The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา ฉบับปรับปรุง 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Teelek Teelek, 2020-07-08 05:18:28

คู่มือการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา ฉบับปรับปรุง 2562

คู่มือการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา ฉบับปรับปรุง 2562

1

คมู่ อื

การประเมนิ ระดบั การรูห้ นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน.

(การอ่านออกเขยี นได)้

ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2562

สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ

2

คานา

ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบานในการสง่ เสรมิ การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานเพ่ือแก้ไขปัญหาการอา่ น
ออกเขยี นได้ และเป็นพน้ื ฐานของการปฏริ ูปทุกเรื่องของกระทรวงศึกษาธิการ ดังน้ันเพื่อเปน็ การสนองนโยบาย
และตามบทบาทหนา้ ทข่ี องสานักงาน กศน. ท่ีเป็นหนว่ ยงานหนง่ึ ทีด่ าเนนิ การจดั การศึกษานอกระบบระดบั
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ที่มรี ปู แบบการจัดกิจกรรมการศกึ ษา มีกล่มุ เปา้ หมายผู้รบั บริการและวตั ถุประสงค์ของ
การเรยี นรทู้ ช่ี ดั เจน มีรปู แบบ หลกั สตู ร วธิ กี ารจดั และระยะเวลาเรยี นหรือฝกึ อบรมท่ยี ดื หยุ่น หลากหลาย
ตามสภาพความต้องการและศักยภาพในการเรยี นร้ขู องกลุ่มเป้าหมายน้นั

เพอื่ ให้การจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีประสิทธิภาพ จึงจัดประเมินระดับการ
รูห้ นังสอื ของนักศึกษา กศน.(การอ่านออกเขียนได)้ ซ่ึงเป็นตวั สะทอ้ นความสาเร็จของการจัดการศึกษาดังกล่าว
ด้านหน่ึง สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้าง
โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ดังนั้น สานักงาน กศน. จึงได้จัดทาเคร่ืองมือประเมินระดับการรู้หนังสือ
ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย และนาไปประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. อย่างต่อเน่ือง
ทุกภาคเรียน และนาผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาการอ่านและการเขียนของนักศึกษา กศน. ให้มี
ประสทิ ธิภาพตอ่ ไป

ในการนี้ ขอขอบคุณทกุ ท่านทม่ี สี ว่ นร่วมในการจัดทาคมู่ ือการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา
กศน. เล่มน้ี จนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ซ่ึงจะส่งผลต่อการส่งเสริมและการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับ
กลุ่มเปา้ หมายอยา่ งมคี ุณภาพและท่ัวถงึ ต่อไป

สานักงาน กศน.
สิงหาคม 2562

3

สารบัญ
คานา หนา้

สารบญั
คาช้แี จงการใชเ้ อกสาร

บทนา การประเมินระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้)
ความเป็นมา ........................................................................................................................ 1
วตั ถปุ ระสงค์ ....................................................................................................................... 1
กลุ่มเป้าหมาย ..................................................................................................................... 2
เครื่องมือการประเมนิ .......................................................................................................... 2
เกณฑ์การตัดสนิ ผลการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) 3
ระยะเวลาในการประเมนิ และการเข้าใช้ระบบบันทึกผลการประเมนิ ........................................ 3
นิยามศพั ท์เฉพาะ ....................................................................................................................... 3
แผนผังกระบวนการดาเนินงานการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน.
(การอ่านออกเขียนได้) ................................................................................................................ 4

ตอนที่ 2 บทบาทหนา้ ท่ีในการดาเนนิ การประเมินระดบั การรู้หนงั สอื ของนักศึกษา กศน.
(การอา่ นออกเขียนได)้ ............................................................................................................... 7

ตอนท่ี 3 การดาเนินการประเมินระดบั การร้หู นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ ................ 14
ปฏทิ ินการดาเนนิ การประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)…. 16
เกณฑ์การประเมนิ ระดับการรู้หนงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)...................... 17

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

แบบฟอร์ม
แบบนิเทศ ติดตาม การประเมนิ ระดบั การรูห้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)
ใบแทรก
คณะทางาน

1

คาช้ีแจงการใช้เอกสาร

เอกสารคู่มอื การประเมินระดับการร้หู นงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ฉบับปรบั ปรุง
พ.ศ. 2562 จัดทาขึ้น เพื่อใช้ในการประเมินระดบั การร้หู นงั สอื ของนักศึกษา กศน. ระดบั ประถมศกึ ษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ประกอบด้วย
1. กระบวนการดาเนินการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
รวมทั้งบทบาท ภารกจิ ของสานกั งาน กศน. สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. กศน.อาเภอ/เขต กศน.ตาบล/แขวง
ผทู้ าหน้าท่นี เิ ทศ และ ครู กศน.
2. แบบบันทึกผลการประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) สาหรบั
ครู กศน. กศน.ตาบล/เขต กศน.อาเภอ/เขต และสานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. และตารางประเมนิ ระดบั การรู้
หนังสอื ของนกั ศึกษา กศน. สาหรบั กรอกข้อมูลในระบบบันทกึ ผล
3. แนวทางการนิเทศ ติดตาม การประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
สาหรับศกึ ษานเิ ทศก์หรือผทู้ าหนา้ ทน่ี เิ ทศ ติดตามการดาเนินงานการประเมนิ ระดบั การรู้หนังสือของนักศกึ ษา
กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้

คาแนะนาสาหรบั สานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม.
สรุปผลการประเมนิ ระดับการรู้หนงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) จากระบบบนั ทึกผล

การประเมินระดบั การรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ส่งให้ สานกั งาน กศน.

คาแนะนาสาหรับ กศน.อาเภอ/เขต
กอ่ นดาเนนิ การประเมินระดับการรหู้ นงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ให้ กศน.อาเภอ/

เขต เตรียมการดงั นี้
1. จัดทาปฏิทนิ การดาเนนิ งานประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)
2. จาแนกระดบั นักศกึ ษา กศน. แต่ละระดบั การศึกษา
3. จัดเตรียมเครื่องมอื การประเมินระดับการรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. สาหรบั การประเมนิ แต่ละ

ภาคเรยี น พร้อมท้ังแบบบันทึกการประเมนิ
4. ประชมุ ชแ้ี จงผู้เก่ยี วขอ้ ง
5. แต่งตั้งคณะทางานการประเมินระดบั การรหู้ นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้)

และผู้ทานเิ ทศ ติดตามการประเมนิ
6. ดาเนินการติดตามการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)

ตามแผนท่กี าหนดไว้
7. สรุปผลการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) จากระบบบันทึก

ผลการประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ส่งให้ สานกั งาน กศน.จงั หวดั

2

คาแนะนาสาหรับครู กศน.
1. ศกึ ษารายละเอียดการประเมนิ ระดบั การรูห้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)

(เว็บไซต์ กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั www.nfe.go.th/pattana) โดยเฉพาะ
เคร่ืองมือการประเมินและแบบบนั ทึกการประเมนิ ใหช้ ัดเจนควบค่กู ับการประชมุ ช้ีแจง

2. ตรวจสอบความถูกต้องและจานวนของแบบประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนักศึกษา กศน.
(การอ่านออกเขียนได้) ใหต้ รงกับจานวนนกั ศึกษา กศน. ท่ีจะเขา้ รบั การประเมนิ

3. ดาเนินการประเมินระดบั การรูห้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ตามปฏิทนิ การ
ดาเนนิ งานที่ กศน.อาเภอ/เขต กาหนด (หากมีกรณีนักศึกษาประเมินไมผ่ ่านใหด้ าเนินการตามแผนผงั
กระบวนการดาเนินการประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน.)

4. บันทึกผลการประเมนิ ในแบบบันทึก (ภาคผนวก) พร้อมทงั้ กรอกข้อมลู ในระบบบันทกึ ผล
การประเมนิ ระดบั การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) และสรุปผลการประเมนิ ส่งให้
กศน.อาเภอ/เขต

1

บทนา

การประเมินระดับการรหู้ นังสือของนักศกึ ษา กศน.
(การอ่านออกเขียนได้)

ความเปน็ มา
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานกั งาน กศน.) ได้ดาเนนิ การ

ประเมินระดับการรูห้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ ารสง่ เสริม
การอา่ นและการเรียนรู้ เนอื่ งจากมคี าถามจากกระแสสังคมมากมายวา่ นักศึกษา กศน. ที่จบการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
จาก สานกั งาน กศน. อา่ นไม่ออกเขยี นไม่ไดใ้ นวชิ าภาษาไทย โดยไมต่ ้องพดู ถึงรายวชิ าอืน่ ๆ เพราะถ้าเราอ่านไม่
ออกเขียนไม่ได้ในวชิ าภาษาไทย การทีจ่ ะไปเรียนรู้ในวชิ าอ่ืนเป็นเรือ่ งทยี่ ากมากอีกทงั้ ภาษาไทยเป็นภาษาประจา
ชาตทิ ีใ่ ชใ้ นการสือ่ สาร โดยเฉพาะการอ่านและการเขยี นภาษาไทยซงึ่ เปน็ ทักษะพืน้ ฐานในการพฒั นาไปสกู่ าร
เรียนร้ใู นระดบั ทส่ี งู ขนึ้ ภายใต้สงั คมแห่งการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ท่กี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็วทงั้ ด้าน
เทคโนโลยแี ละการคิดคน้ พฒั นาองค์ความรใู้ หม่ ๆ ท่ตี ้องอาศยั การอา่ นและการเขยี น (Reading & Writing) เปน็
ทกั ษะทีจ่ าเป็นสาหรบั การเรียนรู้ เพอ่ื การดารงชีวิตท่มี ีคณุ ภาพ มีทกั ษะคิดวิเคราะห์ แยกแยะ และประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสมสอดคล้องกบั ตนเองเพือ่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ

สานกั งาน กศน. ดาเนนิ การจัดทาโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นออกเขียนได้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ใน
ระยะแรกไดน้ าเคร่ืองมือที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน (สพฐ.) ทใ่ี ช้เป็นเคร่อื งมือประเมินเพ่ือคัด
กรองนักเรียนอา่ นออกเขียนได้ต่ากว่าเกณฑ์โครงการ “พัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนภาษาไทยเพื่อเด็กไทย
อ่านออกเขยี นได้ 100 %” มาใช้ประเมินกับนกั ศกึ ษา กศน. เนอ่ื งจากเป็น การจัดการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน จากน้นั
คณะทางานจดั ทาคู่มือการประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) และขออนญุ าตใช้
เครือ่ งมอื ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (สพฐ.) พรอ้ มปรับปรงุ เพ่ือให้สอดคล้องกับนักศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 อีกทั้งแจ้งสถานศกึ ษาดาเนนิ การ
ประเมินและรายงานผลการประเมินระดับการรหู้ นังสือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ในระบบ
ออนไลน์ มีระยะทดลองเปน็ 2 ระยะ คือ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา
2560 ระยะทดลองจะดาเนินการกบั นักศึกษา กศน. ทเ่ี ปน็ กลมุ่ เปา้ หมายแตกตา่ งกัน คือ ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศกึ ษา 2559 เฉพาะนักศึกษาท่ีคาดว่าจะจบ จานวน 176,043 คน และภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560
นกั ศึกษาทลี่ งทะเบียนทุกคน จานวน 1,098,421 คน และปจั จบุ นั สานักงาน กศน. ได้พัฒนาเครอ่ื งมือการ
ประเมนิ ระดับการร้หู นงั สือของนกั ศึกษา กศน. เพอื่ ให้สอดคล้องกับบรบิ ทของ กศน. โดยนาโครงสรา้ งหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2551 สาระความรูพ้ ื้นฐาน รายวชิ าภาษาไทย มาจัดทา
กรอบโครงสร้างเนื้อหาการพัฒนาเครื่องมอื การประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสอื ด้านการอ่านและการเขียน

