โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ทู ิศ สตรวี ทิ ยา พทุ ธมณฑล
ครูเพียงพร โปทอง
กลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ความรู้เบ้อื งตน้ ของกฎหมาย
กฎหมาย
กฎหมายเปน็ กฎเกณฑ์ กตกิ าของสงั คม เพือ่ การอยูร่ ว่ มกันในสงั คมอยา่ งสงบสุข
และภายใต้กรอบหรือระเบียบอันเดียวกันและเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมไปถึงการอยู่
ร่วมกันของประชาคมโลก กฎหมายจึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงในการ
ควบคุมดูแลสังคม ประชาชนจึงควรได้รับความรู้พื้นฐานของกฎหมายในแง่ของ
ความสาคญั ลกั ษณะ ประเภท และศกั ดิข์ องกฎหมาย รวมถงึ กระบวนการตรากฎหมาย
1. ความหมายของกฎหมาย
ฌอง ชาค รสุ โซ นักปราชญช์ าวฝรงั่ เศส ไดก้ ลา่ วไว้วา่ กฎหมาย
คือ เจตจานงของประชาชนในชาติ ซึง่ แสดงออกรว่ มกัน
1. ความหมายของกฎหมาย
โทมัส ฮ็อบส์ นักปราชญ์ชาวอังกฤษ กล่าวไว้ว่า กฎหมาย คือ
หลกั ข้อบังคับ ความประพฤติ ที่บัญญัติขึ้น และบังคับโดยผู้ทรง
อานาจอธปิ ไตย
1. ความหมายของกฎหมาย
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฎหมายไทย ได้อธิบาย
กฎหมาย คือ คาสั่งท้ังหลายของผู้ปกครองว่าการแผ่นดินต่อ
ราษฎรท้งั หลาย เมอื่ ไมท่ าตามแล้วธรรมดาต้องรับโทษ
1. ความหมายของกฎหมาย
ความหมายในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ.2525 กฎหมาย คือ กฎท่ีสถาบันหรือผู้มีอานาจ
สูงสดุ ในรฐั ตราข้นึ หรือทเ่ี กิดจากจารตี ประเพณอี ันเป็นท่ี
ยอมรบั นบั ถือเพ่ือใช้ในการบรหิ ารประเทศ เพอ่ื ใช้บงั คบั
บุคคลให้ปฏิบัติตามหรือเพื่อกาหนดระเบียบแห่ง
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลหรอื ระหว่างบคุ คลกบั รัฐ
2. ความสาคญั ของกฎหมาย
กฎหมายช่วยรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยของสงั คม
กฎหมายเปน็ กฎเกณฑก์ ติกาของการอย่รู ่วมกันในสงั คม
กฎหมายมีส่วนผลกั ดันให้ประชาชนร้จู ักสทิ ธิและหน้าท่ี
การรู้กฎหมายและปฏบิ ัติตามขอ้ บญั ญตั ิของกฎหมายถือเปน็ ส่ิงสาคัญและ
จาเปน็ อยา่ งย่งิ
3. ลักษณะสาคญั ของกฎหมาย
1. เปน็ คาสั่งหรือข้อบังคับ คอื ตอ้ งมีลกั ษณะเปน็ คำสงั่ หรือข้อบังคับใหก้ ระทำ
กำรหรืองดเวน้ กระทำกำรอย่ำงใดอย่ำงหน่ึงตำมที่กำหนดในกฎหมำย หำกประชำชน
ผู้เกี่ยวขอ้ งกระทำกำรในลักษณะท่ีฝ่ำฝืนข้อบญั ญตั ิของกฎหมำย ก็ย่อมไดร้ บั โทษหรือ
รบั ผิดชอบตอ่ ผลท่ีเกดิ ขน้ึ
3. ลกั ษณะสาคญั ของกฎหมาย
2. ต้องมาจากรฏั ฐาธปิ ตั ย์หรือผ้ทู ่มี ีกฎหมายใหอ้ านาจไว้ คือ คณะใดหรือกลุ่ม
