The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี6_63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-12-13 05:26:51

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี6_63

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี6_63

หลกั สตู รรายวชิ า
และแผนการจดั การเรยี นรู้

รหสั วิชา ว 30226

รายวิชาเพิม่ เติม เคมี 6

จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ 3 คาบ/สปั ดาห์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2

ปีการศึกษา 2563

จดั ทำโดย
นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์
ตำแหน่ง ครูชำนาญการพเิ ศษ

กล่มุ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาการมธั ยมศึกษา เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สูตรรายวชิ า

(Course Development)

รหัสวิชา.... ว 30226...รายวิชา.... เคมี 6.......
จำนวน....1.5.... หน่วยกิต ....3..... คาบ/ สัปดาห์

ภาคเรยี นท่ี ..2... ปกี ารศกึ ษา …2563…..

จดั ทำโดย

.........นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน์.........

ตำแหน่ง ....ครูชำนาญการพิเศษ...........

กลุ่มสาระการเรยี นรู้.....วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี......

โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาการมัธยมศกึ ษา เขต 1

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

หลักสูตรรายวิชาฉบับน้ีจัดทำขึ้นเพื่อเตรียมการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมี 6 รหัสวิชา ว 30226
โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวชิ า โครงสร้างรายวชิ า กำหนดเวลาเรยี น นำ้ หนักคะแนน กำหนด
ทักษะกระบวนการในการเรียนการสอนตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรยี นการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาการมธั ยมศึกษา เขต 1 ตอ่ ไป

นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์
ชอ่ื ผจู้ ดั ทำ

สารบัญ หนา้

คำนำ 1
1. หลักการและจุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 2551 1
1
หลักการ 2
จดุ หมาย 2
2. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 3
3. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 3
4. วสิ ัยทัศน์ของโรงเรียน 3
พันธกิจ 4
เปา้ ประสงค์ 4
5. การกำหนดโครงการสอน 4
คำอธิบายรายวิชา (ดูรายละเอยี ดจากหลักสตู ร) 4
สาระ/มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั (แกนกลาง) 4
มาตรฐานการเรยี นรู้ (ดูรายละเอียดจากหลกั สูตร) 4
ตวั ชวี้ ดั หรือผลการเรียนรู้ (ดรู ายละเอียดจากหลกั สตู ร) 5
6. ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า 6
7. การกำหนดโครงการสอนและกจิ กรรมตลอดภาคเรยี น 6
8. แผนการวดั ผลและภาระงาน 6
แนวการวัดผล 6
แผนการวัดผล
การกำหนดภาระงานนักเรยี น

1. หลกั การและจุดมุ่งหมายของหลักสตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2551 1

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน มุง่ พฒั นาผูเ้ รียนทุกคน ซึ่งเปน็ กำลังของชาตใิ ห้เป็นมนษุ ย์ทีม่ ีความ

สมดุลทั้งดา้ นรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตาม

ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ มีความรู้และทักษะพน้ื ฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นตอ่

การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ิต โดยมงุ่ เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั บนพื้นฐานความเชอื่ ว่า

ทุกคนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ

หลักการ
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน มหี ลกั การที่สำคญั ดังน้ี
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น

เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคกู่ ับความเปน็ สากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี

คุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้

สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถน่ิ
4. เป็นหลักสูตรการศึกษ าท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด

การเรยี นรู้
5. เป็นหลกั สูตรการศึกษาทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก

กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญ ญา มีความสุข

มศี ักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกบั ผ้เู รยี น เมื่อจบการศกึ ษาขั้น

พ้ืนฐาน ดงั น้ี
1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม

หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ิต
3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกำลังกาย

4. มีความรกั ชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่ันในวิถีชวี ิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข

5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต
สาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสรา้ งส่ิงท่ีดงี ามในสงั คม และอยู่ร่วมกนั ในสงั คมอย่างมีความสขุ

2. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 2

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน มุ่งให้ผ้เู รียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ

ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา

ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้

วธิ ีการสอื่ สาร ทม่ี ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง

สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพือ่ นำไปสู่การสรา้ งองคค์ วามรหู้ รอื สารสนเทศเพ่ือ

การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ งๆ ทีเ่ ผชญิ ได้อย่าง

ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสั มพันธ์และการ

เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา

และมีการตัดสินใจที่มปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้นตอ่ ตนเอง สังคมและสิง่ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนิน

ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ

สร้างเสริมความสัมพนั ธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้

ทนั กบั การเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการร้จู กั หลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบ

ตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี

ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การ

แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

3. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ม่งุ พัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถ
อยรู่ ว่ มกับผ้อู ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซอื่ สตั ย์สจุ รติ
3. มวี ินยั

4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง
6. มุง่ มน่ั ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ

3

4. วิสัยทัศน์ของโรงเรยี น

โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม เป็นโรงเรยี นส่งเสรมิ ทกั ษะการคิด เพ่ือพฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี วามรู้
คคู่ ณุ ธรรม บนพน้ื ฐานความเป็นไทยและหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พนั ธกจิ
1) จดั การเรียนการสอนเพอื่ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น

2) พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
3) การบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
4) พฒั นาชุมชน สังคม ธำรงสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

เป้าประสงค์

1) ผู้เรียนมีคุณสมบัติตามมาตรฐานนักเรียนโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 10 ข้อ ได้แก่ ทดแทน
บญุ คุณบิดามารดา มาโรงเรียนเช้า เข้าห้องเรยี นเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพื่อนดี สามัคคีหมู่คณะ ละเลิกสิ่ง
ชว่ั ประพฤตติ ัวดี มีน้ำใจ ใหเ้ กยี รติกัน และมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตร

2) ผูเ้ รยี นมสี ่วนร่วมในการสืบสาน อนุรกั ษ์ ประเพณี และวฒั นธรรมไทย
3) ผู้เรยี นนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดำเนินชวี ติ
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่ือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน

สร้างสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบสังคม
5) ผู้เรียนมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง จิตใจร่าเริงแจ่มใส มีสุขภาพจิตท่ีดี ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข

และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา

ตามศกั ยภาพ
7) ครแู ละบคุ ลากรมีความรู้และจรยิ ธรรม มีศักยภาพในหนา้ ที่ของตน

8) สถานศึกษามสี ภาพแวดล้อมและการบรกิ ารท่ีเอื้อตอ่ การเรียนรู้
9) สถานศกึ ษามกี ารบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หนว่ ยงานอน่ื ๆท่เี กี่ยวขอ้ ง เน้นการมีส่วนร่วมของผเู้ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายในการพัฒนาโรงเรียน

4

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธบิ ายรายวชิ า

โครงการสอนรายวิชา
รหสั วิชา.... ว 30226 ...รายวชิ า....เคมี..6.......
จำนวน....1.5.... หน่วยกติ ....3..... คาบ/ สปั ดาห์ ภาคเรยี นท่ี ...2... ปีการศึกษา …2563…..

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด (แกนกลาง)
-

คำอธบิ ายรายวิชา (ดรู ายละเอียดจากหลักสูตร)
ศึกษาการแก้ปัญหาในสถานการณ์ หรือประเด็นท่ีสนใจทำได้โดยการบูรณาการความรู้ ทางเคมีร่วมกับ

วทิ ยาศาสตร์แขนงอ่ืน รวมท้ังคณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเนน้ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและความคดิ สร้างสรรค์

โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและ

การอภิปราย เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารส่ิงท่เี รยี นรู้ โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเป็น
เคร่ืองมือประกอบการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ และนำความรู้ที่ได้จากการพัฒนากระบวนการคิด เข้าร่วม
ประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงานอยา่ งสร้างสรรค์
มาตรฐานการเรียนรู้ (ดรู ายละเอียดจากหลักสตู ร)
สาระเคมี 3 : เข้าใจหลกั การทำปฏิบตั กิ ารเคมี การวัดปรมิ าณสาร หนว่ ยวัดและการเปล่ียนหน่วย การคำนวณ
ปรมิ าณของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย รวมท้ังการบูรณาการ ความรแู้ ละทกั ษะในการอธิบายปรากฏการณ์

ในชีวติ ประจำวนั และการแกป้ ัญหา ทางเคมี
ผลการเรยี นรู้

1. กำหนดปญั หา และนำเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาโดยใชค้ วามรูท้ างเคมจี ากสถานการณ์ท่ีเกดิ ขึน้ ใน
ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชพี หรอื อตุ สาหกรรม

2. แสดงหลกั ฐานถึงการบรู ณาการความรูท้ างเคมรี ว่ มกับสาขาวชิ าอื่น รวมท้ังทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรห์ รือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเนน้ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปญั หาและความคดิ

สร้างสรรค์ เพอื่ แก้ปัญหาในสถานการณห์ รอื ประเด็นทีส่ นใจ
3. นำเสนอผลงานหรือชน้ิ งานท่ีได้จากการแก้ปญั หาในสถานการณ์หรอื ประเด็นทส่ี นใจโดยใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศ
4. แสดงหลกั ฐานการเขา้ รว่ มการสมั มนา การเข้ารว่ มประชมุ วิชาการ หรอื การแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ใน

งานนิทรรศการ

รวมท้ังหมด 4 ผลการเรยี นรู้

6. ตารางโครงสร้างรายวชิ า

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด หรือ วิธีการประเมนิ เวลา น้ำหนกั
(ชว่ั โมง) คะแนน
ท่ี ผลการเรียนรู้
10 10
1 การใช้ความรทู้ างเคมี 1 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 5
20
ในการแก้ปัญหา 2. สบื คน้ ข้อมูล/อภิปรายกลมุ่ 20
10 20
2 การบูรณาการความรู้ 2 1. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์
1
ในการแก้ปญั หา 2. สืบค้นข้อมูล/อภปิ รายกลมุ่

สอบกลางภาค

3 การนำเสนอผลงาน 3 1. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3 5
20
2. รายงาน 5 10
20
3. สืบค้นข้อมูล/อภปิ รายกลมุ่ 3 100

4 การเข้ารว่ มประชุม 4 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 1 เวลา
(ชัว่ โมง)
วชิ าการ 2. รายงาน 2
15
สอบปลายภาค 1
30
รวม 60
12
อตั ราสว่ นคะแนน

คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

K : P : A = 40 : 60 : …..

