The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องการเกิดพอลิเมอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-11-18 04:45:06

เรื่องการเกิดพอลิเมอร์

เรื่องการเกิดพอลิเมอร์

วชิ าเคมี5 ว 30225

สอนโดย นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์
ครชู ำนาญการพิเศษ

มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2563

สำหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม
ชื่อ-สกลุ ....................................................................ช้นั .........เลขท่.ี .......



คำนำ

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยพอลิเมอร์ เล่มท่ี 1 เรื่องการเกดิ พอลิเมอร์ ตามแนวคดิ แบบ
โยนิโสมนสิการ จัดทำเพ่ือเป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ความพึงพอใจทางการเรียนเคมี
ส่งเสริมความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1-2
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับข้ันตอนที่เน้นการเพ่ิมพูนประสบการณ์
ทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนจะได้รบั การทดสอบก่อนเรยี น และศึกษาเนื้อหาความรทู้ ีส่ ่งเสริมใหน้ กั เรยี นศึกษา
และสบื ค้น โดยมีความรู้เพมิ่ เตมิ นอกเหนอื จากในบทเรียน การตอบคำถาม การทำแบบฝึกหดั และทำกจิ กรรม
การทดลองตามข้ันตอนตลอดจนทำแบบทดสอบหลังเรยี น เพ่ือประเมนิ ตนเองหลงั จากการเรยี นรู้ในแต่
ละกจิ กรรมการเรยี นรู้

ผู้จัดทำหวังเปน็ อย่างย่ิงวา่ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยพอลิเมอร์ เล่มที่ 1 เร่ืองการเกิด
พอลิเมอร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จะทำให้ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถในการสืบค้น
การจัดระบบส่ิงท่ีเรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ ได้เป็นอย่างดี
สามารถนำความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ท่สี นใจ
ใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ต่อไป

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์

สำรบัญ ข

เรอื่ ง หน้า
คำนำ ก
สารบญั ข
ขอ้ แนะนำการเรียนรู้ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ค
โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ง
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น จ
ขั้นท่ี 1 การหาความรู้ 1
1
- ปฏิบตั ิการ ฝกึ อ่าน : ฝกึ คิด 2
พอลเิ มอร์และมอนอเมอร์ 4
ปฏกิ ิรยิ าการเกดิ พอลิเมอร์ 13
โครงสร้างและสมบตั ิของพอลเิ มอร์ 22
22
ข้ันท่ี 2 สรา้ งความรู้ 23
- ปฏิบตั กิ าร ฝึกทำ : ฝกึ สร้าง 23
25
ขน้ั ท่ี 3 ซมึ ซบั ความรู้ 27
- ปฏิบัตกิ าร คิดดี ผลงานดี มคี วามสุข

แบบทดสอบหลงั เรียน
บรรณานุกรม



ข้อแนะนำกำรเรียนรู้ชุดกจิ กรรมวทิ ยำศำสตร์วทิ ยำศำสตร์

สำหรบั นักเรยี น
จุดประสงค์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นผู้มีความสามารถทางการ
จดั การความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 3 ดา้ น ได้แก่

1. ด้านความรู้ ความคดิ
2. ดา้ นทกั ษะการจัดการความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์
3. ด้านค่านยิ มต่อตนเองเพอื่ สงั คม
ซึ่งนักเรียนจะได้เสริมสร้างความสามารถดังกล่าวดังน้ี 1.การหาความรู้ (Operation) จาก
กิจกรรมการสืบเสาะ ค้นหา กิจกรรมร่วมกันคิด และกิจกรรมร่วมกันค้น 2.การสร้างความรู้
(Combination) เป็นขั้นฝึกการวิเคราะห์ประกอบด้วยการฝึกคิดแบบสืบสาวปัจจัยเหตุและแบบ
แยกแยะส่วนประกอบโดยใช้ ข้อความและสถานการณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง 3. การซึมซับความรู้
(Assimilation) เป็นข้ันท่ีให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ
อินเตอร์เน็ต ฝึกคิดอย่างมีวิจารณญาณ ฝึกทักษะการเขียนเพื่อนำเสนอแก้ไขปัญหาท่ีพบ
ประกอบการตอบคำถามฝึกการวิเคราะห์จุดเด่น และจุดด้อยของผลงาน ตรวจสอบและปรับปรุงเพ่ือ
สร้างช้ินงานใหม่ต่อไปได้ และข้อเสนอแนะกับผู้อ่านได้ โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้น
การเพ่ิมพูนประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ ดงั นี้
1. อา่ น และทำความเขา้ ใจในทกุ ขน้ั ตอนของกจิ กรรมการเรียนรู้
2.รักและสนใจตนเอง สร้างความรู้สึกที่ดีให้กับตนเอง ว่าตัวเราเป็นผู้มีความสามารถมี
ศกั ยภาพอยใู่ นตัว และพร้อมทีจ่ ะเรยี นร้ทู กุ สิง่ ทสี่ ร้างสรรค์
3. ร้สู กึ อสิ ระและแสดงออกอยา่ งเตม็ ความสามารถ
4. ฟัง คิด ถาม เขียน ปฏิบัติ อย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม ใช้เนื้อท่ีกระดาษที่จัดไว้สำหรับ
เขียนใหเ้ ตม็ โดยไม่ปลอ่ ยให้เหลอื เปลา่ เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ กับตนเอง
5. ใช้เวลาในการเรยี นรู้อย่างคุ้มค่า ใชท้ ุกๆ นาทีทำให้ตนเองมคี วามสามารถเพม่ิ มากขึ้น
6. ตระหนักตนเองอยเู่ สมอว่าจะเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์เพ่อื นำมาพัฒนาตนเองและพฒั นาสงั คม