บคุ คลใดมีอำนำจสงู สุดของรฐั หรือองคก์ รในขณะน้นั ย่อมมอี ำนำจในกำรออกกฎหมำย
ขึ้นมำใช้ปกครองประชำชนทีอ่ ย่ใู ต้กำรปกครอง ในที่นจี้ ะกลำ่ วถงึ ใน 3 ลกั ษณะ ดังน้ี
3. ลักษณะสาคัญของกฎหมาย
2.1 กฎหมายภายใต้รปู แบบการปกครองประเทศ ซึ่งอำจเปน็ กำรปกครอง
ในระบอบประชำธปิ ไตยหรือกำรปกครองในระบอบเผดจ็ กำร ผูอ้ ยู่ในอำนำจสงู สุด
ย่อมเป็นรฏั ฐำธิปตั ย์ ซ่งึ มีรัฐธรรมนูญเปน็ แม่แบบของกำรให้อำนำจในกำรออก
กฎหมำย
3. ลกั ษณะสาคัญของกฎหมาย
2.2 กฎหมายภายใตก้ ารปกครองประเทศในภาวะไมป่ กติ ได้แก่ ในยำมท่ี
ประเทศมีกำรปฏิวตั หิ รือรัฐประหำร ผใู้ ช้อำนำจในกำรออกกฎหมำยกค็ อื คณะ
ปฏิวัติหรือคณะปฏริ ปู กำรปกครองแผ่นดิน ซง่ึ มอี ำนำจสูงสดุ ในกำรปกครองประเทศ
และในขณะน้ันสภำผ้แู ทนรำษฎรหรอื อำจรวมถึงวฒุ ิสภำก็ถกู ยกเลิกโดยคณะปฏวิ ัติ
3. ลกั ษณะสาคญั ของกฎหมาย
2.3 กฎหมายท่ีออกใชบ้ ังคบั เฉพาะในทอ้ งถน่ิ กำรปกครองส่วนท้องถน่ิ
ของไทยในปจั จบุ ัน มี 5 รปู แบบ คอื
1. องค์กำรบริหำรสว่ นจงั หวัด
2. เทศบำล
3. องคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นตำบล
4. กรุงเทพมหำนคร
5. เมอื งพทั ยำ
3. ลกั ษณะสาคญั ของกฎหมาย
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เหล่ำน้ี สำมำรถออกข้อบญั ญตั ใิ ชบ้ งั คบั แก่
ประชำชนเฉพำะในเขตปกครองสว่ นท้องถนิ่ นั้นๆ โดยสภำขององคก์ รปกครองสว่ น
ทอ้ งถิ่นมอี ำนำจตรำข้อบญั ญัติออกใชบ้ งั คับ
3. ลักษณะสาคัญของกฎหมาย
3. ตอ้ งเป็นคาส่งั หรอื ข้อบงั คับใชไ้ ดโ้ ดยท่วั ไป หมำยควำมว่ำ เมอื่ มี
กฎหมำยได้มกี ำรประกำศใช้แลว้ จะตอ้ งสำมำรถมีผลใช้บังคับแกป่ ระชำชนได้
ทุกเพศทกุ วยั และทกุ สถำนที่ในรำชอำณำจกั รภำยใต้อธิปไตยของชำตแิ ละใน
บำงประเภทของกฎหมำย รวมไปถงึ กำรกระทำทเ่ี กิดขน้ึ บนอำณำบรเิ วณที่
กฎหมำยให้ถอื ว่ำมผี ลบังคับ
3. ลกั ษณะสาคัญของกฎหมาย
4. ต้องใช้บงั คบั ไดจ้ นกวา่ จะมกี ารยกเลิกหรอื เปลย่ี นแปลง โดยปกติ
กฎหมำยแต่ละฉบบั จะมีผลใชบ้ งั คับในลกั ษณะ ดงั น้ี
มผี ลนับต้งั แต่วันประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำ เปน็ ตน้ ไป
มผี ลใชบ้ ังคับตั้งแต่วนั ท่ีกำหนดไว้ในกฎหมำย
เมื่อกฎหมำยฉบบั ใดมีผลใช้บงั คบั ตำมทกี่ ลำ่ วมำข้ำงต้นแล้ว ย่อมมีผลใช้
บังคบั ตลอดไป จนกวำ่ จะมีกำรแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ หรอื มีประกำศยกเลิก หรอื มี
กฎหมำยฉบับใหม่ ยอ่ มทำให้กฎหมำยฉบับเดิมสิ้นผลกำรใช้บังคบั โดยปรยิ ำย
