The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การแต่งคำประพันธ์ประเภท ร่ายสุภาพ
สื่อการสอนรายวิชา ภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chana Aom, 2020-04-15 14:48:54

ร่ายสุภาพ

การแต่งคำประพันธ์ประเภท ร่ายสุภาพ
สื่อการสอนรายวิชา ภาษาไทย

Keywords: ร่ายสุภาพ

การแต่งคาประพนั ธ์

รา่ ยสภุ าพ

สื่อประกอบการเรยี นการสอนรายวชิ า ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนธัญรตั น์
ผสู้ อน นางสาวชนาพร คงชาติ

จุดประสงค์การเรยี นรู้

๑. นกั เรยี นสามารถบอกลักษณะทั่วไปของคาประพันธ์ประเภทรา่ ยได้
๒. นกั เรยี นสามารถบอกลกั ษณะบังคบั ของคาประพนั ธป์ ระเภทรา่ ยสุภาพได้
๓. นักเรียนสามารถเขยี นแผนผงั ของคาประพันธ์ประเภทร่ายสภุ าพได้
๔. นกั เรียนสามารถแตง่ คาประพนั ธ์ประเภทรา่ ยสุภาพไดถ้ กู ตอ้ ง

ลกั ษณะทัว่ ไปของร่ายสุภาพ

ร่ายเป็นคาประพันธ์ชนดิ หน่ึง ซ่ึงไม่กาหนดจานวนบทหรอื บาท
ผู้แตง่ จะแต่งยาวเทา่ ไรก็ได้ แตต่ อ้ งเรยี งคาให้คล้องจองกนั ตาม
ขอ้ บังคบั
รา่ ยท่นี ยิ มแต่งในวรรณกรรมไทยมี ๔ ชนดิ คอื
๑. ร่ายสุภาพ
๒. ร่ายด้นั
๓. รา่ ยโบราณ
๔. ร่ายยาว

ลักษณะบงั คบั ของรา่ ยสุภาพ

 รา่ ยที่นยิ มกนั แพร่หลายต้ังแต่สมัยโบราณจนถงึ ปัจจบุ นั คือ ร่ายสภุ าพ
 มกั มกี ารนาร่ายสภุ าพไปแตง่ ประกอบกบั โคลงสุภาพ เรียกว่า ลลิ ติ

เช่น เรอ่ื ง ลลิ ิตพระลอ ลิลติ ตะเลงพ่าย
 รา่ ยมีลักษณะบงั คับ ๕ อย่าง ดงั น้ี

๑. คณะ
๒. พยางค์
๓. สมั ผสั
๔. คาเอกคาโท
๕. คาสร้อย

ลักษณะบงั คับของรา่ ยสภุ าพ

๑. คณะและพยางค์ ร่ายสภุ าพบทหนงึ่ มี ๕ วรรคข้ึนไป แต่ละวรรคมี ๕ คา

จะแตง่ ก่วี รรคกไ็ ด้ แตต่ อนจบตอ้ งจบด้วยโคลงสองสุภาพ

๒. สัมผสั รา่ ยสภุ าพมกี ารส่งสัมผัสท้ายวรรค และมสี มั ผัสรบั ตรงคาที่ ๑, ๒, ๓ คาใดคาหน่ึงจนถงึ

ตอนท้ายพอจะจบก็สง่ สมั ผสั ไปยงั บทต้นของโคลงสองสภุ าพ ต่อจากน้ันกบ็ งั คับสัมผสั ตามแบบของ
โคลงสอง จึงถือว่าจบรา่ ยแต่บทส่วนสัมผสั ในนั้นไม่บังคับ มีท้งั สมั ผัสสระและสัมผสั อักษร

๓. คาเอกคาโท มบี ังคบั คาเอกคาโทเฉพาะทีโ่ คลงสองสุภาพตอนท้ายบทเท่าน้นั

สามารถใช้คาตายแทนคาเอกได้

๔. คาสร้อย รา่ ยสภุ าพแตล่ ะบทมคี าสร้อยทสี่ องคาสดุ ทา้ ยในวรรคสุดท้ายของ

โคลงสองสภุ าพเท่านั้น (มี/ไม่มกี ็ได้)

แผนผงั ฉันทลกั ษณข์ องร่ายสภุ าพ

ตวั อยา่ ง ร่ายสภุ าพ

โหรควรคงทำนำย ทำยพระเครำะห์ถงึ ฆำต ฟังสำรรำชเอำรส
ธกผ็ ะชดบญั ชำ
หำญศกึ บมิยอ่ เจ้ำอยุธยำมบี ตุ ร ล้วนยงยุทธเ์ ชย่ี วชำญ
ใหธ้ หวงธห้ำม
เอำพัสตรำสตรี ตอ่ สู้ศกึ บมิหยอน ไป่พกั วอนว่ำใช้

แมน้ เจ้ำครำ้ มเครำะหก์ ำจ จงอย่ำยำตรยทุ ธนำ

สวมอินทรยี ส์ รำ่ งเครำะห์ ...