ดังน้ัน สานักงาน กศน. จงึ ได้ดาเนนิ การประเมินระดับการรู้หนงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออก

เขียนได)้ ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย อย่างตอ่ เน่ือง เพือ่ เป็น

การส่งเสริมการอา่ น-การเขียนภาษาไทยของนักศึกษา กศน. และนาผลการประเมินมาพฒั นาการอา่ นและเขยี น

ภาษาไทยของนักศึกษา กศน. ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป

วัตถุประสงค์

เพื่อเปน็ แนวทางในการดาเนนิ การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

2

กลมุ่ เปา้ หมาย
นักศกึ ษาหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ดังนี้

1. นักศกึ ษาใหม่ท่ีขึ้นทะเบียนและลงทะเบยี นเรยี น

2. นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ รับการประเมนิ แลว้ แต่ไม่ผา่ น

3. นักศกึ ษาทย่ี ังไม่เข้ารบั การประเมิน

เคร่อื งมอื การประเมนิ
เคร่ืองมือประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือนักศึกษา กศน. เปน็ การประเมินการอา่ นและการเขียนภาษาไทย

ทสี่ านกั งาน กศน. พัฒนาขน้ึ จากคา ประโยค บทรอ้ ยแก้ว บทรอ้ ยกรองท่เี กี่ยวข้องในชวี ิตประจาวนั ทเี่ กี่ยวข้องใน
แบบเรยี นวชิ าในหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

1. ระดับประถมศกึ ษา ประกอบดว้ ยแบบประเมินการอ่านและการเขียนท่ีเกย่ี วขอ้ งในชวี ิตประจาวนั และ
ที่เก่ียวข้องในแบบเรียนวิชาในหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศึกษา จานวน
2 ชุด คอื

ชุดท่ี 1 การอ่านภาษาไทย มีจานวน 2 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 การอ่านออกเสยี งคา ในชวี ติ ประจาวัน จานวน 20 คา
ตอนที่ 2 การอ่านนิทาน บทความ ข้อความ ประกาศ จานวน 1 เรือ่ ง ท่ีมคี วามยาวประมาณ

200 คา
ชดุ ที่ 2 การเขียนภาษาไทย มจี านวน 2 ตอน ดงั นี้
ตอนท่ี 1 การเขยี นคาจากภาพ จานวน 8 ภาพ
ตอนที่ 2 การเขียนตามคาบอก จานวน 20 คา

2. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ประกอบด้วยแบบประเมนิ การอา่ นและการเขียนคา ประโยค
บทรอ้ ยแกว้ บทรอ้ ยกรองท่ีเก่ียวขอ้ งในชวี ิตประจาวัน และท่ีเก่ียวข้องในแบบเรียนวิชาในหลกั สตู รการศึกษานอก
ระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 2 ชดุ คอื

ชดุ ท่ี 1 การอา่ นภาษาไทย มีจานวน 3 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 การอ่านคา จานวน 50 คา
ตอนที่ 2 การอ่านประโยค จานวน 10 ประโยค
ตอนท่ี 3 การอา่ นบทร้อยแก้ว ประมาณ 300 คา หรือ บทร้อยกรองจานวน 1 บท

ชดุ ท่ี 2 การเขียนภาษาไทย มจี านวน 2 ตอน
ตอนท่ี 1 การเขียนข้อความหรอื ประโยคตามคาบอก
ตอนที่ 2 การเขียนเร่ืองจากภาพ จานวน 1 เร่ือง

3. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ประกอบดว้ ยแบบประเมินการอา่ นและการเขยี นคา บทรอ้ ยแก้ว บท
รอ้ ยกรองที่เกี่ยวขอ้ งในชีวติ ประจาวัน และทเี่ ก่ยี วข้องในแบบเรียนวิชาในหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 2 ชดุ คือ

ชุดที่ 1 การอา่ นภาษาไทย มีจานวน 3 ตอน ดังน้ี
ตอนท่ี 1 การอ่านคา จานวน 50 คา
ตอนท่ี 2 การอ่านเว้นวรรคตอน คาควบกลา้ และคาท่มี ีเสียง ร ล จากบทความ

พระราชดารัส พระบรมราโชวาท ฯลฯ จานวน 1 เรอ่ื ง
ตอนท่ี 3 การอ่านจบั ใจความสาคญั จานวน 1 เร่ือง

3

ชดุ ที่ 2 การเขยี นภาษาไทย เขียนเรยี งความจากหัวเรือ่ งหรือภาพทเ่ี กย่ี วข้องกับความคดิ
สรา้ งสรรค์ จินตนาการ คุณธรรม จริยธรรม ประเพณี วฒั นธรรม การศกึ ษา จานวน 1 เร่ือง

เกณฑก์ ารตัดสนิ ผลการประเมนิ ระดับการร้หู นังสือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)
ตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ 2 ขอ้ ต่อไปน้ี

1. การอา่ นภาษาไทย ได้คะแนนรวมการอา่ น ไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 60
2. การเขียนภาษาไทย ไดค้ ะแนนรวมการเขยี น ไมต่ า่ กว่ารอ้ ยละ 60
นกั ศึกษาตอ้ งผ่านการประเมินการอา่ นและการเขียนภาษาไทย ตามเกณฑจ์ ึงจะถือว่าผา่ น
การร้หู นงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ระดับน้ัน ๆ

ระยะเวลาในการประเมนิ และการเข้าใชร้ ะบบบนั ทกึ ผล
สถานศกึ ษาสามารถประเมนิ ระดบั การรูห้ นังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) พร้อมท้ังเข้า

ใช้ระบบบันทึกผลในระยะเวลาท่ีกาหนดของแต่ละภาคเรียน ดังนี้
ระยะเวลาในการประเมนิ
ภาคเรยี นท่ี 1 ระหว่างวนั ที่ 16 พฤษภาคม –15 สิงหาคม ของทกุ ปี
ภาคเรยี นที่ 2 ระหวา่ งวนั ที่ 1 พฤศจิกายน –31 มกราคม ของทุกปี
การเข้าใชร้ ะบบบนั ทกึ ผล
ภาคเรียนที่ 1 ระหว่างวนั ที่ 16 พฤษภาคม –15 สิงหาคม ของทุกปี
ภาคเรยี นท่ี 2 ระหว่างวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน –31 มกราคม ของทกุ ปี

นิยามศัพท์เฉพาะ
การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ หมายถงึ การประเมินการรู้

ภาษาไทยด้านการอา่ นและการเขียนของนกั ศึกษา กศน. ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

การอา่ นออกเขียนได้ หมายถึง ความสามารถในการอา่ นออกและเขียนไดโ้ ดยอยา่ งน้อยจะตอ้ งอ่านและ
เขียนขอ้ ความง่ายๆ ได้ การอ่านออกเขยี นไดน้ ้ีจะเป็นภาษาใดๆ กไ็ ด้ทัง้ ส้นิ ถ้าอา่ นออกเพียงอย่างเดียวแต่เขียนไม่ได้
ถอื ว่าอ่านเขียนไมไ่ ด้

นกั ศึกษาใหม่ท่ีขึน้ ทะเบียนและลงทะเบยี นเรียน หมายถึง นกั ศึกษาใหม่ทขี่ นึ้ ทะเบียนและลงทะเบียน
เรยี นในภาคเรียนนั้น

นกั ศึกษาทเี่ ข้ารบั การประเมินแลว้ แต่ไม่ผ่าน หมายถึง นกั ศกึ ษาเก่าท่เี ข้ารับการประเมินระดับ
การรู้หนังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) แล้ว แต่ประเมิน “ไม่ผ่าน”

นกั ศึกษาท่ียังไมเ่ ข้ารบั การประเมนิ หมายถงึ นักศกึ ษาเก่าทตี่ กหล่นหรอื ที่รักษาสภาพ ท่ยี ังไม่ได้
เขา้ รับการประเมนิ ระดบั การร้หู นงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ทล่ี งทะเบยี นเรยี นในภาคเรียน
ปจั จบุ ันตอ้ งเข้ารับการประเมินทกุ คน

4

แผนผงั กระบวนการดาเนินการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)

รบั สมคั รนักศึกษา

ลงทะเบียนเรียน

ประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือ
ของนกั ศึกษา กศน.(การอ่านออกเขียนได้)

ผลการ ไมผ่ า่ น
ประเมนิ
พฒั นาการอ่านและเขยี น
ผา่ น ควบคู่กบั การจัดการเรยี นรู้

ประเมินระดบั การรหู้ นงั สอื ของนกั ศกึ ษา
กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ประเมินซ้า

ผลการ ไม่ผา่ น
ประเมิน

ผ่าน

รายงาน

5

จากแผนผังกระบวนการดาเนนิ การประเมนิ ระดบั การรูห้ นังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน.
(การอ่านออกเขียนได้) สรุปไดด้ งั น้ี

1. รับสมัครนักศกึ ษาใหม่ สถานศกึ ษาดาเนนิ การรับสมัครตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
2. ลงทะเบยี นเรยี น นกั ศึกษาลงทะเบียนเรยี นในแตล่ ะภาคเรียน โดยครู กศน. ตอ้ งตรวจสอบจานวน
นักศึกษาท่ีต้องเข้ารบั การประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) แต่ละระดบั
การศึกษา พร้อมจัดเตรยี มแบบประเมินการรูห้ นังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ตามจานวน
นักศึกษาแตล่ ะระดบั การศึกษา
3. ประเมินระดับการรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ครู กศน. ดาเนนิ การประเมนิ
ระดบั การรู้หนงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) นกั ศึกษาทกุ คน ทุกระดับการศกึ ษา ตามความ
พรอ้ มของนักศกึ ษา กศน. และสถานศึกษา โดยใช้แบบประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศกึ ษา กศน.(การอ่าน
ออกเขยี นได้) ท้ังนตี้ ้องอยู่ในชว่ งระยะเวลาที่ สานกั งาน กศน. กาหนด ดงั นี้

ภาคเรียนท่ี 1 ระหว่างวันท่ี 16 พฤษภาคม – 15 สิงหาคม ของทุกปี
ภาคเรยี นท่ี 2 ระหว่างวนั ที่ 1 พฤศจิกายน – 31 มกราคม ของทุกปี
4. ผลการประเมิน ครู กศน. แจ้งผลการประเมินให้กับนักศึกษาที่เข้ารับการประเมินทราบ พร้อมทั้ง
บนั ทกึ ผลผูท้ ่ีประเมนิ “ผา่ น” และ “ไม่ผา่ น” เพอ่ื เสนอผู้อานวยการ กศน.อาเภอ/เขต

4.1 นักศึกษาท่ีประเมิน “ผ่าน” นักศึกษาท่ีประเมินผ่านการประเมินระดับการรู้หนังสือของ
นักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) แล้ว ไม่ต้องประเมินซ้าอีก โดย ครู กศน. จะต้องเข้าระบบบันทึกผลการ
ประเมินระดบั การรู้หนังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) การเขา้ ใช้ระบบบันทกึ ผลใน
ภาคเรียนที่ 1 ระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม – 15 สิงหาคม และภาคเรียนที่ 2 ระหว่างวันท่ี 1 พฤศจิกายน –
31 มกราคม ของทุกปี

4.2 นักศกึ ษาทปี่ ระเมนิ “ไม่ผ่าน” นักศึกษาทป่ี ระเมนิ ไมผ่ ่าน ครู กศน. ต้องดาเนินการดังนี้
4.2.1 พัฒนาการอ่านและการเขียนภาษาไทย ให้กับนักศึกษาท่ีประเมินไม่ผ่านการ

ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ในระหว่างการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม
รายวชิ าทน่ี ักศึกษาลงทะเบียนเรยี นในภาคเรยี นน้ัน ๆ

4.2.2 ประเมินระดบั การรู้หนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ซา้
ตามความพรอ้ มของนกั ศึกษา กศน. และสถานศึกษา

4.2.3 แจ้งผลการประเมินให้กับนักศึกษาท่ีเข้ารับการประเมินซ้า พร้อมท้ังบันทึกผล
นักศึกษาทป่ี ระเมินผ่านและไม่ผ่าน ท้ังนี้ ผู้ที่ผ่านการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ในคร้ังน้ีแล้ว
ไม่ต้องประเมินซ้าอีก สาหรับนักศึกษาท่ีประเมินไม่ผ่าน ครู กศน. จะต้องดาเนินการพัฒนาและประเมินใหม่ใน
ภาคเรยี นถดั ไป

5. ครู กศน. รวบรวมจานวนนักศึกษาท่ีประเมิน “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” การประเมินระดับการรู้หนังสือ
ของนกั ศกึ ษา กศน. แต่ละระดบั ในแต่ละภาคเรียน เสนอผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอ/เขต ทราบ แล้วดาเนินการเข้า
ใช้ระบบบันทกึ ผลการประเมนิ ระดับการร้หู นังสือของนักศึกษา กศน.

