The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Visuttatip Mangsachat, 2020-01-09 01:09:28

แผนยุทธศาสตร์ ระยะ 20 ปี มจพ.

แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

แผนยทุ ธศาสตรม หาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580)

มตสิ ภามหาวทิ ยาลัย คร้ังที่ 9/2562
วนั ที่ 16 ตุลาคม 2562



แผนยทุ ธศาสตรม หาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580)

มตสิ ภามหาวทิ ยาลัย คร้ังที่ 9/2562
วนั ที่ 16 ตุลาคม 2562

คาํ นํา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ มีปณิธาน “มุงม่ันที่จะพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีความเปนเลิศทางวิชาการดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี และวิชาการช้ันสูงท่ีเกี่ยวของ ใหมีความรูคูคุณธรรม เพ่ือเปนผูพัฒนาและสรางเทคโนโลยีที่เหมาะสม อันกอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน” โดยมีการดําเนินงานตามพันธกิจหลักทั้ง 4 ดาน แตดวยสภาวการณและบริบทภายนอกท่ีมีผลกระทบตอมหาวิทยาลัยและความทาทาย
ที่มหาวิทยาลัยตองเผชิญ ตลอดจนกระแสการเปล่ียนแปลงท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคต กอปรกับประเทศมีแผนยุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพัฒนาประเทศ
อยางยง่ั ยืนตามหลักธรรมาภบิ าลเพอื่ ใชเปน กรอบในการจัดทําแผนตา ง ๆ ใหสอดคลองและบรู ณาการกนั เพอื่ ใหเ กิดเปนพลังผลักดันรวมกันไปสเู ปา หมายตามท่ีกําหนด
จากสถานการณตาง ๆ สงผลกระทบตอสถาบันการศึกษาอยางหลีกเล่ียงไมได ดังน้ัน เพื่อใหมหาวิทยาลัยมีแผนการพัฒนาอยางชัดเจนรองรับการเปลี่ยนแปลง
และสอดคลองกับแนวนโยบายการพัฒนาประเทศและแนวโนมในอนาคตที่จะเกิดขึ้น มหาวิทยาลัยจึงจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา
พระนครเหนือ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ขึ้น ผานกระบวนการการมีสวนรวมของทุกภาคสวนภายในมหาวิทยาลัยและมุมมองของผูทรงคุณวุฒิภายนอก
ดวยการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ จํานวน 2 ครั้ง โดยมีการนําขอมูลสําคัญมาวิเคราะหประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตร และจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการทั้ง 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยไดกรอบแผนยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 20 ป ที่เปนแผนการพัฒนาระยะยาวของมหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนามหาวิทยาลัยท้ัง 3
วิทยาเขต และการพฒั นาภาพรวมดวยการกาํ หนดยุทธศาสตรการพฒั นาไปสูความเปน เลิศใน 4 ยทุ ธศาสตร

แผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ฉบับน้ี จึงเปนแผนแมบทที่มุงสูเปาหมายการพัฒนา
มหาวิทยาลัยระยะยาว ที่ใหความสําคัญและมุงเนนการพัฒนามหาวิทยาลัยทั้ง 3 วิทยาเขตไปสู “ความเปนผูนําองคกรดานความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม
(Leader in University Industry Cooperation)” ผานยุทธศาสตรเพ่ือความเปนเลิศ 4 ยุทธศาสตร และสอดคลองตอเปาหมายการพัฒนาประเทศระยะยาว
ตามแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) และ
นโยบายตาง ๆ ที่สาํ คญั ของประเทศ ตลอดจนบริบทท่เี ปลยี่ นแปลงไปของสังคมไทยทม่ี ีผลกระทบตอสถาบันการศึกษา

ขอขอบคุณกรรมการสภามหาวิทยาลัย กรรมการสงเสริมและพัฒนากิจการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการดําเนินการจัดสัมมนาและจัดทําแผนยุทธศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป ผูบริหารทุกสวนงานภายในมหาวิทยาลัยและผูท่ีเก่ียวของ ที่รวมแรงรวมใจในการจัดทําแผน
ยทุ ธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) สาํ เร็จลุลวงดวยดี และหวงั เปน อยางย่ิงวา แผนยุทธศาสตรฉบับนี้ จะ

เปน แผนแมบทช้นี ําทิศทางการขบั เคลื่อนมหาวทิ ยาลัยไปสคู วามเปนเลิศตามเจตนารมณที่ต้ังไวร วมกัน รวมถึงเปนกําลงั สําคัญในการพฒั นาทรัพยากรมนุษย เศรษฐกิจ
และสังคม ตามวิสัยทัศนและเปา หมายการพฒั นาประเทศระยะยาวตอไป

(ศาสตราจารย ดร.สชุ าติ เซีย่ งฉิน)
อธิการบดี

สารบัญ หนา

บทสรปุ สําหรับผบู รหิ าร
ยุทธศาสตรส คู วามเปนเลิศ 4 ดา น 1
8
 ดา นการจดั การศกึ ษา (Academic Excellence) 11
 ดานการวิจัย สรางสรรคป ระดิษฐกรรมและนวัตกรรม (Research, Invention & Innovation Excellence) 13
 ดา นบรกิ ารวชิ าการ (Academic Service Excellence) 16
 ดา นการจดั การ (Management Excellence)
ภาคผนวก



บทสรปุ สาํ หรับผูบริหาร

ตามที่รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย มาตรา 65 กําหนดใหรัฐพงึ จดั ใหมียทุ ธศาสตรช าติเปน เปาหมายการพัฒนาประเทศอยางย่ังยนื ตามหลกั ธรรมาภิบาลเพื่อ
ใชเปนกรอบในการจัดทําแผนตาง ๆ ใหสอดคลองและบูรณาการกันเพื่อใหเกิดเปนพลังผลักดันรวมกันไปสูเปาหมายดังกลาว และเพื่อใหประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยทุกสวนราชการตองดําเนินการบริหารงาน
ภายใตก รอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป ซ่งึ เปน เปาหมายการพฒั นาประเทศอยา งยั่งยนื

แผนยุทธศาสตรม หาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ไดจัดทําข้ึนในชวงท่ีมีบริบทแวดลอมสงผลกระทบตอความ
ทาทายที่มหาวิทยาลัยตองเผชิญทั้งในปจจุบันและอนาคต กอปรกับประเทศไทยมีแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) รวมถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) นโยบาย Thailand 4.0 และปจจัยตาง ๆ ท่ีมผี ลตอ การเปลี่ยนแปลงของสังคม
อาทิ เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ความกาวหนา ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ การเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรไทยและสงั คมโลก การปฏิรปู ระบบการอุดมศึกษา
ทักษะในศตวรรษที่ 21 แผนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศใน 10 กลุมอุตสาหกรรมอนาคต และการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีของโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
ภาคตะวันออก (ECC) ซึ่งผลกระทบเหลานี้สงผลใหมหาวิทยาลัยตองปรับตัวรองรับการทํางานที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถของแตละ
วทิ ยาเขตใหมีความโดดเดน รวมถึงใหค วามสําคัญการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรของมหาวิทยาลยั ใหส ามารถปฏิบัติงานไดอยา งเหมาะสมกับสภาวการณที่คาดวา จะเกดิ ขึ้นใน
อนาคต มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือจงึ ไดด ําเนนิ การจดั ทําแผนยุทธศาสตรมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป ขน้ึ ซ่ึง
แผนดังกลาวเกิดจากหลักการความมีสวนรวมจากทุกภาคสวนภายในมหาวิทยาลัย ผานกระบวนการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ 2 ครั้ง คือ คร้ังท่ี 1 เปนการสัมมนาระดับ
ผูบริหารระดับสูง ต้ังแตกรรมการสภามหาวิทยาลัย กรรมการสงเสริมและพัฒนากิจการมหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี ผูชวยอธิการบดี ที่ปรึกษาอธิการบดี และ
คณะกรรมการดําเนินการจัดสัมมนาและจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป และคร้ังท่ี 2 เปนการสัมมนาระดับ
ผูบริหารมหาวิทยาลัย ต้ังแตอธิการบดี ที่ปรึกษาอธิการบดี รองอธิการบดี ผูชวยอธิการบดี คณบดี/ผูอํานวยการ รองคณบดี/รองผูอํานวยการ ท่ีปฏิบัติงานทางดานการ
บรหิ าร ดา นการวางแผน ดานวิชาการและดา นวจิ ยั ซงึ่ ผลการสมั มนาไดผา นกระบวนการพิจารณากล่นั กรองจากคณะกรรมการฯ ทเ่ี ก่ียวของ (คณะกรรมการดําเนนิ การจัด
สัมมนาและจัดทําแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยฯ ระยะ 20 ป และคณะกรรมการนโยบายและแผน) อยางครบถวนสมบูรณจนไดแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกลาพระนครเหนือ ระยะ 20 ป ท่ีมีทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยอยางชัดเจน สอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาประเทศในระยะยาวและผลักดันให
มหาวทิ ยาลยั ไปสูความเปนเลศิ ตามวสิ ัยทัศน “มหาวทิ ยาลัยช้นั นําดา นวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวตั กรรม เปน ที่ยอมรบั ในระดบั นานาชาติ” อยางแทจ ริง