รวม 100 คะแนน

คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน

สอบกลางภาค = 20 คะแนน

คะแนนเกบ็ ก่อนสอบปลายภาค = 30 คะแนน

คณุ ลกั ษณะ / จิตพิสัย = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20 คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรยี น

สัปดาห/์ หนว่ ยการเรยี นร/ู้ ผลการเรยี นรู้ กิจกรรม /
แผนการ เน้อื หา กระบวนการเรยี นรู้
เรียนรู้ท่ี

1 การใชค้ วามรทู้ างเคมีใน 1 รปู แบบการเรียนรแู้ บบโยนิโส

การแก้ปญั หา มนสิการตามขน้ั ตอนดงั นี้

1. ขั้นพฒั นาปัญญา

2. ขน้ั นำปัญญาพัฒนาความคิด

3. ข้ันนำปญั ญาพัฒนาตนเอง

2-3 การบูรณาการความรู้ใน 2 รปู แบบการเรียนรแู้ บบโยนิโส
การแกป้ ญั หา มนสิการตามข้นั ตอนดังนี้

1. ข้นั พฒั นาปญั ญา
2. ขัน้ นำปัญญาพัฒนาความคิด
3. ขัน้ นำปัญญาพัฒนาตนเอง

4 การนำเสนอผลงาน 3 รูปแบบการเรียนร้แู บบโยนิโส
มนสกิ ารตามขั้นตอนดงั นี้
1. ขน้ั พฒั นาปญั ญา
2. ขั้นนำปญั ญาพัฒนาความคดิ
3. ขัน้ นำปญั ญาพฒั นาตนเอง

6

5 การเข้ารว่ มประชุม 4 รูปแบบการเรียนรู้แบบโยนโิ ส 3

วชิ าการ มนสิการตามขั้นตอนดังน้ี

1. ขัน้ พัฒนาปัญญา

2. ขัน้ นำปัญญาพัฒนาความคดิ

3. ข้นั นำปญั ญาพัฒนาตนเอง

8. แผนการวดั ผลและภาระงาน

แนวการวดั ผล อัตราสว่ น คะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = ...80.... : ....20.....

อตั ราสว่ น คะแนน K : P : A = ....40... : ...60... : ............

แผนการวัดผล

การประเมนิ คะแนน วิธวี ดั ชนิดของเครอื่ งมอื ตัวช้ีวัด/ผลการ เวลาทใี่ ช้
เรยี นรขู้ อ้ ที่ (นาท/ี ครง้ั )

ก่อนกลางภาค 40 1.สบื คน้ ขอ้ มลู ชุดกิจกรรม 1-2 50 นาที/ครง้ั

2.อภปิ รายกลมุ่ วทิ ยาศาสตร์

กลางภาค 20 สอบ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ 1-2 60 นาท/ี ครง้ั
หลังกลางภาค 3-4 50 นาที/คร้งั
20 1.สืบคน้ ขอ้ มูล ชุดกจิ กรรม
2.อภปิ รายกลมุ่ วทิ ยาศาสตร์

คณุ ลักษณะ / - - - - ตลอด
จิตพิสยั ภาคเรยี น

ปลายภาค 20 สอบ แบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ 3-4 60 นาท/ี ครั้ง

รวม 100 คะแนน

การกำหนดภาระงานนกั เรยี น
ในการเรยี นรายวิชา.เคมี..4..ได้กำหนดให้นักเรียนทำกิจกรรม/ ปฏิบตั งิ าน (ชิ้นงาน)….17....ชน้ิ ดังน้ี

ท่ี ชอื่ งาน ตัวชีว้ ดั /ผลการ ประเภทงาน กำหนดส่ง
1 รายงานผลการทดลอง เรอ่ื ง การแกป้ ัญหาด้วย
เรียนรู้ขอ้ ที่ กลมุ่ เด่ยี ว วนั /เดือน/ปี

1 ธ.ค 63

วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ความร้ทู างเคมี 2 ม.ค 64
2 รายงานผลการทดลอง เรอ่ื ง สายไฟแป้งโดว์

3 รายงานผลการทดลอง เร่อื ง การแกป้ ญั หาโดยการ 2 ม.ค 64

บรู ณาการความรู้ 3 ม.ค 64
4 นำเสนอรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม

5 สบื ค้นข้อมลู วธิ ีการเขยี นอ้างองิ แบบแทรกในเนอ้ื หา 3  ก.พ 64

6 รายงาน การจัดทำ และนำ เสนอขอ้ มูลในโปสเตอร์ 3  ก.พ 64

7 รายงานกจิ กรรม สบื คน้ ข้อมลู งานประชุมวิชาการ 4 ก.พ 64

8 รายงานกจิ กรรม การเข้าร่วมและการสรปุ รายงาน 4 ก.พ 64
การเข้าประชุมวชิ าการทน่ี ักเรียนสนใจ

หากนักเรียนขาดส่งงาน 4 ช้ิน จะได้รบั ผลการเรียน “ร” ในรายวชิ านี้

ลงชอ่ื ........................................ครผู ู้สอน 7
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน์..)
ลงช่อื ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(นายสรุ จกั ริ์ แกว้ ม่วง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชอื่ ...........................................
(.นายศวิ าวุฒิ รัตนะ..) (..นางรพีพร คำบุญมา..)
หวั หนา้ งานนเิ ทศ
รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ี จดั ทำขึ้นเพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ ารายวชิ า
เพิ่มเติม ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 รหัสวชิ า ว30226 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 ท่ีเน้นนักเรยี นเป็นสำคัญ มี
การจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายสอดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลุ่มสาระ
การเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ซ่ึงประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 4 หน่วย คือ หน่วยท่ี 1 การใช้ความรู้ทางเคมีใน
การแกป้ ัญหา หน่วยที่ 2 การบรู ณาการความร้ใู นการแก้ปัญหา หน่วยท่ี 3 การนำเสนอผลงาน และ หน่วยท่ี 4
การเขา้ ร่วมประชุมวิชาการ

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและ
รายกลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้
นักเรียนเชื่อมโยงความรู้ทั้งในและต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย สร้าง
สถานการณ์การเรียนรู้ท้ังในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาทหน้าท่ีในการเอ้ืออำนวยความสะดวกให้แก่
นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด รวมทั้งพัฒนานักเรียนให้มี
สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่หลักสูตรกำหนด เพ่ือให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่
ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมีความสุขการปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนได้อย่างเป็น
ระบบ ส่งผลให้ผู้เรยี นมีคุณภาพ และสถานศกึ ษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาอย่างแทจ้ ริง

หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ แผนการจัดการเรียนรู้ เล่มนจี้ ะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการจดั การ
เรียนรใู้ หเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมของนกั เรยี นต่อไป

......................................................
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรตั น์)

สารบญั

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 การใชค้ วามรทู้ างเคมใี นการแกป้ ญั หา หนา้
การใชค้ วามรทู้ างเคมีในการแก้ปัญหา 1-6
 แผนการเรยี นรทู้ 1่ี
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การบูรณาการความรใู้ นการแกป้ ญั หา 1
 แผนการเรียนรทู้ 2ี่ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 7 - 19
 แผนการเรยี นรทู้ 3่ี การบรู ณาการความรใู้ นการแกป้ ัญหา
7
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 การนำเสนอผลงาน 14
การนำเสนอผลงาน 20- 25
 แผนการเรยี นรทู้ ่ี4 20
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การเขา้ รว่ มประชมุ วชิ าการ 26- 31
 แผนการเรียนรู้ที่5 การเขา้ รว่ มประชมุ วชิ าการ 26
เครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผล 32 - 37

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1

หนว่ ยการเรียนรู้ท.่ี 1.การใช้ความรู้ทางเคมีในการแกป้ ญั หา...เร่อื ง..…..การใช้ความรทู้ างเคมใี นการแก้ปญั หา….
รายวชิ า……..............เคมี…6........ ............รหัสวชิ า…..............ว 30226......................ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่....6.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2563...ภาคเรียนท.่ี .2...เวลา...10..ชว่ั โมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมที ั้งมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัด

รายวชิ าเพม่ิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้

สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏิบตั ิการเคมี การวัดปรมิ าณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย

การคำนวณปรมิ าณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมท้งั การบรู ณาการ ความรแู้ ละทกั ษะในการ

อธิบายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี

1.2 ผลการเรียนรู้

1. กำหนดปัญหา และนำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาโดยใช้ความร้ทู างเคมีจากสถานการณท์ ีเ่ กิดขน้ึ ใน

ชวี ิตประจำวัน การประกอบอาชพี หรืออตุ สาหกรรม

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรยี นรู้ท่ีใชใ้ นหนว่ ยการเรยี นร้นู เ้ี ขียนเป็นแบบความ

เรียง)

ความรเู้ กยี่ วกับเนอ้ื หาวิชาเคมี สามารถนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นการแกป้ ัญหาจากสถานการณท์ เี่ กิดขน้ึ ใน

ชวี ิตประจำวันการประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรม โดยใชค้ วามรู้ทางเคมีและวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ได้

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรู้เพมิ่ เติม (รายวชิ าเพม่ิ เติม)

สถานการณบ์ างสถานการณใ์ นชวี ิตประจำวันการประกอบอาชพี หรืออตุ สาหกรรม สามารถนำความรู้

ทางเคมไี ปใช้ประโยชนห์ รอื แกป้ ญั หาได้

3.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถึงหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ ให้ใสล่ งไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. ระบุปญั หาท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ทก่ี ำหนด (K)

2. ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยใชค้ วามรู้ทางเคมีและวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ (P)

3. ตงั้ ใจเรยี นรู้และแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (เลอื กเฉพาะขอ้ ทีเ่ กดิ ในหนว่ ยการเรียนรู้น้ี)

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ที่เกดิ ในหนว่ ยการเรยี นรู้น้ี)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซอื่ สัตยส์ จุ ริต

 3. มีวนิ ยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

1

 7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ
7. ดา้ นคุณลกั ษณะของผูเ้ รยี นตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทักษะดา้ นการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเขา้ ใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทนั สอื่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคอื

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตผุ ล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏิบตั ิ , เลอื กใช้สารเคมีไดอ้ ยา่ ง

คมุ้ คา่

3. หลกั ภมู ิคุ้มกัน : ใหน้ ักเรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวัง , เขยี นสมการการ

เปลีย่ นแปลงจากการทดลอง

5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมคี วามขยันที่จะทำงานใหอ้ อกมาได้ดีท่ีสดุ , มีวินัยในการ

ทำการทดลอง

10. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรยี นรู้ ช้ินงาน ภาระงาน

1 - รายงานผลการทดลอง เร่ือง การ - การอภิป รายผลการทด ลองการ

แก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ แกป้ ัญหาด้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์โดย

โดยใชค้ วามรทู้ างเคมี ใชค้ วามรู้ทางเคมี

11. การวดั ประเมินผล 3.การวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ
10.1การวดั และประเมินผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด 2
วธิ ีการ
1.การสงั เกตการณ์
2.การใช้ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบง่ ช้ี

เคร่อื งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไม่ผ่าน

10.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรียนรูข้ อง

หน่วยการเรียนรูน้ ี)้

สิ่งท่ตี ้องการวดั วธิ วี ัดผล เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรเู้ กย่ี วกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นักเรยี นไดค้ ะแนน

- วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ความคิดเห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนข้นึ ไป

-การตอบคำถาม คดิ เหน็ หรือรอ้ ยละ 80

-การตรวจผลงาน ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

นักเรยี น - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นไดค้ ะแนน

ตรวจผลงานนกั เรียน ประเมินผลงาน

13 คะแนนขน้ึ ไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถือว่าผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรยี นได้คะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

- สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ทำงานกลุ่ม พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรียนไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผูเ้ รยี น ทำงานร่วมกับผอู้ ่นื คุณลักษณะอันพงึ ประเมนิ คุณลกั ษณะ

- มีวินัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

- นักเรยี นเหน็ ความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืนและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รยี น หรือรอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เกี่ยวกับผลการ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคดิ เห็นซึง่ กนั ทดลอง - นักเรียนได้คะแนน

และกนั มีความเสยี สละและ การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขึ้นไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ชั่วโมงที่ 1-3

3

1. ขัน้ ตัง้ ประเดน็ ปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูแสดงรูปส่ิงต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตวั เช่น อาหาร ยานพาหนะ ยา อุปกรณไ์ ฟฟ้า และช้ีใหเ้ ห็นว่า

การคิดคน้ ประดษิ ฐ์ หรือปรบั ปรุงส่ิงต่าง ๆ เหลา่ น้นั เก่ยี วขอ้ งกับการใชค้ วามรใู้ นวชิ าเคมีทั้งสนิ้
1.2 ครูให้นักเรยี นพจิ ารณารปู “ตำราฝนหลวงพระราชทาน” แลว้ ใช้คำถามนำว่า การทำฝน

หลวงใช้ความรวู้ ชิ าเคมีเรื่องใด เพอ่ื นำเขา้ สูก่ ารอธิบายการทำฝนหลวง
1.3 นกั เรียนศกึ ษาขนั้ ตอนการทำฝนหลวง ตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม จากนัน้ รว่ มกันอภิ

ปรายโดยเนน้ ประเดน็ การใชค้ วามรทู้ างเคมีที่เกี่ยวขอ้ งในขนั้ ก่อกวนข้นั เล้ียงให้อว้ น และขั้นโจมตี ตามลำดับ
ชว่ั โมงที่ 4-8
2. ข้ันสืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน

ให้นักเรียนทบทวนความรู้เก่ียวกับข้ันตอนในวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรมโดยใช้ส่ือ
เพาว์เวอร์พอยด์ท่ีครูสร้างขึ้น ประกอบการอธิบาย โดยเน้นการอธิบายเกี่ยวกับการตั้งสมมติฐาน รวมทั้ง
ทบทวนความหมายของตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม และตวั แปรท่ตี ้องควบคุมใหค้ งท่ี

2.2 ครูให้ความรวู้ ่า การระบปุ ัญหาหรือกำหนดโจทย์วิจยั ของนกั วิทยาศาสตรต์ ้องอาศัยขอ้ มลู
จากการสังเกต จากนัน้ ยกตวั อยา่ งการระบุปัญหาจากกรณกี ารทำฝนหลวงซ่ึงเป็นปญั หาทมี่ ตี ัวแปร
ที่เก่ียวข้องหลายตัวแปร แล้วอธิบายให้เห็นความสำคัญของการตั้งคำถามและสมมติฐานย่อยเพื่อนำไปสู่การ
กำหนดตัวแปรในการทดลอง โดยให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลในตารางท่ี 1 ตัวอย่างคำถามและสมมติฐานจาก
กรณกี ารทำฝนหลวง

2.3 ครชู ้ีใหเ้ ห็นวา่ ตวั อยา่ งคำถามในตาราง 1 เปน็ คำถามทเี่ กยี่ วข้องกบั ตัวแปรตน้ ซึ่งมีผลตอ่ ตวั
แปรตามร่วมกันคอื การรวมตัวของเมฆทเ่ี กิดเป็นฝนได้ และคำถามเหลา่ น้ชี ว่ ยกำหนดขอบเขตของการทดลอง
ทีจ่ ะใช้ตอบคำถามหรอื พิสจู นส์ มมตฐิ านไดช้ ดั เจนขึ้น

2.4 ครูใหน้ ักเรียนพจิ ารณาสถานการณ์ตวั อยา่ งซึ่งเปน็ ปญั หาเก่ียวกับกลิ่นฉนุ แอมโมเนยี ของ
ปาท่องโก๋ จากนนั้ ให้นักเรยี นศกึ ษาตัวอยา่ งการระบปุ ญั หา การตัง้ คำถามและสมมตฐิ าน รวมทง้ั การ
ออกแบบการทดลองเพอื่ ตรวจสอบสมมตฐิ าน ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม และใหน้ กั เรยี นตอบคำถาม
ตรวจสอบความเข้าใจ

2.5 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายเกยี่ วกับแนวทางการแก้ปัญหากลน่ิ และความกรอบของ
ปาทอ่ งโก๋ เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรม

ช่วั โมงที่ 9-13
3. ขน้ั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นกั เรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ ผลการทดลองโดยใช้ชุดกิจกรรมประกอบ
3.2 ครูใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรมที่ 1 การแกป้ ัญหาด้วยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์โดยใชค้ วามรู้ทางเคมี
โดยร่วมกับสมาชิกในกล่มุ ตามขั้นตอนดังนี้

1) ระบปุ ญั หาจากสถานการณ์ทก่ี ำหนดให้
2) ต้ังคำถาม สมมตฐิ าน และระบตุ วั แปรจากสถานการณท์ ่ีกำหนดให้โดยใช้ความรทู้ างเคมี
3) ออกแบบวธิ กี ารตรวจสอบสมมติฐาน
4) นำเสนอแนวทางการแก้ปญั หา
3.3 ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันอภิปราย ตรวจความถกู ต้อง ตอบคำถามข้อสงสัยตา่ ง ๆ
3.4 ใหน้ กั เรยี นช่วยกันเฉลยคำตอบพรอ้ มท้ังให้เหตผุ ล

4

ชั่วโมงท่ี 14-15

4. ขั้นการสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทำกิจกรรม ปฏิบัติการ คดิ ดี ผลงานดี มีความสุข อา่ นขา่ วท่ี

กำหนดใหแ้ ละเตมิ ขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ต้องและสมบรู ณ์ ตามรายละเอียดในชดุ กจิ กรรม

5. ขนั้ การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ตวั แทนนกั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกมาแสดงถึงจุดเด่น จดุ ด้อยของกลุม่ ตวั เองเมอ่ื ไดท้ ำกจิ กรรม

มาจนครบ

5.2 ร่วมกันคดั เลือกผลงานท่ดี ีท่ีสุดในชนั้ เรยี น

13. สือ่ การเรยี นร/ู้ แหลง่ เรียนรู้

13.1สื่อการเรยี นรู้

- ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรอื่ ง การใชค้ วามรทู้ างเคมีในการแก้ปญั หา

- สอื่ ppt

13.2แหล่งเรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมดุ

14. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ แกป้ ัญหา ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ อยา่ งมี ......................................................................................

วิจารณญาณ ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยอู่ ย่างพอเพียง ......................................................................................

5

- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วิธแี กป้ ญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน.์ .) (นายสรุ จกั ริ์ แกว้ ม่วง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชอื่ ...........................................
(..นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ..) (..นางรพพี ร คำบญุ มา..)
หวั หนา้ งานนิเทศ
รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

6

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2

หนว่ ยการเรียนร้ทู .่ี 2.การบรู ณาการความรใู้ นการแก้ปญั หา...เรอื่ ง..…..กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม….
รายวชิ า……..............เคมี…6........ ............รหัสวิชา…..............ว 30226......................ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที.่ ...6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2563...ภาคเรยี นที่..2...เวลา...15...ชวั่ โมง…
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมที ง้ั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
รายวชิ าเพิ่มเติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนร้แู ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 3 : เขา้ ใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว่ ยวดั และการเปล่ียนหน่วย

การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทง้ั การบูรณาการ ความรแู้ ละทักษะในการ
อธบิ ายปรากฏการณ์ในชวี ติ ประจำวันและการแก้ปญั หา ทางเคมี

1.2 ผลการเรยี นรู้
ข้อท่ี 2 แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีรว่ มกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม โดยเน้นการคิดวเิ คราะห์ การแก้ปญั หาและความคดิ
สร้างสรรค์ เพอ่ื แก้ปญั หาในสถานการณห์ รอื ประเด็นที่สนใจ
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากผลการเรยี นรู้ทีใ่ ชใ้ นหนว่ ยการเรยี นรูน้ เี้ ขียนเป็นแบบความ
เรยี ง)

