั เรยี นคดิ ว่า การกำหนดกรอบแนวคิดในการศกึ ษาคน้ ควา้ มีประโยชน์ต่อการศกึ ษาอยา่ งไร
50
4.ให้นกั เรียนเลอื กประเด็นที่จะศกึ ษา มา 1 เร่ือง จากน้นั นกั เรียนเขียนกรอบแนวคิดในการศกึ ษาในเรอ่ื งน้ัน
เรื่องทศ่ี ึกษา
กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา
51
กิจกรรมท่ี 2.4
องค์ประกอบของวธิ กี ารดำเนนิ การ
ตอนท่ี 1
คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ีให้สมบรู ณ์
1.ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างแตกต่างกนั อย่างไร
2.หลกั การสรา้ งเคร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลมีหลักการอย่างไร
3.ขั้นตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมูลประกอบดว้ ยอะไรบ้าง อย่างไร
4.การวเิ คราะห์ขอ้ มูลแบง่ เปน็ กป่ี ระเภท อะไรบา้ ง
5.สถติ ิท่ีใช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมูลไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง
52
ตอนที่ 2 (ประเดน็ ทนี่ กั เรียนเลอื กศึกษา)
คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนตอบคำถามจากเรื่องทีน่ ักเรยี นเลือกศึกษาใหส้ มบรู ณ์
ชื่อเรอ่ื งท่ศี ึกษา
1.ประชากรหรอื กลุ่มตัวอยา่ งท่นี กั เรียนศึกษาคือ
2.เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษาเร่อื งน้ันได้แก่อะไรบา้ ง มีขัน้ ตอนการสรา้ งเคร่อื งมอื แต่ละประเภทอยา่ งไร
3.นักเรียนมีขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร
4.นักเรียนเลอื กใช้การวเิ คราะห์ข้อมลู อะไรบ้าง
5.จากเรื่องที่นักเรยี นศึกษา ใช้สถิตใิ นการศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลอะไรบา้ ง
53
กจิ กรรมท่ี 2.5
ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
1.จากเรอ่ื งทนี่ ักเรยี นศึกษา นักเรยี นเลือกใช้กลุม่ ประชากรหรือกลุม่ ตวั อย่างใด โปรดระบุ
2.เพราะเหตุใดนกั เรียนจงึ เลือกศกึ ษากลมุ่ ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างน้ัน (แสดงเหตผุ ล)
3.ให้นักเรยี นอ่านบทคัดย่อต่อไปน้ี แล้วตอบคำถามตอ่ ไปนี้
การวิจยั คร้งั นี้มวี ัตถุประสงค์หลักเพ่ือพฒั นาทักษะการอ่านออกเสียงพินอินโดยใชช้ ุดกิจกรรมสร้างสรรค์โดยมี
วัตถุประสงค์ย่อย 1) เพ่ือเปรียบเทียบทักษะการอ่านออกเสียงพินอินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการใช้ชุด
กิจกรรมสร้างสรรค์ กับเกณฑ์ ร้อยละ 75 และ 2) เพ่ือเปรียบเทียบทักษะการอ่านออกเสียงพินอิน ก่อนและหลังการใช้
ชุดกิจกรรม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่กำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2561 โรงเรียนเอกชน
แห่งหนึง่ ในจังหวดั ปทุมธานี จำนวน 33 คน ไดจ้ ากการสุม่ นักเรียน 1 หอ้ งจาก 2 หอ้ ง ดว้ ยวิธีการสุ่มแบบกลุม่ (Cluster
Random Sampling) โดยการจับฉลาก เคร่อื งมอื ที่ใช้ประกอบดว้ ย 1)ชดุ กิจกรรมสร้างสรรค์ จำนวน 3 ชุด 2) แผนการ
จัดการเรียนรู้ จำนวน 3 แผน และ 3) แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านการอ่านออกเสียงพินอิน เครื่องมือทั้ง 3 ประเภท
ได้ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 คน มีค่าดัชนีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดย
ชุดกิจกรรมสร้างสรรค์มีค่า (IOC) ระหว่าง 0.67-1.00 ทุกชุดกิจกรรม แผนการจัดการเรียนรู้และแบบทดสอบการอ่าน
ออกเสยี ง มคี ่า (IOC) เท่ากับ 1.00 แบบทดสอบมีค่าความยาก ระหว่าง 0.50-0.77 ค่าอำนาจจำแนกระหวา่ ง 0.33-0.67
และค่าความเชื่อมั่นเท่ากบั 0.80 ผูว้ ิจยั จัดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง วเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยหาค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย(x̄ )
ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน(S.D.) และทดสอบคา่ ที (t-test)
ผลการวจิ ัยพบว่า 1)นกั เรยี นมีคะแนนทกั ษะการอา่ นออกเสยี งพนิ อินโดยใช้ชดุ กิจกรรมสรา้ งสรรค์หลังเรยี นผา่ น
เกณฑ์ร้อยละ มจี ำนวนนักเรียน 27 คน ท่ผี ่านเกณฑ์ในระดับดีมาก (คะแนนรอ้ ยละ 80.00-100.00) และมีนักเรียน มี
จำนวน 5 คน ทอี่ ยใู่ นระดบั ดี (คะแนนรอ้ ยละ 50.00-75.00 ) และมีเพียง 1 คน ที่อย่ใู นระดบั พอใช้ (คะแนนร้อยละ
40.00) ซ่ึงต้องปรับปรงุ ทกั ษะการอา่ นพินอนิ 2)นกั เรยี นมีคะแนนทกั ษะการอ่านออกเสียงพินอินหลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อน
เรียนทกุ คน และคะแนนทักษะการอ่านออกเสยี งพนิ อนิ ของนักเรียนทง้ั ห้องหลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรียน อยา่ งมนี ยั สำคัญ
ทางสถิติทรี่ ะดับ 0.01
54
คำถาม จากบทคดั ย่อ ผู้วิจัยใช้กลุม่ ประชากรหรือกลมุ่ ตัวอย่างใด โปรดระบุ
55
กิจกรรมท่ี 2.6
การสร้างเครือ่ งมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
คำชี้แจง จากทน่ี กั เรยี นเลือกประเด็นที่ศกึ ษาแลว้ ให้นักเรียนนำประเด็นดังกลา่ วมาระบุเครื่องมอื และขั้นตอนในการสรา้ ง
เครอ่ื งมอื ให้ถกู ต้องสมบูรณ์
ชอ่ื เรื่องท่ีศกึ ษา
1.นกั เรียนใชเ้ คร่ืองมือในการศึกษาประเดน็ ดังกล่าวอะไรบ้าง
2.เคร่อื งมือท่ีใช้ในการศึกษาเร่อื งนนั้ มีข้ันตอนการสรา้ งเคร่ืองมือแตล่ ะประเภทอย่างไร
56
คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นบนั ทกึ การสืบคน้ ข้อมลู กิจกรรมที่ 2.7 ความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมลู
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี แหลง่ ท่ีมาของข้อมูล มาก ปานกลาง นอ้ ย
ท่ีมาของข้อมูล
57
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3
รอบรู้และเหน็ คณุ ค่า
องค์ความรู้ (body of knoeledge) หมายถงึ ความรู้ท่อี ยู่ในศาสตร์ ได้แก่ ความคิดรวบยอด หลกั การ วิธีการ ที่
อยู่ในตำรา อยู่ในห้องสมุด ซึ่งอยู่ภายนอกตัวบุคคล ที่สั่งสมกันมาเพื่อให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้โครงสร้างความรู้
(representations of knowledge) หมายถึง ความรู้ทที่อยู่ภายในตัวบุคคล ที่เกิดจากการเรียนรู้ของบุคคลนั้นๆ ซึ่งไม่ได้
ลอกเลียนมาจากองค์ความรู้ แต่ผู้เรียนต้องสร้าง (construct) ขึ้นมาด้วยตนเอง เป็นความรู้ที่เกิดข้ึนใหม่ เมื่อพัฒนา
โครงสร้างความรู้ตอ่ ไปก็สามารถสร้างผลงานเปน็ องคค์ วามรู้ให้คนอื่นคน้ คว้าได้ (ธเนศ ขำเกิด,2548)
องค์ความรู้ หมายถึง ความรู้ในการทำบางสิ่งบางอย่าง (know how หรือ how to) ที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสทิ ธิผล ทก่ี จิ กรรมอนื่ ๆ ไมส่ ามารถกระทำได้ (ศรนั ย์ ชเู กยี รติ, 2541, น.14)
องค์ความรู้ เปน็ ความรทู้ ีเ่ กิดข้ึนต่อเรอ่ื งใดเรือ่ งหนงึ่ ซึ่งอาจเกดิ ข้ึนจากการถ่ายทอดจากประสบการณ์ หรือจากการ
วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล โดยความรู้เกิดขึ้นนั้นผู้รับสามารถนำไปใช้ได้โดยตรง หรือสามารถนำมาปรับใช้ได้ เพื่อให้
เหมาะสมกบั สถานการณห์ รอื งานทกี่ ระทำอยู่ (ออนไลน์.)