การบรรลุเปาหมายสูความเปนเลิศตามยุทธศาสตรท้ัง 4 ดานนี้มีความทาทายและตองอาศัยการวางแผนและระบบกลไกการขับเคลื่อนท่ีเปนรูปธรรม ตลอดจน
ความเขาใจความเปนนํ้าหน่ึงใจเดียวกันขององคกรท่ีจะนําพาไปสูเปาหมายท่ีมุงหวังไวรวมกัน ซึ่งแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ฉบับนี้ ไดกําหนดยุทธศาสตรสูความเปนเลิศ 4 ดาน โดยติดตามความสําเร็จผานตัวชี้วัด 50 ตัวชี้วัด และขับเคลื่อนดวยกลยุทธทั้งหมด
41 กลยุทธ ดังน้ี

ความเปน เลศิ เปา ประสงค จํานวน กลยทุ ธ
ตัวชวี้ ดั เปาประสงค 14
1. ดา นการจดั การศกึ ษา 1.1 การจัดการศกึ ษาแบบปรญิ ญา (Degree) และประกาศนียบัตร (Non-Degree) ทมี่ คี ณุ ภาพ 7
(Academic Excellence) และเปนท่ียอมรับ 12 10
2. ดา นการวิจัย สรา งสรรคป ระดิษฐกรรมและ 2.1 วจิ ัยเพอ่ื ความเปนเลิศเชงิ วชิ าการ
นวตั กรรม 2.2 วิจัยเพือ่ ความเปน เลศิ เชิงสรางสรรคนวตั กรรม 7 10
(Research, Invention & Innovation 2.3 วิจัยเพ่อื ความเปนเลศิ เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของภาคอุตสาหกรรม ชุมชน และสังคม 5
Excellence) 4
3. ดา นบริการวิชาการ 3.1 พ่งึ พาตนเองดว ยการหารายไดทงั้ ในรปู ของคา ใชจา ย (In Cash) และในรูปมลู คา (In Kind)
(Academic Service Excellence) จากงานบริการวิชาการ 2
4. ดา นการจัดการ 3.2 มรี ะบบนเิ วศ (Ecosystem) การบริการวิชาการทสี่ อดคลองกับความตอ งการ
(Management Excellence) 3.3 เปน องคกรทมี่ ีภาพลกั ษณ (Branding) ท่ไี ดรบั ความเช่อื ถอื เชือ่ มั่น จากหนวยงานภายนอก 3
มหาวทิ ยาลยั 1
4.1 พฒั นาบคุ ลากรใหม คี ณุ ลักษณะเฉพาะ (SMART People)
4.2 เปน มหาวทิ ยาลยั ดิจิทลั (Digital University) 3
4.3 ระบบบรหิ ารจดั การมีประสิทธภิ าพและรองรบั การเปลี่ยนแปลง 6
4.4 เปนมหาวทิ ยาลัยท่มี กี ารจดั การสภาพแวดลอมและส่ิงอาํ นวยความสะดวกเพ่อื การพฒั นาท่ี 4
ยั่งยืน 3



แผนยทุ ธศาสตรมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนอื ระยะ 20 ป

วสิ ัยทศั น มหาวิทยาลยั ชน้ั นําดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เปนทย่ี อมรบั ในระดบั นานาชาติ
(Vision)
(To guide KMUTNB towards professionalism regarding science, technology and innovation)

พันธกจิ 1. ผลติ บณั ฑติ ที่พึงประสงค (To supply qualified graduates to the society)
2. วิจยั และพัฒนา (To encourage research and academic work)
(Missions) 3. บริการวชิ าการแกส งั คม (To support public academic services)
4. ทาํ นุบํารุงศิลปะและวฒั นธรรม (To maintain national arts and culture)

อตั ลักษณ บณั ฑิตท่ีคิดเปน ทําเปน (Graduates with Creativity and Workability)
มจพ. คอื มหาวิทยาลัยแหง การสรา งสรรคป ระดษิ ฐกรรมสูนวตั กรรม (KMUTNB : University of Creative Invention to Innovation)
(Identity)

เอกลกั ษณ

(Uniqueness)

ยุทธศาสตร ยุทธศาสตรที่ 1 ความเปน เลิศดา นการจดั การศกึ ษา (G1: Academic Excellence)
(Strategic ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 ความเปนเลิศดานการวิจัย สรา งสรรคป ระดิษฐกรรม และนวตั กรรม (G2: Research, Invention & Innovation Excellence)
Issues) ยุทธศาสตรท ี่ 3 ความเปน เลิศดา นบริการวชิ าการ (G3: Academic Service Excellence)
ยทุ ธศาสตรท่ี 4 ความเปนเลศิ ดานการจดั การ (G4: Management Excellence)



วสิ ยั ทศั น : มหาวทิ ยาลยั ช้นั นําดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เปน ทยี่ อมรับในระดบั นานาชาติ

• การจดั การศกึ ษาแบบปริญญา (Degree) • วิจัยเพื่อความเปนเลิศเชิงวชิ าการ
และประกาศนยี บัตร (Non-Degree) • วิจยั เพ่ือความเปน เลศิ เชิงสรางสรรค

ทมี่ คี ุณภาพและเปนท่ยี อมรับ G2: Research, นวัตกรรม
• วจิ ัยเพอื่ ความเปน เลศิ เพอ่ื ตอบสนอง
G1: Academic Invention &
ความตองการของภาคอุตสาหกรรม
Excellence Innovation ชมุ ชน และสังคม
Excellence
LEADER • พฒั นาบคุ ลากรใหม ีคณุ ลักษณะเฉพาะ
(SMART People)
IN UNIVERSITY
• เปน มหาวิทยาลัยดิจิทัล (Digital
• พึ่งพาตนเองดวยการหารายได INDUSTRY University)
ทง้ั ในรูปของคาใชจา ย (In Cash)
และในรูปมลู คา (In Kind) จากงาน G3: Academic COOPERATION G4: • ระบบบรหิ ารจัดการมปี ระสทิ ธภิ าพ และ
บรกิ ารวชิ าการ รองรบั การเปลย่ี นแปลง
Service Management
• มรี ะบบนิเวศ (Ecosystem) การบริการ Excellence Excellence • เปน มหาวิทยาลัยทมี่ ีการจัดการ
วชิ าการทส่ี อดคลองกับความตองการ สภาพแวดลอมและส่ิงอาํ นวยความสะดวก
เพ่อื การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน
• เปนองคกรท่ีมภี าพลักษณ (Branding)
ที่ไดรับความเชื่อถือ เช่อื ม่ัน จาก
หนวยงานภายนอกมหาวิทยาลยั