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นข้ันตอนท่ีนำมาใช้ในดำเนินการเพ่ือแก้ปัญหาหรือสนอง
ความต้องการ ซงึ่ กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมนีจ้ ะเร่ิมจากการระบุปัญหาที่พบแล้วกำหนดเปน็ ปญั หาท่ี
ต้องการแก้ไข จากนั้นจึงทำการค้นหาแนวคิดที่เก่ียวข้องและทำการวิเคราะห์เพ่ือเลือกวิธีการท่ีเหมาะสม
สำหรับการแก้ไข เม่ือได้วิธีการที่เหมาะสมแล้วจึงทำการวางแผนและพัฒนาส่ิงของเคร่ืองใช้หรือวิธีการ เมื่อ
สร้างช้ินงานหรือวิธีการเรียบร้อยแล้วจึงนำไปทดสอบ หากมีข้อบกพร่องก็ให้ทำการปรับปรุงแก้ไขเพ่ือให้
สิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการนั้นสามารถใช้แก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการได้ ส่วนในตอนสุดท้ายจะ
ดำเนนิ การประเมนิ ผลวา่ สงิ่ ของเคร่อื งใชห้ รือวิธกี ารน้นั จะสามารถใช้แก้ปญั หาหรือสนองความต้องการไดต้ ามท่ี
กำหนดไวห้ รอื ไม่ ดงั นน้ั กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมจึงประกอบดว้ ย 6 ข้นั ตอน ดงั นี้

ขั้นท่ี 1 ระบุปัญหา (Problem Identification)
ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่เี กย่ี วข้องกบั ปญั หา (Related Information Search)
ข้ันที่ 3 ออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หา (Solution Design)
ข้นั ท่ี 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ญั หา (Planning and Development)
ขน้ั ท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวธิ ีการแก้ปัญหาหรือช้ินงาน (Testing, Evaluation
and Design Improvement)
ขัน้ ที่ 6 นำเสนอวธิ ีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปญั หาหรอื ชนิ้ งาน (Presentation)
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรยี นร้เู พม่ิ เตมิ (รายวชิ าเพิ่มเตมิ )

7

• การศึกษาและการแกป้ ัญหาในสถานการณ์หรอื ประเด็นท่ีสนใจทำไดโ้ ดยการบรู ณาการความรู้ทางเคมี

รว่ มกบั วิทยาศาสตรแ์ ขนงอืน่ รวมทั้งคณิตศาสตร์เทคโนโลยีและทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ รือ

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม โดยเนน้ การคดิ วิเคราะห์แก้ปัญหาและความคิดสรา้ งสรรค์

3.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวิชาพูดถงึ หลักสูตรทอ้ งถ่นิ ให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธบิ ายวธิ ีการทางวิทยาศาสตรห์ รอื กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (K)

2. ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้การบูรณาการความรู้ทางเคมีรว่ มกบั ศาสตรอ์ นื่ แกป้ ัญหา

สถานการณ์หรอื ประเด็นที่สนใจ (P)

3. ต้งั ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น (เลอื กเฉพาะข้อที่เกดิ ในหน่วยการเรียนร้นู ี้)

 1. ความสามารถในการส่อื สาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อที่เกดิ ในหนว่ ยการเรียนรู้น้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซื่อสตั ยส์ จุ ริต

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ
7. ดา้ นคุณลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความร่วมมอื การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการส่อื สาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

8

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ัติ , เลอื กใช้สารเคมีไดอ้ ย่าง

คุ้มค่า

3. หลกั ภูมคิ ้มุ กนั : ใหน้ ักเรียนเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกลา้ แสดงออก

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอย่างระมดั ระวัง , เขยี นสมการการ

เปลยี่ นแปลงจากการทดลอง

5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมีความขยนั ที่จะทำงานใหอ้ อกมาได้ดีท่ีสดุ , มวี นิ ยั ในการ

ทำการทดลอง

10. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรียนรู้ ชนิ้ งาน ภาระงาน

2 - รายงานผลการทดลอง เร่ือง สายไฟ - การอภิปรายผลการทดลอง

แป้งโดว์

11. การวัดประเมินผล

10.1การวดั และประเมนิ ผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบง่ ชี้ 3.การวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เครอื่ งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผา่ น 1

รายการถอื วา่ ไมผ่ ่าน

10.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ ี้)

สิ่งที่ตอ้ งการวดั วธิ วี ดั ผล เคร่อื งมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรู้เกีย่ วกบั -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรียนไดค้ ะแนน

- กระบวนการออกแบบเชงิ ความคิดเห็น อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป

วศิ วกรรม -การตอบคำถาม คดิ เห็น หรือรอ้ ยละ 80

-การอภปิ รายและ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

รายงานผลการทำ - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้คะแนน

กจิ กรรม ตรวจผลงานนักเรียน ประเมินผลงาน

-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขึน้ ไป

นกั เรยี น หรอื รอ้ ยละ 80

ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรียนไดค้ ะแนน

วิจารณญาณ ทกั ษะการแก้ปญั ความคดิ เหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

9

หา และทักษะกระบวนการ - สังเกตพฤติกรรมการ คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื ว่า

กลุม่ ทำงานกลมุ่ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ - สังเกตคา่ นยิ มในการ - แบบประเมนิ - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานร่วมกับผอู้ ่นื คุณลักษณะอนั พึง ประเมินคุณลกั ษณะ

- มีวนิ ัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อนั พึงประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคญั ระบบกลมุ่ - แบบประเมนิ 26 คะแนนขน้ึ ไป

ของการทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เกยี่ วกบั ผลการ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซ่งึ กนั ทดลอง - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และกนั มคี วามเสยี สละและ การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ช่ัวโมงที่ 1-6

1. ขั้นตง้ั ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใหค้ วามรวู้ ่า ในการแกป้ ัญหานอกจากจะใชว้ ธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรแ์ ลว้ ยงั สามารถ

ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมได้อีกด้วย จากนนั้ ใช้คำถามนำว่า กระบวนการออกแบบเชงิ

วิศวกรรมมีข้นั ตอนแตกต่างจากวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์หรอื ไม่ เพื่อนำเขา้ ส่กู จิ กรรม “สายไฟแป้งโดว์”

2. ข้ันสบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน

ให้นักเรยี นทำกจิ กรรม สายไฟแป้งโดว์ ตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม

2.2 ครูอธิบายเง่ือนไขเก่ียวกับความสว่างของหลอด LED ว่า ควรเห็นจุดสว่างท้ังด้านบนและ

ด้านลา่ ง เมื่อมองจากด้านข้างของหลอด LED ดงั รูป 1 แต่หากมจี ดุ สวา่ งเฉพาะดา้ นล่างเม่อื สังเกตจากด้านข้าง

ของหลอด LED ดงั รปู 2 ถอื วา่ ยังไมส่ ว่าง

2.3 ครูช้ีใหเ้ หน็ ว่า เนอ่ื งจากหลอด LED แตล่ ะชนิด และแป้งโดว์แตล่ ะสตู ร อาจใหผ้ ลการทดลอง
ท่ีควรทำการทดสอบก่อน เพ่ือให้มั่นใจว่า หลอด LED สว่างเม่ือต่อด้วยสายไฟที่ต่อกับคลิปปากจระเข้แต่ไม่
สว่างเม่อื ตอ่ ด้วยแปง้ โดว์

10

แตกตา่ งกนั นกั เรียนแต่ละกลุ่มไม่สามารถขอแปง้ โดวแ์ ละสารเคมที ั้งหมดเพมิ่ ได้
3. ขน้ั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นกั เรยี นและครรู ว่ มกันอภปิ รายและสรปุ ผลการทดลองโดยใช้ชุดกจิ กรรมประกอบ
3.2 ครูครชู ีใ้ ห้เห็นวา่ การตอ่ วงจรไฟฟ้าในกจิ กรรม เปน็ แบบอนกุ รม จากนนั้ ให้ครูสาธิตการใช้

แป้งโดวท์ ีน่ ำไฟฟ้ามาตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบขนาน ดงั รูป แลว้ ใหน้ กั เรยี นเปรียบเทยี บความสวา่ งของหลอด LED

3.3 ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันอภปิ ราย ตรวจความถกู ตอ้ ง ตอบคำถามข้อสงสัยตา่ ง ๆ
3.4 ให้นกั เรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพรอ้ มทั้งให้เหตผุ ล
3.5 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายผลทเี่ กิดขึ้น เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อสรุปวา่ การตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบขนาน
และอนุกรมมีผลต่อความสว่างของหลอด LED โดยหากต่อหลอด LED แบบขนานจะทำให้มีความสว่าง
มากกว่าการต่อแบบอนุกรม เน่ืองจากการต่อแบบขนานจะทำให้หลอด LED ท้ังสองหลอดมีความต่างศักย์
เท่ากับความต่างศักย์ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ส่วนการต่อแบบอนุกรม ความต่างศักย์ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจะ
ถกู แบง่ ออกใหแ้ ต่ละหลอด ทำให้มคี วามสวา่ งน้อยลง ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม
3.6 ครูชี้ให้เหน็ วา่ การบรู ณาความร้จู ากหลาย ๆ ศาสตร์ จะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หาได้อย่างมปี ระสิทธิ
ภาพมากขน้ึ เชน่ ในกิจกรรม หากใชค้ วามรู้เร่ือง การตอ่ วงจรไฟฟา้ รว่ มกบั ความรู้เรอื่ งสารละลายอเิ ล็กโทรไลต์
จะชว่ ยใหส้ ามารถสรา้ งสายไฟจากแป้งโดว์โดยใชส้ ารเคมนี อ้ ยลงได้
ชวั่ โมงที่ 7-15
4. ขน้ั การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 วิธีการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีส่วนของวัตถุประสงค์และ
ขั้นตอนท่เี หมอื นและต่างกนั อยา่ งไร
4. ครเู ชือ่ มโยงขน้ั ตอนท่ีไดด้ ำเนนิ การในกจิ กรรมกับการอธบิ ายรายละเอยี ดแตล่ ะขนั้ ตอนของ
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมตามรายละเอยี ดในชดุ กิจกรรม โดยใชร้ ูปประกอบการอธิบายดงั นี้

11

5. ขน้ั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ครกู ำหนดสถานการณ์ “แก้ปญั หามลพษิ ทางอากาศ ลดการใชน้ ้ำมัน” ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่

แก้ปัญหาดังกล่าวโดยใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ออกมามานำเสนอแสดงถงึ จุดเด่น จุดดอ้ ยของ