3. ลกั ษณะสาคญั ของกฎหมาย
5. ตอ้ งมีสภาพบังคบั สภำพบังคบั ของกฎหมำย อำจแยกได้เปน็ 2 ลักษณะ
ตำมลักษณะของกฎหมำย กล่ำวคอื สภำพบงั คับของกฎหมำยอำญำนัน้ มีลกั ษณะเปน็
กำรลงโทษผ้ฝู ่ำฝนื หรอื กระทำผดิ ใหเ้ กิดควำมเกรงกลวั ต่อกำรสญู สนิ้ อสิ รภำพ ตัง้ แต่
หนกั ไปหำเบำรวม 5 สถำน คือ ประหำรชวี ติ จำคกุ กกั ขัง ปรบั และรบิ ทรพั ยส์ นิ
สว่ นสภำพบงั คบั ในทำงแพ่งจะเปน็ ไปในลกั ษณะกำรชดใช้ค่ำเสยี หำยหรือคำ่ สินไหม
ทดแทน เพอ่ื ชดใชค้ วำมเสยี หำยท่ลี ูกหน้ีไดก้ ระทำให้เจำ้ หนไ้ี ด้รับควำมเสยี หำย
4. ประเภทและศักด์ิของกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
1) กฎหมายแบ่งตามความสัมพนั ธข์ องผ้ทู ่ตี ้องเก่ยี วขอ้ งหรือถกู บังคับใช้ กำร
แบง่ กฎหมำยในลักษณะนี้ บำงคร้งั อำจเรยี กวำ่ เป็นสำขำของกฎหมำยที่มีกำรศกึ ษำ
ในชนั้ อุดมศึกษำหรอื ขั้นมหำวทิ ยำลยั ต้งั แต่ระดับปริญญำตรี โท และเอก โดย
แบง่ เป็น 3 สำขำ ดงั น้ี
4. ประเภทและศักด์ิของกฎหมาย
1.1) กฎหมายเอกชน เป็นกฎหมำยทบี่ ังคับโดยคำนึงถึงควำมสัมพันธ์ระหวำ่ ง
เอกชนต่อเอกชน หรือระหว่ำงพลเมืองกับพลเมืองทมี่ ีควำมเทำ่ เทยี มกนั เมื่อมขี ้อ
ขดั แย้งหรือโต้แยง้ กนั ก็จะต้องใช้กฎหมำยเอกชนมำเปน็ เครอ่ื งมอื พจิ ำรณำหรอื ตดั สนิ
เพื่อหำขอ้ ยุติ กฎหมำยเอกชนในระบบกฎหมำยท่ีควรรจู้ ัก มดี ังต่อไปนี้
4. ประเภทและศกั ดข์ิ องกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยสถานะและความเก่ียวพัน
ของบุคคลเพ่ือกาหนดสิทธิและการทาหน้าท่ีในสังคมด้าน ต่างๆ
อันได้แก่ เรื่องกาหนดสภาพบุคคล ประเภทของทรัพย์และ
ทรัพย์สิน ละเมิด นิติกรรมและสัญญา หน้ี ครอบครัว และ
มรดก เป็นตน้
4. ประเภทและศกั ดขิ์ องกฎหมาย
กฎหมายพาณิชย์ เป็นกฎหมายทบี่ ญั ญตั ิข้ึนโดยมีจุดม่งุ หมายเพ่อื
สร้างกฎเกณฑต์ อ่ เอกชนกับเอกชนที่ดาเนินธรุ กจิ ผกู พันในเรอ่ื ง
ต่างๆ เช่น การซ้อื ขาย การเชา่ ทรัพย์ การเชา่ ซ้อื การจานอง
การจานา การกยู้ มื เงิน การฝากทรพั ย์ ซึง่ กฎหมายพาณิชย์ท่แี ยก
ออกเปน็ เฉพาะเรื่องเหล่าน้ี กฎหมายรวมเรยี กว่า “เอกเทศสญั ญา”
4. ประเภทและศกั ดิ์ของกฎหมาย
1.2) กฎหมายมหาชน เป็นกฎหมำยที่กำหนดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐกับรัฐ
พลเมืองของรัฐ ในฐำนะท่ีพลเมืองอยู่ภำยใต้กำรปกครองดูแลของรัฐ รัฐจึงจำเป็นที่
จะต้องมีเครื่องมือในกำรปกครองและควบคุมดูแลพลเมืองให้อยู่ภำยใต้กรอบของ
กฎหมำยมหำชน
กฎหมำยมหำชนทีส่ ำคญั และควรรูจ้ ัก มดี ังตอ่ ไปนี้