1

แผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนอื ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580)

*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*

ยุทธศาสตรท ี่ 1 ความเปน เลศิ ดา นการจดั การศึกษา (Academic Excellence)

เปา ประสงค ตัวชว้ี ัดระดับเปา ประสงค หนว ยนบั คาเปาหมายตวั ชีว้ ัด
รอ ยละ/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
1.1 การจัดการศึกษาแบบปริญญา 1.1.1 รอ ยละของหลกั สตู รทม่ี กี ารจดั การเรียนการสอนแบบ
รอยละ/ป 60 100 100 100
(Degree) และประกาศนียบัตร มุงเนนผลลพั ธการศึกษา (Outcome Based
รอ ยละ/ป 10 25 75 100
(Non-Degree) ที่มีคุณภาพ และเปน Education) รายวชิ า/ป
10 20 30 40
ทยี่ อมรบั 1.1.2 รอยละของหลักสูตรท่ีไดร บั การรับรองคุณภาพตาม หลกั สูตร/ป 10 20 30 40
รอ ยละ/ป
มาตรฐานระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 5 10 15 20
50 60 70 80
(Accreditation)

1.1.3 รอยละของหลักสตู รท่มี ีกิจกรรมการเรยี นการสอน

แบบออนไลน

1.1.4 จาํ นวนรายวชิ าของหลกั สตู รแบบปรญิ ญา (Degree)

และประกาศนยี บัตร (Non-degree) ที่มกี ารเรยี น

การสอนออนไลน

1.1.5 จาํ นวนหลกั สตู รทม่ี คี วามยืดหยนุ เปด โอกาสใหผ เู รยี น

สามารถเลอื กเรยี นไดตามความตอ งการ

1.1.6 รอยละของหลักสูตรทีม่ ีการบูรณาการการเรียน

การสอนรวมกับองคกรภาครัฐและภาคเอกชน

2

เปาประสงค ตวั ชว้ี ดั ระดับเปา ประสงค หนว ยนับ คาเปาหมายตวั ช้ีวดั
รอ ยละ/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
1.1 การจัดการศึกษาแบบปริญญา 1.1.7 รอ ยละของนักศึกษาตา งชาติ และนกั ศึกษา จาํ นวน/ป
รอ ยละ/ป 1 234
(Degree) และประกาศนียบตั ร แลกเปลีย่ น ระดบั /ป
รอ ยละ/ป 150 200 250 300
(Non-Degree) ที่มีคุณภาพ และเปน 1.1.8 จาํ นวนกจิ กรรมภายใตบ ันทึกขอ ตกลงความรวมมือ
รอยละ/ป 85 85 85 85
ทย่ี อมรับ (ตอ) ทางวิชาการระหวางประเทศ (MOU)
มาก มาก มากท่ีสุด มากทีส่ ุด
1.1.9 รอ ยละของบัณฑติ ท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชพี 50 80 100 100

อสิ ระ 80 80 80 80

1.1.10 ระดบั ความพึงพอใจของนายจางตอ คุณภาพบัณฑติ

1.1.11 รอยละของหลักสูตรเสรมิ ทกั ษะภาษาองั กฤษหลักสตู ร

สองภาษา หลักสตู รภาษาองั กฤษ หรือหลกั สูตร

นานาชาติ

1.1.12 รอยละของบุคลากรสายวิชาการทไี่ ดรับการเพิ่มพนู

สมรรถนะทเี่ กีย่ วของกบั พันธกิจในการสงเสรมิ การ

จดั การเรยี นการสอน

กลยทุ ธ

1. นาํ เทคโนโลยที ี่ทันสมัยและบูรณาการเทคนคิ การสอนแบบตา ง ๆ มาใชในการจดั การเรียนการสอน เพ่ือใหเกดิ การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. พัฒนาและปรับปรงุ หลักสูตรเพอ่ื ตอบโจทยภาครัฐและเอกชน และเกิดการบรู ณาการการเรยี นรูคกู ับการทาํ งานในรปู แบบตา ง ๆ

3. เพิ่มจํานวนหลกั สตู รท่ีมีการสงเสริมการใชภาษาองั กฤษ จดั โครงการสง เสรมิ ความเปนนานาชาติของนักศึกษาและทักษะดานอ่นื ๆ ใหส อดคลองกบั บริบทความ

เปนสากล

3

4. พัฒนาหลกั สูตรท้งั แบบปรญิ ญา (Degree) และประกาศนียบัตร (Non-Degree) ที่ตอบสนองตอยุทธศาสตรชาติดา นการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากร
มนษุ ย

5. สง เสรมิ การแลกเปลี่ยนนักศึกษา และคณาจารยก ับมหาวิทยาลยั ท่มี ีช่อื เสยี งในระดบั ชาติและนานาชาติ
6. สงเสริมใหมีการจัดการเรยี นการสอนทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและมีส่งิ สนบั สนุนการเรยี นการสอนทีท่ ันสมัยและเพยี งพอ
7. พฒั นาอาจารยและบุคลากรใหมีศักยภาพดานการศึกษาและกจิ กรรมนักศึกษา โดยใหมีทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ความเปนผูประกอบการ

(Entrepreneurship) ความเปนสากล (Internationalization) การบรหิ ารการศึกษา และการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
8. สงเสริมใหผ เู รยี นเปนผปู ระกอบการดา นเทคโนโลยี (Technopreneurship) ผูสรา งสรรคนวัตกรรม มีทกั ษะชวี ิต (Soft Skills) ทกั ษะในศตวรรษที่ 21

(21st Century Skills) และความเปนสากล (Internationalization)
9. พฒั นาศักยภาพหนวยงานใหทาํ หนา ที่สงเสรมิ สนบั สนุน ใหค าํ แนะนําในการจดั การเรียนการสอนท่ีมงุ เนนผลลพั ธก ารศกึ ษา (Outcome Based Education)

และมที ักษะท่ีตองการในศตวรรษท่ี 21
10. สง เสริมใหหลกั สตู รไดรบั การรับรองจากองคกรวชิ าชีพตามเกณฑมาตรฐานระดับชาตแิ ละระดบั นานาชาติ
11. สง เสรมิ ให มจพ. วิทยาเขตปราจนี บรุ ี และ มจพ. วิทยาเขตระยอง มหี ลักสูตรทม่ี งุ เนนเพื่อการพฒั นารวมกับชมุ ชน ภาครัฐ และภาคเอกชนในพื้นท่ี
12. พฒั นาหลักสตู รทีม่ ีการบูรณาการระหวางสาขาวิชาตาง ๆ โดยมีความรวมมือระหวา งชุมชน ภาครฐั ภาคเอกชน ทั้งในประเทศและ/หรอื ตา งประเทศ
13. พัฒนาระบบธนาคารหนว ยกิต (Credit Bank) เพ่ือการเทียบโอนทัง้ รายวิชาและประสบการณ
14. สง เสริมบคุ คลในทุกชว งวยั ใหมคี วามรู ทักษะ และประสบการณใหส อดคลอ งกบั ความตองการท่ีเปลย่ี นแปลง

นิยามศพั ทเ ฉพาะ

ทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ประกอบดวย 3Rs+8Cs ดงั นี้
3Rs ประกอบดว ย
1) การอานออก (Reading)
2) การเขยี นได (‘Riting)
3) การคิดเลขเปน (‘Rithmetic)

4

8Cs ประกอบดวย
1) ทักษะดานการคิดอยา งมีวิจารณญาณ และทกั ษะในการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving)
2) ทักษะดานการสรา งสรรคแ ละนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
3) ทกั ษะดา นความเขา ใจตา งวัฒนธรรม ตา งกระบวนทัศน (Cross-Cultural Understanding)
4) ทกั ษะดานความรว มมอื การทาํ งานเปนทมี และภาวะผูน ํา (Collaboration, Teamwork and Leadership)
5) ทกั ษะดา นการสอ่ื สาร สารสนเทศ และการรเู ทา ทนั สื่อ (Communication, Information and Media Literacy)
6) ทกั ษะดา นคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)
7) ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู (Career and Learning Skills)
8) ความมีเมตตา กรณุ า มีวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