กลุม่ ตัวเองเมอื่ ไดท้ ำกจิ กรรมมาจนครบกระบวนการ

5.2 รว่ มกันคดั เลือกผลงานทดี่ ีที่สุดในชน้ั เรยี น

13. สื่อการเรยี นร/ู้ แหล่งเรยี นรู้

13.1สือ่ การเรยี นรู้

- ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรอื่ ง การบรู ณาการความรใู้ นการแกป้ ัญหา

- สอื่ ppt

13.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมุด

14. บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ แก้ปญั หา ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยอู่ ย่างพอเพียง ......................................................................................
- รักความเปน็ ไทย
......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

12

5. วธิ แี กป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชอื่ ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน์..) (นายสุรจกั ร์ิ แก้วม่วง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
(..นายศวิ าวุฒิ รตั นะ..) (..นางรพพี ร คำบญุ มา..)
หวั หน้างานนเิ ทศ
รองผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารวชิ าการ

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

13

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3

หน่วยการเรยี นรทู้ .่ี 2.การบูรณาการความรใู้ นการแกป้ ญั หา...เรอื่ ง..…..การบรู ณาการความรใู้ นการแก้ปัญหา….
รายวชิ า……..............เคมี…6........ ............รหัสวชิ า…..............ว 30226......................ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที.่ ...6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2563...ภาคเรียนท่.ี .2...เวลา...15...ชวั่ โมง…
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมีท้งั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัด

รายวชิ าเพิ่มเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นรู)้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้

สาระเคมี 3 : เข้าใจหลักการทำปฏิบัตกิ ารเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว่ ยวัดและการเปลี่ยนหนว่ ย

การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการ ความรแู้ ละทกั ษะในการ

อธิบายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั และการแก้ปญั หา ทางเคมี

1.2 ผลการเรยี นรู้

ขอ้ ที่ 2 แสดงหลกั ฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมรี ว่ มกับสาขาวิชาอน่ื รวมทง้ั ทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์หรอื กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม โดยเน้นการคดิ วเิ คราะห์ การแก้ปัญหาและความคิด

สรา้ งสรรค์ เพอ่ื แก้ปัญหาในสถานการณห์ รอื ประเด็นท่สี นใจ

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรยี นรู้ท่ใี ชใ้ นหนว่ ยการเรยี นร้นู เ้ี ขยี นเปน็ แบบความ

เรียง)

ส่ิงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันน้ันจะเป็นสิ่งที่เก่ียวเน่ืองสัมพันธ์กันกับศาสตร์ในสาขาต่างๆ

ผสมผสานกนั ทักษะจากหลายๆ ศาสตร์มาแกป้ ญั หาได้กับชวี ติ จรงิ

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ (รายวชิ าเพม่ิ เตมิ )

• การศกึ ษาและการแกป้ ญั หาในสถานการณห์ รอื ประเด็นทส่ี นใจทำได้โดยการบรู ณาการความรู้ทางเคมี

ร่วมกบั วิทยาศาสตรแ์ ขนงอืน่ รวมทงั้ คณิตศาสตรเ์ ทคโนโลยีและทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ รือ

กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม โดยเนน้ การคิดวิเคราะห์แกป้ ัญหาและความคดิ สรา้ งสรรค์

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลักสูตรทอ้ งถิ่นให้ใสล่ งไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายความรเู้ ก่ยี วกบั กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (K)

2. เลอื กสถานการณป์ ญั หาหรือประเดน็ ทส่ี นใจและออกแบบแนวทางการแก้ปญั หาโดยการบูรณาการ

ความรทู้ างเคมกี ับความรใู้ นศาสตรอ์ ่นื (P)

3. เหน็ คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ ต้ังใจเรยี นรูแ้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กดิ ในหนว่ ยการเรียนรู้น)ี้

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

14

6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กิดในหนว่ ยการเรยี นรู้น)ี้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซือ่ สัตยส์ จุ รติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝ่เรยี นรู้
 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ
7. ด้านคณุ ลกั ษณะของผู้เรียนตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รับผิดชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
 ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการสอื่ สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทนั ส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ให้นกั เรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบัติ , เลอื กใชส้ ารเคมีได้อย่าง

คุม้ ค่า

3. หลกั ภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกดิ ทกั ษะการทำงานกล่มุ และกล้าแสดงออก

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำกอ่ นแลว้ ค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั , เขียนสมการการ

เปลย่ี นแปลงจากการทดลอง

5. เงอื่ นไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยนั ท่จี ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีทสี่ ดุ , มวี ินยั ในการ

ทำการทดลอง

10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ภาระงาน

2 -รายงานกิจกรรม การแก้ปัญหาโดย - การอภิปรายผลการแก้ปญั หา

การบรู ณาการความรู้

11. การวดั ประเมินผล
10.1 การวัดและประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

15

วธิ ีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์รอ่ งรอยบง่ ช้ี 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เคร่ืองมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผา่ น 1

รายการถอื ว่า ไม่ผา่ น

10.2 การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนร้ขู อง

หนว่ ยการเรียนรู้นี้)

ส่ิงทตี่ อ้ งการวดั วธิ วี ัดผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรู้เก่ยี วกบั -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

- กระบวนการออกแบบเชงิ ความคิดเหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

วศิ วกรรม -การตอบคำถาม คดิ เหน็ หรอื รอ้ ยละ 80

-การอภิปรายและ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

รายงานผลการทำ - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นไดค้ ะแนน

กิจกรรม ตรวจผลงานนักเรยี น ประเมินผลงาน

-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขน้ึ ไป

นักเรียน หรือรอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรียนไดค้ ะแนน

วิจารณญาณ ทักษะการแกป้ ญั ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

หา และทักษะกระบวนการ - สงั เกตพฤตกิ รรมการ คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

กลุ่ม ทำงานกลุ่ม - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นักเรียนไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่นื คณุ ลักษณะอันพงึ ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นักเรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกล่มุ - แบบประเมิน 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานรว่ มกับผู้อนื่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รยี น หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเก่ยี วกบั ผลการ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคดิ เหน็ ซ่ึงกนั ทดลอง - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และกนั มคี วามเสยี สละและ การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

หรอื รอ้ ยละ 80

16

ถือว่าผา่ นเกณฑ์
12. กิจกรรมการเรียนรู้

ชั่วโมงท่ี 1
1. ขน้ั ตง้ั ประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นสำรวจปญั หาท่เี กิดขึ้นใน โรงเรียน ทอ้ งถ่ิน จงั หวัด ประเทศ หรือ
ระดบั โลกและ สบื ค้นขอ้ มลู ประกอบ จากนั้นเลือกสถานการณป์ ญั หา โดยหากเน้นวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ควร
มกี ารตั้งคำถาม แต่หากเน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมควรระบปุ ัญหาและเงอ่ื นไขให้ชัดเจน

ช่ัวโมงท่ี 2-4
2. ขน้ั สืบค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ครูให้นักเรียนนำเสนอสถานการณ์ปัญหาท่ีนักเรียนสนใจจะแก้ไข พร้อมข้อมูลสนับสนุน
เพ่ือให้เห็นความสำคญั ของปญั หา

2.2 นำเสนอคำถามหรือปัญหาและ เงื่อนไข ครูควรวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการตอบคำถาม
หรือแกป้ ญั หานัน้

2.3 ครูมอบหมายให้นักเรียน สืบค้นข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องโดยครูอาจแนะนำแหล่งสืบค้น ข้อมูล
เพ่ิมเตมิ

ชั่วโมงท่ี 5-7
3. ขนั้ สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการสืบค้นมาอภปิ รายรว่ มกนั ภายในกลมุ่
3.2 โดยครูใหค้ ำแนะนำในกล่มุ ทม่ี ขี ้อสงสยั หรอื ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื
ชั่วโมงท่ี 8-15
4. ขนั้ การสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครใู ห้นักเรียนกำหนดวัตถปุ ระสงค์ ขอบเขตของงานและ ออกแบบวธิ ดี ำเนนิ การหลังจากทไี่ ด้
ข้อมูลเพยี งพอแลว้

- หากเน้นวธิ ีการทางวิทยาศาตร์หลังจากตั้งคำถาม และสบื คน้ ขอ้ มูลแลว้ ให้นักเรยี นตง้ั
สมมตฐิ าน กำหนดตวั แปร และออกแบบวธิ กี ารตรวจสอบสมมตฐิ าน

- หากเน้นกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมหลงั ระบุ ปัญหาและสบื ค้นข้อมูลแล้ว ให้
นกั เรยี นออกแบบ วธิ กี ารแกป้ ัญหา

4.2 ครใู หน้ ักเรียนนำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาทไ่ี ด้ ออกแบบไว้
- หากเน้นวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ครูวเิ คราะหว์ ่าสมมตฐิ าน และตัวแปรต่าง ๆ ทน่ี ักเรยี น

กำหนดข้ึนมคี วามสอดคลอ้ งกับคำถามหรือไม่ วธิ ีการตรวจสอบสมมตฐิ านสอดคลอ้ งกบั สมมตฐิ านและเปน็
แนวทางนำไปสกู่ ารตอบคำถามได้หรือไม่ โดยครอู าจให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ในการปรบั ปรุงแก้ไข

- หากเน้นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ครวู ิเคราะหว์ ่า วธิ กี ารแกป้ ญั หาทนี่ ักเรียน
ออกแบบไว้ สอดคลอ้ งกับปญั หาและนำไปสแู่ นวทางการแกป้ ญั หาไดห้ รอื ไม่ โดยครูอาจใหข้ อ้ เสนอแนะ
เพิ่มเติมในการปรับปรุงแก้ไข

4.3 ครใู หน้ ักเรยี นดำเนนิ การแกป้ ญั หาตามทีไ่ ด้ออกแบบ วิธกี ารไว้ โดยครูอำนวยความสะดวก
เกยี่ วกับอุปกรณ์ สารเคมี และสถานท่ีสำหรบั ทำปฏิบตั ิการ และคอยให้ คำแนะนำปรึกษา รวมทั้งกระตนุ้ ให้
นักเรียนใชท้ กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ระหวา่ งดำเนนิ การแก้ปญั หา