องค์ความรู้ เป็นความรู้ท่ีเกดิ ขึ้นต่อเร่ืองใดเร่ืองหนึง่ โดยความรู้ท่ีเกิดขึ้นน้ันผูร้ ับสามารถนำไปใช้ในลักษณะต่าง ๆ
ได้
แหลง่ กำเนดิ ขององคค์ วามรู้
1. ความรู้ที่ได้รบั การถ่ายทอดจากบุคคลอ่ืน
2. ความรู้เกิดจากประสบการณ์การทำงาน
3. ความร้ทู ไ่ี ด้จากการวิจยั ทดลอง
4. ความรู้จากการประดิษฐค์ ิดค้นสิ่งใหม่ ๆ
5. ความรู้ทปี่ รากฏอยูใ่ นแหลง่ ความรู้ภายนอกองค์กร และองค์ไดน้ ำมาใช้
ประเภทขององคค์ วามรู้ แบง่ ได้ เป็น 2 ประเภท ดงั นี้
1.องค์ความรู้ที่สามารถอธิบายได้เป็นองค์ความรู้ที่สามารถทำความเข้าใจได้จากการฟัง การอธิบาย การอ่าน และ
นำไปใช้ปฏบิ ตั ิ ซงึ่ จะถกู จดั ไว้อย่างมแี บบแผนโครงสร้างและอธิบายกระบวนการวิธี ข้นั ตอนทีส่ ามารถนำไปใช้ได้
2.องคค์ วามรู้ที่ไม่สามารถอธิบายไดห้ รืออธิบายได้ยาก เป็นองค์ความรู้ที่อธบิ ายได้ยากหรือในบางครง้ั ไม่สามารถ
อธิบายว่าเกดิ ความรู้ เหลา่ นนั้ ได้อย่างไร ไม่มแี บบแผน โครงสร้างแน่ชัด มกั เกดิ ขึ้นกับตัวบคุ คล ผลของการถา่ ยทอดขึ้นอยู่
กบั ผู้ถ่ายทอดและผู้รับเปน็ สำคัญ (ออนไลน์)
58
การจดั การความรู้
การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร
มาพฒั นาใหเ้ ปน็ ระบบ เพ่ือให้ทกุ คนในองค์กรสามารถเขา้ ถึงความรู้ และพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นผรู้ ู้ รวมท้งั ปฏิบตั ิงานได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ อนั จะส่งผลให้องคก์ รมคี วามสามารถในเชิงแขง่ ขันสูงสุด โดยทค่ี วามรู้มี 2 ประเภท คอื
1. ความรู้ทฝ่ี งั อยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรูท้ ่ีไดจ้ ากประสบการณ์ พรสวรรค์หรอื สัญชาติญาณของแต่
ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้
โดยง่าย เชน่ ทกั ษะในการทำงาน งานฝีมอื หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรยี กวา่ เปน็ ความรแู้ บบนามธรรม
2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การ
บันทึกเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ทฤษฎี คู่มอื ต่าง ๆ และบางครัง้ เรยี กวา่ เปน็ ความรู้แบบรปู ธรรม
เครือ่ งมือในการจดั การความรู้
การจัดการความรู้ ประกอบด้วย กระบวนการหลัก ๆ ได้แก่ การค้นหาความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ใหม่
การจดั การความร้ใู หเ้ ปน็ ระบบ การะประมวลผลและกลน่ั กรองความรู้ การแบ่งปนั แลกเปลย่ี นความรู้ สุดทา้ ยคอื การเรียนรู้
และเพอ่ื ให้มกี ารนำความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรเคร่ืองมือหลากหลายประเภทถูกสร้างจขน้ึ มาเพื่อนำไปใช้ใน
การถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้
การสรุปองคค์ วามรู้
การสรุปองค์ความรู้ เป็นการทำเพื่อหาข้อความรู้และข้อความจริงจากตัวเลขหรือข้อมูลเชิงคุณภาพ ตลอดจน
กระบวนการทางสถิติที่ได้ โดยมีหลักในการแปลผลและการสรุปผลข้อมูลคือ จะต้องแปลผลและสรุปผลให้อยู่ภายใน
ขอบเขตของข้อมลู และจดุ มงุ่ หมายของการวิจยั เป็นหลกั ไม่ควรจะแปลผลหรอื ให้ข้อสรปุ ที่บดิ เบือนไปจากข้อเทจ็ จริง หรือ
ใช้อคติส่วนตัวเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย และสำหรับการอภิปรายผล เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยต้องนำหลักการ ทฤษฎี กฎเกณฑ์
ตลอดจนผลการวจิ ยั มาเป็นแนวทางในการอภปิ รายผล สว่ นการเสนอข้อเสนอแนะเป็นการช้ีแนวทางการนำผลการวิจัยไปใช้
และเสนอปญั หาวิจัยว่า ควรจะทำเรอื่ งใดต่อไป
หลักการการแปลผล การสรุปผล การอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ
หลงั จากนกั วจิ ัยไดว้ เิ คราะห์ผลข้อมูลจากการเก็บรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิตแิ ล้ว ข้ันต่อไปก็คือการนำเสนอข้อมูล
ในรูปแบบต่างๆ เช่น เสนอเป็นรูปกราฟเส้น กราฟแท่ง กราฟวงกลม รูปตาราง หรือในรูปบทความ เพื่อการแปลผลข้อมูล
รวมถึงอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะต่อไป
1. หลักในการแปลความหมายของข้อมูล
การแปลผลจัดว่าเป็นขั้นตอนสำคัญมากสำหรับการวิจัย เพราะเป็นการกล่าวถึงข้อความจริงที่ค้นพบ ซึ่งมีหลักใน
การแปลความหมายขอ้ มูลดังน้ี คือ
- จะตอ้ งแปลผลอยู่ภายในขอบเขตของข้อมลู จุดมุ่งหมายการวิจยั และประชากรทีศ่ ึกษา
59
- พยายามแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ให้สอดคล้องกับข้อจำกัดของข้อมูลและสถิติ และพยายามใช้
ภาษาทีง่ า่ ย แจม่ ชัด และรัดกุม
- การแปลความหมายข้อมูลจะต้องให้สัมพันธ์กับผลการวิเคราะห์ข้อมูล และจะต้องตรงกับความหมายของ
ค่าสถติ ิท่ไี ด้ดว้ ย
- การแปลความหมายข้อมูลจะต้องไม่มีอคติ ใชค้ วามรสู้ กึ ส่วนตวั หรือพยายามตีความบิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง
เพ่อื ใหเ้ ปน็ ไปตามสมมติฐานทีต่ ง้ั ไว้ และควรจัดทำด้วยความรอบคอบ
- การใช้ค่าเฉลี่ยต่างๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ต้องยอมรับว่าค่าเฉลี่ยเป็นเพียงแนวโน้มแบบหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่
ตวั แทนท่ีดีของประชากร หรอื ตัวแทนที่แทจ้ รงิ เสมอไป ดังน้ันควรใชอ้ ย่างระมดั ระวัง ยง่ิ คา่ กระจายของข้อมูลมี