ซึ่งสอดคลองกบั คณุ ลักษณะบัณฑติ ทีพ่ ึงประสงคของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนอื ดังน้ี
 คณุ ลกั ษณะพ้นื ฐานรวมกันของบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงค
1) มคี วามรูค วามสามารถในวชิ าชีพ และมีทกั ษะดา นความคิดสรา งสรรค (Professional and Thinking Skills)
2) ซือ่ สตั ย รบั ผดิ ชอบ มคี ุณธรรม จริยธรรม ทําประโยชนเ พือ่ สงั คมและเปนที่พึ่งทางวิชาการ (Social Responsibility)
3) มฐี านคิดและความเปน ผูป ระกอบการดา นนวัตกรรมและเทคโนโลยี (Innovative and Technopreneur Mindset)
4) สามารถแขง ขนั ไดในระดับชาตแิ ละนานาชาติ (Global Competence)
 ทกั ษะและความสามารถท่จี าํ เปน ของบัณฑิตทีพ่ ึงประสงค
ในการดําเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการผลิตบัณฑิตท่ีพึงประสงคของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ซ่ึงประกอบดวยปจจัยและ

กระบวนการตาง ๆ เชน การออกแบบ/พัฒนาหลักสูตร การบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมนักศึกษา ตลอดจนการประเมินคุณภาพ
หลักสูตร จะตองสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะและความสามารถที่จําเปน 3 ดาน ไดแก ดานการจัดการตนเอง (Intrapersonal Domain) ดานการจัดการองคความรู
(Cognitive Domain) ดานการรูจักสัมพันธเกี่ยวของกับผูอื่น (Interpersonal Domain) โดยรวมถึงทักษะในศตวรรษท่ี 21 อันจะเปนพ้ืนฐานสําคัญในการเตรียมความ
พรอ มใหกับนักศึกษากอนการสําเร็จการศึกษาออกไปสูสังคมเพื่อพัฒนาประเทศชาตแิ ละสสู งั คมโลกอยา งประสบความสําเร็จตอไป

5

ดงั นน้ั ทกั ษะและความสามารถทจ่ี ําเปน ของบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนอื มดี งั น้ี
1) ดา นการจดั การตนเอง (Intrapersonal Domain)

1.1) ทกั ษะการเรยี นรูต ลอดชวี ติ (lifelong learning skills)
1.2) การสรา งความสุขทางกายและใจ (well-being)
1.3) แรงจูงใจใฝรู (intrinsic motivation)
1.4) ทักษะการทํางานแบบมืออาชีพ (professional skills)
1.5) ความยืดหยนุ และการปรบั ตวั (flexibility and adaptability)
1.6) บุคลิกภาพทดี่ ี (personality)
1.7) ความคิดเชงิ บวก (positive thinking)
1.8) ความอยากรแู ละความคิดริเริ่ม (curiosity and initiative)
1.9) ความวริ ยิ ะอุตสาหะ/ความพากเพยี ร (persistence /perseverance)
2) ดา นการจัดการองคค วามรู (Cognitive Domain)
2.1) ความรหู ลักและความรเู ฉพาะทาง (core and specialized knowledge)
2.2) ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหและการแกไ ขปญ หา (critical thinking and problem solving skills)
2.3) ทกั ษะการจัดการธุรกิจและการเงนิ (business and financial management skills)
2.4) ความเขา ใจและการใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทัล (digital literacy and technology management)
2.5) ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม (creativity and innovation)
2.6) การวางแผนอยา งมรี ะบบ (systematic planning)
3) ดา นการรจู ักสัมพนั ธเ กย่ี วของกับผอู นื่ (Interpersonal Domain)
3.1) คุณธรรมและจรยิ ธรรม (moral and ethics)
3.2) ทักษะการสอื่ สาร (communication skills)
3.3) ทกั ษะการทาํ งานรวมกันและการมจี ติ บริการ (collaboration and service mind)

6

3.4) ทกั ษะทางดานภาษา (language skills)
3.5) ทกั ษะความเปนผูนาํ และการทาํ งานเปน ทมี (leadership and team work)
3.6) ทกั ษะความรบั ผดิ ชอบและการสํานกึ รคู ณุ ในหนา ท่ีตอตนเอง สังคม และโลก (responsibility and accountability: self, social and global)
3.7) ทกั ษะทางสังคมและการเรียนรูขามวฒั นธรรม (social and cross-cultural skills)

ทักษะชีวิต (Soft Skills) หมายถึง ความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา ที่จะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และมี
ความสามารถที่จะปรับตัวไดในอนาคต ทักษะชีวิตจะมีสวนชวยใหวัยรุนสามารถนําความรูในเร่ืองตาง ๆ มาเช่ือมโยงกับทัศนคติ ผานการคิดวิเคราะหไตรตรองถึงผลท่ีจะ
เกิดข้ึนและตัดสินใจปฏิบัติในส่ิงที่เหมาะสมได ซ่ึงจําเปนอยางมากในเร่ืองของการดูแลสุขภาพ การปองกันการติดเชื้อเอชไอวี ยาเสพติด การทองไมพรอม ความปลอดภัย
คณุ ธรรมจริยธรรม ฯลฯ ทาํ ใหเด็กสามารถอยใู นสงั คมไดอ ยา งมีความสขุ และรบั มือกบั ปญ หาและความเปล่ยี นแปลงตาง ๆ ได

การรบั รองคณุ ภาพ (Accreditation) หมายถงึ กระบวนการการรับรองระบบงาน (Official approval) หรอื การรบั รองวทิ ยฐานะ โดยมกี ารควบคมุ ดแู ล และตรวจสอบ
ใหสอดคลองตามมาตรฐานสากล เปนการประกาศอยางเปนทางการ ซ่ึงองคกรท่ีไดรับมอบหมายในการรับรองมาตรฐานมีการพิจารณาเกี่ยวกับระบบขอมูลสารสนเทศ
(Information system) ระดับความเส่ียงที่ยอมรับได โดยยึดตามการนําไปใชในการปฏิบัติเพ่ือการยืนยันในเทคนิควิธีการ การจัดการ และวิธีการควบคุมระบบความ
ปลอดภยั

การจดั การเรียนการสอนเชงิ บูรณาการกับการทํางาน (Work Integrated Learning: WiL) หมายถึง การจดั การเรียนการสอนผสมผสานระหวางความรูทางทฤษฎีที่ได
จากการเรยี นในหองเรยี นกับประสบการณการทาํ งานหรือฝกปฏิบัติทางวิชาชีพนอกหองเรยี น ซึ่งเปนสว นหนงึ่ ของการศึกษาในหลักสูตรทตี่ องอยูในสภาพแวดลอมของการ
ทํางานจริง งานท่ีฝกปฏิบัติตองเปนงานที่มีคุณภาพหรือสามารถพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาได ยังหมายถึงการรวมกันระหวางเรียนรูเชิงทฤษฎีและการฝกปฏิบัติโดยใช
การเรยี นรทู ฤษฎี (Formal - Learning) กับกระบวนการฝกปฏิบัตดิ ว ยการทํางานที่มปี ระสทิ ธภิ าพ (Productive - Work) จึงเปน ระบบหน่ึงของการสรา งความรูจากแหลง
ความรหู ลายๆ แหลง การเรยี นรูเชิงประสบการณที่ชวยใหนกั ศกึ ษามโี อกาสในการประยุกตความรู ทักษะการทํางาน และทักษะเฉพาะทส่ี มั พันธก ับวชิ าชพี