จุดเด่นของการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ คือ การสร้างคณุ คา่ ทีด่ ีใหก้ ับสังคม
จึงขอเชิญชวนนกั เรยี น มารว่ มกันเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ด้วยใจรัก และ พฒั นาตนใหเ้ ตม็ ขีดความสามารถ

ขอส่งความปรารถนาดีให้แก่นักเรยี นทุกคนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างมคี วามสุขพึ่งตนเองได้
และเปน็ ผมู้ ีความสามารถทางการจัดการความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์เพื่อสงั คม ยง่ิ ๆ ขึ้น สืบไป



โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
หน่วยพอลิเมอร์ เล่มท่ี 1 เร่ืองการเกิดพอลิเมอร์

สำระสำคัญ
พอลเิ มอร์เปน็ สารท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญ่ ได้จากปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอรข์ องโมเลกุลขนาด

เล็กท่ีเรยี กวา่ มอนอเมอร์ สมบตั ทิ างกายภาพของพอลิเมอร์จึงตา่ งจากมอนอเมอร์ทเ่ี ป็นสารต้ังตน้ พอ
ลเิ มอร์มที ้ังพอลเิ มอร์ธรรมชาติและพอลเิ มอรส์ งั เคราะห์ พอลิเมอร์อาจเกิดจากปฏกิ ิรยิ าการเกดิ พอลิ
เมอร์แบบเตมิ หรือแบบควบแนน่ ขึ้นอยกู่ บั หมฟู่ ังก์ชันที่ทำปฏิกริ ิยา
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. ระบุมอนอเมอร์ของพอลิเมอร์
2. ระบปุ ระเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลเิ มอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอรห์ รือพอลเิ มอร์
การจัดกระบวนการเรยี นรใู้ ช้รปู แบบการจัดการความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ มี 3 ข้ัน คือ
1. การหาความรู้ (Operation)
2. การสร้างความรู้ (Combination)
3. การซมึ ซบั ความรู้ (Assimilation)

เวลาที่ใช้ 4 ชว่ั โมง

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
นกั เรยี นประเมินผลตนเองโดยใช้แบบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรียน-หลังเรียน



แบบทดสอบกอ่ นเรียน

เลม่ ท่ี 1 เรื่อง การเกดิ พอลิเมอร์ วิชาเคมี

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 15 นาที

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำสงั่ 1.ใหน้ ักเรียนเขียนเครอ่ื งหมาย X ลงในขอ้ ท่นี ักเรียนคิดว่าถูกต้องทีส่ ุดเพียงข้อเดียว

2.ข้อสอบมีทั้งหมด 10 ข้อให้นักเรยี นทำทุกข้อ ใชเ้ วลาในการทำ 5 นาที

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. “พอลิไวนลิ คลอไรด์เกดิ จากโมเลกุลของไวนิลคลอไรด์มาต่อกันดว้ ยพนั ธะโคเวเลนต์”

จากข้อความดังกลา่ ว อะไรคือพอลิเมอร์

ก. ไวนลิ ข. โคเวเลนต์

ค. ไวนิลคลอไรด์ ง. พอลไิ วนิลคลอไรด์

2. จากขอ้ 1 อะไรคือมอนอเมอร์

ก. ไวนลิ ข. โคเวเลนต์

ค. ไวนิลคลอไรด์ ง. พอลิไวนลิ คลอไรด์

3. วสั ดุหรือสารประเภทใดเป็นพอลเิ มอร์สังเคราะห์

ก. ผา้ ฝา้ ย ข. พลาสติก

ค. ยางพารา ง. คาร์โบไฮเดรต

4. วัสดหุ รอื สารประเภทใดเป็นโคพอลเิ มอรธ์ รรมชาติ

ก. โปรตีน ข. เซลลูโลส

ค. ยางพารา ง. คารโ์ บไฮเดรต

5. ข้อใดเป็นลกั ษณะของปฏกิ ิรยิ าพอลิเมอไรเซชนั แบบเตมิ

ก. ไดพ้ อลเิ มอรท์ ่เี สถยี ร ข. ไดส้ ารโมเลกลุ เลก็ เปน็ ผลพลอยได้

ค. มอนอเมอร์มหี มู่ฟงั ก์ชันมากกวา่ หน่ึงหมู่

ง. เกดิ ปฏกิ ิริยาบรเิ วณพนั ธะคู่ของคาร์บอน

6. ข้อใดเป็นลกั ษณะของปฏกิ ิรยิ าพอลิเมอไรเซชนั แบบควบแน่น

ก. ไดพ้ อลเิ มอร์ท่ไี มเ่ สถยี ร ข. ได้สารโมเลกลุ เลก็ เป็นผลพลอยได้

ค. มอนอเมอร์มีพนั ธะครู่ ะหว่างคาร์บอน

ง. เกิดปฏิกิริยาบริเวณพนั ธะค่ขู องคาร์บอน

7. พอลิเมอร์ใดเกิดจากปฏกิ ิริยาพอลเิ มอไรเซชนั แบบเติม

ก. พอลิเอไมด์ ข. พอลิคารบ์ อเนต

ค. พอลไิ วนิลคลอไรด์ ง. พอลเิ อทิลนี เทเรฟทาเลต

8. พอลเิ มอร์ใดเกิดจากปฏกิ ิริยาพอลเิ มอไรเซชันแบบควบแนน่

ก. พอลเิ อไมด์ ข. พอลิเอทิลีน

ค. พอลสิ ไตรีน ง. พอลิไวนลิ คลอไรด์

9. พอลิเมอรใ์ ดมีโครงสรา้ งแบบเส้น

ก. เมลามีน ข. เบกาไลต์

ค. พอลิไวนลิ คลอไรด์ ง. พอลิเอทิลนี ชนดิ ความหนาแนน่ ตำ่

10. พอลเิ มอร์ที่มพี ันธะทเี่ ชอื่ มระหว่างโซ่หลักจำนวนมากจะมสี มบัติอย่างไร



ก. แขง็ ขนุ่ และเหนยี ว ข. แข็ง ไมย่ ดื หยุ่น จุดหลอมเหลวสงู

ค. ยืดหย่นุ ออ่ นตวั เมื่อได้รบั ความร้อน

ง. ยืดหยุ่น ความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่ำ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