ท้ังน้ี ในภาคเรียนท่ี 1 ให้แล้วเสร็จภายในวันท่ี 15 สิงหาคม ของทุกปี และ ภาคเรียนท่ี 2 ให้แล้วเสร็จ
ภายในวันท่ี 31 มกราคม ของทกุ ปี

6. กศน.อาเภอ/เขต สรุปผลการประเมนิ ระดับการรูห้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ในแต่ละภาคเรยี น ตาม
แบบฟอรม์ (ภาคผนวก) ส่งให้ สานักงาน กศน. จงั หวดั /กทม.

6

7. สานักงาน กศน.จงั หวัด/กทม. สรปุ ผลการประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สอื ของนักศึกษา กศน.
(การอา่ นออกเขยี นได)้ ในแต่ละภาคเรยี น ตามแบบฟอรม์ (ภาคผนวก) สง่ ให้ สานักงาน กศน.

8. สานกั งาน กศน. รายงานผลการประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
ต่อสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

7

ตอนที่ 2

บทบาทหน้าที่การดาเนนิ การ
ประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)

การดาเนินการประเมนิ ระดับการรูห้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) ไดก้ าหนดบทบาท
หน้าทีห่ นว่ ยงานในสังกัดสานักงาน กศน. เพื่อให้สามารถดาเนินการได้อยา่ งถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสทิ ธภิ าพ
ดังนี้

บทบาทหนา้ ท่ีของผู้ทีเ่ กี่ยวข้องในการประเมินระดับการรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)
1. สานกั งาน กศน.

สานักงาน กศน.

จัดทาเอกสารคูม่ ือการประเมิน ออกแบบระบบการจดั เกบ็ และ ติดตาม และนาผลมาพัฒนา
ระดบั การรูห้ นงั สือของ นักศกึ ษา ประมวลผลข้อมูล ระบบการประเมิน

กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) กลุม่ แผนงาน กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัยและ
กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและ และกลุม่ แผนงาน
การศกึ ษาตามอัธยาศัย

บทบาทหนา้ ที่
1. ศกึ ษา วิเคราะห์ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
2. แต่งต้ังคณะทางานการประเมนิ ระดบั การร้หู นังสือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
3. พัฒนาคมู่ ือและเครื่องมือการประเมินระดบั การรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)

สานกั งาน กศน. ดาเนินการตามข้นั ตอน ดงั น้ี
3.1 วิเคราะหโ์ ครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

สาระความรู้พน้ื ฐาน รายวิชาภาษาไทย

3.2 นาเนือ้ หาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับ

ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย มาจัดทากรอบเนื้อหาดา้ นการอ่านและการเขยี น

พรอ้ มทั้งพฒั นาเคร่ืองมือการประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน.

8

กรอบโครงสรา้ งเนื้อหาการพัฒนาเครอื่ งมอื การประเมนิ ระดบั การร้หู นังสือของนกั ศึกษา กศน.

การอ่าน

ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย

1. การอา่ นออกเสียงคา 1. การอ่านคา 1. การอ่านคา
- การอา่ นออกเสียงคา 1- 3 - การอา่ นออกเสียงคาต้ังแต่ - การอ่านออกเสยี งคาตั้งแต่

พยางค์ 2 พยางค์ ข้ึนไป 2 พยางค์ ขึน้ ไป

2. การอา่ นนิทาน บทความ 2. การอา่ นประโยคทมี่ ีคาอยู่ในขอ้ 1 2. การอ่านออกเสียงข้อความ
ข้อความ ประกาศ
- การอ่านนิทานอีสป จานวน 10 ประโยคทีส่ อดคล้องกับ - การแบ่งวรรคตอน

วถิ ีชีวติ ประจาวนั - การอ่านออกเสยี งคาควบกล้า

- คาทอ่ี อกเสยี ง ร ล

3. การอา่ นบทร้อยแก้วหรือร้อยกรอง 3. การอ่านจบั ใจความสาคญั

- การอ่านบทร้อยแก้วท่ีเก่ียวข้อง - การอ่านบทความ พระราช
กบั ชีวิตประจาวนั ดารัสพระบรมราโชวาท ฯลฯ

- การอา่ นร้อยกรองจากวรรณคดี

วรรณกรรม

การเขียน

ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
1. การเขยี นเร่อื งจากภาพท่ีกาหนด
1. การเขยี นคาจากภาพ 1. การเขียนข้อความหรือประโยค
2. การเขยี นเรยี งความจากหัวขอ้ ท่ี
- เปน็ ภาพในชีวิตประจาวนั เชน่ ตามคาบอก กาหนด โดยคานงึ ถึงความคดิ
ที่อยู่อาศัย สัตว์ ผลไม้ ผัก ฯลฯ - การเขียนข้อความหรือประโยค สรา้ งสรรค์ จินตนาการ คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม ประเพณี วฒั นธรรม
2. การเขียนตามคาบอก 2. การเขียนเรอ่ื งจากภาพ การศกึ ษา ตามรูปแบบและมเี กณฑ์
- การเขยี นคา 1 - 3 พยางค์ - เขียนเร่ืองจากภาพ เช่น การ ทก่ี าหนด ดังน้ี
ประกอบอาชีพ อาหารการกิน
- ชือ่ เรื่อง คานา เน้ือหา บทสรุป
ส่งิ แวดล้อม ฯลฯ จานวน 1 - เน้อื หาสอดคล้องกับเรอ่ื งทีเ่ ขียน
ภาพ พรอ้ มต้ังชอ่ื เรื่อง - มีความเชอ่ื มโยงระหว่างคานา
สอดแทรกคติ แสดงความ
เนื้อเรื่องและบทสรปุ
คดิ เหน็ ที่ประโยชน์ - ใช้ภาษาได้กระชับ สละสลวย

สือ่ ความหมายไดด้ ี
- มกี ารสอดแทรกคติ หรือ

ข้อคิดเหน็ ที่เปน็ ประโยชน์
3. การเขียนสรปุ ใจความสาคัญ

จากบทความท่กี าหนด

9

3.3 สานกั งาน กศน. ดาเนนิ การกาหนดเกณฑ์การประเมินและพฒั นาเคร่ืองมือการประเมินระดบั
การรู้หนงั สอื ของนักศึกษา กศน. ใหส้ อดคล้องกับเนื้อหาของหลักสูตร บรบิ ทของชมุ ชน และนกั ศึกษา กศน

3.4 นาเครอ่ื งมอื การประเมนิ ระดบั การร้หู นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ให้สถานศึกษานาไปใช้ในการ
ประเมนิ ระดบั การรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ในทุกภาคเรยี น

4. พฒั นาโปรแกรมและจดั ทาฐานขอ้ มลู การประเมนิ ระดบั การร้หู นงั สอื ของนักศกึ ษา กศน.
(การอ่านออกเขียนได้)

5. แจ้งสานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. ดาเนนิ การ
6. ตดิ ตามผลการดาเนินงาน เพื่อนาผลมาพฒั นาระบบการประเมนิ
7. จดั ทารายงานผลการประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
เสนอสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

10

2. สานักงาน กศน. จงั หวดั /กทม.

สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม.

แตง่ ต้งั คณะทางานการ ชแี้ จงคณะทางานฯ นิเทศ และตดิ ตาม รายงานผลการประเมนิ
ประเมนิ ระดบั การรหู้ นงั สือ

บทบาทหนา้ ที่
1. ศึกษาแนวคิด กระบวนการดาเนินงาน บทบาทหน้าท่ี วิธกี าร และเครื่องมือประเมินระดับ

การรูห้ นงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ใหช้ ดั เจน
2. แต่งต้ังคณะทางานการประเมนิ ระดบั การรู้หนังสือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)

ประกอบดว้ ย
2.1 ผู้อานวยการสานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. เปน็ ประธาน
2.2 ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอ/เขต ทุกอาเภอ/เขต เป็น กรรมการ
2.3 ศึกษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. ทุกคน หรอื เจ้าหนา้ ที่ท่ีรบั ผดิ ชอบงานนเิ ทศ

เปน็ กรรมการ
2.4 เจ้าหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย เปน็ เลขานุการ

3. ชแี้ จงการดาเนินงานประเมินระดบั การร้หู นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ให้กับ
คณะทางานการประเมนิ ระดับการรูห้ นังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)

4. นิเทศ ติดตามการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
ของกศน.อาเภอ/เขตในจังหวัด/กทม. ใหด้ าเนนิ งานอย่างมปี ระสิทธิภาพและร่วมพัฒนานักศึกษา กรณีนักศึกษา
ประเมินไม่ผ่าน

5. รวบรวมขอ้ มลู ผลการประเมนิ ของแตล่ ะ กศน.อาเภอ/เขต เพ่ือสรุปข้อมลู เปน็ ระดบั จังหวดั /กทม.
และรายงานผลการประเมนิ ระดบั การรูห้ นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) เสนอตอ่
สานักงาน กศน.

11

3. ผูท้ าหน้าที่นิเทศ
ผู้ทาหน้าที่นิเทศ หมายถึง ผู้บริหารสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ผู้อานวยการกศน.อาเภอ/เขต

ศึกษานเิ ทศก์ และผู้ที่ไดร้ บั การแต่งตั้งให้ทาหนา้ ท่ีนิเทศของสานักงาน กศน.จงั หวัด/กทม. หรอื กศน.อาเภอ/เขต

บทบาทของผู้ทาหน้าทนี่ ิเทศการประเมินระดบั การรหู้ นงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
มบี ทบาทหน้าที่ ดังน้ี

การนเิ ทศ ติดตาม

ศึกษาทาความเขา้ ใจ แผนปฏิบัตกิ ารเพอื่ นิเทศ และติดตาม รวบรวมข้อมลู
ปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศ ติดตาม พร้อมเสนอแนะ และสรปุ รายงาน

บทบาทหน้าท่ี
1. ศกึ ษาทาความเขา้ ใจแนวทางการดาเนนิ งานตามค่มู ือการประเมินระดบั การรหู้ นงั สือของนักศกึ ษา

กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)
2. จดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารเพ่ือปฏิบัติการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสอื

ของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ร่วมกับ กศน.อาเภอ/เขต และหรือ สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม.
3. จัดทาเครอ่ื งมือการนเิ ทศ ตดิ ตาม เพื่อรวบรวมข้อมลู ข้อเทจ็ จรงิ ในการประเมินตามแบบ

ที่กาหนด
4. นเิ ทศ และติดตาม พร้อมข้อเสนอแนะการประเมินระดับการรหู้ นังสอื ของนักศึกษา กศน.