มาก การแปลความหมายข้อมูลอาจผดิ พลาดได้งา่ ย
2. ข้อพกพรอ่ งหรอื ความผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดขน้ึ ในการวิเคราะห์และแปลผลข้อมลู
- การคิดคำนวณคา่ สถิติผดิ พลาด
- ใช้กระบวนการทางสถติ ิ หรอื เลือกใชส้ ถติ ไิ ม่เหมาะสม
- การแปลผลท่ใี ชค้ วามร้สู ึกส่วนตัวเขา้ ไปเกีย่ วข้องด้วย
- การสมมตคิ า่ สถิติขึน้ เอง เพื่อการแปลความไดต้ ามสมมตฐิ านท่ตี ัง้ ไว้
- ละเลยในข้อจำกดั หรือขอบเขตของการวจิ ยั
- มคี วามสับสนในการแกป้ ัญหาและขอ้ เท็จจริงท่คี ้นพบ
- ผูว้ ิจัยขาดจินตนาการ หรือความคดิ สรา้ งสรรค์
- การแปลความหมายโดยการใช้เหตผุ ลผดิ
3. หลกั ในการสรุปผลการวจิ ัย
- การสรุปผลต้องขนึ้ อยกู่ ับข้อมลู ที่ได้เปน็ สำคัญ
- การสรุปตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ขอ้ เท็จจริง หลกั การตา่ งๆ ของธรรมชาติ
- การสรปุ ต้องจำกัดภายในขอบเขตของปญั หา และความรู้ท่ีไดร้ ับจรงิ ๆ ไม่กลา่ วอา้ งถงึ เหตุอ่นื ๆ ซึง่ ไม่ใช่
ผลการวิจัย
- การลงสรปุ นั้นเปน็ การกลา่ วแต่เพยี งส้ันๆ รดั กมุ ตามปญั หาการวจิ ัย
- การสรุปผลตอ้ งเปน็ คำตอบทเ่ี ก่ียวขอ้ งและสมั พันธ์กับปัญหาวิจัย
- การสรุปผลเป็นเรื่องของการค้นพบข้อเท็จจริง ไม่รวมทัศนคติ หรือความคิดเห็นส่วนตัวเข้าไป
เก่ียวขอ้ งดว้ ย
- การสรปุ ผลขอ้ มลู ควรเปน็ ผลเนือ่ งมาจากการคิดไตร่ตรองอยา่ งรอบคอบจากข้อมูลและข้อเทจ็ จริงทไี่ ด้
60
4. หลักการอภปิ รายผล
การอภิปรายผลเป็นข้ันตอนท่ีผู้วิจัยจะทำภายหลังจากการสรุปผลการวิจัย หรือข้อค้นพบของการวิจัยของ
ตนแล้ว โดยการนำหลักเหตุผล ทฤษฎี กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ตลอดจนผลการวิจัยของผู้อื่นมาวิพากษ์วิจารณ์ผลการวิจัยของตน
ซ่งึ อาจกระทำได้ดงั น้ี
- ศกึ ษาทฤษฎี กฎเกณฑ์ หลักเหตผุ ลตา่ ง ๆ ตลอดจนผลการวิจยั ของผู้อื่นเพ่ือนำมาเป็นแนวทางในการ
อภิปรายผล ซึ่งส่วนหนึ่งผู้วิจัยอาจจะศึกษามาแล้ว ในขั้นตอนการศึกษาเอกสารและการวิจัยที่
เกยี่ วขอ้ ง
- พิจารณาผลการวิจัยสอดคล้องหรือขดั แย้งกับสมมติฐาน และผลการวจิ ัยของผ้ใู ดบ้าง
- พจิ ารณาขอบเขตและขอ้ จำกดั ของการวิจยั เพอ่ื ใหก้ ารอภิปรายผลอยใู่ นขอบเขตของการวิจัย
- วิพากษ์วิจารณ์หรือให้เหตุผลที่ผลการวิจัยนั้น สอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ตลอดจน
เหตผุ ลทผ่ี ลการวจิ ัยสอดคล้องหรือขัดแย้งกับผลการวิจยั ของผู้อน่ื โดยใช้ทฤษฎีเหตผุ ลและผลการวิจัย
ของผู้อื่นมาเป็นแนวทางในการอภปิ รายในกรณีผลการวิจยั สอดคล้องกับสมมติฐานมาเป็นแนวทางใน
การอภิปรายได้เลย
5. หลกั การเขียนขอ้ เสนอแนะ
การใช้ข้อเสนอแนะ เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่ผู้วิจัยจะกระทำในกระบวนการวิจัยแต่ละเรื่องโดยผู้วิจัยจะ
ชแ้ี นะแนวทางการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ และแนวทางในการวิจยั ตอ่ ไป โดยท่วั ไป การใหข้ อ้ เสนอแนะของการวิจัยจะ
ประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี
- จุดอ่อน ข้อบกพร่อง หรือข้อจำกัดของการวิจัย หรือทั้งข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้อ่านได้
พิจารณาประกอบการตัดสินใจว่า จะเชื่อผลการวิจัยน้ันได้เพียงใด และยังเป็นข้อเตือนในแกผ่ ู้ที่จะทำ
การวจิ ยั ในเร่ืองทำนองเดียวกัน ในกรณที ี่ทำการวิจัยท่ีไม่มีจดุ อ่อนหรือข้อบกพร่องใด ๆ ก็จะไม่มีส่วน
นี้
- แนวทางในการนำผลการวิจัยไปใช้ กล่าวคือ ผลการวิจัยควรจะนำไปใช้ประโยชน์กับใคร ในเรื่องใด
และมีแนวทางในการใชอ้ ย่างไร
แนวทางในการทำวิจัยต่อไป กลา่ วคือ จากปญั หาท่ผี ู้วจิ ัยได้ทำแล้ว สามารถทำการวจิ ัยเรอ่ื งใดต่อไปได้อีก ซึ่งเรื่องที่
จะเสนอควรเปน็ เรอ่ื งใหมท่ น่ี า่ สนใจ และสามารถปฏบิ ัติตามได้จรงิ ๆ
การสังเคราะห์ข้อมูล
การสังเคราะห์เป็นกระบวนบูรณาการปัจจัยต่าง ๆ ตั้งแต่สองปัจจัยขึ้นไปซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคน สัตว์ สิ่งของรวมทั้ง
เหตุการณ์และสิ่งทีอ่ ยู่ในรูปของแนวคิดเข้ามาเป็นองค์ประกอบร่วมกนั เพือ่ ให้เกิดสิ่งใหม่หรอื เกิดปรากฏการใหม่ท่ีอาจเรียก
ได้ว่าเป็นการบูรณาภาพ โดยปัจจัยหรือองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เข้ามาสู่กระบวนบูรณาการในการสังเคราะห์นั้นบางปัจจัย
อาจจะได้ผ่านการวิเคราะหแ์ ยกแยะสืบค้นมาก่อนแล้วขณะทีบ่ างปัจจยั ก็อาจจะยังไม่ไดผ้ ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นมา
ก่อน สภาวะรูปของปัจจัยและองค์ประกอบต่าง ๆ ที่นำมาเป็นปัจจัยและองค์ประกอบในการสังเคราะห์นั้นอาจเป็นไปได้ท้ัง
แบบรูปธรรมและนามธรรม ซึ่งบูรณภาพที่เป็นปรากฏการณ์ใหม่หรือสิ่งใหม่อันเกิดขึ้นจากการสังเคราะห์นั้นก็เป็นไปได้ทั้ง
แบบรปู ธรรมและนามธรรมเช่นกนั
61
ความหมายของการคดิ สังเคราะห์
การคิดสังเคราะห์ หมายถึงความสามารถในการคิดที่ดึงองค์ประกอบต่าง ๆ มาหลอมรวมกันภายใต้โครงร่างใหม่
อยา่ งเหมาะสม เพ่ือใหเ้ กิดสง่ิ ใหมท่ ่ีมลี กั ษณะเฉพาะแตกตา่ งไปจากเดิม