เล่มท่ี 1

ขั้นท่ี 1 การหาความรู้ เวลา 10 ชวั่ โมง
Operation
ปฏบิ ัตกิ าร ฝึกอ่าน : ฝกึ คดิ

จงยกตัวอย่างผลิตภณั ฑ์พอลิเมอรท์ ีน่ กั เรียนรู้จัก

............................................................................................................................. .........................................................
......................................................................................................................................................................................

ทบทวนความรกู้ ่อนเรียน 1

1. ใส่เครอ่ื งหมาย  หน้าข้อความทถี่ ูกตอ้ ง และใสเ่ ครอ่ื งหมาย  หน้าขอ้ ความที่ไมถ่ ูกต้อง
….… 1.1 หมู่ฟงั ก์ชนั ของเอไมด์ คอื –NH2
….… 1.2 ปฏิกริ ยิ าการเตมิ ของแอลคนี ทำให้พันธะคู่เปลยี่ นเป็นพันธะเดยี่ ว
….… 1.3 ปฏกิ ิริยาการควบแน่นระหวา่ งแอลกอฮอล์กบั กรดคารบ์ อกซลิ ิกได้เอสเทอร์และน้ำ
….… 1.4 ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์จากเอมนี และกรดคาร์บอกซลิ ิกจัดเป็นปฏกิ ริ ิยาการเตมิ
….… 1.5 เอไมด์มจี ดุ เดือดสูงกว่าเอสเทอร์ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกนั เพราะเอไมดม์ ีพันธะไฮโดรเจนระหวา่ ง

โมเลกุล
….… 1.6 พนั ธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกลุ ของแอลกอฮอล์ทำให้แอลกอฮอลล์ ะลายน้ำได้
….… 1.7 โครงสรา้ งเรโซแนนซเ์ กดิ จากการเคล่ือนย้ายตำแหน่งของอะตอมในโมเลกลุ
….… 1.8 พลาสติกทมี่ สี ญั ลักษณ์รไี ซเคิลทกุ ชนิดสามารถรไี ซเคลิ ร่วมกนั ได้ โดยไม่ต้องคดั แยก

1

2. วงกลมล้อมรอบโครงสร้างทเี่ ปน็ สารเดียวกนั ข.
ก. จ.
ค.

ง.

“สารพอลิเมอร์ (polymer) คือ โมเลกุลขนาดใหญม่ ากประกอบด้วยอะตอม เปน็ จำนวนหลายร้อยหลาย
พนั อะตอมตอ่ กนั ดว้ ยพนั ธะเคมี พอลเิ มอร์ธรรมชาติเปน็ พนื้ ฐานของขบวนการแห่ง ชีวิตท้ังหมด ”

พอลิเมอร์มาจากภาษากรีกสองคำคือ poly แปลว่า หลายๆ หรือ มาก และ mer แปลว่า หน่วย หรือ
สว่ น ดงั นั้น พอลเิ มอร์แปลว่าสารที่มีโมเลกุลยาวมาก และโมเลกุลเหลา่ นี้ประกอบดว้ ยหน่วยทีซ่ ้ำๆ กันเป็นจำนวน
มาก ตัวอย่างพอลิเมอร์ได้แก่ พอลิเอทีลีน พอลิสไตรีน เป็นต้น และพอลิเมอร์เกิดจากหนว่ ยซ้ำๆ เรียกว่า มอนอ
เมอร์ เกดิ ปฏกิ ิริยาพอลเิ มอไรเซชัน เป็นพอลเิ มอรเ์ กดิ ขึน้

ลูกปดั …………………………….

มอนอเมอร์ พอลเิ มอร์

❖ ประเภทของพอลิเมอร์ ประเภทของพอลเิ มอร์ แบ่งตามเกณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้

1. แบ่งตามการเกิดเปน็ เกณฑ์ เปน็ 2 ชนดิ คือ

2

1 . พอลิเมอร์ธรรมชาติ เปน็ พอลเิ มอรท์ ีเ่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ เชน่ โปรตีน แปง้ เซลลูโลส ไกโคเจน
กรดนวิ คลอี กิ และยางธรรมชาติ (พอลไี อโซปรีน)

2 . พอลเิ มอร์สังเคราะห์ เปน็ พอลิเมอรท์ ี่เกดิ จากการสังเคราะหเ์ พื่อใชป้ ระโยชนต์ ่าง ๆ เชน่ พลาสตกิ
ไนลอน ดาครอน และลูไซต์ เป็นตน้

2. แบง่ ตามชนิดของมอนอเมอร์ท่เี ปน็ องค์ประกอบ เปน็ 2 ชนดิ คือ
1 . โฮมอลเิ มอร์ (Homopolymer) เปน็ พอลิเมอรท์ ปี่ ระกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิดเดียวกนั เชน่ แป้ง

(ประกอบด้วยมอนอเมอร์ทเ่ี ป็นกลโู คสทั้งหมด) พอลิเอทลิ ีน PVC (ประกอบด้วยมอนอเมอรท์ ี่เปน็ เอทิลนี ทั้งหมด)