(การอ่านออกเขียนได้) เชน่ การเยยี่ มช้ันเรียน Coaching การแนะนา การช้แี นะ และการใหค้ าปรกึ ษาเพ่ือ
การพฒั นาแก่ กศน.อาเภอ/เขต สานักงาน กศน.จงั หวดั /กทม. และสานกั งาน กศน.

5. นเิ ทศ ติดตาม การประเมนิ ระดับการรู้หนงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. ภาคเรยี นละอยา่ งน้อย 1 ครั้ง
พร้อมรายงานปัญหา อปุ สรรค และเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข

6. รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลระดบั การรู้หนังสอื ของนกั ศึกษา กศน.
(การอ่านออกเขยี นได้) ตอ่ กศน.อาเภอ/เขต สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม.

12

4. กศน.อาเภอ/เขต

กศน.อาเภอ/เขต

ผอ.กศน.อาเภอ/เขต

ตรวจสอบเครื่องมือและ ช้ีแจงการประเมิน
วธิ ีการประเมิน เจ้าหน้าทแี ละครู
เจา้ หน้าทีและครู

ประชาสมั พันธก์ ารประเมินระดับ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูล นเิ ทศ ติดตาม และแก้ไขปัญหา รวบรวมข้อมลู จัดเกบ็ เอกสารและ
การร้หู นังสอื ของนักศึกษา กศน. นกั ศกึ ษา กศน. กรณนี ักศึกษาประเมินไมผ่ า่ น รายงานสานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม.
คณะกรรมการและเจา้ หนา้ ท่ี
(การอ่านออกเขยี นได้) คณะกรรมการและเจา้ หนา้ ที่ คณะกรรมการและเจ้าหนา้ ที่
เจา้ หน้าทแี ละครู

บทบาทหน้าที่
นานโยบายสกู่ ารปฏิบัตโิ ดยดาเนนิ การตามค่มู ือการประเมนิ ระดบั การรูห้ นังสือของนักศกึ ษา กศน.

(การอ่านออกเขียนได้) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562 รว่ มกับสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ดังนี้
1. ศกึ ษาแนวคิด กรอบการทางาน และวิธีการตามคู่มือการดาเนินงานใหช้ ัดเจน
2. ประชมุ ช้ีแจงรายละเอยี ดการประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้)

โดยเน้นใหด้ าเนนิ การประเมินระดบั การรูห้ นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ใหแ้ ลว้ เสร็จตาม
ระยะเวลาท่ีกาหนด

3. ตรวจสอบความถกู ต้องของฐานข้อมลู นักศึกษา กศน.ในภาคเรยี นทจี่ ะดาเนนิ การประเมินรว่ มกบั
กศน.ตาบล/แขวง โดยพิมพฐ์ านข้อมูลจาแนกราย กศน.ตาบล/แขวง เพ่ือใชป้ ระกอบในประเมินระดบั
การรหู้ นังสอื ของนักศึกษา กศน. ครัง้ นี้

4. ประชาสมั พนั ธ์การประเมินระดับการรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
กับนกั ศึกษา กศน.

5. จัดเตรียมพร้อมสาเนาคู่มือการประเมินระดับการรูห้ นังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2562 และเครื่องมือการประเมินระดับการรู้หนังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้)
มอบแก่ กศน.ตาบล/แขวง ดาเนินการประเมินร่วมกับ กศน. ตาบล/แขวง และคณะกรรมการทีเ่ ก่ียวข้อง

6. รวบรวมสรุปผลการประเมนิ แต่ละ กศน.ตาบล/แขวง ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมูล เพอื่ บันทึก
ขอ้ มูลในระบบฐานข้อมลู

7. นเิ ทศ ติดตามและรว่ มพฒั นานกั ศกึ ษา กรณนี กั ศึกษาประเมนิ ไม่ผ่าน
8. รวบรวมสรปุ ผลการประเมินแต่ละกศน.ตาบล/แขวง เพ่ือสรปุ ข้อมลู เป็นระดบั กศน.อาเภอ/เขต
และรายงานสานักงาน กศน. จงั หวัด/กทม.
9. จดั เกบ็ เอกสารการประเมินอยา่ งเป็นระบบตามระเบียบของทางราชการ

13

5. กศน.ตาบล/แขวง

กศน.ตาบล/แขวง
เจา้ หนา้ ที่และครู กศน.

ศึกษา ทาความเข้าใจและ ตรวจสอบและจัดเตรียม
วิธีการการประเมนิ เครื่องมือประเมนิ
เจา้ หน้าที่และครู กศน. เจา้ หน้าทแี่ ละครู กศน.

ชี้แจงการประเมนิ ระดบั การรู้ ดาเนินการประเมิน ส่งเสริม พัฒนาและแก้ไขกรณี รวบรวมขอ้ มูลและรายงานการ
หนงั สือของนักศึกษา กศน. (กรณีประเมนิ ผ่านถอื วา่ สน้ิ สดุ นกั ศกึ ษาประเมินไมผ่ ่าน ประเมิน กศน.อาเภอ/เขต
เจ้าหน้าที่และครู กศน.
(การอ่านออกเขียนได้) ไม่ต้องประเมนิ รอบต่อไป) เจา้ หน้าท่ีและครู กศน.
เจา้ หนา้ ทแี่ ละครู กศน. เจา้ หนา้ ท่ีและครู กศน.

ตดั สนิ ผลการประเมนิ รวบรวมและกรอกขอ้ มลู ตาม
เจา้ หนา้ ทแี่ ละครู กศน. แบบฟอรม์ และบนั ทกึ ผลในระบบ

เจ้าหนา้ ที่และครู กศน.

บทบาทหน้าท่ี
1. ศึกษาทาความเขา้ ใจ แนวทาง กระบวนการ และสารวจจานวนนกั ศกึ ษาในภาคเรียนน้ัน และ

ดาเนินการตามค่มู ือการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2562

2. ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มูลจานวนนกั ศึกษาในภาคเรียนท่จี ะดาเนนิ การประเมินรว่ มกบั
กศน.อาเภอ/เขต และจดั เตรียมขอ้ มูลทเ่ี กีย่ วข้องกับการประเมิน

3. ตรวจสอบและจาแนกระดับการศกึ ษาของนักศึกษา กศน. ของ กศน.ตาบล/แขวงทรี่ ับผิดชอบ
ระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

4. ชี้แจงรายละเอียดการประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้)
ใหน้ กั ศึกษา กศน.

5. แจ้งผรู้ บั การประเมนิ เข้ารับการประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
6. ตัดสนิ ผลการประเมนิ รวบรวม และกรอกข้อมูลในตารางการประเมนิ และจัดส่งให้ กศน.อาเภอ/เขต
7. ส่งเสริม สนบั สนนุ และพฒั นานักศกึ ษา กรณนี กั ศึกษาประเมิน ไมผ่ ่าน
8. ดาเนินการประเมินระดับการรูห้ นังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ในรอบตอ่ ไป
9. ตดั สินผลการประเมนิ รวบรวม และกรอกข้อมูลในตารางการประเมิน ในรอบต่อไป และจดั สง่ ให้
กศน.อาเภอ/เขต
10.รวบรวมขอ้ มูลพร้อมทงั้ เอกสารการประเมิน ในระดบั ตาบล/แขวง เพอื่ นาส่ง กศน.อาเภอ/เขต
กรณที ี่มีข้อสงสยั หรือขอคาปรึกษา ให้ขอคาแนะนาจากผบู้ ริหาร กศน.อาเภอ/เขต ศึกษานเิ ทศกจ์ ังหวัด

เจ้าหน้าท่ดี ูแลระบบ ICT

14

ตอนที่ 3

การดาเนนิ การประเมินระดับการรู้หนังสอื ของนกั ศึกษา กศน.
(การอ่านออกเขียนได้)

การดาเนนิ การประเมินระดบั การร้หู นังสือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) ของสานักงาน
กศน. มวี ธิ ดี าเนนิ การ ดงั น้ี

1. กศน.ตาบล/แขวง รว่ มกับ กศน.อาเภอ/เขต ตรวจสอบฐานข้อมลู ของนักศึกษา กศน.ในโปรแกรม
ทะเบียนนักศึกษา (ITWs) ในต้นภาคเรยี นทจี่ ะดาเนนิ การประเมนิ จาแนกเปน็ ระดับการศกึ ษา คอื ระดบั
ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

2. กศน.อาเภอ/เขต จัดเตรียมเอกสารทเ่ี กยี่ วข้องโดยเฉพาะการจดั ทาเคร่ืองมือประเมินระดบั การรู้
หนังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ท่เี หมาะสมกบั ผู้เข้ารบั การประเมิน เช่น ความครบถ้วน
ของเคร่ืองมอื ขนาดตัวอักษร เปน็ ต้น

3. กศน.ตาบล/แขวง แจ้งผู้เข้ารับการประเมนิ
4. ครู กศน. ดาเนินการประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
ตามเคร่ืองมือประเมนิ ท่ีสานักงาน กศน.พัฒนา โดยสามารถดาวน์โหลดได้ท่ีเวบ็ ไซต์ ของกลุ่มพฒั นาการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (www.nfe.go.th/pattana) ในหัวข้อ “คูม่ ือการประเมนิ ระดบั การรู้
หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2562” และตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์
ท่ีกาหนดไว้ตามคู่มอื ฉบับนี้

4.1 กรณที ่ีนักศกึ ษาประเมิน “ผา่ น” ใหค้ รู กศน. สรุปผลการประเมนิ ตามแบบฟอร์มใน
ภาคผนวกเพื่อเสนอต่อผู้อานวยการ กศน.อาเภอ/เขต พร้อมท้ังบันทึกผลการประเมนิ ในระบบบันทึกผลการ
ประเมินระดบั การรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)

4.2 สาหรับนกั ศกึ ษาทป่ี ระเมิน “ไมผ่ า่ น” ครู กศน. ต้องดาเนินการดังนี้
4.2.1 พฒั นาการอา่ นและการเขยี นภาษาไทยใหก้ บั นักศึกษาทป่ี ระเมินไมผ่ ่านการ

ประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ในระหว่างการจัดกระบวนการเรียนรู้
ตามรายวิชาทีน่ ักศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคเรยี นนน้ั ๆ เชน่ สอนเสริม แบบฝกึ เขยี น แบบฝึกอ่าน เปน็ ต้น

4.2.2 ดาเนินการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)
ซา้ ตามความพรอ้ มของนกั ศกึ ษา กศน.