การบูรณาการการเรียนการสอน หมายถงึ การจัดการเรยี นการสอนโดยการเชื่อมโยงเน้ือหาความรูทเ่ี ก่ียวของจากศาสตรตาง ๆ ของรายวชิ าเดยี วกันหรือหลายรายวิชามา
ใชใ นการจัดการเรียนรเู พอื่ ใหผเู รยี นสามารถนําความคิดรวบยอดของศาสตรต าง ๆ มาใชใ นชีวติ จริงได

7

หลักสตู ร Non-Degree หมายถึง หลกั สูตรประกาศนียบัตร (Non degree) ท่ีสวนงานหรือคณะดําเนนิ การจดั การอบรม มีการสอนและทําวจิ ัย เปน ระยะเวลา 6-12 เดือน
ที่มีกลุมเปาหมายเปนคนทํางาน และนักศึกษา ซ่ึงตองการเขามาอบรมและศึกษาบางรายวิชา/ทําวิจัยเพื่อเพ่ิมศักยภาพและเพ่ิมทักษะในการทํางาน เมื่อจบตามเกณฑที่
กําหนดในหลกั สูตรจะไดร บั ประกาศนียบัตร

ผูประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง ผูที่ศึกษาการสรางธุรกิจ รวมถึงกระบวนการทําธุรกิจใหม ๆ นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึงผูที่ผลิตสินคาหรือบริการใหแก
ผซู อ้ื โดยสรางรานหรอื องคกรเพื่อการขายสนิ คาและบรกิ ารเหลา นัน้

ความเปนสากล (Internationalization) หมายถึง การกําหนดกลยุทธในการบริหารท่ีเนนการมีสวนรวมของคณาจารย บุคลากร และนักศึกษา เพื่อยอมรับตอการ
เปลี่ยนแปลง ปรับความเชื่อ คานิยม และสรา งวฒั นธรรมความเปนนานาชาติ ผานบทบาทจากผบู ริหารมหาวิทยาลัย บทบาทของผูสอนในการจดั การเรียนการสอน การจัด
กิจกรรมดา นตา ง ๆ และการสรา งวัฒนธรรมองคการเพื่อมุงสูความเปนนานาชาติ พรอมตอการอยูร ว มกันบนความหลากหลายและการผสมผสาน ซึง่ จะเปน แนวทางใหเกิด
ความเขม แขง็ ในการเพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง ขนั ยกระดับการเปน มหาวิทยาลัยชน้ั นําระดบั โลก และเกิดการยอมรบั จากนานาประเทศ

ผูประกอบการดานเทคโนโลยี (Technopreneurship) หมายถึง บุคลากรที่มีความรู ทักษะ และศักยภาพในการบูรณาการองคความรู โดยมีฐานคิดความเปน
ผูป ระกอบการจากใชวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยรี วมกบั การจัดการนวัตกรรม เพอ่ื การพฒั นาผลงานนวตั กรรมทีน่ ําไปใชไ ดใ นเชิงพาณชิ ย

ระบบธนาคารหนวยกิต (Credit Bank) หมายถึง การจัดการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษาท่ีใหผูเรียนสามารถนําผลการเรียนท่ีไดจากการศึกษาในระบบ และผล
การเรียนรูที่ไดจากการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และจากประสบการณของบุคคล มาเก็บสะสมไวในธนาคารหนวยกิตของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อรับ
ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร สัมฤทธิบัตร อนุปริญญาหรือปริญญาตรี ตามหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษา โดยไมจํากัดอายุของผูเรียน คุณวุฒิผูเรียน ระยะเวลาในการสะสม
หนวยกติ และระยะเวลาในการเรียน

บัณฑิตพันธุใหม หมายถึง บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ท่ีบูรณาการศาสตร
หลากหลายและหรือสาขาวิชา (Multidisciplinary) เพื่อสามารถสรางทักษะ สมรรถนะเรงดวนใหม แกบัณฑิตหรือกําลังคนภาคการผลิตใหมีความสามารถและศักยภาพ
ตอบโจทยภ าคการผลติ สอู ุตสาหกรรมเปา หมาย 10 S-Curve โดยหลกั สูตรดังกลา วตองเปน หลักสตู รท่ีไดร ับการคดั เลอื ก และจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบทก่ี ําหนด

8

ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 ความเปนเลิศดา นการวจิ ยั สรางสรรคป ระดิษฐกรรมและนวัตกรรม (Research, Invention & Innovation Excellence)

เปาประสงค ตัวช้วี ดั ระดับเปาประสงค หนว ยนับ คาเปาหมายตัวชีว้ ัด
2.1 วิจัยเพื่อความเปนเลิศเชิงวิชาการ เรื่อง/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
2.1.1 จํานวนบทความวิจัย (Research article) หรอื 1,000 1,200 1,500 2,000
2.2 วจิ ยั เพ่อื ความเปนเลศิ เชงิ สรางสรรค บทความทางวชิ าการจากการประชุมวิชาการ เรอ่ื ง/ป
นวัตกรรม ทต่ี ีพมิ พแ ละจดั อยูในฐานขอมูล Scopus ครั้ง/ป 10 20 30 40
รอยละ/ป 2,000 2,400 3,000 4,000
2.1.2 จํานวนบทความปริทศั น (Review article) ครง้ั หรือ 15 18 22 25
ท่ตี ีพิมพในฐานขอมลู Scopus โครงการ/ป 50 60 75 90
รอ ยละ/ป 20 30 40 50
2.1.3 จาํ นวน Citation ทีถ่ กู อางองิ ในฐานขอมลู ทนุ /ป 40 60 80 100
Scopus
เรอื่ ง/ป 2 345
2.1.4 รอยละของอาจารยท ี่ตีพิมพในฐานขอมลู Scopus
2.1.5. จํานวนการตพี มิ พห รือโครงการวจิ ยั รว มกับ

ชาวตา งประเทศ
2.1.6 รอยละของผมู สี วนไดสวนเสยี (stakeholder) ท่ี

ตอบรับและยอมรับช่ือเสียงของมหาวิทยาลยั
2.1.7 จาํ นวนการย่นื ขอเสนอ (submitted proposal)

เพ่ือขอทุนวิจัยจากหนวยงานในเครอื ขายองคก ร
บรหิ ารงานวิจัยแหงชาติ (คอบช.)
2.2.1 จํานวนอนสุ ิทธิบตั ร สทิ ธบิ ตั รท่ีถูกนําไปใช
เชงิ พาณิชย

9

เปา ประสงค ตัวช้ีวดั ระดับเปาประสงค หนว ยนบั คา เปา หมายตัวชว้ี ดั
2.2 วจิ ัยเพือ่ ความเปน เลิศเชงิ สรา งสรรค ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
2.2.2 จาํ นวนชนิ้ งานและหรือผลงานสรางสรรคที่มี เรื่อง/ป
นวัตกรรม (ตอ) ประโยชนตอสงั คม เศรษฐกจิ หรือส่ิงแวดลอม 8 12 17 22
ในระดับชาติหรือนานาชาติ รอ ยละ/ป
2.3 วิจัยเพ่อื ความเปน เลศิ เพอ่ื ตอบสนอง ครง้ั /ป 10 15 20 25
ความตองการของภาคอุตสาหกรรม 2.2.3 รอ ยละของบุคลากรสายวิชาการท่ีทํางานพัฒนา 52 52 52 52
ชุมชน และสงั คม สิง่ ประดษิ ฐ นวัตกรรม หรืองานสรางสรรค ลา นบาท/ป
โครงการ/ป 10 12 15 20
2.2.4 จํานวนความถขี่ องขา วสารที่ไดป ระชาสัมพนั ธ ลานบาท/ป 160 180 200 220
ผลงานออกสอ่ื ตา ง ๆ ท้งั ในระดบั ชาติและ รอ ยละ/ป 180 200 220 240
นานาชาติ 20 30 40 50