2 . โคพอลเิ มอร์ หรือ เฮเทอโรพอลิเมอร์ (Heteropolymer) โคพอลิเมอร์ เปน็ พอลเิ มอรท์ ี่
ประกอบด้วยมอนอเมอร์ต่างชนดิ กนั เชน่ โปรตีน (ประกอบด้วยมอนอเมอร์ท่ีเปน็ กรดอะมโิ นตา่ งชนิดกนั ) พอลิเอส
เทอร์ พอลิเอไมด์ เป็นต้น โคพอลเิ มอรม์ ีการเรียงตัวของมอนอเมอร์ได้หลายชนดิ ดงั นี้

· แบบเรยี งสลับกนั (alternating copolymer) [A-B-A-B-A-B-A-B-A] n
· แบบเรียงสุ่ม (random copolymer) [A-B-A-B-B-B-A-A-B] n
· แบบเรียงบล็อก (block copolymer) [A-A-A-B-B-B-A-A-A] n

พอลิเมอร์มีขนาดโมเลกุลใหญ่กว่ามอนอเมอร์ซึ่งส่งผลให้สมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร์ต่างกับมอนอ
เมอร์ ส่วนใหญม่ จี ดุ หลอมเหลวสงู กว่ามอนอเมอรม์ ากและละลายในตวั ทำละลายได้น้อยกวา่

3

สาร สถานะ จดุ หลอมเหลว ( ๐c) สภาพการละลายในนำ้ ( g/L)
เอทิลีน (มอนอเมอร)์ แก๊ส -169.2 0.035 (17๐c)
พอลิเอทลิ ีน (พอลเิ มอร์) ของแขง็ 115-135
กลโู คส (มอนอเมอร์) ของแขง็ 146 ไม่ละลายในน้ำ
พอลแิ ซกคาไรด์ในแป้ง (พอลิเมอร์) ของแข็ง สลายตวั 909 (25๐c)

ไม่ละลายในน้ำ

โดยทั่วไปพอลิเมอร์มีความแข็งแรงและเหนียวมากกว่ามอนอเมอร์ เมื่อพอลิเมอร์ละลายในตัวทำละลาย
สารละลายพอลเิ มอรจ์ ะมีความหนดื มากกว่าสารละลายของมอนิเมอร์ เนอื่ งจากพอลิเมอร์มีโมเลกุลขนาดใหญ่จึงมี
แรงยดึ เหนยี่ วระหว่างโมเลกลุ มากกว่ามอนอเมอร์

ตรวจสอบความเขา้ ใจ 1

ขนมสายไหมทำจากน้ำตาลซูโครสซ่งึ เป็นไดแซก็ คาไรด์ ส่วนสำลี
เป็นพอลแิ ซ็กคาไรดจ์ งเปรยี บเทยี บและอธบิ ายสมบตั กิ ารละลายนำ้

และการทนแรงดงึ ของขนมสายไหมและสำลี

............................................................................................................................. .........................................................
......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................................
............................................................................................................................. .........................................................
..................................................................................................................................................................... .................
................................................................................................................. .....................................................................

ปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอร์

ปฏกิ ิรยิ าเคมีท่ีทำให้มอนอเมอร์เชอ่ื มตอ่ กนั เป็นพอลเิ มอร์ เรยี กว่า ปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลเิ มอร์
(polymerization reaction) หรอื อาจเรียกสัน้ ๆว่า การเกิดพอลิเมอร์ (polymerization) ซ่ึงแบ่งเป็น
2 แบบ ดังน้ี

4

1) ปฏกิ ริ ยิ าพอลเิ มอรไ์ รเซชันแบบเตมิ (Addition polymerization reaction) เปน็ พอลิเมอร์
ที่เกิดจากปฏิกิริยารวมตัว การเกิดพอลิเมอร์ชนิดนี้เกิดจากมอนอเมอร์ท่ีไม่อิ่มตัวเกิดปฏิกิริยาพอลิ
เมอร์ไรเซชันแลว้ ไม่มโี มเลกลุ เลก็ ๆ ขาดหายไป

ตัวอยา่ งเชน่
พอลเิ อทิลนี (polyethalene)

พอลิสไตรนี (polystyrene,PS)

ปฏกิ ริ ยิ าการเกิดพอลิเมอร์แบบเตมิ มีสมบตั แิ ละนำไปใช้เป็นผลติ ภณั ฑ์ท่พี บในชวี ติ ประจำวนั ได้
หลากหลาย ตามข้อมลู ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 พอลิเมอร์ทเี่ ตรยี มได้จากปฏกิ ิริยาพอลเิ มอร์ไรเซชันแบบเตมิ (Addition polymerization reaction)

มอนอเมอร์ พอลเิ มอร์ สมบัติ ผลิตภณั ฑ์

เอทลิ ีน พอลิเอทลิ ีน ▪ โค้งงอได้ ▪ ถุงใสข่ องเย็น ถุงหูห้วิ
(ethylene ) (polyethylene,PE) ▪ กลอ่ งพลาสตกิ
เหนยี ว
▪ ป้องกันการ ▪ ขวดพลาสตกิ ขนุ่
▪ ฝาขวด
ผ่านของไอน้ำ

ไดด้ แี ต่อากาศ

ผ่านได้
เลก็ นอ้ ย

5

▪ จุดหลอมเหลว
ต่ำกวา่ พอลิ
เมอร์
สังเคราะห์
ชนิดอ่นื

โพรพิลีน พอลเิ อทิลีน ▪ มสี มบัตคิ ล้าย ▪ ถุงใส่ของรอ้ น
(propylene) (polypropylene,PP) พอลเิ อทิลีน ▪ หลอดพลาสติก
แต่ทนความ ▪ ภาชนะท่ีใชก้ บั
ไวนลิ คลอไรด์ พอลไิ วนลิ คลอไรด์ รอ้ นได้ดีกวา่
(vinyl c hloride) (vinyl chloride,PVC) และแข็งแรง ไมโครเวฟ
กว่า ▪ หลอดฉดี ยา
สไตรีน พอลสิ ไตรีน
(styrene) (polystyrene,PS) ▪ ทนต่อแรงดึง ▪ ท่อน้ำ สายยาง
และการขีด ▪ ไม้เทยี ม
ขว่ น ▪ แผ่นยางปูพื้น
▪ หนงั เทยี ม
▪ แขง็ และคงรปู ▪ ปลอกฉนวนสายไฟ
▪ ทนตอ่