17

5. ขัน้ การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ครูใหน้ กั เรยี นนำผลการดำเนินการมาปรึกษาหารือเพือ่ ใหค้ ำแนะนำเก่ียวกบั การสรุปผลการ

ดำเนนิ การ

5.2 ร่วมกันคดั เลอื กผลงานทด่ี ที ี่สดุ ในช้ันเรยี น

13. สือ่ การเรียนร/ู้ แหลง่ เรียนรู้

13.1สอื่ การเรยี นรู้

- ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ โยนิโสมนสิการ เรอื่ ง การบูรณาการความร้ใู นการแก้ปญั หา

- สอ่ื ppt

13.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอร์เน็ต 2) หอ้ งสมุด

14. บนั ทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- การบรู ณาการความรูใ้ นการแก้ปญั หา ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ แก้ปัญหา ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี ินยั ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยูอ่ ย่างพอเพียง ......................................................................................
- รักความเป็นไทย
......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

18

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... .....................................................................................
....................................................................... .....................................................................................
....................................................................... .....................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วิธแี กป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู ้สู อน ลงชอื่ ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน.์ .) (นายสรุ จักร์ิ แก้วม่วง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
(..นายศวิ าวุฒิ รัตนะ..) (..นางรพพี ร คำบญุ มา..)
หวั หน้างานนิเทศ
รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

19

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4

หน่วยการเรยี นรู้ท.ี่ 3……………..การนำเสนอผลงาน……..……....เรอ่ื ง………..……..การนำเสนอผลงาน…….…….…..
รายวชิ า……..............เคมี…6........ ............รหสั วชิ า…..............ว 30226......................ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่....6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2563...ภาคเรียนท.่ี .2...เวลา...12...ชวั่ โมง…
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพน้ื ฐานมีท้งั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชวี้ ัด
รายวชิ าเพิม่ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 3 : เขา้ ใจหลกั การทำปฏบิ ตั ิการเคมี การวัดปริมาณสาร หนว่ ยวัดและการเปลย่ี นหน่วย

การคำนวณปรมิ าณของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย รวมท้งั การบรู ณาการ ความรแู้ ละทักษะในการ
อธิบายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั และการแก้ปญั หา ทางเคมี

1.2 ผลการเรียนรู้
ขอ้ ที่ 3 นำเสนอผลงานหรือชน้ิ งานทไี่ ดจ้ ากการแก้ปัญหาในสถานการณห์ รอื ประเดน็ ทส่ี นใจโดยใช้

เทคโนโลยสี ารสนเทศ

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากผลการเรยี นรู้ท่ีใชใ้ นหนว่ ยการเรียนร้นู เี้ ขียนเปน็ แบบความ

เรยี ง)

การนำเสนอผลงานเปน็ การสื่อสารเพื่อสรุปให้บุคคลอ่นื ได้รับทราบถงึ ผลการดำเนินการท่ี ผู้นำเสนอ

ได้ศึกษามาการนำเสนอสาระสำคัญของผลงานควรทำให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจง่ายและเป็นส่ือประกอบอย่าง

เหมาะสมและมีคุณภาพโดยทั่วไปการนำเสนอผลงานทางวิทยาศาสตร์อาจอยู่ในรูปของรายงานการบรรยาย

บทความหรือการแสดงชิ้นงานซ่ึงการเข้าใจหลักการในการเตรียมนำเสนอในแต่ละรูปแบบเป็นการส่ งเสริมให้

การนำเสนอนั้นมปี ระสิทธิภาพมากขึน้

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นรูเ้ พ่มิ เติม (รายวิชาเพมิ่ เติม)

• การนำเสนองานหรอื แสดงผลงาน เป็นการเปิดโอกาสใหผ้ ู้มสี ่วนรว่ มไดแ้ ลกเปลยี่ นแนวคดิ ผลงาน รวมท้งั

เพ่ิมโอกาสในการพฒั นางานโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เครือ่ งมอื ประกอบการนำเสนอ ซึ่งจะทำให้การ

สื่อสารมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถงึ หลกั สตู รทอ้ งถิ่นให้ใสล่ งไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายจัดทำรายงานการแกป้ ญั หาโดยการบรู ณาการความรู้ (K)

2. นำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (P)

3. เหน็ คณุ ค่าทางวทิ ยาศาสตร์ ตั้งใจเรยี นรู้และแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่ีเกดิ ในหนว่ ยการเรียนรู้น้)ี

 1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

20

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กดิ ในหนว่ ยการเรยี นรู้น้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝ่เรยี นรู้
 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ด้านคณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผดิ ชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจความตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกล่มุ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ใหน้ กั เรยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ , เลอื กใช้สารเคมีได้อย่าง

คมุ้ ค่า
3. หลักภมู ิคมุ้ กนั : ใหน้ ักเรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลุม่ และกลา้ แสดงออก

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานทีจ่ ะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวัง , เขยี นสมการการ
เปล่ียนแปลงจากการทดลอง

5. เงอื่ นไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยันที่จะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีทส่ี ดุ , มีวินัยในการ
ทำการทดลอง
10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรยี นรู้ ช้ินงาน ภาระงาน

3 -ก า ร น ำ เส น อ รู ป แ บ บ ก า ร เขี ย น - การอภิปรายความรู้เก่ียวกับรูปแบบ

บรรณานุกรม และวธิ ีการนำเสนอผลงาน

-รายงานการสืบค้นข้อมูลวิธีการเขียน

อ้างองิ แบบแทรกในเนื้อหารายงาน

21

11. การวดั ประเมินผล

10.1การวดั และประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์รอ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เคร่ืองมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผา่ น 1

รายการถือว่า ไมผ่ า่ น

10.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นร้ขู อง

หน่วยการเรยี นรูน้ ้)ี

สิ่งทต่ี อ้ งการวดั วิธวี ัดผล เครอ่ื งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรู้เก่ียวกบั -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นไดค้ ะแนน

- รปู แบบและวธิ ีการนำเสนอ ความคดิ เห็น อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

ผลงาน -การตอบคำถาม คดิ เห็น หรือรอ้ ยละ 80

-การอภิปรายและ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

รายงานผลการทำ - แบบประเมนิ การ - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

กจิ กรรม ตรวจผลงานนักเรียน ประเมนิ ผลงาน

-การตรวจผลงาน 13 คะแนนข้ึนไป

นักเรียน หรือรอ้ ยละ 80

ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรยี นไดค้ ะแนน

- ทักษะการจัดกระทำและส่ือ ความคิดเหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

ความหมายข้อมลู - สังเกตพฤติกรรมการ คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

- ทักษะการสร้างสรรค์และ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

นวัตกรรม พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุ่ม

3. คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมนิ - นักเรียนได้คะแนน

และสมรรถนะผ้เู รียน ทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื คุณลกั ษณะอนั พึง ประเมินคุณลักษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน 26 คะแนนขน้ึ ไป

ของการทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผูเ้ รยี น หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เกยี่ วกับผลการ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซึ่งกัน ทดลอง - นักเรยี นได้คะแนน

22

และกนั มีความเสยี สละและ การประเมนิ สมรรถนะ
อดทน 29 คะแนนข้นึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ช่ัวโมงท่ี 1

1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู หน้ ักเรยี นยกตวั อยา่ งรูปแบบการนำเสนอหรอื การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการแลว้ รว่ มกัน

อภิปรายเพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ว่า รปู แบบการนำเสนอหรอื เผยแพร่ผลงานทางวชิ าการทน่ี ิยมคอื รายงาน โปสเตอร์
และการบรรยาย เพือ่ นำเข้าสกู่ ารอธิบายรายละเอียดในแตล่ ะรปู แบบ

1.2 ครอู ธิบายองคป์ ระกอบและการเขยี นรายงาน ตามรายละเอยี ดในหนงั สอื เรียน โดยอาจ
อธิบายเพมิ่ เติมในบางประเดน็ ดังนี้

- ในส่วนนำ ใชร้ ปู ประกอบการอธิบายเกี่ยวกับบทคดั ย่อ และชี้แจงเพ่ิมเตมิ ว่าบทคดั ยอ่ สว่ น
ใหญม่ ีความยาวประมาณ 1 หนา้

- ในสว่ นเนอ้ื หา จำนวนบทในรายงานอาจมมี ากกว่าหรอื น้อยกว่า 5 บท กไ็ ด้ ขน้ึ อยูก่ ับ
รายละเอียดของเน้ือหา เชน่ อาจรวมทฤษฎีและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้องไวใ้ นบทนำเป็น 1 บท ได้ ในสว่ นของผล
การดำเนินการและการอภิปรายขอ้ มลู ถา้ มีข้อมูลจากการดำเนนิ การที่มปี ระเด็นแตกตา่ งกันอาจเขียนแยกบท
ได้

ช่ัวโมงท่ี 2-9
2. ขน้ั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ครใู หน้ ักเรยี นทำกิจกรรม “สบื คน้ ขอ้ มลู รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม”
2.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเสนอแนะเรอื่ งเรื่อง “สืบค้นข้อมูลวิธีการเขียนอ้างอิงแบบแทรกใน

เนือ้ หา” เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษารปู แบบการอา้ งอิงแบบแทรกในเนื้อหา

2.3 ครูอธิบายการนำเสนอโปสเตอร์ ท้ังในส่วนของการจัดทำและการพูดนำเสนอโปสเตอร์ตาม
รายละเอยี ดในหนงั สอื เรียน โดยครูอาจอธิบายเพิ่มเตมิ เก่ยี วกบั รูปแบบโปสเตอรท์ ี่นิยมใช้ในการนำเสนอในงาน
ประชมุ วชิ าการ

2.4 ครูให้นกั เรียนทำกิจกรรม การจดั ทำและนำเสนอข้อมลู ในโปสเตอร์
ช่ัวโมงท่ี 10-12
3. ขนั้ สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเกีย่ วกับการนำเสนอดว้ ยการบรรยายท้งั ในสว่ นของการ
จัดเตรียมเนื้อหาและส่ือประกอบ รวมทัง้ การพูดนำเสนอ เพื่อใหไ้ ด้ข้อสรปุ ตามรายละเอยี ดในชดุ กิจกรรมโดย
ในสว่ นของการเตรียมสไลด์ ครูอาจใชร้ ูปประกอบเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นพิจารณาตัวอยา่ งสไลดท์ ่เี หมาะสม
และไม่เหมาะสม

3.2 ครูใหน้ กั เรียนทำกิจกรรม การนำเสนอผลงานจากกิจกรรม “การแกป้ ญั หาโดยการบรู ณาการ

ความร”ู้

4. ขน้ั การส่อื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครแู จ้งข้อกำหนดเก่ยี วกบั ขนาดและรปู แบบของ โปสเตอร์ และระยะเวลาในการบรรยาย

แลว้ ใหน้ ักเรียน จัดทำโปสเตอร์หรอื สไลดป์ ระกอบการบรรยายเพือ่ ใช้ ในการนำเสนอผลงาน

23

5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ครใู หน้ ักเรยี นนำเสนอผลงาน และแลกเปลีย่ นความรู้

5.2 ร่วมกนั คดั เลือกผลงานที่ดีท่ีสดุ ในชนั้ เรยี น

13. สื่อการเรยี นร/ู้ แหลง่ เรียนรู้

13.1ส่อื การเรยี นรู้

- ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ เรอ่ื ง การนำเสนอผลงาน

- สอื่ ppt

13.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ น็ต 2) หอ้ งสมดุ

14. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การนำเสนอผลงาน ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมาย ......................................................................................