4. ประเภทและศักดข์ิ องกฎหมาย
กฎหมายรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายหรือระเบียบสูงสุดของรัฐท่ี
วางรากฐานการปกครองประเทศ วางรูปแบบการบริหารราชการ
แผ่นดินในทุก ด้าน จึงอาจเรียกว่าเป็นกฎหมายแม่บทของระบบและ
รปู แบบการปกครองประเทศ
กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายที่กาหนดกฎเกณฑ์การบริหารราชการ
แผ่นดิน
4. ประเภทและศักดิข์ องกฎหมาย
กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและการกาหนดโทษสาหรับ
ความผดิ น้นั ๆ ประมวลกฎหมายอาญาของไทยมขี อบขา่ ย 3 ส่วน คือ
1. ภาคทวั่ ไป อนั เปน็ กำรวำงหลกั ทว่ั ไปของกฎหมำยอำญำ
2. ภาคความผิด อันเป็นกำรกำหนดประเภทควำมผดิ ไวเ้ ปน็ หมวดหมู่
3. ภาคลหุโทษ อนั เป็นกำรวำงโทษสำหรบั กำรกระทำควำมผดิ เล็กน้อย
4. ประเภทและศกั ด์ขิ องกฎหมาย
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คือ กฎหมายท่ีว่าด้วยหลักเกณฑ์
หรือขั้นตอนในการดาเนินคดีอาญา ท้ังในกรณีท่ีรู้ตัวผู้กระทาผิด
หรือไมร่ ตู้ วั ผ้กู ระทาผดิ
กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง คอื กฎหมายหรอื กฎเกณฑท์ ่ีวา่ ด้วย
การดาเนินคดเี ม่ือเกดิ ข้อพิพาทในทางแพง่ ตามขัน้ ตอนทถี่ กู กาหนดไว้
ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง นบั แต่โจทกแ์ ละจาเลยมี
ข้อโตแ้ ยง้ ทจ่ี าเปน็ ตอ้ งให้ศาลในคดแี พ่งวนิ จิ ฉัย
4. ประเภทและศักดิข์ องกฎหมาย
พระธรรมนญู ศาลยตุ ธิ รรม คอื กฎหมายเกย่ี วกับเร่ืองการจัดองคก์ ร
ของศาลในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดีทงั้ คดแี พ่ง คดอี าญา และคดี
พเิ ศษอื่นๆ เชน่ คดลี ม้ ละลาย คดแี รงงาน คดีภาษอี ากรในศาล
ชานญั พิเศษ
4. ประเภทและศกั ด์ขิ องกฎหมาย
1.3) กฎหมายระหว่างประเทศ คือ กฎหมำยหรือข้อตกลงร่วมกันระหว่ำงรัฐหรือ
ประเทศที่มีควำมสัมพันธ์ในรูปของภำคีสมำชิกท่ีมีกำรรวมกลุ่มกัน เพื่อแก้ไขปัญหำ
รว่ มกันทง้ั ในยำมปกติท่ตี ้องอำศัยควำมรว่ มมอื กันในระหว่ำงภำคสี มำชิก หรือในยำมที่มี
ข้อขัดแย้งเพ่ือหำแนวทำงยุติควำมขัดแย้งมิให้เกิดผลลุกลำม กฎหมำยระหว่ำงประเทศ
ตำมหลกั สำกล มี 3 ลักษณะ ดงั ต่อไปนี้
4. ประเภทและศักดข์ิ องกฎหมาย
กฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดเี มอื ง คอื กฎเกณฑ์ข้อบังคับวำ่ ดว้ ย
ควำมสัมพันธแ์ ละสิทธิหนำ้ ทร่ี ะหวำ่ งรฐั ท่เี ป็นภำคสี มำชกิ พึงต้องปฏบิ ัติ
ต่อกนั ท้ังในยำมปกตแิ ละในกรณีมขี อ้ ขดั แยง้ กนั เพอ่ื ยตุ สิ งครำม หรอื มี