ความชื้น
สารเคมแี ละ
การขดั ถู

▪ แข็งแต่เปราะ ▪ โฟมกนั กระแทก
▪ ใส โปรง่ แสง ▪ โฟมบรรจอุ าหาร
▪ วสั ดุชว่ ยพยงุ ใหล้ อย

น้ำ
▪ ชอ้ นส้อมพลาสติก
▪ กลอ่ งพลาสติกใส

6

เตตระฟลอู อโรเอทิลีน พอลิเตตระฟลูออโรเอทิลนี ▪ ทนความร้อน ▪ สารเคลอื บผวิ ภาชนะ
(tetrafluorethylene (polytetrafluorethylene,
ไดส้ งู เพ่ือป้องกันการ
) PTFE หรือ เทฟลอน) ▪ ทนสารเคมี
เกาะติดและการกัด
และตวั ทำ
กร่อน
ละลาย ▪ ฉนวนหมุ้ สายส่ง

สญั ญาน
▪ ภาชนะใช้ใน

หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทาง

วทิ ยาศาสตร์

หมายเหตุ - การเรียกชือ่ มอนอเมอรแ์ ละพอลิเมอร์นยิ มใชช้ ่ือสามัญ
- เทฟลอนเป็นชื่อทางการคา้

2) ปฏิกิริยาพอลิเมอรไ์ รเซชันแบบควบแนน่ (Condensation polymerization reaction) เป็นพอ
ลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาการสังเคราะห์พอลิเมอร์แบบควบแน่น (Condensation polymerization) ซึ่งพอลิเม
อร์ชนิดนี้ เกิดจากมอนอเมอร์ที่มี หมู่ฟังก์ชันมากกว่า 1 หมู่ ทำปฏิกิริยากันเกิดเป็นพอลิเมอร์ และได้สาร
โมเลกลุ ขนาดเล็ก เช่น น้ำ แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ แอมโมเนยี หรอื เมทานอล เปน็ ต้น

ตวั อยา่ งเช่น
เอทลิ ีนไกลคอล เกิดปฏิกิริยากบั ไดเมทิลเทเลฟทาเลต เกดิ เปน็ พอลิเอสเตอร์

7

พอลิเมอรท์ ี่ได้จากปฏิกิรยิ าการเกดิ พอลิเมอรแ์ บบควบแนน่ มสี มบัติและนำไปใชเ้ ปน็ ผลิตภณั ฑ์ท่ีพบใน
ชีวิตประจำวนั ไดห้ ลากหลาย ตามข้อมลู ดังตารางที่ 2
ตาราง ที่ 2 พอลิเมอรท์ ่ีเตรียมได้จากปฏกิ ิริยาพอลเิ มอร์ไรเซชันแบบควบแน่น ((Condensation

polymerization reaction)

มอนอเมอร์ พอลิเมอร์ สมบัติ ผลติ ภณั ฑ์

กรดเทเรฟแทลกิ พอลิเอทลิ นี เทเรฟแทลิก ▪ แข็งและเหนียว ▪ ขวดน้ำด่ืม
(terephtalic acid ) (polyethylene ▪ ทนต่อความชืน้ ▪ ถุงขนทขบ

+ terephthalate,PET หรือ และการขัดถู เคยี้ ว
เอทลิ นี ไกลคอน PETE ) ▪ เสน้ ใย

สังเคราะห์
▪ เชือกเอน็
▪ เส้นเอ็น

เฮกซะเมทิลนี ไดเอมีน ไนลอน 6,6 ▪ แข็งแรงเหนียว ▪ เชอื ก
(hexmethylenediamine) (nylon 6,6) ▪ ต้านทานแรงดงึ
ไนลอน
H2N(CH2)6NH2 และแรงฉดี ขาด ▪ ถุงนอ่ ง ถงุ
+ ▪ ทนต่อการกัดกร่อน
เท้า ไนลอน
กรดแอดิปิก และการเสียดสี ▪ เฟือง ล้อ
(adipic acid) ▪ ยืดหยุ่นได้
HOOC(CH2)4COOH ลกู กล้ิง
▪ รม่ ชชู พี

กรดแลกติก พอลแิ ลกตกิ แอซิด ▪ สามารถยอ่ ยสลาย ▪ ไหมละลาย
(lactic acid) (polylactic acid,PLA) ▪ ถุงเพาะชำ
ไดใ้ นธรรมชาติ ▪ แก้ว
หรือ ▪ แข็ง เปราะ
ชอ้ นสอ้ ม

พลาสติก
▪ ใช้เคลอื บ

แก้วกระ

ดาษ

8

รว่ ม กนั คิด 1

1. เขยี นโครงสรา้ งพอลิเมอร์ท่ีได้จากมอนอเมอร์ตอ่ ไปนี้ พร้อมท้งั ระบวุ ่าปฏิกิริยาการเกดิ พอลเิ มอรเ์ ปน็ แบบใด
1.1 CH2 = C(CH3)2
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.2 CH2 = CHCN
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.3 CH2 = CHCOO CH3
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.4 H2N – CH2-COOH
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.5 HO – CH2– CH2– CH2– CH2-OH กบั HO2C– CH2– CO2H
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. เขยี นโครงสร้างของมอนอเมอรจ์ ากสายพอลเิ มอร์ต่อไปน้ีพรอ้ มท้งั ระบวุ ่าปฏกิ ิริยาการเกิดพอลเิ มอรเ์ ป็นแบบใด