2.2.5 จํานวนรายไดทไ่ี ดรับจากการขาย/เชา ผลงาน
นวัตกรรมและ/หรือสิง่ ประดิษฐ

2.3.1 จํานวนโครงการท่ตี อบสนองภาคอตุ สาหกรรมและ
ภาคธุรกิจที่สนับสนนุ โดยภาครัฐหรอื ภาคเอกชน

2.3.2 จาํ นวนเงินที่ไดจ ากโครงการวิจยั ใน
ภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกจิ

2.3.3 รอ ยละของบุคลากรสายวิชาการ นกั วิจยั
นักวทิ ยาศาสตร และวศิ วกรที่ทาํ กจิ กรรมและ/
หรอื โครงการวิจยั ทต่ี อบสนองภาคอุตสาหกรรม
และภาคธุรกิจ ทส่ี นับสนุนโดยภาครฐั หรือ
ภาคเอกชน

10

เปาประสงค ตวั ชีว้ ัดระดบั เปา ประสงค หนว ยนับ คา เปา หมายตัวชีว้ ัด
รอยละ/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
2.3 วิจยั เพอ่ื ความเปนเลศิ เพือ่ ตอบสนอง 2.3.4 รอยละของหนว ยงานภาคอุตสาหกรรมทร่ี ับรูถงึ
ความตองการของภาคอุตสาหกรรม ช่อื เสยี งเชิงอุตสาหกรรมของมหาวทิ ยาลยั 20 30 40 50
ชมุ ชน และสงั คม (ตอ )

กลยทุ ธ

1. สง เสริมทักษะและองคค วามรูของอาจารยในดานการตีพิมพผลงานทางวชิ าการและสทิ ธิบัตร
2. สง เสรมิ แรงจงู ใจของอาจารยในดา นการตีพมิ พผ ลงานทางวิชาการและสทิ ธิบตั ร
3. สง เสรมิ การเผยแพรช่ือเสียงดานงานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลยั ไปยังผทู ี่เกี่ยวของ
4. พัฒนาระบบการจัดการและบริหารภาระงานสนับสนนุ งานวิจัยและบคุ ลากรเพ่ือใหก ารวจิ ยั ดําเนนิ ไดอยา งคลองตวั มากข้นึ
5. สง เสริมการทํางานรวมกนั ของกลุมอาจารยในงานวิจัยเพ่ือสรางโอกาสในการไดรบั การคัดเลือกจากแหลง ทนุ
6. สงเสรมิ แนวทางเชงิ รกุ ในการสรางเครือขายกับภาคอตุ สาหกรรมเพ่ือตอบสนองการสรางงานวจิ ยั และนวตั กรรมที่มผี ลกระทบตอ การพัฒนาประเทศ
7. สงเสริมระเบยี บและการจัดการในการใชป ระโยชนทรัพยส ินทางปญ ญาท่ีเกิดจากงานวิจัย

11

ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 ความเปน เลิศดานบรกิ ารวชิ าการ (Academic Service Excellence)

เปาประสงค ตวั ช้วี ดั ระดบั เปาประสงค หนว ยนับ คาเปาหมายตัวชี้วัด
ลานบาท/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
3.1 พึ่งพาตนเองดว ยการหารายไดทั้ง 3.1.1 จาํ นวนรายไดจากงานบริการวชิ าการจาก
350 450 550 650

ในรปู ของคาใชจาย (In Cash) และ หนวยงานภาครฐั องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่

ในรปู มูลคา (In Kind) จากงานบริการ ชมุ ชน และสังคม

วชิ าการ 3.1.2 จาํ นวนรายไดจากงานบริการวิชาการจาก ลา นบาท/ป 70 90 110 130
รอ ยละ/ป 30 40 50 60
หนว ยงานภาคเอกชน รอยละ/ป 10 10 10 10
12 20 22 27
3.2 มีระบบนเิ วศ (Ecosystem) การ 3.2.1 รอ ยละของจาํ นวนบุคลากรท่ีมสี ว นรวมในงาน หอ ง 50 75 90 100
รอยละ/ป
บรกิ ารวชิ าการทส่ี อดคลอ งกับความ บริการวิชาการตอบุคลากรของมหาวทิ ยาลัย

ตอ งการ 3.2.2 รอ ยละของจาํ นวนหนว ยงานภายนอกที่

มหาวทิ ยาลัยใหบ รกิ ารวิชาการเพ่มิ ข้ึน

3.2.3 จํานวนหองปฏิบตั ิการและหองทดสอบท่ีได

มาตรฐานระดับชาตหิ รือนานาชาติ

3.3 เปนองคกรทม่ี ภี าพลกั ษณ (Branding) 3.3.1 รอ ยละของผลลัพธทเี่ กิดจากโครงการบริการ

ท่ีไดรบั ความเชอื่ ถือ เช่อื มั่น วิชาการท่ีมกี ารรบั รองการนําไปใชประโยชน

จากหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลยั (ไมรวมโครงการอบรม/สมั มนา/บรรยายพเิ ศษ)

12

กลยทุ ธ

1. สง เสรมิ ใหมีหนว ยงานกลางของมหาวิทยาลัยมีระบบนิเวศ (Ecosystem) ในดานการบริการวิชาการ
2. สง เสริมใหม รี ะบบฐานขอมูลความเช่ียวชาญของบุคลากรและความพรอ มดา นเคร่ืองมือ อุปกรณ สถานท่ี สําหรบั งานบรกิ ารวิชาการ
3. พัฒนาโครงสรา งการบรหิ ารบุคลากร เพ่ือรองรับการใหบริการวิชาการ
4. พฒั นาแนวปฏบิ ัติภายในของมหาวทิ ยาลัยใหเ อื้อตองานบริการวิชาการ เพื่อใหสามารถแขงขันกับหนว ยงานภายนอกได
5. สงเสรมิ ใหม ีหลักสตู รฝก อบรมท่สี ามารถเทียบโอนหนว ยกติ ไปยงั หลกั สตู รการเรยี นการสอนได
6. สรา งแบรนดทางการตลาด (Marketing Brand) และภาพลักษณองคกร (Corporate Image) สาํ หรบั ใชเ พื่อประชาสมั พนั ธงานบรกิ ารวิชาการ
7. สง เสรมิ งานบรกิ ารวิชาการสชู ุมชน สังคมเพื่อสง เสรมิ ภาพลักษณของมหาวทิ ยาลยั
8. สง เสรมิ การพัฒนาศกั ยภาพของบุคลากรเพ่ือรองรบั งานบริการวิชาการอยา งย่งั ยืนโดยการปลูกจิตสํานึกรักองคกร
9. สง เสริมใหเกิดความรว มมอื ระหวา งสวนงานและวทิ ยาเขตในการบริการวชิ าการ
10. สงเสริมแนวทางเชงิ รุกในการสรา งเครือขายกับภาครฐั ภาคเอกชน ชมุ ชน และสงั คมเพื่อตอบสนองการสรางงานบริการวชิ าการที่ยั่งยนื

นยิ ามศัพทเฉพาะ

รายไดในรูปตัวเงนิ (In Cash) หมายถึง รายไดทไี่ ดจ ากงานบริการวชิ าการทง้ั หมดในรูปตวั เงิน

รายไดท่ไี มใชต ัวเงนิ (In Kind) หมายถึง รายไดท ี่ไดจากงานบรกิ ารวิชาการท้ังหมดทีไ่ มใ ชต วั เงิน แตสามารถนาํ มาประเมนิ เทียบเคียงมูลคา เพือ่ นบั เปน รายได

ระบบนเิ วศดา นการบริการวิชาการ (Ecosystem) หมายถึง การมีทรพั ยากรตาง ๆ ทีส่ นับสนนุ งานบริการวิชาการ เพอ่ื ใหส ามารถทํางานดานบริการวชิ าการไดสะดวกและ
รวดเรว็ ข้นึ อาทิ บคุ ลากร อปุ กรณ สถานที่ และระเบียบทีเ่ อื้อตอการทาํ งาน เปนตน