ขอ้ ขัดแยง้ เรือ่ งพรมแดน
4. ประเภทและศกั ดิ์ของกฎหมาย
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คอื กฎหมำยทีบ่ ัญญตั ิถึง
ควำมสมั พันธร์ ะหว่ำงบุคคลทีอ่ ยู่ตำ่ งรฐั กนั เม่อื มพี ันธกรณีท่จี ะตอ้ ง
ปฏบิ ตั ิต่อกันเมือ่ เกีย่ วขอ้ งในดำ้ นต่ำงๆ เพื่อขจัดขอ้ ขัดแยง้ ในกำรสร้ำง
ควำมสัมพันธ์ต่อกนั
กฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดอี าญา คอื กฎหมำยทีก่ ำหนด
ควำมสมั พันธร์ ะหว่ำงรฐั ตอ่ รัฐในควำมร่วมมือขจัดปญั หำอำชญำกรรม
ขำ้ มชำติ
4. ประเภทและศักดิ์ของกฎหมาย
2) การแบง่ กฎหมายออกตามหลักของการใชก้ ฎหมาย นกั นิติศำสตร์แบ่งกฎหมำย
ตำมลักษณะได้เปน็ 2 ประเภท
2.1) กฎหมายสารบัญญัติ คือ กฎหมำยที่มีลักษณะเปน็ เน้ือหำของกฎหมำย
เช่น ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ ประมวลกฎหมำยอำญำ ประมวล
กฎหมำยท่ดี ิน เปน็ ต้น
4. ประเภทและศักดิข์ องกฎหมาย
2.2) กฎหมายวิธีสบัญญัติ คือ กฎหมำยที่มีลักษณะกำหนดขั้นตอนของ
กระบวนวิธีกำรใช้กฎหมำยหรือกระบวนวิธีพิจำรณำคดี ซ่ึงกำหนดข้ันตอนหรือ
ระยะเวลำในกำรดำเนินกำรอย่ำงใด เพอื่ ใหค้ ู่ควำมคอื ฝ่ำยโจทก์และจำเลยได้ปฏิบตั ิ
ให้ถูกต้องตำมท่ีกฎหมำยกำหนด เพรำะหำกคู่ควำมฝ่ำยใดละเลยหรือเพิกเฉยจน
เลยระยะเวลำตำมที่กฎหมำยกำหนด ย่อมทำใหค้ ู่ควำมฝ่ำยนั้นเสียหำย
4. ประเภทและศักดขิ์ องกฎหมาย
ศักดขิ์ องกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ/พระราชกาหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
ข้อบญั ญตั ขิ ององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
4. ประเภทและศกั ดิ์ของกฎหมาย
รูปแบบของกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษรของไทยเรียงตามศักด์ิของ
กฎหมายมีดังนี้
1) รฐั ธรรมนูญ เปน็ กฎหมำยสูงสดุ ท่ีใชป้ กครองประเทศ กลำ่ วคือ รฐั ธรรมนูญจะ
จดั รปู แบบองค์กรของรัฐ กำหนดกลไกในกำรปกครองประเทศ กำหนดและรบั รอง
สทิ ธิเสรภี ำพของประชำชน
4. ประเภทและศกั ดข์ิ องกฎหมาย
2) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู มีลกั ณะเป็นกฎหมำยที่ช่วยขยำยบทบญั ญัติ
ในรฐั ธรรมนญู ซึง่ ต้องกำรเนน้ รำยละเอียด เพอ่ื ใหผ้ ู้ปฏิบัตเิ กิดควำมเข้ำใจอย่ำงสมบูรณ์
ครบถ้วน
3) พระราชบัญญัติ กฎหมำยท่ีพระมหำกษัตริย์ตรำขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของ
รัฐสภำ กล่ำวคือ เป็นกฎหมำยที่มีกำรเสนอร่ำงกฎหมำยโดยอำจผ่ำนทำง
สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรหรือคณะรัฐมนตรี หรือประชำชนตำมจำนวนท่ีรัฐธรรมนูญ
กำหนด
4. ประเภทและศกั ดิข์ องกฎหมาย
4) พระราชกาหนด กฎหมำยอกี รปู แบบหนึง่ ซงึ่ มคี วำมจำเปน็ เรง่ ด่วนทีจ่ ะตอ้ งมี
กฎหมำยเพือ่ ใชบ้ งั คับ พระมหำกษตั ริยท์ รงตรำขึ้นโดยคำแนะนำของคณะรฐั มนตรี
โดยอำศัยอำนำจตำมรฐั ธรรมนญู
5) พระราชกฤษฎกี า กฎหมำยทพ่ี ระมหำกษัตรยิ ์โดยคำแนะนำของคณะรฐั มนตรี
อำจออกไดใ้ นกรณี เป็นต่อไปน้ี
1. ออกเพื่อกำหนดระยะเวลำกำรทำงำนของฝ่ำยบริหำรหรอื ฝ่ำยนติ บิ ญั ญตั ิ
แล้วแต่กรณี
2. ออกพระรำชกฤษฎีกำตำมท่กี ฎหมำยแม่บทกำหนดไว้
4. ประเภทและศักดิข์ องกฎหมาย
6) กฎกระทรวง คือ กฎหมำยทรี่ ัฐมนตรีผรู้ ักษำกำรตำมกฎหมำยแม่บทออกโดยผำ่ น
ควำมเหน็ ชอบจำกคณะรฐั มนตรี เพ่ือดำเนนิ กำรตำมทก่ี ฎหมำยแมบ่ ทใหอ้ ำนำจไว้
7) กฎหมายทต่ี ราโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ไทย
มี 5 รปู แบบ ซงึ่ เรยี กช่อื แตกตำ่ งกนั ไป ดังน้ี
1. องคก์ ำรบรหิ ำรส่วนจงั หวดั หรอื อบจ. มอี ำนำจออกขอ้ บญั ญตั ิจงั หวัด
2. เทศบำล มีอำนำจออกเทศบญั ญัติ
3. องค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบล หรอื อบต. มอี ำนำจออกข้อบัญญตั ิองคก์ ำรบริหำรส่วนตำบล
4. กรงุ เทพมหำนคร มอี ำนำจออกข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหำนคร
5. เมืองพัทยำ มีอำนำจออกข้อบัญญัตเิ มืองพัทยำ
5. กระบวนการตรากฎหมาย
1. พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญ กำรเสนอรำ่ งพระรำชบญั ญัตปิ ระกอบ
รฐั ธรรมนูญจะเสนอไดก้ แ็ ตโ่ ดยคณะรัฐมนตรี สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรจำนวนไมน่ ้อยกวำ่ 1 ใน
10 ของจำนวนสมำชกิ ทั้งหมดเท่ำทมี ีอยขู่ องสภำผ้แู ทนรำษฎรและสมำชิกวุฒิสภำ มจี ำนวนไม่
นอ้ ยกว่ำ 1 ใน 10 ของจำนวนสมำชกิ ทง้ั หมดเท่ำทม่ี อี ยู่ของทง้ั สองสภำ หรือศำลรัฐธรรมนูญ
ศำลฎีกำ หรอื องคก์ รอสิ ระตำมรัฐธรรมนูญ ขน้ั ตอนกำรพิจำรณำคล้ำยคลงึ กับกำรพิจำรณำร่ำง
พระรำชบญั ญัติ
5. กระบวนการตรากฎหมาย
2. พระราชบัญญตั ิ กำรเสนอรำ่ งพระรำชบัญญตั จิ ะเสนอได้กแ็ ตโ่ ดยคณะรัฐมนตรี
สมำชิกสภำผ้แู ทนรำษฎรจำนวนไม่น้อยกวำ่ 20 คน ศำลหรือองค์กรอสิ ระตำมรฐั ธรรมนูญเฉพำะ
กฎหมำยท่ีเก่ยี วกบั กำรกำรจดั องค์กร และกฎหมำยที่ประธำนศำลและประธำนองคก์ รนั้นเป็นผู้
รกั ษำกำร หรอื ประชำชนผ้มู สี ิทธเิ ลอื กต้งั จำนวนไมน่ ้อยกว่ำ 10,000 คน โดยจะเขำ้ ชือ่ เสนอ
กฎหมำยได้เฉพำะหมวดสิทธแิ ละเสรภี ำพของปวงชนชำวไทย และหมวดแนวนโยบำยพน้ื ฐำน