4.2.3 แจง้ ผลการประเมินให้กับนกั ศึกษาท่ีเข้ารบั การประเมินซ้า พร้อมท้งั บนั ทกึ ผล
นักศกึ ษาทปี่ ระเมินผา่ นและไม่ผ่าน ท้ังนี้ นกั ศึกษาทป่ี ระเมินผา่ นการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนักศกึ ษา
กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ในครั้งนแี้ ลว้ ไมต่ ้องประเมนิ ซา้ อีก สาหรบั ผูท้ ี่ประเมนิ ไม่ผ่าน
ครู กศน. จะต้องดาเนนิ การประเมินใหม่ในภาคเรยี นถัดไป

5. ครู กศน. ดาเนินการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. ทกุ คน ทกุ ระดับการศึกษา
ตามความพรอ้ มของนักศกึ ษา กศน. และสถานศกึ ษา โดยใชแ้ บบประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสือของนักศกึ ษา
กศน.ทงั้ น้ีต้องอยใู่ นชว่ งระยะเวลาท่ี สานกั งาน กศน. กาหนด ดงั น้ี

ภาคเรยี นท่ี 1 ระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม – 15 สิงหาคม ของทกุ ปี
ภาคเรยี นท่ี 2 ระหวา่ งวันที่ 1 พฤศจิกายน –31 มกราคม ของทกุ ปี

15

ท้งั นี้ การประเมนิ ระดบั การร้หู นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) เปดิ ภาคเรยี น หากผรู้ ับ
การประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับการรู้หนังสือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) ไมต่ ้อง
ประเมนิ ในรอบต่อไป ใหถ้ ือว่าสน้ิ สุด กรณีประเมินไมผ่ ่าน ให้ครูกศน. ดาเนนิ การพฒั นาผ้รู บั การประเมนิ
และเขา้ รับการประเมินอกี ครั้งกอ่ นปดิ ภาคเรียนเพอ่ื ตดั สินผลการประเมนิ ตอ่ ไป

6. กศน. ตาบล/แขวง รวบรวมขอ้ มลู พร้อมทั้งเอกสารการประเมนิ ในระดบั ตาบล/แขวง นาสง่
กศน. อาเภอ/เขต เพือ่ เกบ็ ไว้ใชเ้ ปน็ หลกั ฐาน

7. กรณีทม่ี ีขอ้ สงสัยหรอื ขอคาปรึกษาเพ่มิ เติม ใหข้ อคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ดูแลระบบและ
ผูร้ บั ผิดชอบการเกบ็ ขอ้ มลู ของสานักงาน กศน. จงั หวัด/กทม. ผู้บริหาร กศน.อาเภอ/เขต/ศึกษานิเทศกจ์ งั หวดั /
เจา้ หน้าที่ดแู ลระบบ ICT ของสานกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม.

ปฏทิ ินการดาเนนิ การประเมนิ ระดบั การรหู้ นังส

ในการดาเนินงานสถานศึกษาตอ้ งดาเนินการตามปฏิทนิ การดาเนนิ การประเม
การเปิด-ปดิ ในแต่ละภาคเรียน

ภาคเรียน พฤษภาคม มถิ นุ ายน กรกฎาคม สงิ หาคม
ภาคเรยี นท่ี 1 ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน.
(การอ่านออกเขยี นได้)
และเข้าใชร้ ะบบบันทึกผลการประเมนิ
16 พฤษภาคม - 15 สิงหาคม
(กรณผี ่านและไม่ผ่านการประเมิน
ใหบ้ ันทกึ ผลการประเมนิ ในระบบ)
กรณนี กั ศกึ ษาประเมนิ ไม่ผา่ น
ดาเนินการพฒั นาการอา่ นและการเขียนภาษาไทย
16 มิถุนายน - 15 สิงหาคม

16

สอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้)

มินระดบั การรู้หนังสือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั

ภาคเรียน พฤศจิกายน ธนั วาคม มกราคม กุมภาพันธ์
ภาคเรียนที่ 2 ประเมนิ ระดบั การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน.

(การอ่านออกเขยี นได้)
และเขา้ ใชร้ ะบบบันทึกผลการประเมิน

1 พฤศจิกายน – 31 มกราคม
(กรณีผา่ นและไม่ผา่ นการประเมิน
ใหบ้ ันทกึ ผลการประเมนิ ในระบบ)

กรณนี ักศกึ ษาประเมินไม่ผ่าน
ดาเนินการพฒั นาการอา่ นและการเขยี นภาษาไทย

1 พฤศจิกายน – 31 มกราคม

17

เกณฑก์ ารประเมินระดับการรหู้ นังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
ในการประเมนิ การอา่ นและเขียนภาษาไทยของนักศึกษา กศน. พิจารณาจากแบบประเมินของแต่ละระดบั

การศกึ ษา ดงั นี้
ตอนที่ 1 การอา่ น
การอา่ นออกเสียงเปน็ คา วลี และประโยค การอ่านออกเสยี งเปน็ ข้อความ มเี กณฑ์การให้คะแนนดังนี้

ชว่ งคะแนน การอ่าน

80 - 100 คะแนน การแปลผลคุณภาพ
60 – 79 คะแนน
40 – 59 คะแนน อา่ นได้ดมี ากและอ่านคล่อง
20 – 39 คะแนน อา่ นได้ดี
0 – 19 คะแนน อ่านได้แตไ่ ม่คล่อง
อ่านพอได้
อ่านไม่ได้

ตอนท่ี 2 การเขียน
การเขียนคาตามคาบอก การเขยี นคาจากคาอา่ น การเขยี นประโยคอยา่ งงา่ ย ซับซ้อน การเขียนเรอื่ ง
จากภาพ การเขียนเลา่ เร่อื ง หรอื การเขียนแสดงความคดิ เห็น เกณฑ์การให้คะแนน มีดังนี้

ชว่ งคะแนน การเขยี น

80 - 100 คะแนน การแปลผลคุณภาพ
60 – 79 คะแนน
40 – 59 คะแนน เขียนได้ดีมากและเขยี นคล่อง
20 – 39 คะแนน เขยี นไดด้ ี
0 – 19 คะแนน เขียนไดแ้ ตไ่ ม่คลอ่ ง
เขยี นพอได้
เขียนไม่ได้

18

บรรณานกุ รม

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.34. 2559. สบื คน้ จาก
http://www.supervisory34.net/ (ออนไลน)์ วนั ที่ 24 พฤศจิกายน 2559.

สานักงาน กศน. 2560. รายงานการดาเนนิ งานการประเมนิ ระดับการรูห้ นังสอื ของนักศึกษา กศน. ,เอกสาร
อัดสาเนา.

สานกั งาน กศน. 2559. ค่มู ือการประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนักศกึ ษา กศน., เอกสารอดั สาเนา.
สานกั งาน กศน. 2556. ค่มู อื การสารวจการรหู้ นังสอื และความต้องการทางการศกึ ษา/กิจกรรมการเรียนรขู้ อง

ประชาชนและระดับการประเมินระดับการร้หู นงั สือของประชาชนไทยวัยแรงงาน. เอกสาร
อดั สาเนา.
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 2. (มปป). เครอ่ื งมือเพอื่ คัดกรองนักศกึ ษาอ่านออกเขยี น
ไดต้ ่ากวา่ เกณฑ์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2,3. เอกสารอดั สาเนา.
สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 1. (24 พฤศจิกายน 2559). เครอื่ งมอื ประเมนิ การอา่ น
เขียนภาษาไทย. สบื คน้ จาก (ออนไลน)์
http://182.93.222.52/chiangrai1/supervisor/index.php?action=showeloader.
สานกั งานสถิตแิ ห่งชาติ (24 กรกฎาคม 2562). สืบคน้ จาก (ออนไลน์). การอา่ นออกเขียนได.้
http://statstd.nso.go.th/definition/projectdetail.aspx?periodId=45&defprodefId=540

19

ภาคผนวก

แบบฟอร์ม

แบบบันทกึ คะแนนการประเมินระดับการรู้หนังสือของน
ระดบั ..................

กศน.ตาบล..............................................อาเภอ..............................................

ท่ี รหสั ประจาตัว ช่ือ -นามสกุล อายุ อาชพี ตอนท่ี 1
นกั ศกึ ษา (คะแนนเต็ม)

สรุปผลการประเมนิ

อา่ นได้ดมี ากและอา่ นคล่อง จานวน..... คน

อา่ นได้ดี จานวน..... คน

อ่านได้แต่ไมค่ ล่อง จานวน..... คน

อา่ นพอได้ จานวน..... คน

อา่ นไมไ่ ด้ จานวน.... คน

20

นักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) สาหรบั การอา่ น
...........................
..จงั หวดั ................................................ผปู้ ระเมนิ ............................................

ตอนที่ 2 ตอนที่ 3 รวมคะแนน ผลการ วัน เดือน ปี หมายเหตุ
(คะแนนเต็ม) (คะแนนเต็ม) (100คะแนน) ประเมิน ท่ีประเมิน

แบบรายงานการประเมนิ ระดบั การรู้หนังสอื ของนักศ
ระดบั ..................

กศน.อาเภอ...............................................จังหวดั ................

ที่ ชื่อ กศน.ตาบล อ่านไดด้ มี ากและ อ่านไดด้ ี/คน อ

อา่ นคลอ่ ง (คน) ค

รวม

ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) สาหรบั การอ่าน 21
...........................
.................................ผูป้ ระเมิน............................................ หมายเหตุ

อา่ นไดแ้ ตไ่ ม่ อ่านพอได้ อา่ นไม่ได้ วัน เดือน ปี
คล่อง (คน) (คน) (คน) ที่รายงาน

แบบบนั ทกึ คะแนนการประเมนิ ระดบั การรูห้ นังสือของน
ระดบั ..................

กศน.ตาบล..............................................อาเภอ..............................................

ท่ี รหสั ประจาตัวนักศกึ ษา ช่อื -นามสกุล อายุ

สรปุ ผลการประเมนิ

เขียนได้ดีมากและเขียนคล่อง จานวน..... คน

เขยี นไดด้ ี จานวน..... คน

เขียนได้แต่ไม่คลอ่ ง จานวน..... คน

เขยี นพอได้ จานวน..... คน

เขียนไม่ได้ จานวน.... คน

22

นักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) สาหรบั การเขียน
...........................
..จังหวัด................................................ผปู้ ระเมนิ ............................................

อาชีพ คะแนน ผลการประเมนิ วนั เดอื น ปี หมายเหตุ
(100 คะแนน) (ผ่าน/ไมผ่ ่าน) ที่ประเมิน

แบบรายงานการประเมนิ ระดับการรู้หนงั สอื ของนกั ศ
ระดบั ..................

กศน.อาเภอ...............................................จงั หวัด................

ที่ ชื่อ กศน.ตาบล เขยี นไดด้ มี าก เขยี นไดด้ ี

และเขียนคลอ่ ง (คน) (คน) แ

รวม

23

ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) สาหรบั การเขียน
...........................
.................................ผปู้ ระเมิน............................................

เขียนได้ เขียนพอได้ เขยี นไมไ่ ด้ วัน เดอื น ปี หมายเหตุ
(คน) ทรี่ ายงาน
แต่ไมค่ ล่อง (คน) (คน)

แบบสรปุ ผลการประเมนิ ระดับการร้หู นังสอื ของน
ระดบั .................................... จานวน.....

กศน.ตาบล..............................................อาเภอ..............................................

ผลการประเมนิ

ท่ี รหัสประจาตวั ชอื่ -นามสกลุ อายุ อาชีพ การอ่าน
นักศึกษา คะแนน ระดบั

(100) คณุ ภา

ช่วงคะแนน การอา่ น

80 - 100 คะแนน การแปลผลคุณภาพ
60 – 79 คะแนน
40 – 59 คะแนน อา่ นได้ดีมากและอา่ นคล่อง
20 – 39 คะแนน อา่ นได้ดี
0 – 19 คะแนน อ่านได้แตไ่ ม่คล่อง
อา่ นพอได้
อ่านไม่ได้

เกณฑก์ ารตดั สนิ การประเมินระดบั การรหู้ นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเข
ต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ 2 ข้อต่อไปน้ี
1. การอ่านภาษาไทย ได้คะแนนรวมการอ่าน ไมต่ า่ กว่าร้อยละ 60
2. การเขียนภาษาไทย ได้คะแนนรวมการเขียน ไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 60

24

นกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ รายบคุ คล
................คน ประเมินคร้ังที.่ ..................
..จงั หวดั ................................................ผปู้ ระเมนิ ............................................