2.1
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

9

2.2

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.3

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.4

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10

3. โปรตีน พอลแิ ซก็ คาไรด์ และกรดนิวคลิอิก เปน็ พอลิเมอร์ธรรมชาตซิ ึ่งเป็นสว่ นประกอบและมีหนา้ ทส่ี ำคญั ใน
สิง่ มชี ีวติ ตัวอยา่ งโครงสร้างดังแสดง

พอลเิ พปไทด์ในโปรตีน

พอลิแซ็กคาไรดใ์ นไกลโคเจน

กรดนิวคลอี กิ
พอลิเมอร์แต่ละชนิดไดจ้ ากปฏกิ ริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอร์แบบใด และเกิดจากมอนอเมอรท์ ่ีมสี ตู รโครงสร้าง
อยา่ งไร

11

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. พอลิบวิ ทาไดอีน (polybutadiene) เป็นยางสงั เคราะห์ท่ีไดจ้ ากปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอรด์ งั ต่อไปนี้

ยางธรรมชาติ เชน่ ยางพารา มโี ครงสรา้ งดังแสดง

หากตอ้ งการสงั เคราะหย์ างท่มี โี ครงสร้างเหมือนกับยางพารา ควรใช้สารใดเป็นมอนอเมอร์และปฏกิ ิรยิ าการเกดิ
พอลเิ มอรเ์ ปน็ แบบใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

12

โครงสร้างและสมบตั ิของพอลเิ มอร์

นักเรียนคิดว่าโครงสร้างของพอลเิ มอรส์ ง่ ผลตอ่ สมบตั อิ ย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………

ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาเปรยี บเทียบโครงสรา้ งของ พอลเิ มอร์แบบเส้น แบบก่ิง และแบบร่างแห
ดังรูปที่ 1 ต่อไปน้แี ลว้ บอกไดห้ รอื ไม่ว่าวา่ โครงสรา้ งท้งั สามแบบแตกต่างกันอย่างไร

พอลเิ มอรแ์ บบเสน้ พอลเิ มอร์แบบกิง่ พอลิเมอร์แบบรา่ งแห

รูปที่ 1 โครงสรา้ งของพอลเิ มอร์แบบตา่ งๆ

เรื่อง ความหนาแนน่ และโครงสร้างของพอลเิ มอร์
จุดประสงค์ของกจิ กรรม

เพือ่ เปรียบเทียบความหนาแน่นของพอลเิ มอร์ทีม่ ีโครงสรา้ งแบบเส้นและแบบกิ่ง
อุปกรณ์

1. ลวดกำมะหยี่ 100 เสน้
2. ขวดนำ้ ทตี่ ัดปากขวดแล้ว
วธิ ีทำกจิ กรรม
1. ให้ลวดกำมะหย่ี จำนวน 5 เสน้ แกน่ กั เรยี นแต่ละคน
2. แบ่งนักเรยี นเป็น 2 กลมุ่ ในกลมุ่ ท่ี 1 ให้นักเรยี นแตล่ ะคนตอ่ ลวดกำมะหยีท่ ั้ง 5 เส้นเป็น
โครงสร้างแบบเส้น สว่ นกลมุ่ ที่ 2 ตอ่ เปน็ โครงสรา้ งแบบกง่ิ

13

3. ให้นกั เรียนแต่ละคนนำลวดกำมะหยี่ท่ตี ่อแลว้ มาหย่อนลงในขวดตามประเภท โครงสร้างและหยดุ เม่ือ
ลวดกำมะหย่ีเต็มขวด

4. นับจำนวนโครงสรา้ งท่ีอยใู่ นแต่ละขวด

ตารางบนั ทกึ ผลการทำกิจกรรม

โครงสร้าง จำนวนลวดกำมะหย่ีทีอ่ ย่ใู นขวด (เส้น)

แบบเสน้
แบบกงิ่

สรปุ ผลการทำกจิ กรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โครงสรา้ งของพอลเิ มอร์มผี ลต่อแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกลุ และสมบัติ
บางประการ เช่น ความหนาแนน่ จดุ หลอมเหลว ความแขง็ ความเหนียว

ของพอลเิ มอร์ตา่ งกนั อย่างไร

14

❖ โครงสรา้ งและสมบตั ิของพอลิเมอร์
1.พอลเิ มอร์แบบเส้น (Chain length polymer) เป็นพอลเิ มอร์ทีเ่ กดิ จากมอนอเมอร์สรา้ งพนั ธะต่อกนั เปน็ สาย
ยาว โซ่พอลเิ มอรเ์ รยี งชิดกันมากวา่ โครงสร้างแบบอื่น ๆ จึงมีความหนาแนน่ และจุดหลอมเหลวสงู มลี ักษณะแข็ง
ขนุ่ เหนยี วกว่าโครงสรา้ งอนื่ ๆ ตัวอย่าง PVC พอลสิ ไตรีน พอลเิ อทิลีน ดังภาพ

2. พอลิเมอร์แบบก่ิง (Branched polymer) เป็นพอลเิ มอร์ทเี่ กิดจากมอนอเมอร์ยดึ กนั แตกกิ่งกา้ นสาขา มที ั้งโซ่
สน้ั และโซย่ าว กง่ิ ทแี่ ตกจาก พอลเิ มอรข์ องโซห่ ลัก ทำให้ไมส่ ามารถจัดเรียงโซ่พอลิเมอร์ใหช้ ิดกนั ได้มาก จงึ มีความ
หนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่ำยดื หยนุ่ ได้ ความเหนียวตำ่ โครงสร้างเปล่ียนรปู ไดง้ ่ายเมื่ออุณหภูมเิ พ่มิ ขึน้ ตวั อย่าง
พอลเิ อทลิ นี ชนดิ ความหนาแน่นต่ำ ดงั ภาพ