แห่งรัฐเทำ่ นนั้ โดยกำรพจิ ำรณำรำ่ งพระรำชบัญญัติ ต้องเสนอต่อสภำผแู้ ทนรำษฎรก่อน
5. กระบวนการตรากฎหมาย
3. พระราชกาหนด เป็นกฎหมำยทต่ี รำขนึ้ เพ่ือใชใ้ นกรณฉี กุ เฉินท่มี ีควำมจำเปน็ เรง่ ด่วน
อันมิอำจจะเลย่ี งได้ เพอ่ื ประโยชนท์ ี่จะรักษำควำมม่นั คงและปลอดภัยของประเทศ เมื่อได้มีกำร
ตรำพระรำชกำหนดขึ้น รัฐบำลตอ้ งนำพระรำชกำหนดน้นั เสนอตอ่ สภำผแู้ ทนรำษฎรและวุฒิสภำ
ในกำรประชุมรฐั สภำ เพือ่ ให้รัฐสภำให้ควำมเหน็ ชอบและมีผลบังคับใชเ้ ป็นพระรำชบญั ญตั ิต่อไป
5. กระบวนการตรากฎหมาย
4. พระราชกฤษฎกี า เปน็ กฎหมำยทีพ่ ระมหำกษัตรยิ ท์ รงตรำข้นึ โดยคำแนะนำของ
คณะรัฐมนตรีหรือฝ่ำยบรหิ ำร เพอ่ื กำรบรหิ ำรรำชกำรแผน่ ดนิ ของรัฐบำล โดยถือว่ำมศี กั ด์ติ ่ำกวำ่
พระรำชบัญญตั ิ และพระรำชกำหนด
5. กระบวนการตรากฎหมาย
5. กฎกระทรวง เปน็ กฎหมำยทีอ่ อกตำมพระรำชบญั ัติหรอื พระรำชกำหนด อนั เป็นกฎหมำย
แมบ่ ท ออกโดยฝ่ำยบรหิ ำร อนั ได้แก่ รฐั มนตรี โดยควำมเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี
6. ข้อบัญญัตอิ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เป็นกฎหมำยที่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินแต่ละ
แหง่ ตรำขึ้นและใช้บงั คบั เปน็ กำรท่ัวไปภำยในเขตอำนำจขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ นั้น เชน่
เทศบัญญตั ิ ข้อบัญญตั อิ งค์กำรบริหำรส่วนตำบล เปน็ ตน้
5. กระบวนการตรากฎหมาย
ขั้นตอนการตรากฎหมาย
1) การพจิ ารณาในสภาผู้แทนราษฎร
วาระท่หี นึ่ง ขั้นรับหลักการ
วาระทีส่ อง ข้ันพิจารณาในรายละเอียดของร่างพระราชบญั ญตั ิ
วาระท่สี าม ข้ันลงมติเหน็ ชอบ
5. กระบวนการตรากฎหมาย
2) การพจิ ารณาในวฒุ สิ ภา
เหน็ ชอบ นายกรฐั มนตรีดาเนนิ การนาข้ึนทูลเกล้าฯ
ไมเ่ ห็นชอบ วุฒสิ ภายับย้งั รา่ งพระราชบัญญัติและส่งกลบั คืน
สภาผแู้ ทนราษฎร
แก้ไขเพ่ิมเติม สภาผูแ้ ทนราษฎรต้งั คณะกรรมาธกิ าร
พิจารณารา่ งพระราชบัญญัติ
5. กระบวนการตรากฎหมาย
การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการตรากฎหมาย
บงั คบั ประกาศใชใ้ นราชกจิ จานเุ บกษา พระมหากษตั รยิ ์
ใชก้ ฎหมาย
ทรงลงพระปรมาภไิ ธย
คณะรัฐมนตรี เสนอ ร่างพระราชบญั ญัติ
สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร เสนอ นายกรฐั มนตรี
ร่างพระราชบญั ญัติ
ประชาชนผ้มู สี ิทธิเลือกตั้ง เสนอ (เฉพาะสาระในหมวด 3 รัฐสภา
(จานวนไม่น้อยกวา่ 1 หม่นื คน) และ 4 ของรัฐธรรมนูญ) (ประกอบดว้ ย
สภาผู้แทนราษฎร
และวุฒสิ ภา)