น ผลการประเมนิ ว/ด/ป หมายเหตุ
การเขยี น ท่ปี ระเมิน ยา้ ย ออกกลางคนั

บ คะแนน ระดับ จบ
าพ (100) คุณภาพ

ช่วงคะแนน การเขียน

80 - 100 คะแนน การแปลผลคณุ ภาพ
60 – 79 คะแนน
40 – 59 คะแนน เขยี นได้ดีมากและเขียนคลอ่ ง
20 – 39 คะแนน เขยี นได้ดี
0 – 19 คะแนน เขยี นได้แตไ่ ม่คล่อง
เขยี นพอได้
เขยี นไม่ได้

ขียนได)้

ตารางประเมินระดับการรหู้ นังสอื ของนกั ศึกษา กศน.(การอ่านออกเขียนได้) ระดบั ป

รหสั ประจาตวั ช่อื -สกลุ  ผลการประเมนิ 
ท่ี นักศกึ ษา
ผ่านการอ่าน ผา่ นการเข

ชว่ งคะแนน การอา่ น

80 - 100 คะแนน การแปลผลคุณภาพ
60 – 79 คะแนน
40 – 59 คะแนน อา่ นได้ดีมากและอา่ นคล่อง
20 – 39 คะแนน อา่ นได้ดี
0 – 19 คะแนน อา่ นได้แตไ่ ม่คล่อง
อ่านพอได้
อ่านไม่ได้

เกณฑ์การตดั สินการประเมินระดับการรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเข
ต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ 2 ข้อต่อไปน้ี
1. การอา่ นภาษาไทย ได้คะแนนรวมการอา่ น ไม่ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 60
2. การเขยี นภาษาไทย ได้คะแนนรวมการเขยี น ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 60

25

ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ว/ด/ป ที่ ประเมิน หมายเหตุ 
ทดสอบ ครั้งท่ี 
ขยี น ผลการประเมิน จบ ออก ย้าย
กลางคัน

ชว่ งคะแนน การเขียน

80 - 100 คะแนน การแปลผลคุณภาพ
60 – 79 คะแนน
40 – 59 คะแนน เขียนไดด้ ีมากและเขียนคลอ่ ง
20 – 39 คะแนน เขยี นไดด้ ี
0 – 19 คะแนน เขยี นไดแ้ ตไ่ ม่คลอ่ ง
เขียนพอได้
เขียนไม่ได้

ขียนได้)

26

ตารางประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) ระดับ.....

หมายเลขท่ี 1 รหัสประจาตวั นักศึกษา ให้กรอกรหสั ประจาตวั ของนักศกึ ษาทป่ี ระเมินระดับการรู้
หมายเลขท่ี 2 ชื่อ-สกุล หนงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้
ใหใ้ ส่ชอื่ - สกลุ ของนักศึกษาท่ปี ระเมินระดบั การรู้หนังสอื

หมายเลขท่ี 3 ผลการประเมิน ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้)
ใหค้ ะแนนของผลการประเมินระดบั การรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน.
(การอ่านออกเขยี นได้)

การอ่าน หมายถงึ คะแนนรวมของการอา่ นออก

การเขยี น หมายถึง คะแนนรวมของการเขยี นได้

หมายเลขที่ 4 ผลการประเมิน ให้ใส่ ผา่ น / ไม่ผ่าน

หมายเลขที่ 5 วนั ที่ทดสอบ ใสว่ นั -เดอื น-ปี ท่ีนักศึกษาผนู้ ั้นทาการประเมินระดับการรหู้ นังสอื

ของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้

หมายเลขท่ี 6 ประเมนิ ครง้ั ท่ี ให้จานวนครั้งทีน่ กั ศึกษาผนู้ ั้นเขา้ รบั การประเมิน เชน่

1) ประเมนิ ครง้ั ท่ี 1 ผ่าน ใส่เลข 1

2) กรณีคร้งั ท่ี 1 ประเมินไม่ผ่าน ไดร้ ับการพฒั นาการอา่ นและการเรยี น

และเขา้ รับการประเมนิ ครง้ั ที่ 2 ผ่าน ใส่เลข 2

หมายเลขท่ี 7 เหตุทไ่ี มเ่ ข้ารับการประเมนิ ให้ทาเครื่องหมาย ในช่องสาเหตุท่นี กั ศึกษาผนู้ ัน้ ไม่

เขา้ รบั การประเมินการรหู้ นังสือของนักศกึ ษา กศน.(การอ่านออกเขยี นได้)

รอบน้ัน

27

ภาคผนวก

แบบนิเทศ ติดตาม การประเมินระดับการรูห้ นังสอื ของนักศกึ ษา กศน.
(การอา่ นออกเขยี นได)้

28

แบบนิเทศ ตดิ ตาม

แบบนเิ ทศ ติดตาม การประเมินระดบั การรูห้ นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้)
กศน./เขต..........................................................สานกั งาน กศน.กทม./จงั หวดั ...................................................

------------------------------------
คาชีแ้ จง

1. ใหผ้ นู้ เิ ทศช้ีแจงวัตถุประสงคข์ องการตดิ ตามการประเมนิ ระดับการร้หู นงั สือของนกั ศกึ ษา กศน.
(การอ่านออกเขยี นได้)

2. ให้ผูน้ ิเทศสมั ภาษณ์ สังเกต ตรวจเอกสารหลักฐานและร่องรอย ตามประเดน็ คาถามต่อไปน้ี

1. สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. กศน.อาเภอ/เขต มกี ารสร้างความเขา้ ใจเรือ่ งการประเมินระดบั การร้หู นังสือ
ของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) กบั บคุ ลากรท่ีเก่ยี วข้อง หรอื ไม่ อยา่ งไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. กศน.อาเภอ/เขต มีการตง้ั คณะทางานประเมินระดับการรู้หนังสอื ของนักศึกษา
กศน. (การอ่านออกเขียนได้) หรอื ไม่ อย่างไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. สานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. มีการวางแผนการดาเนนิ การรว่ มกับ กศน.อาเภอ/เขต หรือไม่ อยา่ งไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

4. สานักงาน กศน.จงั หวัด/กทม. มีการสร้างความเขา้ ใจและขอความรว่ มมือกับ กศน.อาเภอ/ เขต
เรื่อง การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ หรือไม่ อยา่ งไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

5. กศน.อาเภอ/เขต มรี ะบบและกลไกการวางแผนการดาเนินการรว่ มกบั กศน.ตาบล/แขวง อย่างไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

29

6. กศน.อาเภอ/เขต มกี ารนเิ ทศ ตดิ ตาม การดาเนนิ งานให้เป็นไปตามคู่มอื ท่ีสานักงาน กศน. กาหนด หรือไม่
อยา่ งไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

7. กศน.ตาบล/แขวง มีการจดั ทาผลการดาเนนิ งานตามคมู่ ือการประเมินระดบั การรู้หนังสอื ของนักศกึ ษา กศน.
(การอ่านออกเขยี นได้) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2562 อย่างไร และมวี ิธีการพัฒนาการอ่าน การเขียนของนกั ศึกษา
กรณีทป่ี ระเมนิ ไม่ผ่าน อย่างไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

8. สานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. กศน.อาเภอ/เขต มีการรวบรวมข้อมูล พร้อมท้ังเอกสารการประเมนิ
ในระดับจังหวดั /กทม. ระดบั อาเภอ/เขต ระดบั ตาบล/แขวง ไว้หรือไม่ และไดจ้ ดั ทาผลการประเมนิ
เพ่ือสรุปเป็นขอ้ มูลระดบั จังหวดั /กทม. อาเภอ/เขต ตาบล/แขวง และรายงานสานักงาน กศน. อย่างไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

9. สานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. กศน.อาเภอ/เขต กศน.ตาบล/แขวง พบปญั หาอุปสรรคในการประเมนิ
ระดบั การรูห้ นงั สือของนักศึกษา กศน. อยา่ งไรบ้าง และมีแนวทางการแกป้ ญั หาอยา่ งไร
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

10. ข้อเสนอแนะ............................................................................................................... .................................
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ผนู้ ิเทศ...............................................................
ผูร้ ับการนิเทศ.....................................................

30

แบบติดตามการดาเนินงานฯ

แบบติดตามการดาเนนิ งานประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ครู กศน.

กศน.เขต/อาเภอ .................................................สานักงานกศน.กทม./จงั หวดั ................(.ก..ร..ณ...ีไ.ม..ผ่..า่..น..ก..า..ร..ป..ระเมนิ )

------------------------------------

คาชี้แจง ให้ผนู้ เิ ทศสัมภาษณ์ สังเกตตรวจสอบจากเอกสารและร่องรอย และชแ้ี จงสรา้ งความเข้าใจ ในแตล่ ะ

ประเด็นคาถามใหช้ ัดเจน

1.การศกึ ษาผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล (มีการนาผลการประเมนิ การอา่ น การเขยี นมาวเิ คราะห์เพือ่ จัดกจิ กรรม
การเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมหรือไม่)
บนั ทึกสภาพปัญหา/อุปสรรคจากการปฏบิ ตั ิงานจรงิ .............................................................................

............................................................................................................................. ................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ข้อนเิ ทศ/ข้อเสนอแนะ...........................................................................................................................
......................................................................................................................................................... .....................
2. มีการวางแผนและดาเนนิ การพฒั นานักศึกษา กศน. อยา่ งไร

บันทกึ สภาพปัญหา/อุปสรรคจากการปฏบิ ตั ิงานจรงิ .............................................................................
............................................................................................................................. ................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ขอ้ นเิ ทศ/ข้อเสนอแนะ...........................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
3. สอ่ื การเรียนการสอน (ใช้ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้อะไรบา้ งในการพัฒนานกั ศึกษาด้านการอา่ น การเขยี น ใชส้ ือ่

จากท่ีใด /พฒั นาขึ้นเองหรือไม่)
บันทึกสภาพปัญหา/อุปสรรคจากการปฏิบัตงิ านจรงิ ............................................................................

.............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ข้อนิเทศ/ข้อเสนอแนะ...........................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
4. การพัฒนานกั ศึกษา กศน. มีปญั หาอุปสรรค หรือไม่ อย่างไร และมวี ิธกี ารหรอื แนวทางการแก้ปัญหา
อยา่ งไร
............................................................................................................................. ................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....

ลงชอ่ื .................................................
(..............................................)
ผู้รายงาน

ลงช่อื ............................................
(...............................................)
ผู้ใหข้ อ้ มลู
วันที่ .....................................