13

ยทุ ธศาสตรท่ี 4 ความเปนเลศิ ดา นการจัดการ (Management Excellence)

เปา ประสงค ตวั ชวี้ ัดระดบั เปาประสงค หนวยนับ คา เปาหมายตัวชีว้ ดั
รอ ยละ/ป ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
4.1 พฒั นาบคุ ลากรใหม คี ุณลักษณะเฉพาะ 4.1.1 รอยละของบุคลากรที่ไดรบั การพฒั นาตาม
รอยละ/ป 95 100 100 100
(SMART People) สมรรถนะ รอยละ/ป
จาํ นวน 50 60 70 80
(Re-skills/Up-skills/New-skills) บริการ 100 100 100 100
ระดับ/ป 5 10 15 20
4.1.2 รอยละของบุคลากรสามารถใชภ าษาตา งประเทศ รอยละ
มาก มากทส่ี ดุ มากทส่ี ดุ มากทส่ี ดุ
ในการส่อื สารไดตามเกณฑที่กําหนด 20 50 100 100

4.1.3 รอยละของบุคลากรทสี่ ามารถใชเ ทคโนโลยีดิจิทลั

สนับสนุนการปฏิบัตงิ านไดด ระดับ)

4.2 เปน มหาวิทยาลยั ดจิ ทิ ลั 4.2.1 จํานวนบริการหรือนวตั กรรมบรกิ ารระดับ

(Digital University) มหาวิทยาลยั สําหรบั บุคลากรหรือนกั ศึกษาที่

ใหบ ริการผาน Mobile หรอื Smart device

4.2.2 ระดบั ความพงึ พอใจในการใชงานระบบสารสนเทศ

ของมหาวิทยาลยั

4.2.3 รอ ยละของสว นงานท่ีมกี ารบริการสําหรับบคุ ลากร

หรือนักศึกษาผานชองทาง Mobile หรอื Smart

device

14

เปา ประสงค ตัวช้ีวัดระดบั เปาประสงค หนว ยนบั ป 61-65 คา เปา หมายตัวช้วี ัด ป 76-80
4.2 เปนมหาวทิ ยาลัยดิจทิ ลั 60 ป 66-70 ป 71-75 100
4.2.4 รอ ยละของพน้ื ที่ของมหาวิทยาลยั ท่สี ามารถ รอ ยละ
(Digital University) (ตอ) 5 100 100 25
เชื่อมตอ กับเครือขายของมหาวทิ ยาลัยได เฉพาะ 50 100
4.3 ระบบบรหิ ารจัดการมีประสิทธภิ าพ 4 15 20 4
และรองรบั การเปลย่ี นแปลง พืน้ ทใ่ี ชสอยและจัดกจิ กรรมทางการศึกษา 60 70
50 44 80
4.2.5 จาํ นวนกระบวนการภายในของมหาวิทยาลยั ท่ีมี กระบวนการ 6 20
150 60 70 200
การเปล่ียนผานไปสรู ูปแบบดิจิทัล 10 16
200 200
4.2.6 รอยละของสวนงานท่ีมีสว นรว มในการใชระบบ รอยละ

ดิจทิ ัลกลางของมหาวิทยาลยั

4.3.1 จาํ นวนโครงการท่สี งเสริมความรูค วามเขา ใจ โครงการ/ป

เกยี่ วกบั ระเบยี บ ขอ บังคับ ประกาศทเ่ี ก่ียวของกับ

มหาวทิ ยาลัย เพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพในการ

ปฏบิ ัตงิ าน

4.3.2 รอ ยละของบุคลากรที่รบั รู และเขาใจเกี่ยวกบั ระเบยี บ รอ ยละ

ขอบงั คบั ประกาศท่ีเกี่ยวของกับมหาวิทยาลยั

4.3.3 จํานวนหนวยงานที่ไดร บั การรับรอง หนวยงาน

มาตรฐานสากล ดานการบริหารจดั การ

4.3.4 จํานวนผลงานหรือกิจกรรมของมหาวิทยาลยั ท่ี ผลงานหรือ

สรา งช่ือเสยี งและไดรบั การประชาสัมพันธจาก กจิ กรรม/ป

หนว ยงานภายนอก

15

เปาประสงค ตัวชีว้ ดั ระดบั เปา ประสงค หนว ยนับ คา เปา หมายตวั ช้ีวัด
หนวยงาน ป 61-65 ป 66-70 ป 71-75 ป 76-80
4.4 เปนมหาวทิ ยาลัยทีม่ กี ารจดั การ 4.4.1 จํานวนหนว ยงานทไ่ี ดรบั การรับรอง
สภาพแวดลอ มและส่งิ อาํ นวยความ มาตรฐานสากล ดา นการจัดการสิ่งแวดลอม - 123
สะดวกเพื่อการพฒั นาทีย่ ั่งยนื
4.4.2 จํานวนหนวยงานทไี่ ดรบั การรบั รองมาตรฐาน หนวยงาน 1 5 10 10
สาํ นกั งานสีเขียว (Green Office)
ระดบั /ป มาก มากทส่ี ดุ มากทส่ี ุด มากทีส่ ุด
4.4.3 ระดับความพงึ พอใจดานสภาพแวดลอ มและ
บรรยากาศในการทาํ งาน และความปลอดภัย

กลยุทธ

1. มงุ สูก ารรบั รองมาตรฐานสากลในระบบบรกิ าร บรหิ ารจัดการ และการจัดการสิง่ แวดลอ ม
2. สงเสรมิ บุคลากรใหมคี ณุ ธรรม จริยธรรม จติ อาสา และจิตสาํ นึกการรักองคกร

3. พฒั นาเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่ือสนับสนุนพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลัย รวมถงึ สรา งฐานขอ มูลกลาง (Big Data) เพ่อื ประกอบการตดั สินใจ
4. สงเสริมและสนับสนนุ การใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั ในการปฏิบตั ิงานอยา งตอเนื่องจนเกิดเปน วัฒนธรรม
5. สรา งเสถยี รภาพและความมน่ั คงทางการเงินการคลัง โดยอาศัยภาคอุตสาหกรรมและหนวยงานท่เี ก่ียวของเปน ฐาน และบรหิ ารสนิ ทรัพยใหค มุ คา และเกดิ ประโยชน

สงู สดุ

6. สงเสริมใหบ ุคลากรมีความรูความเขา ใจระเบียบและขอ บังคับของมหาวทิ ยาลยั
7. สรา งตนแบบการบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอมภายในมหาวิทยาลัย
8. ปรับปรุงสภาพแวดลอ มและบรรยากาศท่เี หมาะสมตอ การปฏบิ ัติงาน
9. สงเสรมิ การประชาสัมพนั ธภาพลักษณองคกรเชิงรุก
10. สรา งกลไกเพื่อเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน



ภาคผนวก



16

ความเชอ่ื มโยงระหวา งยุทธศาสตรช าติ 20 ป แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ป และแผนยุทธศาสตรม หาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนือ ระยะ 20 ป

ประเทศไทยมีความมั่นคง มง่ั ค่งั ยัง่ ยนื เปนประเทศพฒั นาแลว ดวยการพฒั นาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
    

ยทุ ธศาสตรชาติ ความมน่ั คง การสรา งความสามารถในการ การพัฒนาและเสรมิ สราง การสรางโอกาสและความ การสรา งการเตบิ โตบน การปรับสมดุลและพัฒนา
(พ.ศ. 2561 – 2580) แขง ขัน ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย เสมอภาคทางสังคม คณุ ภาพชีวติ ท่เี ปน มติ รตอ ระบบการบริหารจัดการภาครฐั