3. พอลิเมอร์แบบร่างแห (Croos -linking polymer) เป็นพอลเิ มอร์ท่ีเกิดจากมอนอเมอร์ต่อเช่ือมกันเป็น
ร่างแห พอลิเมอรช์ นดิ น้ีมีความแข็งแกร่ง และเปราะหักงา่ ย ตวั อย่างเบกาไลต์ เมลามนี ใชท้ ำถว้ ยชาม ดังภาพ

ตรวจสอบความเขา้ ใจ 2

1. ฟนี อล-ฟอร์แมลดีไฮด์ (phenol-formaldehyde) หรือเบเคอไลต์ (bakelite) เปน็ พอลเิ มอร์ทแ่ี ขง็ ทนไฟ ไม่
หลอมเหลว เปน็ ตัวนำความร้อนที่ไม่ดี นยิ มใช้ทำด้ามหรือหจู ับของอุปกรณ์เคร่ืองครัว แผงวงจร สวิทชไ์ ฟฟา้
โครงสร้างของฟีนอล-ฟอร์แมลดีไฮด์เปน็ แบบใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

15

3. ฟิลม์ ยดื ห่ออาหารและถงุ หหู ิ้วทำมาจากพอลเิ อทลิ ีน ผลิตภัณฑ์ใดทำจาก HDPE และผลิตภัณฑ์ใดทำจาก
LDPE เพราะเหตใุ ด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………

เมลามนี -ฟอรแ์ มลดไี ฮด์ (melamine-formaldehyde) โครงสร้าง
ดงั รูป ไดจ้ ากการทำปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลเิ มอร์ระหว่างเมลามีน
กบั ฟอร์แมลดีไฮด์ ปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลเิ มอร์น้เี ป็นแบบใด เพราะ
เหตุใด

รปู ที่ 2 โครงสร้างเมลามนี -ฟอรแ์ มลดไี ฮด์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

16

เมลามีน-ฟอร์แมลดีไฮด์ (melamine-formaldehyde) โครงสร้างดังรปู ท่ี 2
ไดจ้ ากการทำปฏิกิรยิ าการเกดิ พอลิเมอรร์ ะหวา่ งเมลามนี กบั ฟอรแ์ มลดีไฮด์
ปฏกิ ิริยาการเกิดพอลเิ มอรน์ เี้ ป็นแบบใด เพราะเหตุใด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรม สืบเสาะ คน้ หา 2

กิจกรรมท่ี 2 เรื่อง การทดสอบการเปลย่ี นแปลงของพอลิเมอรเ์ ม่ือไดร้ บั ความรอ้ น
จุดประสงคข์ องกจิ กรรม
เพ่ือศึกษาการเปลยี่ นแปลงของพอลเิ มอร์เมอื่ ไดร้ ับความร้อน
วสั ดุ อุปกรณ์ และสารเคมี
สารเคมี
1. ชิ้นพอลิเมอรจ์ ากผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ อย่างนอ้ ย 4 ชนิด เช่นขวดน้ำดืม่ หลอดพลาสติก ภาชนะเมลามนี ยางลบ
อยา่ งละ 1 ชน้ิ

17

วสั ดแุ ละอุปกรณ์

1. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมท่กี ้นั ลม 1 ชุด
2. แผน่ กระเบือ้ ง 1 แผน่
3. คีมคีบ 1 อนั

วธิ ที ำกจิ กรรม

1. สงั เกตลักษณะของชิ้นพอลิเมอรแ์ ละบนั ทึกผล
2. คีบช้ินพอลิเมอรแ์ ล้วนำไปไวเ้ หนือเปลวไฟประมาณ 2 cm ดังรปู ประมาณ 3-5 วินาที สังเกตลักษณะและ
บนั ทกึ ผล หากช้ินพอลเิ มอร์อ่อนตัวหรือหลอมเหลวใหร้ ีบนำช้ินพอลเิ มอร์ออก

ช้นิ พอลิเมอร์ คมี คีบ

ท่กี ัน้ ลม ตะเกยี งแอลกอฮอล์

กระเบ้อื ง

3.นำชน้ิ พอลเิ มอรท์ ่ีออกจากไฟแลว้ มาวางไวจ้ นเยน็ ตวั ลง สังเกตรูปรา่ งเปรียบเทยี บกับก่อนได้รับความรอ้ นและ
บนั ทกึ ผล
4. ทำการทดสอบซำ้ จนครบทุกตัวอยา่ ง

18

ผลการทำกิจกรรม

การเปลย่ี นแปลงทส่ี ังเกตไดจ้ ากการทดลองเป็นดงั ตาราง

ผลิตภัณฑ์พอลเิ มอร์ ลักษณะของผลิตภัณฑ์ หลังไดร้ ับความรอ้ น
กอ่ นได้รบั ความรอ้ น ระหว่างไดร้ บั ความรอ้ น

ขวดน้ำดมื่

หลอดพลาสตกิ

เมลามีน

ยางลบ

คำถามทา้ ยกจิ กรรม

1. ตวั อย่างชน้ิ พอลเิ มอร์ใดมีการอ่อนตวั หรอื หลอมเหลวเมื่อได้รบั ความรอ้ น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ตวั อยา่ งชน้ิ พอลิเมอร์ในข้อ 1 เมอื่ อุณหภูมลิ ดลงมีการเปลีย่ นแปลงอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ถา้ ใชก้ ารเปลีย่ นแปลงเมือ่ ไดร้ ับความร้อนเปน็ เกณฑจ์ ะแบง่ กลมุ่ ของพอลิเมอร์ได้ก่กี ลุ่มแตล่ ะกลุ่ม
เปล่ยี นแปลงอยา่ งไรเมื่อได้รบั ความร้อน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปผลการทำกิจกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………