การคดิ สงั เคราะห์ครอบคลุมถึงการคน้ คว้า รวบรวมข้อมูลทเ่ี ก่ียวข้องกับเรื่องท่ีจะคิดซึ่งมีมากหรือกระจายกันอยู่มา
หลอมรวมกนั คนทค่ี ดิ สังเคราะห์ได้เร็วกว่าย่อมได้เปรียบกว่าคนที่สังเคราะห์ไม่ได้ ซึง่ จะทำใหเ้ ข้าใจและเห็นภาพรวมของสิ่ง
นน้ั ไดม้ ากกว่า
ประเภทการคิดสังเคราะห์
การคิดสังเคราะหแ์ บง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ คอื
- การคดิ สังเคราะหเ์ พ่ือสร้างสิง่ ใหม่ เชน่ ประดิษฐส์ งิ่ ของเครอื่ งใช้ อุปกรณต์ า่ ง ๆ ตามตอ้ งการ
- การคิดสังเคราะห์เพื่อสร้างแนวคิดใหม่ เป็นการพัฒนาและคิดค้นแนวคิดใหม่ ถ้าเราสามารถคิด
สังเคราะหไ์ ด้ดี จะทำใหพ้ ฒั นาความคิดหรอื สงิ่ ใหม่ ๆ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม
ความสำคญั ของการคดิ สงั เคราะห์
การคิดสังเคราะห์มีความสำคัญอย่างมากในกระบวนการคิด เนื่องจากช่วยจัดระบบข้อมูลให้มีความชัดเจนใน
ประเด็นและเปน็ ระเบยี บมากขน้ึ ทำให้มขี ้อมูลท่ีจำเปน็ ครบถ้วน ซึ่งมคี วามสำคญั ดังน้ี
1. ช่วยให้หาทางออกของปัญหาโดยไม่ต้องเริ่มจากศูนย์ เราสามารถนำสิ่งที่คนอื่นคิดหรือปฏิบัติมาแล้ว
มาใชป้ ระโยชน์ได้ท้งั ท่ีเก่ยี วขอ้ งโดยตรงและโดยอ้อม นำมาผสมผสานกนั เป็นทางออกในการแกป้ ญั หา
2. ช่วยให้มีความเข้าใจที่คมชัดและครบถ้วนเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ แต่เดิมเรามักจะหาทางออกของปัญหา
โดยการเลียนแบบหรือลองผิดลองถูก ทางที่ดีกว่าและปลอดภัยกว่าคือการใช้การคิดสังเคราะห์เข้ามาช่วยสรุปความรู้ที่
กระจัดกระจาย ให้เขา้ ใจเร่ืองได้คมชดั และครบถว้ น
3. ชว่ ยขยายขอบเขตความสามารถของสมองในการพยายามสืบเสาะแสวงหาขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ จากแหล่งต่าง
ๆ ภายนอกนำมาสังเคราะห์เข้าด้วยกันเพื่อได้แนวทางแก้ปัญหาที่มีความสมบูรณ์ครบถ้วน สามารถนำมาใช้ได้จริง และ
ประสบความสำเร็จ
4. ข้อมลู ทีส่ งั เคราะหจ์ ะเป็นประโยชนใ์ นการคดิ ต่อยอดความรู้ ทำใหไ้ ม่เสยี เวลาเรม่ิ ตน้ ใหม่ คดิ ตอ่ ยอดได้
ทันที นำไปสกู่ ารพฒั นาสง่ิ ใหม่ ๆ ทม่ี ปี ระโยชน์
5. ช่วยให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ เพราะมีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องจากการ
สรา้ งสรรค์ทีไ่ มห่ ยดุ ยง้ั ของมนุษย์
ข้ันตอนการสงั เคราะห์
1.กำหนดหัวเรื่องและจุดประสงค์ที่จะสังเคราะห์ให้ชัดเจนว่าต้องการสังเคราะห์เพื่อให้เกิดบูรณาภาพหรือ
ปรากฏการณ์ใหม่ในรูปแบบใด เช่นเพื่อให้เกิดผลผลิต เพื่อให้เกิดข้อสรุป หรือ เพื่อให้เกิดการทำนายเหตุการณ์ในอนาคต
โดยกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ใหช้ ดั เจนดว้ ยว่าจะสงั เคราะหเ์ พื่อนำผลการสังเคราะห์ทไ่ี ด้ไปดำเนนิ การในสิ่งใดต่อ
62
2.จัดเตรียมปัจจยั และองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ท่ีจะนำเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ซึ่งอาจเป็นคน สัตว์ ส่ิงของหรือเป็น
ประเด็นนามธรรมต่าง ๆ คัดกรอง คัดเลือกให้ได้ขอ้ มูลหรือปจั จัยวตั ถุดิบตา่ ง ๆ ท่ีมีคุณภาพเพ่ือนำสกู่ ระบวนการสงั เคราะห์
3.สงั เคราะหป์ จั จัยและองค์ประกอบตา่ ง ๆ ที่เตรยี มไว้ตามจดุ ประสงค์ท่กี ำหนด โดยใหก้ ระบวนการสงั เคราะห์มุ่งท่ี
การนำปรากฏการใหม่หรือบูรณาการภาพที่ได้จากการสังเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามที่ได้กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์
ของการสังเคราะห์
4.ตรวจสอบและประเมินผลการสังเคราะห์ที่ได้ว่าน่าจะมีความแม่นยำ ความเที่ยง และความเป็นไปได้มากน้อย
เพียงใดเพ่อื เตรียมนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์
4.1 ผลการสงั เคราะห์ทม่ี ีคุณภาพ มคี วามแมน่ ยำน่าเช่ือถือและมีความเปน็ ไปได้สูง สามารถนำผลของการ
สงั เคราะหด์ ำเนนิ การนำไปใช้ในข้ันต่อไปไดต้ ามวตั ถุประสงค์
4.2 ผลของการสังเคราะห์ที่ไม่มีคุณภาพ ให้นำผลของการสังเคราะห์นั้นเข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์เพื่อ
ดำเนินการแยกแยะตรวจสอบหาที่มาของปัจจัยและองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ได้นำเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ รวมทั้ง
ตรวจสอบคุณภาพของผู้ทำการสังเคราะห์เพื่อสืบค้นหาที่มาและเหตุปัจจัยที่ทำให้ผลของการการสังเคราะห์เป็นผลการ
สังเคราะห์ที่ไม่มีคุณภาพ และเมื่อวิเคราะห์หาเหตุปัจจัยต่าง ๆ น้ันได้แล้วให้แก้ไขปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนา
ข้อมลู หรอื องคป์ ระกอบปัจจยั ตา่ ง ๆ นนั้ ใหม้ คี ณุ ภาพตอ่ ไปเพ่อื นำเข้าสกู่ ระบวนการสงั เคราะห์ใหม่อกี ครั้งหน่ึง
5.นำผลการสังเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามจุดมุ่งหมายโดยจะนำเสนอต่อสาธารณะหรือเก็บเป็นข้อมูลสังเคราะห์
ส่วนตัวก็แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ทำการสังเคราะห์ เช่น สังเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อนำไปใช้ประกอบการคาดเดา
โอกาสของเหตุการณ์ทอี่ าจจะเกิดขน้ึ ได้ในอนาคต
ตัวบ่งช้กี ารคิดสงั เคราะห์
1. สามารถกำหนดวัตถุประสงคข์ องส่งิ ใหมท่ ่ีต้องการสังเคราะห์