ส่งิ แวดลอ ม

อุดมศึกษาไทยเปนแหลง สรางปญญาใหสงั คม นาํ ทางไปสูการเปลี่ยนแปลง สรางนวัตกรรม ความรู งานวจิ ยั ท่เี สนอทางเลอื กและแกปญ หา เพ่อื การพฒั นาประเทศ และสรา งขีดความสามารถในการแขง ขนั
 อุดมศึกษาเปนแหลงสนับสนุน  อุดมศึกษาเปนแหลงพฒั นากําลงั คนและ  ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให
การส รางงานและนําความรูไป เสริมสรางศักยภาพท้งั ทักษะความคิดและการ เกิดประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล และมี
แกปญหาผานค วามร วม มื อ กั บ รูคิดเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศตาม ระบบการกํากับดูแลท่ีรับผิดชอบตอผล
ภาคเอกชนและทองถ่ิน ยุทธศาสตรช าติ ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ใ น
 การพัฒนาศักยภาพแล ะ คุณภาพ ทุกดาน
นักศึกษา เสริมสรางความรู และทักษะทาง  ปรับระบบโครงสรางการตรวจสอบ
แผนอุดมศึกษา อาชีพใหพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะ การจัดสรรงบประมาณ และการติดตาม
ระยะยาว 20 ป เกิดขน้ึ ในอนาคต รายงานผลที่มีประสิทธภิ าพ
(พ.ศ. 2561 – 2580)  เสริมสรา งสมรรถนะหลักของอุดมศึกษา
แผนยทุ ธศาสตร ไทยใหเปนแหลงพัฒนาตอยอดความสามารถ
มจพ. ระยะ 20 ป ในการใชความรู สรางผลงานวิจัย คนหา
(พ.ศ. 2561 – 2580) คําตอบ ท่ีจะ นําไป ใชป ระ โ ยช นในการ
แกปญหา และพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งระดับ
ทองถิน่ และระดับประเทศ
 อุดมศึกษาเปนแหลงสนับสนุนการสราง
ง า น แ ล ะ นํ า ค ว า ม รู ไ ป แ ก ป ญ ห า ผ า น ค ว า ม
รว มมอื กับภาคเอกชนและทองถนิ่

มหาวทิ ยาลัยชน้ั นาํ ดา นวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เปนทยี่ อมรบั ในระดบั นานาชาติ
 ค วามเปนเลิศดานการวิจัย  ความเปน เลศิ ดานการจัดการศึกษา  ความเปนเลิศดา นการจัดการ  ความเปนเลศิ ดานการจดั การ
ส รางส ร ร คป ระ ดิษฐ กรร ม แ ล ะ (Academic Excellence) (Management Excellence) (Management Excellence)
นวัตกรรม(Research, Invention
and Innovation Excellence)
 ค วามเปนเลิศ ดานบ ริการ
วิ ช า ก า ร ( Academic Service
Excellence)

17

กรอบในการจดั ทาํ ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนามหาวทิ ยาลยั ระยะ 20 ป

18
อธิการบดีไดมีนําเสนอกรอบในการประชุมบุคลากรของวิทยาเขตปราจีนบุรีและวิทยาเขตระยอง เพ่ือรับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพ่ิมเติม เม่ือวันท่ี 17
มิถนุ ายน 2562 ณ มจพ.วิทยาเขตปราจนี บรุ ี และวันท่ี 19 มถิ ุนายน 2562 ณ มจพ.วทิ ยาเขตระยอง
1) Academic Excellence : ความเปนเลศิ ดา นการจดั การศึกษา

19

2) Research, Invention and Innovation Excellence : ความเปน เลศิ ดา นการวจิ ัย สรางสรรคป ระดษิ ฐกรรมและนวัตกรรม

20

3) Academic Service Excellence: ความเปนเลศิ ดา นบรกิ ารวิชาการ

21

4) Management Excellence : ความเปน เลศิ ดานการจดั การ

22

ขอเสนอแนะจากผทู รงคณุ วุฒิและผูเขา รวมสัมมนา สรุปประเด็นไดดังน้ี
 แผนพัฒนาเชงิ พื้นท่ี มจพ.วิทยาเขตปราจนี บรุ ี
- ดานการซอ มบาํ รุงอากาศยาน (Aircraft Maintenance and Service)
- ดานเซรามิก (พนื้ ท่ีสาํ หรบั โรงเตาเผาเซรามิก)
 แผนพัฒนาเชิงพน้ื ท่ี มจพ.วิทยาเขตระยอง
- ดาน Bio Technology (สรางกลุม วิจัยเฉพาะทางดานเทคโนโลยชี วี ภาพ)
- ดา น Intelligence Logistic Center (สรา งศนู ยโลจิสติกสอัจฉริยะ)
 ขอเสนอแนะอืน่ ๆ
1) มหาวิทยาลัยควรปรับปรุงการบริหารจดั การใหคลองตัวดวยการนําเทคโนโลยีมาใชกับระบบงานตา ง ๆ เชน ระบบการเงิน ระบบบุคลากร ระบบที่เกี่ยวของ

กบั งานวิจัย เปน ตน เพ่อื เปนการประหยดั เวลา ลดภาระงานของบุคลากร และลดการสิ้นเปลอื งทรพั ยากร
2) มหาวิทยาลัยควรมีแนวทางการเขาสูตําแหนงทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการที่เพิ่มดานการสอน นอกเหนือจากการเขาสูตําแหนงทางวิชาการดวย

ผลงานวจิ ยั เพียงอยา งเดยี ว
3) มหาวิทยาลัยควรลดการรับนักศึกษา เพื่อใหไดนักศึกษาใหมที่มีคุณภาพมากขึ้น และควรเนนการจัดการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติในชวง 3 ภาคการศึกษา

สุดทาย ใหเขมขน มากขึน้
4) มหาวิทยาลัยควรสนับสนุนการตั้งกลุมนักวิจัยใหเปนระบบ เชน มีมาตรการกระตุนใหนักวิจัยรวมตัวกันจัดต้ังกลุมวิจัย การสนับสนุนงบประมาณใหกับ

โครงการวิจัยทเี่ กิดจากกลุม นักวจิ ัยภายในมหาวทิ ยาลัย เพอื่ ใหเกดิ ผลงานวจิ ัย และเปน ผลงานวจิ ยั ที่ดําเนนิ การแลว เสร็จตามระยะเวลาทก่ี ําหนด
5) มหาวทิ ยาลยั ตองเนน หนกั ในการประชาสมั พันธภ าพลักษณข องมหาวิทยาลยั ใหเ ปน ที่รจู กั ในวงกวา งมากขนึ้ ดวยวธิ ีการ ดงั น้ี
 สรางการรับรูและการจดจํามหาวิทยาลัยดวยการมีตราสัญลักษณ มีช่ือยอ ในรูปแบบไมเปนทางการ สามารถจดจําไดงายเพื่อใชในการประชาสัมพันธ
โดยเฉพาะ และเพ่ือใหตราสัญลักษณ ชื่อยอดังกลาวสามารถปรากฎในสินคาที่ระลึกซ่ึงเปนของใชในชีวิตประจําวันได ท้ังนี้ อาจจําเปนตองวาจาง
ภาคเอกชนทม่ี ปี ระสบการณในการออกแบบตราสนิ คาเพื่อการตลาด มากกวาการจัดประกวดเปน การภายในแลว ไมไ ดน ําผลงานเหลานัน้ มาใช
 มีบุคลากรที่ทําหนาทด่ี านการประชาสัมพันธดว ยชอ งทางอนิ เตอรเ นตโดยเฉพาะ โดยตองมคี วามสามารถในการจดั ทําสื่อผสมที่สวยงาม ทันตอเหตกุ ารณ
 มีการเก็บขอมูลผูรับบริการและกลุมบุคคลที่คาดวาจะเปนผูรับบริการจากมหาวิทยาลัยในอนาคต และนําขอมูลท่ีไดมาดําเนินการจัดทําสื่อ
ประชาสัมพนั ธทส่ี อดคลองกับพฤตกิ รรมของกลมุ เปา หมาย


Click to View FlipBook Version