31

ภาคผนวก

ใบแทรก

32

4.2.4 จากข้อ 4.2.3 ดาเนนิ การพฒั นาและประเมนิ ใหมใ่ นภาคเรียนถดั ไป แต่ยงั ประเมินไมผ่ ่าน
ครู กศน. สามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นร้รู ว่ มกับผู้ไม่รหู้ นังสือได้

1) ครู กศน. จะต้องเขา้ ใจความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผู้เรียน ว่ามคี วามรูพ้ ื้นฐานไม่
เท่ากัน ในการประเมินแตล่ ะครั้งไม่ควรสร้างความกดดันหรอื เร่งรัดนักศกึ ษา กศน. ควรนาจติ วทิ ยาผูใ้ หญ่มาใช้ใน
การประเมนิ ระดบั การรูห้ นังสือของนักศกึ ษา กศน. เพ่ือให้นกั ศกึ ษามีความผ่อนคลาย

2) ครู กศน.สามารถนาวธิ ีการสอนแบบแจกลูกสะกดคามาใชก้ บั นักศึกษา กศน.
ได้ กรณีทีน่ ักศึกษาไม่สามารถอา่ นเขยี นภาษาไทยได้คลอ่ ง โดยการสอนแบบแจกลูกสะกดคามีวิธกี ารสอนอ่านเขียน
หลายวิธี ครไู ม่ควรยึดวธิ ีใดวิธหี น่ึง ควรผสมผสานหลายวธิ ีจนสามารถทาให้นักศึกษาอา่ นออกเขยี นเป็นคาและรู้
ความหมายของคาน้ันๆ เชน่ การสอนโดยวธิ ปี ระสมอักษร การสอนด้วยการเดาคาจากภาพ หรือการสอนอา่ นจาก
ภาพ การสอนอา่ นจากรปู ร่างของคา การสอนดว้ ยการเดาคาจากบรบิ ทหรือคาท่ีอยูแ่ วดล้อม การสอนโดยให้รู้หลกั
ภาษา เป็นตน้

ดังน้นั แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรภู้ าษาไทยเพ่อื มงุ่ ให้นักศึกษาอ่านออกเขยี นได้ท่ีประสบ
ผลสาเรจ็ มหี ลากหลายวิธี ทงั้ นีข้ ้นึ อย่กู ับเทคนิคและประสบการณ์ของครผู ู้สอนเปน็ สาคญั ซึง่ ครูผู้สอนแตล่ ะคน
ต่างกม็ เี ทคนิควิธกี ารที่แตกต่างกนั ไป แตส่ ิ่งทส่ี าคญั ท่ีครคู วรคานงึ ถงึ คือ การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบคุ คล และสอน
นักศึกษาตามความแตกตา่ งของแต่ละคน รวมทงั้ สอนด้วยความรักความเขา้ ใจเป็นสาคัญ โดยคานงึ ถงึ ประเด็นต่าง ๆ
ดงั น้ี

1. ครตู ระหนกั ถึงความสาคญั ของการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเพอ่ื พัฒนาใหผ้ ู้เรยี น อ่านออก
เขยี นได้ ซึ่งจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการเรียนรู้วชิ าต่าง ๆ และการส่อื สารในชีวติ ตามวตั ถปุ ระสงค์ตา่ ง ๆ ของตน

2. ครมู คี วามร้เู ก่ยี วกับรปู และเสียงของพยัญชนะไทย
3. ครูใหค้ วามสาคญั กบั การสอนและฝึกฝนให้ผู้เรยี นเขยี นพยญั ชนะได้ถูกวธิ ี ตลอดจนวธิ ีการ จบั
ดินสอ การวางสมดุ และท่านั่งทถ่ี ูกตอ้ ง
4. ครจู ัดเตรียมสอื่ ใหน้ า่ สนใจ ครบตามจานวนผู้เรยี น และให้ผู้เรยี นทกุ คนไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ
จนเกิดทกั ษะและความแม่นยา

สอนอย่างไรให้อ่านออก อา่ นคล่อง และอา่ นเป็น
การอา่ นเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน นกั ศึกษา กศน. จะต้องรู้จกั สัญลกั ษณท์ ี่เป็นตัวอกั ษรไทย คือ

พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ เพื่อนามาประสมแล้วสามารถเปล่งเสียงคา ๆ นนั้ และเข้าใจความหมายของคา โดย
โยงประสบการณ์ของตนเขา้ มาชว่ ยเสรมิ ให้เขา้ ใจย่งิ ขึน้ ดังน้ันการอา่ นจงึ เป็นสิง่ ทีจ่ าเปน็ ท่ีครจู ะต้องสอนให้แกเ่ ด็ก
โดยครูตอ้ งรู้วธิ ีการสอนหลาย ๆ แบบ ไมม่ วี ิธีการสอนใดเป็นสตู รสาเร็จ การสอนทด่ี จี งึ ต้องใช้วิธีสอนหลากหลายวธิ ี
ผสมผสานกนั ตามความสามารถของนักศึกษา กศน. แต่ละวัย และพจิ ารณาถงึ ความเหมาะสม ของสภาพแวดล้อม
การอ่านเป็นทักษะท่คี รูจะต้องฝึกฝนให้นกั ศึกษา กศน. จนเกดิ ความชานาญ และฝึกฝนอยา่ งต่อเน่ืองอย่างสม่าเสมอ

ทักษะการอา่ นทคี่ รตู ้องสอนใหแ้ กน่ กั ศึกษา กศน. ไดแ้ ก่
1. การอ่านคา และรคู้ วามหมายของคา น่นั คอื ให้นกั ศกึ ษา กศน. อา่ นออกเป็นคา และเข้าใจ

ความหมายของคานนั้ ซึ่งเป็นทกั ษะเบื้องต้นคือสอนใหน้ กั ศึกษา กศน. อ่านออก
2. การอ่านจบั ใจความ เม่อื นักศึกษา กศน. อ่านออกเปน็ คา เป็นวลี และเปน็ ประโยคได้แลว้

จะต้องเขา้ ใจในส่งิ ที่อา่ น บอกได้ว่าใครทาอะไร ทไี่ หน อย่างไรในเรอ่ื งทอ่ี ่าน เลา่ เร่อื งได้ สรุปเรอ่ื งได้ นน่ั คอื การสอน
ใหน้ ักศึกษา กศน. อา่ นเปน็

3. การอ่านออกเสียงใหช้ ดั เจน ถูกตอ้ ง โดยเฉพาะคาท่อี อกเสียง ร ล คาควบกลา้ คาทม่ี อี ักษรนา
รู้จกั จงั หวะในการอ่านใหถ้ กู วรรคตอนฝึกจนอ่านคล่อง

33

4. การอา่ นเพอื่ ศกึ ษาหาความรู้ ร้จู ักวธิ คี ้นคว้าความรูจ้ ากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ ทักษะนี้เหมาะ ทีจ่ ะ

ใชก้ บั นักศึกษา กศน. ในระดับประถมศกึ ษา – มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

5. ฝกึ ใหน้ ักศกึ ษา กศน. มนี สิ ัยรกั การอา่ น ครจู ัดบรรยากาศในชน้ั เรียนเพื่อกระต้นุ ใหน้ ักศึกษา

กศน.อา่ นหนงั สือ จัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่เชญิ ชวนให้นักศึกษา กศน. อยากอา่ น ข้อสาคญั คือ ครตู อ้ งเป็นตัวอย่างทด่ี ี

แก่นกั ศกึ ษา กศน. อ่านหนงั สือหลากหลายนามาเล่าให้นักศึกษา กศน. ฟัง

6. การอ่านเพอ่ื ให้คณุ คา่ และเกิดความซาบซึ้ง น่นั คือ การสอนอา่ นวรรณคดี และวรรณกรรม

สาหรบั นกั ศกึ ษา กศน. ให้นักศึกษา กศน. มองเห็นประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการอา่ น เพ่ือนามาใช้ ใน

ชวี ติ ประจาวัน ให้นกั ศึกษา กศน. รรู้ สไพเราะ ของการอา่ นร้อยกรองตา่ ง ๆ การอา่ นวรรณคดีที่จัดไวใ้ ห้นักศึกษา

กศน. แตล่ ะชนั้ เพื่อใหเ้ หน็ ความงดงามของภาษา

การสอนให้อ่านออก
การสอนให้อ่านออกมีหลายวธิ ี ครูไม่ควรยึดวธิ ใี ดวิธีหนึง่ ควรผสมผสานหลายวธิ จี นสามารถ ทาให้

นักศึกษา กศน.อา่ นออกเป็นคา และรคู้ วามหมายของคา
1. สอนโดยวธิ ีประสมอักษร เป็นการสอนที่ใชก้ นั มาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ทีแ่ สดงถึง

ภมู ิปัญญา การสอนอา่ นแบบไทย ซง่ึ ทาใหน้ ักศึกษา กศน.อ่านหนงั สือไทยได้แตกฉานวธิ หี นึ่ง
วธิ สี อนแบบนี้เปน็ การนาพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ มาประสมกัน แล้วฝึกอา่ นแบบแจกลูก การ

อา่ นแบบสะกดคา เปน็ การสอนอา่ นทีเ่ นน้ การฟังเสยี ง ของพยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกด และวรรณยกุ ต์ท่นี ามา
ประสมกนั เป็นคา เม่ือฝกึ ฝนบ่อย ๆ จนชินหูก็จะอา่ นได้ถูกต้องแม่นยา

การอ่านแบบแจกลูก เปน็ การอ่านโดยยึดพยญั ชนะตน้ เป็นหลัก ยึดสระเป็นหลัก หรือยึดสระ และ
ตัวสะกดเป็นหลกั เช่น ยดึ

พยญั ชนะตน้ เป็นหลกั -ะ –ำ - ิ - ี - ึ - ื - ุ - ู
ก กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู
ข ขะ ขา ขิ ขี ขึ ขือ ขุ ขู
ค คะ คา คิ คี คึ คอื คุ คู

ยดึ สระเป็นหลกั กจ ต อ ข ส มย

-า กา จา ตา อา ขา สา มา ยา
-ี กี จี ตี อี ขี สี มี ยี
-ู กู จู ตู อู ขู สู มู ยู

ยึดสระและตัวสะกด กจ ต อข ส มย
เป็นหลกั กาง จาง ตาง อาง ขาง สาง มาง ยาง
กาน จาน ตาน อาน ขาน สาน มาน ยาน
-า ง กาด จาด ตาด อาด ขาด สาด มาด ยาด
-า น
-า ด

34

การอ่านแบบสะกดคา เปน็ การอา่ นโดยสะกดคา หรือออกเสียงพยญั ชนะ สระ ตัวสะกด วรรณยกุ ต์ การนั ต์ ท่ี

ประกอบเป็นคา เชน่

ตา สะกดวา่ ตอ - อา อา่ นวา่ ตา

บา้ น สะกดว่า บอ - อา - นอ บาน - ไมโ้ ท อา่ นวา่ บา้ น

เรือ่ ง สะกดว่า รอ - เออื - งอ เรอื ง - ไม้เอก อ่านว่า เรื่อง

สตั ว์ สะกดวา่ สอ - อะ - ตอ - วอการนั ต์ อา่ นว่า สัด

ถนน สะกดวา่ ถอ - นอ - โอะ - นอ อา่ นว่า ถะ - หนฺ น

2. สอนดว้ ยการเดาคาจากภาพ หรอื การสอนอ่านจากภาพ
นกั ศกึ ษา กศน. เริ่มหัดอ่านจากรูปภาพกอ่ น แล้วจึงนาไปสู่การอา่ นจากตวั อักษรรูปภาพจะเป็น
สงิ่ ชี้แนะ ใหน้ ักศึกษา กศน.อ่านคานั้นได้ เชน่

กระต่าย เรือ

3. สอนอา่ นจากรูปร่างของคา เมอ่ื นักศกึ ษา กศน. เห็นรูปรา่ งของคาโดยสว่ นรวมกจ็ ะจาได้ แลว้
จะนาไปเปรียบเทียบกบั คา ท่ีเคยอา่ นออกแล้ว คาใดทีม่ ีรปู รา่ งคล้ายคลึงกัน ก็สามารถเดาและเทียบเสยี งได้ว่า อา่ น
อย่างไร การสอนแบบนคี้ รตู ้องตกี รอบคาที่ทาให้นักศกึ ษา กศน. สามารถมองเห็นรปู รา่ งคาได้อยา่ งชดั เจน เนน้ การ
ฝึกให้นกั ศึกษา กศน. สังเกตรูปรา่ งของคา เชน่