ข้อมลู ......................................................................................

- ทักษะการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม ......................................................................................

- ทกั ษะการสื่อสารสารสนเทศและการรูเ้ ทา่ ......................................................................................

ทนั ส่อื ......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ยั ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อยา่ งพอเพียง ......................................................................................
- รักความเปน็ ไทย
......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

24

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... .....................................................................................
....................................................................... .....................................................................................
....................................................................... .....................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วธิ แี ก้ปญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู สู้ อน ลงช่อื ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์..) (นายสุรจักร์ิ แกว้ มว่ ง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงช่ือ...........................................
(..นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ..) (..นางรพพี ร คำบุญมา..)
หวั หน้างานนเิ ทศ
รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

25

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 5

หนว่ ยการเรียนรู้ท.ี่ 4………..การเขา้ รว่ มประชุมวชิ าการ……....เรอ่ื ง……….การเขา้ รว่ มประชมุ วชิ าการ.…….…..
รายวชิ า……..............เคมี…6........ ............รหสั วชิ า…..............ว 30226......................ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่.ี ...6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2563...ภาคเรียนที.่ .2...เวลา...3...ชวั่ โมง…
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมีท้ังมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละผลการเรยี นร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 3 : เข้าใจหลกั การทำปฏบิ ตั กิ ารเคมี การวัดปรมิ าณสาร หน่วยวดั และการเปลี่ยนหนว่ ย

การคำนวณปรมิ าณของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย รวมท้ังการบูรณาการ ความรแู้ ละทักษะในการ
อธบิ ายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวันและการแก้ปัญหา ทางเคมี

1.2 ผลการเรยี นรู้
ข้อท่ี 4 แสดงหลกั ฐานการเขา้ รว่ มการสมั มนา การเขา้ รว่ มประชมุ วิชาการ หรอื การแสดงผลงาน

สิ่งประดษิ ฐ์ในงานนิทรรศการ

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรยี นรู้ทใี่ ช้ในหนว่ ยการเรยี นรู้นเี้ ขียนเป็นแบบความ

เรียง)

การสัมมนาการประชุมวิชาการหรืองานนิทรรศการเป็นเวทีที่เปิดโอกาส ให้นักเรียนได้เผยแพร่

ความรู้หรือนำผลงานทไี่ ด้ทำมาซ่ึงจะทำใหน้ กั เรยี นได้รับคำแนะ

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเตมิ (รายวิชาเพิ่มเตมิ )

• การสมั มนา การประชมุ วชิ าการ หรือการรว่ มแสดงผลงาน สงิ่ ประดษิ ฐใ์ นงานนิทรรศการเป็นการเปิด

โอกาสใหผ้ ู้มีสว่ นรว่ มไดแ้ ลกเปลีย่ นความคิด แสดงทัศนคติต่อกรณีศกึ ษา สถานการณ์หรือประเด็นสำคญั ทาง

เคมีซงึ่ ช่วยส่งเสริมใหพ้ ัฒนากระบวนการคิด ทักษะการสอื่ สารทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้าและการ

สื่อสาร ซึ่งสามารถทำไดห้ ลายระดับ โดยอาจเปน็ ระดบั ชนั้ เรียน โรงเรยี น กลุม่ โรงเรยี นชุมชน ระดับชาตหิ รอื

นานาชาติ

3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลกั สูตรทอ้ งถิ่นใหใ้ สล่ งไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายรูปแบบและความสำคญั ของการประชุมวชิ าการ (K)

2. จดั ทำรายงานสรุปการประชมุ วิชาการ (P)

3. เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ ตั้งใจเรยี นรู้และแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้)

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

26

6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทีเ่ กิดในหนว่ ยการเรยี นรู้น)้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต

 3. มีวินัย  4. ใฝ่เรยี นรู้
 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง  6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ด้านคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)
 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทนั สื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏิบัติ , เลอื กใช้สารเคมีได้อย่าง

ค้มุ ค่า

3. หลกั ภูมิคมุ้ กนั : ให้นักเรยี นเกดิ ทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก
4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวัง , เขียนสมการการ

เปลีย่ นแปลงจากการทดลอง
5. เงอื่ นไขคุณธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีที่สดุ , มวี ินยั ในการ

ทำการทดลอง

10. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรยี นรู้ ชนิ้ งาน ภาระงาน

-รายงานกิจกรรม สืบค้นข้อมูลงาน - การอภิปรายความรู้เก่ียวกับงาน

ประชุมวิชาการ ประชมุ วชิ าการ

4 -รายงานกิจกรรม การเข้าร่วมและการ
สรุปรายงานการเข้าประชุมวิชาการท่ี

นกั เรยี นสนใจ

27

11. การวัดประเมินผล

10.1การวดั และประเมนิ ผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์รอ่ งรอยบง่ ช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏบิ ตั ิ

เคร่ืองมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไม่ผา่ น

10.2 การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรูข้ อง

หน่วยการเรยี นรู้น)้ี

สิ่งทีต่ ้องการวดั วิธวี ดั ผล เครอ่ื งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรเู้ ก่ยี วกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

- ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการเขา้ รว่ ม ความคดิ เห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป
ประชุมวชิ าการ -การตอบคำถาม คิดเหน็ หรอื รอ้ ยละ 80
-การอภปิ รายและ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

รายงานผลการทำ - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

กิจกรรม ตรวจผลงานนกั เรยี น ประเมนิ ผลงาน

-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขน้ึ ไป

นักเรยี น หรอื รอ้ ยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรยี นไดค้ ะแนน

- ทกั ษะการสืบคน้ ความคดิ เห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

- สังเกตพฤตกิ รรมการ คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

ทำงานกลุ่ม - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

พฤตกิ รรมการ

ทำงานกล่มุ

3. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ - สงั เกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมนิ - นักเรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผู้เรยี น ทำงานรว่ มกับผอู้ ื่น คณุ ลกั ษณะอนั พึง ประเมินคุณลกั ษณะ

- มีวินยั ในการทำงานกลุม่ และการทำงานใน ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

- นักเรยี นเหน็ ความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานรว่ มกับผ้อู ่นื และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น หรือรอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เกีย่ วกบั ผลการ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคดิ เหน็ ซึง่ กัน ทดลอง - นกั เรยี นได้คะแนน

28

และกนั มคี วามเสยี สละและ การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ชั่วโมงที่ 1

1. ขัน้ ตั้งประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครอู ธิบายถงึ รูปแบบและความสำคัญของการประชุมวชิ าการ ตามรายละเอียดในชดุ กจิ กรรม

1.2 ครใู หน้ กั เรียนทำกิจกรรม “สบื คน้ ขอ้ มลู งานประชุมวชิ าการ”

2. ข้ันสบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 ครแู ละนกั เรียนอภปิ รายร่วมกันเกี่ยวกบั บทบาทในฐานะผฟู้ ังและผู้นำเสนอในงานประชุม

วิชาการ โดยให้นักเรียนเขียนข้อควรปฏิบัติในฐานะผู้ฟังและผู้นำเสนอท่ีดี อย่างละ 1 ข้อ ลงในกระดาษ

รว่ มกนั จัดหมวดหมู่

2.2 อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปและเปรียบเทียบกับบทบาทในฐานะผู้ฟังและผู้นำเสนอ ตาม

รายละเอียดในชุดกจิ กรรม

ช่วั โมงที่ 2
3. ขน้ั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ครูยกตัวอย่างคำถามท่ไี มเ่ หมาะสมในฐานะผูฟ้ ังเพิ่มเติม ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี
- คำถามไมช่ ดั เจน ไมเ่ ฉพาะเจาะจง หรือกว้างเกนิ ไป เช่น ทำเร่อื งนไี้ ปทำไม่ สรปุ ทงั้ หมด

ให้ฟงั อกี ครง้ั ไดห้ รือไม่ หากไมเ่ ข้าใจสว่ นใดควรใชค้ ำถามทมี่ ีความชดั เจนและเจาะจงมากข้ึน เช่น เพราะเหตุใด
จงึ ต้องทำการทดลองในสว่ น

- คำถามนอกเร่ือง เช่น ในงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการหาประสิทธิภาพที่กรองน้ำจากเปลือก
ส้ม กล้วย เงาะ และมังคุด แต่ใช้คำถามว่า ถ้าใช้เปลือกทุเรียนหรือเปลือกส้มโอจะดีกว่าหรือไม่ หากต้องการ
ทราบข้อมูลในส่วนท่ีไม่ไดด้ ำเนนิ การแตเ่ ช่ือมโยงกับส่ิงท่ีทำได้ ควรมีสมมติฐาน หรือเหตุผลสนับสนนุ ประกอบ
คำถาม