ขอลำองคท์ ่ำนไท้ ไปเผด็จดัสกรให้ เหอื ดเส้ียนศึกสยำม ส้นิ นำ

(ลลิ ติ ตะเลงพำ่ ย)

แบบทดสอบ เร่อื ง รา่ ยสภุ าพ

๑. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้องเกีย่ วกบั จานวนวรรคของร่ายสุภาพ
ก. ร่ายสุภาพ ๑ บท มตี ัง้ แต่ ๔ วรรคข้นึ ไป
ข. รา่ ยสภุ าพ ๑ บท มตี งั้ แต่ ๕ วรรคขึ้นไป
ค. รา่ ยสภุ าพ ๑ บท มีต้ังแต่ ๖ วรรคขึ้นไป
ง. รา่ ยสุภาพ ๑ บท มีตั้งแต่ ๗ วรรคขน้ึ ไป

๒. คาประพนั ธป์ ระเภทรา่ ยสุภาพจะจบลงด้วยคาประพนั ธ์ชนิดใด

ก. โคลงสองสุภาพ ข. โคลงส่ีสภุ าพ

ค. อินทรวเิ ชยี รฉันท์ ง. กลอนสภุ าพ

แบบทดสอบ เร่อื ง รา่ ยสภุ าพ

๓. ขอ้ ใดแต่งด้วยคาประพันธป์ ระเภทโคลงสองสุภาพ
ก. ใครรานใครรกุ ด้าว แดนไทย
ข. หายากฝากผีไข้ ยากแทจ้ ักหา ใดเทียม
ค. ฝ่ายพระนครรามญั ขัณฑเ์ ขตดา้ วอัสดง หงสาวดีบเุ รศ
ง. พระพลันทรงเครือ่ งต้น งามประเสรฐิ เลิศล้น แหล่งหลา้ ควรชม

แบบทดสอบ เรอื่ ง รา่ ยสภุ าพ

๔. ข้อใดแต่งโดยใช้ศลิ ปะการสรรคา สัมผสั ในและโวหารภาพพจน์
ก. พระคุณแมม่ ากมี จงทาดีเพอ่ื ทา่ น
ข. พระคุณแม่มากลน้ เปน็ ลน้ พน้ มากยิ่ง
ค. พระคณุ แมย่ ิ่งล้า บญุ คณุ คา้ เหนอื เกล้า
ง. พระคุณแมเ่ ทยี บฟ้าทั่วหลา้ ฟา้ รายรอบ

๕. บทประพนั ธ์ประเภทลลิ ติ หมายถึงข้อใด
ก. กลอนแปด
ข. โคลงสีส่ ุภาพ, รา่ ยสุภาพ
ค. กลอน โคลง กาพย์ ฉนั ท์
ง. รา่ ยสุภาพ โคลงสอง, โคลงสาม และโคลงสส่ี ุภาพ

แบบทดสอบ เรือ่ ง รา่ ยสุภาพ

เจ้าอยธุ ยามีบตุ ร ล้วนยงยทุ ธ์เชย่ี วชาญ หาญศกึ บมิยอ่
ตอ่ สศู้ กึ บมหิ ยอน ไป่พกั วอนวา่ ใช้ ให้ธหวงธห้าม
แมน้ เจา้ ครา้ มเคราะหก์ าจ จงอยา่ ยาตรยทุ ธนา เอาพสั ตราสตรี
สวมอนิ ทรียส์ รา่ งเคราะห์

๖. คาประพนั ธ์ขา้ งต้นแตง่ ด้วยคาประพันธช์ นิดใด และมาจากเรอื่ งใด
ก. โคลงสี่สุภาพ, โคลงโลกนิติ
ข. ร่ายยาว, มหาเวสสนั ดรชาดก
ค. อินทรวิเชยี รฉนั ท์, มัทนะพาธา
ง. ร่ายสภุ าพ, ลลิ ิตตะเลงพา่ ย

แบบทดสอบ เรอ่ื ง รา่ ยสุภาพ

๗. ควรใชว้ รรคใดต่อจากวรรคทกี่ าหนดใหจ้ งึ จะถูกต้องตามขอ้ บงั คบั ของร่ายสภุ าพ

“ลกู ธัญรัตน์ลอื นาม ......................”

ก. เด่นดังชอ่ื ก้องไกล
ข. นามนี้มีท่มี า
ค. รอยย้ิมเสริมความงาม
ง. ยามเรียนบ่เคยทอ้

สรปุ

ร่าย คอื คาประพนั ธป์ ระเภทร้อยกรองแบบหนงึ่ ทีแ่ ต่งงา่ ยทีส่ ดุ และมีฉนั ทลักษณ์
นอ้ ยกวา่ รอ้ ยกรองประเภทอน่ื รา่ ยมีลกั ษณะใกลเ้ คยี งกบั คาประพนั ธ์ประเภทร้อยแกว้ มาก
เพียงแต่กาหนดที่คล้องจองและบงั คับวรรณยุกต์ในบางแห่ง

รา่ ยท่นี ิยมแตง่ ที่สดุ คอื ร่ายสุภาพ เป็นรา่ ยท่กี าหนดให้วรรคหนึ่งมีคาหา้ คาเป็นหลัก
บทหนึ่งตอ้ งแตง่ ใหม้ ากกว่าห้าวรรคขึ้นไป สว่ นการจบบท ใชโ้ คลงสองสภุ าพจบ และนิยมมี
คาสรอ้ ยปิดท้ายดว้ ย


Click to View FlipBook Version