2. สามารถวิเคราะหส์ ว่ นประกอบหรือขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการสังเคราะห์
3. สามารถเลือกข้อมลู ท่เี หมาะสมกับวตั ถุประสงค์ท่ตี ้องการสงั เคราะห์
4. สามารถสรา้ งกรอบแนวคดิ ตามวตั ถปุ ระสงค์ที่กำหนด
5. สามารถสร้างส่ิงใหมไ่ ดต้ ามวัตถปุ ระสงค์และกรอบแนวคิดทก่ี ำหนด
6. สามารถตรวจสอบความถูกตอ้ งตามหลักเกณฑ์ไดอ้ ยา่ งตรงประเดน็
7. สามารถนำสง่ิ ท่ีสังเคราะหไ์ ปใชป้ ระโยชน์ได้
ตัวอยา่ งคำถามหรอื คำส่ังทีต่ ้องใช้การคิดสงั เคราะห์
1. จากทเ่ี รียนมาแลว้ เก่ยี วกับ "เสือไมท่ งิ้ ลาย" ให้นกั เรยี นวาดภาพที่แสดงความสอดคลอ้ งกับข้อความดังกล่าว
2. เขียนสรปุ สาระสำคญั ของส่งิ ทเ่ี รียนเป็นแผนผังความคิด
3. ให้ร่วมกนั จัดทำโครงงานจากเร่อื งที่เรียนมาแลว้ 1 เร่ือง
4. จากเน้ือหาท่ีเรยี น นกั เรยี นคดิ ว่าควรปฏิบัตติ ามใคร เพราะเหตุใด
5. ใหอ้ อกแบบส่ิงของต่าง ๆ จากวสั ดทุ ม่ี ีอยู่
6. ใหแ้ ต่งคำประพนั ธ์ บทกลอน โคลง ทเ่ี กย่ี วกับเร่อื งที่เรียน
7. ใหป้ ระดิษฐส์ ง่ิ ของจากวัสดธุ รรมชาตใิ หใ้ ช้ประโยชนไ์ ด้มากทส่ี ุด
63
การพัฒนานกั คดิ สังเคราะห์
การคิดสังเคราะหเ์ ป็นสง่ิ ท่ีมอี ยใู่ นตวั มนุษย์ และสามารถสง่ เสริมได้โดยฝกึ ดงั น้ี
1. ไม่พอใจสิ่งเดมิ ชอบถามหาส่ิงใหม่ ชอบแสวงหา ชอบการเปล่ยี นแปลง
2. ไม่นิ่งเฉย ชอบสะสมข้อมูล ทำให้มีวัตถุดิบทางความคิดมากเพียงพอที่จะนำไปใช้ในการสังเคราะห์ส่ิง
ตา่ ง ๆ
3. มคี วามเข้าใจและมองเห็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ ตา่ ง ๆ นำมาเชื่อมโยงอย่างสมเหตุและสมผล
4. ไม่แปลกแยก ชอบผสมผสาน การผสมผสานองค์ประกอบหรือความคิดที่ดเู หมือนขัดแยง้ กันเข้าด้วยกัน
โดยผสมผสานอย่างกลมเกลยี ว และเช่ือมโยงอยา่ งสมเหตุสมผล
5. ไม่คลุมเครือ ชอบความคมชัดในประเด็น เข้าใจว่าแนวความคิดหนึ่งประกอบด้วยประเด็นหลักหรือ
ประเดน็ รองอะไรบา้ ง ฝกึ จบั ประเดน็ บทความ หนงั สือ หนังสอื พมิ พ์
6. ไมล่ ำเอยี ง ชอบวางตนเปน็ กลาง ไมอ่ คตติ อ่ ขอ้ มลู ทไี่ ด้ ต้องแยกความรูส้ กึ ออกจากข้อเท็จจรงิ
7. ไมย่ ุ่งเหยงิ ชอบระบบระเบยี บ
8. ไม่ทอ้ ถอย มีความมานะพากเพยี ร
64
กจิ กรรมที่ 3.1
องค์ความรู้ของฉนั
คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นวเิ คราะห์บทความที่กำหนดใหแ้ ล้วสรุปเป็นองค์ความรขู้ องนักเรยี นเอง
ผดั วนั ประกนั พรงุ่
ลงิ รักสนุก
ในสมองมนุษย์เรามีส่วนที่ตัดสินใจด้วยเหตุและผล ทำให้เรามองไปไกลมากกว่าสิ่งที่จะเกิดขึ้นในวันนี้ ทำให้เรา
สามารถวางแผนเตรียมพร้อมสำหรับอนาคต และทำให้เราสละเวลาและใช้พลังงานทำสิ่งที่มันจำเป็น แต่มันจะมีลิงที่อยู่ใน
หัวเรา ลิงตวั ท่คี ิดได้แตผ่ ลลพั ธใ์ นระยะสัน้ ไมส่ นใจส่ิงท่ีผ่านมา ไมส่ นใจสิ่งทีจ่ ะเกิดในอนาคต ไมส่ นใจเหตุและผล ลิงตัวนี้แห
ล่ะท่ีคอยล่อลวงให้เราสนใจต่ความพึงพอใจระยะส้นั และความสนุกในขณะนั้น ทำให้เราเลน่ โซเชียลแอพได้ท้ังวัน นั่งดูรูป ดู
วดิ ีโอ อา่ นข่าว ไมย่ อมทำงานให้เสรจ็ สักที
ลิงตื่นตระหนกและก็จะมีลิงอีกตัวที่ตื่นตระหนก เป็นตัวที่จะกระโดดเข้ามาช่วยเตือนเรา ทำให้เราต้องทำงานให้
เสร็จ ไม่สนว่าจะต้องอดหลับอดนอนกี่คืน ต้องให้ทันกำหนดส่ง ลิงตัวนี้แหล่ะที่จะไล่ลิงที่ชอบแต่ความสนุกให้หนีไป ทำให้
เรากลบั มาคดิ และใช้เหตุผลไดต้ ามปกติ
สรปุ การผดั วันประกันพรุ่งในระยะยาวเป็นสาเหตุของความผิดหวังในชีวิต เราตา่ งกเ็ คยผดั วันประกันพรุ่งกันทั้งน้ัน
ลองสังเกตตุ วั เอง ลองนึกถงึ สง่ิ ทีเ่ ราตงั้ ใจไว้ว่าจะทำแต่ก็ยังไม่ได้ทำสักที แลว้ ไล่ลงิ ตัวทเี่ อาแต่มักง่ายและความสนุกไปไกล ๆ
เราตา่ งก็อยากมีสุขภาพทด่ี ี อยากมรี ปู ร่างท่ีดี อยากมีหนา้ ท่ีการงานท่ดี ี อยากเปล่ียนไลฟส์ ไตล์ แตส่ ิง่ เหล่าน้ีมันจะไม่เกิดข้ึน
ถ้าเราไมไ่ ดก้ ำหนดเสน้ ตายเอาไว้
65
กจิ กรรมท่ี 3.2
ประโยชนแ์ ละคุณค่าของการศึกษาดว้ ยตนเอง
คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นบอกประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของการศึกษาหาความรูด้ ้วยตนเองมาพอเขา้ ใจ
66
กิจกรรมท่ี 3.3
การเขยี นโครงรา่ งรายงานการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายชอื่ สมาชิก แบบเสนอโครงร่างรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง
1. รายงานการสอ่ื สารและการนำเสนอ
2.
3. ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี.............. ภาคเรียนที่.............. ปกี ารศกึ ษา..................
4. โรงเรียนเทพศิรนิ ทรค์ ลองสิบสามปทุมธานี
ชอื่ ครูทปี่ รกึ ษา ****************************************************
ชอ่ื เรือ่ ง
เลขที่ ช้ัน
เลขที่ ชน้ั
เลขท่ี ชั้น
เลขที่ ชั้น
ความเป็นมาและความสำคัญของเร่อื งท่ีศึกษาหรือประเดน็ ปญั หา(ความสำคัญและเหตผุ ลในการศึกษา)
67
วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา (ศกึ ษาเร่ืองหรือประเด็นปญั หา)
1........................................................................................................................................................