หน หม รื รื

งู งู เ รอ เ สอ

บิ ริ

บน บน ใ น ใ จ

4. สอนดว้ ยการเดาคาจากบริบท หรอื คาท่ีอยู่แวดล้อม สาหรับนกั ศึกษา กศน.มกั จะใชบ้ ริบทที่
เป็นปริศนาคาทาย หากครตู อ้ งการใหน้ กั ศึกษา กศน. อา่ นคาใดกส็ ร้างปรศิ นาคาทาย เม่ือนักศกึ ษา กศน.ทายคาได้
ถูกก็สามารถอ่านคาน้ันออก

ตวั อย่างปรศิ นาคาท้ายที่ใช้สระอะ ๏ ฉนั เปน็ ผักสวนครัว เนอ้ื ตัวเปน็ ตะปุ่มตะป่า แต่มีคุณคา่ เลิศ
ล้า ค้นั เอาน้าแม้ขมหน่อยอรอ่ ยดี (มะระ) ๏ ฉนั เปน็ ของใช้ มไี วใ้ นครัว เอาไว้ผดั คัว่ ทัว่ ทุกบ้านต้องมี (กระทะ)

35

5. สอนอ่านโดยให้รู้หลกั ภาษา วธิ ีนีน้ กั ศกึ ษา กศน.จะรหู้ ลักเกณฑข์ องภาษาเพื่อการอ่านการ
เขยี น ตามทบ่ี รรจุไวใ้ นหลักสูตร เชน่ อกั ษร ๓ หมู่ สระเสียงเด่ียว สระเสยี งประสม มาตราตวั สะกด การผนั
วรรณยกุ ต์ การอ่านคาควบกล้า การอา่ นอกั ษรนา ฯลฯ วิธนี จ้ี งึ ต้องหาวธิ สี อนทีห่ ลากหลาย จัดกจิ กรรมที่นา่ สนใจ
ใหน้ ักศึกษา กศน.เรียนรหู้ ลักภาษาท่ีง่าย ๆ ดว้ ยวธิ งี า่ ย ๆ ท่ที าให้นกั ศึกษา กศน. สนุกสนาน กิจกรรมที่นักศึกษา
กศน.ชอบ เชน่ เลา่ นทิ าน รอ้ งเพลง เลน่ เกม ฯลฯ

ตวั อยา่ งการสอนโดยใชเ้ พลง

เพลง สระ อะ

คารอ้ ง รศ.ปติ ินันท์ สทุ ธสาร

ทานอง THIS IS THE WAY

คาสระอะ จะมีเสยี งสัน้ อย่คู ู่เคยี งกนั พยัญชนะ

จะ ปะ กระบะ กระทะ ตะกละ มะระ ล้วนอะตามเรยี งราย

คาสระอะมีตัวสะกด อะจะกระโดดเปน็ หนั อากาศ

เช่น กะ - น - กัน และฉัน นนั้ มนั่ ตวั อะ แปรผนั เป็น หนั อากาศ (ซา้ )

6. สอนอ่านตามครู วธิ นี เี้ ปน็ การสอนท่ีง่าย ครสู ่วนใหญช่ อบมาก ถ้าครูไม่คดิ พจิ ารณาให้ดวี า่
เมอ่ื ใดควรสอนด้วยวธิ ีนี้จะเป็นอันตรายต่อนกั ศึกษา กศน. ครจู ะใช้วธิ นี ีต้ ่อเมื่อเป็นคายาก คาท่มี ีตัวสะกดแปลก ๆ
และครูได้ใชว้ ิธอี ่นื แล้วนกั ศึกษา กศน. ยงั อ่านไม่ได้

สาหรบั ผไู้ มร่ ู้หนงั สอื หรือผ้ทู ่ีอ่านเขียนไม่คลอ่ ง ครูอาจใชว้ ธิ ีน้ไี ด้ โดยครอู า่ นนาแล้วให้ผู้เรียนอ่าน
ตาม เมื่ออ่านได้แล้ว จึงฝึกให้อ่านเปน็ กลมุ่ เป็นรายบุคคล

การอ่านบทร้อยกรองนั้น ครูจาเป็นตอ้ งอา่ นนากอ่ น เพ่ือให้ร้จู งั หวะ และลลี าการอา่ น
บทร้อยกรอง ตามประเภทของคาประพันธน์ ัน้ ๆ

วธิ กี ารสอนท้ัง 6 วธิ นี ้ี ครคู วรนาไปประยุกต์ใชใ้ ห้ผสมผสานให้เหมาะสมแก่วัยของผเู้ รียนจะทาให้
ผเู้ รียนอา่ นออกอา่ นเกง่ ต่อไปครจู งึ สอนอ่าน วลี ประโยค ข้อความ เรือ่ งราวสั้น ๆ และการฝึกการอา่ น จบั ใจความ
ในลาดบั ตอ่ ไป

การสอนอ่านจับใจความ
ในการสอนอา่ นจบั ใจความ ครคู วรต้งั จดุ มุ่งหมายในการอ่านแตล่ ะครงั้ วา่ ตอ้ งการให้ผเู้ รียนอ่าน

เพอ่ื วัตถุประสงค์ใด เชน่
1. จบั ประเดน็ สาคัญของเร่ือง
2. อ่านเพ่ือต้องการรู้รายละเอียด
3. อ่านเพ่ือตอบคาถามสงิ่ ท่ีอยากรู้
4. อ่านเพื่อย่อ หรือ เรียบเรียงเร่อื งให้กระชับ
5. อ่านเพื่อสรปุ หลกั เกณฑ์ แนวคิด หรอื แกน่ ของเรอ่ื ง
6. อ่านเพื่อคาดคะเน หรือคาดหวงั ผลทไ่ี ด้
7. อา่ นเพื่อให้รคู้ ุณคา่ และเกิดความซาบซง้ึ ในเรอื่ งที่อ่าน
8. อา่ นเพื่อประเมนิ ความถูกต้อง ใช้วิจารณญาณไตรต่ รอง

36

การสอนอ่านวรรณคดี
การสอนอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรม มจี ุดมงุ่ หมายหลักเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ีจินตนาการ

มคี วามซาบซ้ึงในรสไพเราะของภาษา และมองเห็นคุณค่าของวรรณคดีในแง่มุมตา่ ง ๆ ซึง่ แฝงไวใ้ นวรรณคดี
แต่ละเรอ่ื ง ท้ังยงั ชว่ ยกล่อมเกลาพัฒนาการดา้ นจิตใจและอารมณข์ องผ้เู รยี นอีกดว้ ย

วิธที ่ีเหมาะสม คือ ครูอ่านให้นกั ศึกษา กศน.ฟงั เสยี ก่อน เพื่อให้ผู้เรยี นเข้าใจเน้ือเร่ืองและเกิดความ
สนุกสนานเพลิดเพลิน ครูต้องมีลีลาการอา่ นอย่างมีชีวติ ชีวา ดึงดูดความสนใจของผู้เรยี น ตอนใดมีคาประพันธท์ ี่มี
คณุ ค่ากค็ วรให้ท่องจาเป็นบทอาขยาน ให้รู้จักคาที่ประณีต สละสลวย คาคล้องจอง คาที่ใหค้ วามรสู้ ึกนกึ คดิ ตา่ ง ๆ
ตลอดจนปลกู ฝังให้มที ัศนคติที่ดี มนี ิสัยรักการอา่ นดว้ ย

บรรณานกุ รม
สานักงานวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (2559). คูม่ ือการสอนอา่ นเขยี นโดยการแจกลกู สะกดคา.

กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ ชนสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.
สานักงานวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (มปป). คมู่ อื การสอนอา่ นเขยี นโดยการแจกลูกสะกดคา.

เอกสารอดั สาเนา

37

คณะทางาน

คู่มอื และเครื่องมือประเมินสภาพการรูห้ นงั สือ กศน.

1. นายชัยยศ อ่ิมสวุ รรณ์ รองปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
2. นายสรุ พงษ์ จาจด เลขาธิการ กศน.
3. นางตรนี ชุ สุขสุเดช ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

4. นายรังสรรค์ เล็งฮะ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอรือเสาะ จงั หวัดนราธวิ าส
5. นางเกศินี ฝกึ ฝน ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมือง จังหวดั ตาก
6. นายสุรนิ ทร์ หว่างจิตร ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอมัญจาครี ี จังหวดั ขอนแก่น

7. นางบุษบา มาลนิ ีกุล สถาบนั กศน.ภาคเหนือ
8. นางรสาพร หม้อศรีใจ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ

9. นางอรวรรณ ฟงั เพราะ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ
10. นางรัตนา แก่นสารี สานักงาน กศน.จงั หวัดสมทุ รปราการ

11. นายชัยพฒั น์ พนั ธ์วุ ัฒนสกลุ ช่วยราชการสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

12. นายยุทธการ สืบแกว้ กลมุ่ แผนงาน

13. นางสาวสชุ านนั ท์ ออ้ หริ ัญ กล่มุ แผนงาน

14. นายสมชาย ฐิติรัตน์อัศว์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
15. นางสาววรรณพร ปทั มานนท์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
16. นางสาวเบจญวรรณ อาไพศรี กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

17. นางสาวทพิ วรรณ วงค์เรือน กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

18. นางญาณศิ า สขุ อุดม กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

19. นางเยาวรัตน์ ป่ินมณีวงศ์ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

20. นางนุสรา สกลนกุ รกจิ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

21. นางสุจรยิ า พมุ่ ไสล กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

22. นางสุกัญญา กลุ เลิศพิทยา กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

23. นางสาววิยะดา ทองดี กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

38

คณะทางาน (ต่อ)

คู่มอื และเครอื่ งมือการประเมินระดบั การรู้หนังสอื ของนกั ศึกษา กศน. (ระยะทดลอง)

1. นางตรนี ุช สขุ สุเดช ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
2. นางพมิ พาพร อินทจกั ร์ ขา้ ราชการบานาญ
3. นางเบญจมาศ สระทองหย่อม ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
4. นางสาวอรทัย จารภุ ัทรพาณชิ ย์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมือง จังหวัดพิจิตร
5. นางกฤษณา พลฤทธ์ิ สานักงาน กศน.จังหวดั อุตรดิตถ์
6. นางสาวสมพร เอ่ยี มสาอางค์ สานักงาน กศน.จังหวัดลาปาง
7. นายนิกร เกษโกมล สานักงาน กศน.จังหวัดนครราชสีมา
8. นางจันทนี อนิ นันชยั กศน.อาเภอล้ี จงั หวดั ลาพนู
9. นางทองพนิ ขันอาสา หัวหนา้ หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์
10. นางพมิ พา หาญวัฒนะชัย หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์
11. นางพรรณทิพา ชินชชั วาล ผู้อานวยการกลุ่มพฒั นาระบบการทดสอบ
12. นางเกณิกา ซกิ วารท์ ซอน กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ
13. นายสมชาย ฐติ ริ ตั นอศั ว์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
14. นางพรทิพย์ พรรณนิตานนท์ กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
15. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
16. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาไพศรี กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
17. นางเยาวรัตน์ ปิ่นมณีวงศ์ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
18. นางสาวณชิ าภัทร ญาตบิ ารงุ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
19. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ์ รือน กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
20. นางสุกัญญา กลุ เลศิ พทิ ยา กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
21. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น์ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
22. นายวชั รินทร์ โสภติ ะชา กลุม่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ผรู้ บั ผดิ ชอบดาเนนิ งาน กลุม่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
1. นางพรทิพย์ พรรณนติ านนท์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2. นางเยาวรัตน์ ป่ินมณีวงศ์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
3. นางสาวณชิ าภัทร ญาติบารุง กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
4. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน์
5. นายวชั รนิ ทร์ โสภติ ะชา

ออกแบบปก กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
1. นายวชั รนิ ทร์ โสภิตะชา


Click to View FlipBook Version