- คำถามดูหมิ่น เช่น งานน้ีลอกใครมาหรือเปล่า งานนี้ทำเองหรือเปล่า หากสงสัยว่างานนี้
อาจมีความซ้ำซ้อนกับงานอื่น หรืองานบางส่วนอาจไม่ได้ทำขึ้นเอง ควรใช้คำถามว่า ผลงานน้ีมีส่วนใดที่ใหม่
หรอื ไม่ซ้ำซ้อนกับงานอน่ื หรือ ผู้นำเสนอมีส่วนร่วม ในการดำเนินการสว่ นใดบ้าง

3.2 ครอู ธบิ ายการเขียนรายงานการเข้ารว่ มการประชมุ วชิ าการ ตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม
4. ขน้ั การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ครูให้นกั เรยี นทำกิจกรรม “การเขา้ รว่ มและการสรปุ รายงานการเขา้ ประชุมวชิ าการ”
4.2 ครูแนะนำให้นักเรียนเข้ารว่ มประชมุ วิชาการท่จี ดั ขึน้ โดยหนว่ ยงานตา่ ง ๆ หรอื ครูจดั การ
ประชมุ วิชาการในระดับชั้นเรยี น โรงเรียน หรอื กล่มุ โรงเรยี น เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นทุกคนไดม้ ปี ระสบการณ์การเข้า
รว่ มประชมุ วชิ าการ
5. ข้ันการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 ครูใหน้ กั เรยี นนำเสนอ จดั ทำสรปุ รายงานการเขา้ รว่ มประชมุ วชิ าการ และแลกเปลีย่ นความรู้
5.2 ร่วมกนั คัดเลือกผลงานทีด่ ที ส่ี ุดในช้นั เรยี น

29

13. สือ่ การเรียนร/ู้ แหลง่ เรียนรู้

13.1 สื่อการเรียนรู้

- ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ โยนโิ สมนสิการ เรอื่ ง การเขา้ ร่วมประชุมวิชาการ

- สือ่ ppt

13.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) หอ้ งสมดุ

14. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- ข้อควรปฏบิ ัตใิ นการเข้ารว่ มประชุม ......................................................................................

วชิ าการ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะการสื่อสารสารสนเทศและการ ......................................................................................

รู้เท่าทนั สื่อ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ยั ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อยา่ งพอเพยี ง ......................................................................................
- รักความเป็นไทย
......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... .....................................................................................

....................................................................... .....................................................................................

30

....................................................................... .....................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วธิ แี ก้ปญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู ู้สอน ลงช่อื ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์..) (นายสุรจักริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชื่อ...........................................
(..นายศวิ าวฒุ ิ รตั นะ..) (..นางรพพี ร คำบุญมา..)
หวั หน้างานนิเทศ
รองผอู้ ำนวยการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

31

แบบประเมนิ การอภปิ รายแสดงความคดิ เห็น
วิชา .......................................................................................................... ชน้ั ………………………………
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ..............................กิจกรรม ……………………………………………………………………….…

คำชีแ้ จง : ใหป้ ระเมินจากการสงั เกตการรว่ มอภิปรายในระหวา่ งเรียน และการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่ม

โดยให้ระดบั คะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤตกิ รรมของผ้เู รยี น

เกณฑ์การใหค้ ะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ตอ้ งปรบั ปรงุ

รวม สรปุ ผลการ

รายการประเมิน 15 ประเมนิ
คะแน

เลขที่ ช่ือ-นามสกลุ น

การแสดงความ คะแนน ผา่ น ไม่
ิคดเห็น ท่ีทำได้ ผ่าน
ยอม ัรบ ัฟงความ
ิคดเห็นของ ู้ผ ่ือน
ตรงประเ ็ดน
สมเห ุตสมผล
มีความเ ่ืชอ ั่มนใน
การแสดงออก

ลงชอ่ื ................................................................................. ผปู้ ระเมิน
เกณฑ์การประเมิน : นกั เรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

32

แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

คำชแ้ี จง : ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ งที่ตรง
กับระดบั คะแนน

คุณลักษณะอันพึง รายการทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน
ประสงคด์ า้ น 321

3.1 ตรงต่อเวลา

1. มีวนิ ยั 3.2 ปฏบิ ตั งิ านเรยี บรอ้ ยเหมาะสม

3.3 ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง

4.1 กระตือรอื ร้นในการแสวงหาขอ้ มูล

2. ใฝเ่ รียนรู้ 4.2 มีการจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเป็นระบบ

4.3 สรปุ ความรไู้ ดอ้ ย่างมเี หตผุ ล

5.1 ใชว้ ัสดุ สงิ่ ของ เครอ่ื งใช้ อยา่ งประหยดั

3. อยูอ่ ย่างพอเพียง 5.2 ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรียนอย่างประหยดั และร้คู ณุ คา่

5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเก็บออม

4. รักความเป็นไทย 7.1 มจี ิตสำนึกในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย
7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย

ลงชอื่ ................................................................................. ผู้ประเมิน
/ /......................... ......................... .............................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ให้ 3 คะแนน
- พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน

- พฤติกรรมทปี่ ฏิบัตบิ างคร้ัง

33

แบบประเมนิ ผลงานผูเ้ รยี น

ชือ่ - นามสกุล .................................................................................. ชน้ั …………………........
หน่วยการเรียนรู้ที่ ................................ กจิ กรรม ……………….………………......................

คำช้ีแจง: ให้ผปู้ ระเมนิ ขดี ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ประเดน็ ที่ประเมิน ผ้ปู ระเมนิ

ตนเอง เพ่ือน ครู

4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 21

1. ตรงจุดประสงคท์ ่กี ำหนด

2. มคี วามถกู ตอ้ งสมบรู ณ์

3. มีความคิดสร้างสรรค์

4. มคี วามเปน็ ระเบยี บ

รวม
รวมทุกรายการ

เฉลยี่

ผู้ประเมนิ (ตนเอง)........................................................... ผปู้ ระเมนิ .......................................................... (เพอ่ื น)

ผู้ประเมนิ ................................................................ (คร)ู

34

เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน

ประเดน็ ท่ีประเมนิ 4 คะแนน 1

1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคลอ้ ง 32 ผลงานไม่
จดุ ประสงคท์ ี่กำหนด กับจุดประสงค์ สอดคลอ้ งกบั
ทกุ ประเดน็ ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง จดุ ประสงค์
2. ผลงานมีความถกู ต้อง กบั จุดประสงค์ กับจดุ ประสงค์ เนื้อหาสาระของ
สมบูรณ์ เนอ้ื หาสาระของ เป็นส่วนใหญ่ บางประเดน็ ผลงานไม่ถูกต้อง
ผลงานถูกต้อง เน้อื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เปน็ ส่วนใหญ่
3. ผลงานมคี วามคิด ครบถว้ น ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกตอ้ งเปน็ ผลงานไม่แสดง
สรา้ งสรรค์ เป็นสว่ นใหญ่ บางประเดน็ แนวคิดใหม่
ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนวคิด ผลงานมคี วาม
4. ผลงานมคี วามเป็น ถึงความคดิ แปลกใหม่แต่ยงั นา่ สนใจ แต่ยงั ไม่ ผลงานสว่ นใหญ่
ระเบียบ สรา้ งสรรค์ ไมเ่ ปน็ ระบบ มีแนวคิดแปลก ไม่เป็นระเบยี บ
แปลกใหม่ และมีขอ้
และเป็นระบบ ใหม่ บกพรอ่ งมาก

ผลงานมีความเป็น ผลงานสว่ นใหญ่มี ผลงานมีความ
ระเบยี บแสดงออก
ถึงความประณตี ความเปน็ เปน็ ระเบยี บแตม่ ี

ระเบยี บแตย่ งั มี ขอ้ บกพรอ่ ง

ข้อบกพร่อง บางสว่ น

เลก็ น้อย

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

นกั เรียนไดค้ ะแนน 13 คะแนนขน้ึ ไป หรอื ร้อยละ 80 ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

35

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลมุ่

กล่มุ ..........................................................................................................

สมาชิกในกลมุ่ 1. 2....................................................................... ......................................................................

3. 4....................................................................... ......................................................................

5. 6....................................................................... ......................................................................

คำชแ้ี จง: ให้นกั เรยี นทำเครอื่ งหมาย ✓ ในชอ่ งท่ีตรงกับความเป็นจริง

พฤติกรรมท่สี ังเกต คะแนน 1
32

1. มสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็
2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทำงาน
3. รบั ผดิ ชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมาย
4. มขี น้ั ตอนในการทำงานอยา่ งเป็นระบบ
5. ใช้เวลาในการทำงานอยา่ งเหมาะสม

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน

พฤติกรรมทท่ี ำเปน็ ประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤตกิ รรมทที่ ำเป็นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมท่ีทำนอ้ ยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
13-15 ดี
8-12 ปานกลาง
5-7 ปรบั ปรงุ

36

แบบประเมนิ สมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน

คำช้ีแจง : ให้สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ งทต่ี รง
กบั ระดับคะแนน

สมรรถนะทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน
321
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
1.1 มีความสามารถในการรบั – ส่งสาร
1.2 มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจของตนเอง
โดยใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม
1.3 ใชว้ ิธกี ารสอื่ สารทเี่ หมาะสม

2. ความสามารถในการคดิ
2.1 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ เพอื่ การสร้างองคค์ วามรู้
2.2 มีความสามารถในการคิดเป็นระบบ เพอ่ื การสรา้ งองคค์ วามรู้

3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
3.1 แก้ปัญหาโดยใช้เหตผุ ล
3.2 แสวงหาความรู้มาใชใ้ นการแกป้ ัญหา
3.3 ตัดสนิ ใจโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
4.1 ทำงานและอยรู่ ว่ มกับผอู้ นื่ ด้วยความสมั พันธอ์ ันดี
4.2 มวี ธิ แี กไ้ ขความขดั แยง้ อย่างเหมาะสม

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.1 เลือกใช้ขอ้ มลู ในการพัฒนาตนเองอยา่ งเหมาะสม
5.2 เลือกใชข้ อ้ มลู ในการทำงานและอยรู่ ว่ มกบั ผูอ้ ่ืนอยา่ งเหมาะสม

ลงชอื่ ................................................................................. ผปู้ ระเมิน
/ /........................ ......................... .............................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ให้ 3 คะแนน
- พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบตั ิชดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
- พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน
- พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิบางครั้ง

37


Click to View FlipBook Version