2........................................................................................................................................................
3.............................................................................................................................................. ..........
สมมติฐานการศึกษา (ถา้ มี : การคาดว่าจะเกิดสิง่ ใดข้นึ บ้างเมอ่ื ศึกษาเรื่องหรือประเดน็ ปัญหาน้ี)
1.................................................................................................................................................. ......
2....................................................................................................................... .................................
3........................................................................................................... .............................................
ขอบเขตของการศกึ ษา (ศึกษาเรื่องหรอื ประเดน็ ปัญหาทีจ่ ะศึกษาหรือปฏบิ ัตอิ ะไรบา้ ง)
1............................................................................................................................. ...........................
2........................................................................................................................................................
3........................................................................................................................................................
วธิ ีการดำเนินงาน (มีขั้นการดำเนินการงานศกึ ษาเอกสาร ทฤษฎที ่เี ก่ียวข้องอยา่ งไรบา้ ง)
ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน วัน เดือน ปี ผูร้ บั ผิดชอบ
1.
2.
3.
4.
5.
68
ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน วัน เดอื น ปี ผู้รบั ผิดชอบ
6.
7.
8.
ประโยชนท์ ่ีได้รับ (การศึกษาหรือประเด็นปัญหาน้แี ล้วคาดว่าจะเกิดประโยชน์อย่างไร)
1............................................................................................................................. ...........................
2........................................................................................................................................................
3.............................................................................................. ..........................................................
เอกสารอ้างองิ (หาข้อมูลมาจากทีไ่ หนบ้าง)
1............................................................................................................................. ...........................
2........................................................................................................................................................
3....................................................................................... .................................................................
ผลการพจิ ารณาของครูท่ปี รึกษา ไม่อนุมตั เิ รื่องหรือประเด็นปัญหา
อนมุ ตั ิเรอ่ื งหรือประเด็นปัญหา
ข้อเสนอแนะ(สำหรับครทู ่ปี รึกษา)
ลงชื่อ...................................................ครทู ีป่ รกึ ษา
(...............................................)
................/.............../.................
69
กิจกรรมท่ี 3.4
การเขียนรายงานการศึกษาค้นควา้
ปกนอก
............................ ชอ่ื เรอ่ื ง ...............................
จัดทำโดย
.........................................................................................................
........................................................................................................
.........................................................................................................
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ....
เสนอ
คุณคร.ู ..................................................................................................
การศึกษาฉบบั น้เี ป็นส่วนหน่งึ ของวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง Independent Study : IS
ภาคเรียนที่ ............. ปีการศึกษา ..........................
โรงเรียนเทพศริ ินทร์คลองสบิ สาม ปทมุ ธานี
70
ปกใน
....................................... ชอ่ื เรอ่ื ง ..............................................
จัดทำโดย
.........................................................................................................
........................................................................................................
.........................................................................................................
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ....
เสนอ
คณุ ครู...................................................................................................
การศกึ ษาฉบบั น้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของวชิ าการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง Independent Study : IS
ภาคเรียนที่ ............. ปีการศกึ ษา ..........................
โรงเรียนเทพศริ นิ ทรค์ ลองสบิ สาม ปทมุ ธานี
71
สว่ นประกอบของการเขียนรายงานการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง Independent Study : IS
สว่ นประกอบตอนต้น
1. ปกนอก (ควรเป็นกระดาษแข็งพอสมควร สีสันเหมาะสมกบั เนือ้ หา)
2. ใบรองปก
3. ปกใน
4. กิตตกิ รรมประกาศ : สว่ นที่กล่าวขอบคณุ ผู้มีส่วนชว่ ยเหลือในการจดั ทำ จะมเี พยี งย่อหนา้ เดียว สอง หรอื สาม
ย่อหน้าก็ไดข้ ึ้นอยูก่ บั ความเหมาะสมของเน้ือหา ไม่ควรเขยี นยาวเกินไป เม่ือจบข้อความแลว้ ให้ลงชอ่ื นามสกลุ
ผเู้ ขียน ถา้ ทำงานเป็นกลมุ่ ให้ลงคำวา่ “คณะผจู้ ัดทำ”
5. บทคดั ย่อ : สว่ นสรปุ สาระสำคัญของการศกึ ษาค้นควา้ ประกอบดว้ ยวตั ถปุ ระสงค์การศึกษา กระบวนการหรือ
ขน้ั ตอนการศึกษา และเครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา และสรุปผลการศกึ ษาค้นคว้า
6. สารบญั
7. สารบัญตาราง (ถา้ มี)
8. สารบัญภาพประกอบ (ถ้ามี)
สว่ นประกอบตอนกลางหรือสว่ นเนอ้ื หา
1. สว่ นเนอื้ หา แบ่งการนำเสนอ เป็น 5 บท ดังนี้
1.1 บทท่ี 1 บทนำ ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ดังน้ี
- หลักการและเหตุผล (ความเป็นมา ความน่าสนใจ ความจำเปน็ ของหัวข้อที่ทำการศึกษาค้นคว้า)
- วัตถุประสงค์การศึกษา
- แผนการดำเนินงาน /ปฏิทนิ ปฏบิ ตั ิงาน และระยะเวลาดำเนินงาน/ระยะเวลาในการศึกษาคน้ คว้า
- ขอบเขตการศึกษา
- วธิ ีการศึกษา
- ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั
1.2 บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารท่ีเก่ยี วข้อง
1.3 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการศกึ ษา (นำเสนอกระบวนการศึกษาตามข้นั ตอน)
1.4 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา (เสนอผลการศกึ ษาค้นคว้าไปใชง้ านและแสดงวิธีการใชง้ าน)
1.5 บทที่ 5 บทสรุป (สรุปกระบวนการศกึ ษา ผลการศกึ ษา เสนอแนะในการนำผลการศกึ ษาไปใช้)
2. สว่ นประกอบในเนอ้ื หา : การอา้ งอิง ตาราง ภาพ
ส่วนประกอบตอนทา้ ย
1. บรรณานกุ รม
2. ภาคผนวก
72
ช่อื เรื่อง บทคัดยอ่
คณะผู้จัดทำ
..................................................................................................
อาจารยท์ ่ีปรึกษา ..................................................................................................
โรงเรียน ..................................................................................................
ปกี ารศึกษา .................................................................................................
.................................................................................................
.................................................................................................
.............................
บทคัดย่อ
การศกึ ษา.....................................................................................มวี ัตถปุ ระสงค์การศกึ ษาเพื่อ
......................................................................................................................... .............................................
ดำเนินการศึกษาโดย.....................................................................................................................................
ผลการศึกษาพบวา่ ......................................................................................................................................
................................................................................................................................................................... .. ............................
......................................................................................................................................... ........................................................
............................................................................................................. .............................................. ......................................
................................................................................. ................................................................................................................
..................................................... ............................................................................................................................................
......................... .....................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... ............... ............................
....................................................................................... ..................................................
.....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................... .
................................................................................................................................. ....................................
................................................................................................... .................................................................
73
กิตตกิ รรมประกาศ
รายงานจากการศึกษาคน้ คว้าอิสระฉบับน้สี ำเร็จไดด้ ้วยความอนเุ คราะหข์ องบคุ คลหลายทา่ น
ซึ่งไม่อาจจะนำมากลา่ วไดท้ ้ังหมด ซงึ่ ผมู้ ีพระคุณท่านแรกท่คี ณะผจู้ ดั ทำใคร่ขอกราบพระคุณคอื
คุณครู…………………………………..……ครผู สู้ อนทไ่ี ดใ้ หค้ วามรู้ คำแนะนำตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ดว้ ยความเอา
ใจใส่ทุกข้ันตอน เพือ่ ใหก้ ารเขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้าอิสระฉบบั นี้สมบรู ณ์ทสี่ ดุ ทา่ นทส่ี อง คือ คุณครู
....................................................ทใี่ หค้ ำแนะนำตรวจทาน และแก้ไขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ เทคนิคการนำเสนอรายงานปาก
เปล่า คณะผจู้ ดั ทำใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่าสงู ไว้ ณ โอกาส น้ี
นอกจากน้ี ขอขอบพระคุณ.................................................... ทีป่ รึกษารายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระทใี่ ห้
คำแนะนำในการค้นคว้าข้อมูล ความรูใ้ นดา้ นตา่ ง ๆ และขอขอบพระคุณ ........................................... ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
........................................................ทไ่ี ด้สง่ เสรมิ และพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ในโรงเรียนทเ่ี อื้อต่อการคน้ ควา้ ขอขอบคุณ
............................................................................ นักเรียนชน้ั ................................... ท่ชี ่วยในการสบื คน้ ข้อมลู
แลกเปล่ียนความรคู้ วามคิด และใหก้ ำลังใจในการศกึ ษาค้นควา้ ตลอดมา
ขอขอบคุณคุณครูโรงเรยี น..............................................................ทุกสาขาวิชาที่ไดฝ้ ึกสอน ได้ใหค้ ำแนะนำในการ
จดั ทำรายงานจากการศึกษาค้นคว้าอสิ ระฉบับน้ที ไ่ี มไ่ ด้กล่าวนาม
ขอขอบพระคณุ คุณพ่อและคุณแม่ ที่อยเู่ บ้ืองหลังในความสำเรจ็ ทีไ่ ดใ้ หค้ วามช่วยเหลือสนบั สนุนและให้กำลังใจ
ตลอดมา
คณะผ้จู ดั ทำ
74
การเขยี นบรรณานุกรม
บรรณานกุ รม หรือเอกสารอ้างอิง เปน็ ส่วนสำคญั ทส่ี ำคัญของการเขียนงานต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ เอกสารทางวิชาการ
หนังสือ ตำรา รายงานการวิจัย หรือที่เราเห็นกันมากก็คือวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะปรากฏอยู่ท้ายเล่มของผลงานที่เป็นเป็นแหล่ง
รวบรวบรายการขอ้ มูลทีง่ านเขยี นนั้น ๆ ได้อ้างอิงถึง อีกทั้งยังเปน็ ส่วนทีจ่ ะเชื่อมโยงไปยังต้นทางของแหล่งข้อมลู ที่ให้ผู้อ่าน
สามารถค้นหาและสืบคน้ เพมิ่ เตมิ ได้
โดยสว่ นใหญแ่ ล้วการเขยี นบรรณานุกรม หรอื เอกสารอา้ งอิง จะนิยมใช้มาตรฐานการเขยี นท่ชี ่อื ว่า APA หรอื (American
Psychological Association) พัฒนามาจากนักสังคมศาสตร์และนักพฤติกรรมศาสตร์มากว่า 80 ปี เพื่อเป็นมาตรฐาน ใน
การเขียนอย่างเป็นระบบสำหรับการทำวิจัย รายงานการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม บทความและกรณีศึกษา สำหรับ
นักเขียนและนักศึกษานำมาใช้ในวิทยานิพนธ์ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย โดยในปัจจุบัน APA ได้พัฒนามาถึง
เวอร์ชันที่ 6 ที่มีมาตราฐานใหม่ที่เป็นแปลงจากเดิมไปพอสมควร ในบทความนี้เราจะยกตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม ท่ี
จำเปน็ และใช้เปน็ แหลง่ อ้างอิงกนั มาก เชน่ หนงั สอื งานวิจยั วารสาร วทิ ยานพิ นธ์ ส่อื ออนไลน์
การใชอ้ กั ษรย่อ
ม.ป.ท. แทนคาํ เต็มวา่ (ไมป่ รากฏสถานท่ีพิมพ์)
N.P. แทนคาํ เตม็ วา่ (no Place of publication)
ม.ป.พ. แทนคาํ เต็มว่า (ไม่ปรากฏสาํ นกั พมิ พ์)
n.p. แทนคาํ เต็มวา่ (no publisher)
(ม.ป.ป.) แทนคาํ เต็มวา่ ไมป่ รากฏปีพิมพ์
(n.d.) แทนคําเต็มวา่ no date
(บ.ก.) แทนคําเตม็ ว่า บรรณาธกิ าร
(Ed.) หรือ (Eds.) แทนคําเต็มว่า Editor หรือ Editors
การเขียนชอ่ื ผูแ้ ตง่
ไมต่ ้องลงคาํ นาํ หน้านามตําแหนง่ ทางวชิ าการคาํ เรยี กทางวิชาชพี และตาํ แหนง่ ยศตา่ ง ๆ (ยกเว้น มฐี านันดรศกั ด์ิ
บรรดาศักดิ์ และสมณศกั ด์ิ)
ผู้เขยี น 1 คน
ผูแ้ ต่ง1./(ปพี ิมพ์).//ชือ่ เรือ่ ง/(พมิ พ์ครง้ั ท่ี).//สถานท่ีพิมพ์:/สาํ นักพิมพ์.
ผู้เขียน 2 คน
ผูแ้ ต่ง1,/และผแู้ ตง่ 2.//(ปพี ิมพ์).//ชือ่ เร่ือง/(พมิ พ์ครั้งท่ี).//สถานทีพ่ ิมพ์://สํานักพมิ พ์.
ผู้เขียน 3 คน
ผู้แตง่ 1,/ผแู้ ตง่ 2,/และผแู้ ต่ง3.//(ปีพมิ พ์).//ชอ่ื เรื่อง//(พมิ พ์ครง้ั ท)ี่ .//สถานที่พมิ พ์://สาํ นักพิมพ์.
75
ผูเ้ ขียนมากกว่า 7 คน
ผแู้ ต่ง1,/ผแู้ ต่ง2,/ผแู้ ต่ง3,/ผู้แตง่ 4,/ผแู้ ตง่ 5,/ผู้แตง่ 6,…ผู้แต่งคนสดุ ท้าย./(ปีพิมพ์).//ช่อื เรือ่ ง//(พิมพ์ครั้งท)่ี .//
สถานที่พิมพ์://สาํ นักพิมพ์.
1. หนงั สือ
ผู้แต่ง 1./(ปีพิมพ์).//ชือ่ เรื่อง/(พิมพ์ครั้งท่ี).//สถานท่ีพมิ พ์:/สํานักพมิ พ์.
สกุ ัญญา รอส. (2561). วสั ดชุ วี ภาพ. พษิ ณุโลก: สํานกั พิมพม์ หาวิทยาลยั นเรศวร.
หนงั สอื ไม่ปรากฏชอื่ ผแู้ ตง่
ช่อื เรื่อง/(พิมพ์ครง้ั ท)ี่ .//(ปีพมิ พ์).//สถานที่พมิ พ์:/สํานกั พิมพ์.
หลากความคดิ ชีวิตคนทํางาน. (2551). กรุงเทพฯ: แผนงานสขุ ภาวะองค์กรภาคเอกชน สํานกั งานกองทนุ
////////สนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
บทความหรือบทในหนังสือ
ชอื่ ผูแ้ ตง่ บทความหรอื บท./(ปีพิมพ์).//ชอ่ื บทความหรอื บท./ใน หรือ In/ชือ่ บรรณาธกิ าร/(บ.ก. หรอื Ed. หรอื Eds.),
////////ชื่อหนังสือ/(น. หรือ p. หรอื pp. เลขหนา้ ).//สถานทีพ่ ิมพ์:/สาํ นกั พิมพ์.
วัลลภัช สขุ สวัสดิ์. (2561). แนวความคดิ เรื่องชนชั้นนำทางการเมืองของกีตาโน มอสกา กับชนชัน้ นำทางการ
////////เมอื งไทยในยุคมาลานำไทย. ใน วัชรพล ศุภจักรวฒั นา และวชั รพล พทุ ธรกั ษา (บ.ก.), ว่าด้วยทฤษฎี
////////รฐั ศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตรร์ ว่ มสมัย (พิมพ์ครง้ั ที่ 2). (น. 47-68). พิษณุโลก: สาํ นกั พิมพ์
////////มหาวิทยาลยั นเรศวร.
*หมายเหตุ (พิมพ์ครั้งท)ี่ ใหร้ ะบตุ ั้งแต่คร้ังที่ 2 เปน็ ตน้ ไป
2. หนงั สือแปล
ชื่อผู้แตง่ ต้นฉบบั ./(ปีพมิ พ์).//ชื่อเรื่องท่ีแปล/[ชอ่ื ตน้ ฉบับ]/(ชอื่ ผู้แปล, แปล)./สถานทีพ่ ิมพ์:/สํานักพิมพ์.
////////(ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. หรือ พ.ศ.)
แบร่ี สมาร์. (2555). มิเชล ฟโู กต์ [Michel Foucault] (จามะรี เชียงทอง และสุนทร สราญจติ , แปล). กรุงเทพฯ:
////////ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสิริธร (องค์การมหาชน). (ต้นฉบับพมิ พ์ปี ค.ศ. 1994).
76
3. E-book
ผู้แต่ง 1./(ปพี มิ พ์).//ช่อื เรื่อง/(พมิ พ์ครงั้ ท่ี).//สถานท่ีพมิ พ์:/สาํ นักพมิ พ์. //จาก หรอื from/http://www.xxxxxxx
Howitt, D. (2011). Introduction to research methods in psychology. Retrieved from
////////https://www.dawsonera.com.
จกั รพนั ธ์ เพช็ รภมู ิ. (2562). พฤติกรรมสขุ ภาพ: แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกตใ์ ช้.
////////(พิมพค์ รง้ั ที่ 3). พิษณุโลก: สำนักพมิ พ์มหาวิทยาลยั นเรศวร. สืบคน้ จาก https://www.ookbee.com
Haslam, S. (2003). Research Methods and Statistics in Psychology (SAGE Foundations
////////of Psychology series).[Kindle DX version]. Retrieved from http://www.amazon.com
4. รายงานการวิจัย
ผู้แตง่ ./(ปพี ิมพ์).//ชือ่ เร่ือง(รายงานผลการวจิ ยั ).//สถานทีพ่ ิมพ์:/สํานกั พิมพ์.
พนิ ิจทพิ ย์มณี. (2553). การวิเคราะหป์ ญั หาทางกฎหมายที่เกีย่ วกบั การตายของ
////////ประเทศไทย (รายงานผลการวิจยั ). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย์.
5. วทิ ยานพิ นธ์
วิทยานิพนธแ์ บบรูปเล่ม
ผูแ้ ตง่ ./(ปพี ิมพ์)./ชอ่ื เรื่อง/(ปริญญานพิ นธ์ปริญญาดุษฎบี ัณฑิต หรือ Doctoral dissertation หรือ วทิ ยานิพนธ์
////////ปรญิ ญามหาบณั ฑิต หรือ master’s thesis)./สถานทพ่ี มิ พ์./ชือ่ สถาบนั .
วนั ชนะ จบู รรจง. (2560). ระบบสนับสนุนการประมาณการสมั ผสั แคดเมยี มผา่ นการบริโภคอาหาร (วทิ ยานิพนธ์
////////ปรญิ ญามหาบณั ฑิต). พิษณโุ ลก: มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
วิทยานิพนธฐ์ านข้อมูลออนไลน์
ผู้แต่ง./(ปพี ิมพ์)./ชอ่ื เรื่อง/(ปริญญานิพนธ์ปรญิ ญาดุษฎีบัณฑติ หรือ Doctoral dissertation หรอื วทิ ยานพิ นธ์
////////ปริญญามหาบณั ฑติ หรือ master’s thesis)./สถานท่ีพิมพ์./ชอ่ื สถาบัน. สืบคน้ จาก หรอื Retrieved from
////////http://www.xxxxxxxxx
พรทพิ ย์ ว่องไวพิทยา. (2551). การพฒั นาระบบสารสนเทศเพือ่ ช่วยสนับสนนุ การตดั สนิ ใจในการมอบหมายและ
////////ตดิ ตามความกา้ วหน้าของงาน กรณีศกึ ษาบัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยนเรศวร (วทิ ยานิพนธ์
////////ปริญญามหาบณั ฑติ ). พิษณโุ ลก. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/
77
6. วารสาร
วารสารแบบเลม่
ช่อื ผ้แู ตง่ ./(ปพี ิมพ์).//ช่ือบทความ.//ชอื่ วารสาร,/เลขของปีท/่ี (เลขของฉบับท่ี),/เลขหนา้ .
วิชยั พานิชย์สวย, สุมน ไวยบญุ ญา, พชั รพร ศภุ กิจ, และรตั นากร หลวงแก้ว. (2562). ผลของการใช้บทเรยี น PISA
////////ท่ีมีต่อความสามารถดา้ นทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ของนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษา.
////////วารสารการวจิ ยั พฒั นาชุมชน (มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์), 12(3), 133-160.
วารสารออนไลน์
– กรณไี ม่มเี ลข DOI
ชอ่ื ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์).//ช่ือบทความ.//ชอ่ื วารสาร,/เลขของปีท/่ี (เลขของฉบับที่),/เลขหนา้ . สบื คน้ จาก หรอื
////////Retrieved from http://www.xxxxxxxxx
Pattaratumrong, M., & Wongkhamhaeng, K. (2019). The Molecular Identification of Nephtys
////////species (Polychaeta: Phyllodocida) from Songkhla Lake, Southern Thailand. Naresuan
////////University Journal: Science And Technology (NUJST), 27(3), 1-9.
////////http://www.journal.nu.ac.th/NUJST/article/view/Vol-27-No-3-2019-1-9
– กรณมี ีเลข DOI
ช่ือผู้แต่ง./(ปีพิมพ์).//ชอ่ื บทความ.//ชอ่ื วารสาร,/เลขของปีท/ี่ (เลขของฉบับท่ี),/เลขหนา้ .
////////doi: xxxxxxxxx
Chantana, C. (2019). A Cooling System for a Mushroom House for Use in the Upper Central
////////Region Climate of Thailand. Naresuan University Journal: Science And Technology
////////(NUJST), 27(3), 10-19. doi:10.14456/nujst.2019.22
7. Website
ผแู้ ต่ง./(ปพี มิ พ์).//ชอื่ บทความ./สบื ค้น หรือ Retrieved วัน/เดือน/ป,ี //จาก หรอื from/http://www.xxxxxxxxxx
สรญา แสงเยน็ พนั ธ์. (2563). พฤตกิ รรมสุขภาพ. สืบค้น 18 กนั ยายน
////////2563, จาก http://www.nupress.grad.nu.ac.th/behavior
78
Healey, R.G. (2011). The History of Policy Analysis. Retrieved 24 March 2019
from https://econ.duke.edu/uploads/media_items/what-is-the-history
-of-policy-analysis-9-2011.original.pdf
—————————————————————————————————————
เอกสารอ้างองิ
บุญฑา วิศวไพศาล. (ม.ป.ป). มนษุ ยศาสตรส์ าร. สบื คน้ 18 กนั ยายน 2562, จาก
////////http://journal.human.cmu.ac.th/files/form2.pdf
คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบัญชี มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. (ม.ป.ป). การอา้ งอิงแบบแทรกในเนื้อหาตาม
////////หลกั เกณฑ์ APA. สบื คน้ 18 กันยายน 2562, จาก http://www.jba.tbs.tu.ac.th/
////////files/APA_Style.pdf
American University of Sharjah. (n.d.). APA 6th Edition Citation Style. Retrieved September
////////18, 2019, from https://aus.libguides.com/apa/apa-website
Himmelfarb Health Sciences Library. (n.d.). APA Citation Style, 6th edition. Retrieved September
////////18, 2019, from https://guides.himmelfarb.gwu.edu/APA
79