19

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………

พอลิเมอร์ต่างชนิดกันเมื่อได้รับความร้อนอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงต่างกัน โดยพอลิเมอร์ที่อ่อนตัวหรือ
หลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวเมื่ออุณหภูมิลดลง เรียกว่า พอลิเมอร์เทอร์มอพลาสติก
(Thermoplastic polymer) พอลิเมอร์ประเภทนี้สามารถนำมาหลอมขึ้นรูปใหม่ได้ เช่น พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิ
ลีน พอลิสไตรีน พอลิเมอร์เทอร์มอพลาสติกมีโครงสร้างแบบเส้นและแบบกิ่ง ซึ่งนิยมนำไปใช้เป็นผลิตภัณฑ์
พลาสติกที่ขึ้นรูปได้ง่าย เช่น ภาชนะ บรรจุภัณฑ์ ของเล่นอุปกรณ์ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ส่วนพอลิเมอร์ที่ไม่อ่อนตัว
หรือไม่หลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อน เรียกว่า พอลิเมอร์เทอร์มอเซต (Thermosetting polymer) พอลิเมอร์
ประเภทน้ีจงึ ไม่สามารถนำมาหลอมขึน้ รูปใหม่ได้ เชน่ ฟนี อล-ฟอร์แมลดีไฮด์ พอลยิ ูรเี ทน ยางวลั คาไนซ์ พอลิเมอร์
เทอร์มอเซตส่วนใหญ่มีโครงสร้างแบบร่างแห นิยมนำมาใช้ทำผลิตภัณฑ์หรืออุปกรณ์ที่ต้องการความคงทน ทน
ความรอ้ นสงู และบางกรณมี ีความยืดหยุน่ และคนื รูปไดด้ ี เช่น ยาง อย่างไรก็ตามในปัจจบุ ันได้มีการพฒั นาพอลิเมอร์
เทอร์มอพลาสติกชนดิ ใหม่ๆที่มีสมบัติเทียบเทา่ หรือใกลเ้ คียงกบั พอลเิ มอร์เทอรม์ อเซต เพ่ือนำมาใชแ้ ทนพอลิเมอร์
เทอร์มอเซต และสามารถทำการรีไซเคลิ ผลติ ภัณฑ์พอลิเมอร์หลงั การใชไ้ ด้

ตรวจสอบความเขา้ ใจ 3

จากกิจกรรมที่ 2 ผลิตภณั ฑ์ชนดิ ใดทำมาจากพอลิเมอรเ์ ทอร์มอพลาสติกและชนิดใดทำมาจากพอลิเมอร์
เทอร์มอเซต

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………

20

รว่ ม กนั คดิ 2

1. พอลิเมอร์ A B และ C มมี วลโมเลกุลใกลเ้ คยี งกนั สงั เคราะห์จากมอนอเมอร์ชนิดเดยี วกนั
แตม่ กี ารปรับเปลยี่ นโครงสรา้ งให้ตา่ งกนั ดงั แสดง

จากโครงสร้างของพอลเิ มอร์ A B และ C พอลเิ มอรใ์ ดมสี มบตั ติ ่อไปน้ี
1.1 จดุ หลอมเหลวต่ำท่สี ดุ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.2 ความหนาแน่นมากทส่ี ุด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.3 แข็งท่สี ุด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1.4 เปน็ พอลเิ มอรเ์ ทอร์มอพลาสติก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ยางรถยนต์มีองค์ประกอบเป็นยางธรรมชาตทิ ีผ่ ่านกระบวนการเชื่อมขวาง (crosslink)ระหวา่ งสายพอลิเมอร์
ยางรถยนต์สามารถนำมารีไซเคิลได้หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………………………………………………………………….

21

ตรวจสอบความรู้ นาสปู่ ัญญา

ขนั้ ที่ 2 สรา้ ง ปฏิบัติการ ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง
ความรCู้ ombination

จากท่ีนักเรยี นได้ศึกษาเน้ือหาเก่ียวกบั พอลิเมอร์ ประเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ และ
ความสมั พนั ธ์ระหว่างโครงสร้างกบั สมบตั ิของพอลิเมอร์มาแล้ว จงเตมิ ขอ้ ความท่ถี ูกต้องลงไปในตาราง
ขา้ งลา่ ง

ความเข้าใจคลาดเคล่ือน ความเข้าใจท่ีถกู ต้อง

พอลิเมอรค์ ือพลาสติกเทา่ นนั้

พลาสติกทำเป็นเส้นใยไม่ได้

พอลิเมอรท์ ุกชนดิ ได้จากการสังเคราะห์

พอลิเมอร์แต่ละชนิดเกิดจากมอนอเมอร์
เพยี งชนดิ เดยี วเทา่ นัน้

พอลิสไตรนี มโี ครงสร้างแบบกงิ่

เทอร์มอเซตเปน็ สมบตั ิของพลาสตกิ

ใหน้ ักเรยี นประเมินความเข้าใจของตวั เอง
..........คะแนน

22

นกั วิทยฯ์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ

ขนั้ ที่ 3 ซึมซบั ปฏิบัติการ คิดดี ผลงานดี มีความสขุ
ความรAู้ ssimlation

ให้นักเรียนค้นคว้า ข่าวสาร พลาสติก งานวิจัยสำหรับการใช้พอลิเมอร์ในงานด้านเวชภัณฑ์ ที่นักเรียน
สนใจ มา 1 เร่อื ง พร้อมระบุแหลง่ ท่มี า

ขอ้ มูลทส่ี ืบค้น

.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

23

.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
แหลง่ สบื คน้ ข้อมลู :
.......................................................................................................................................................................................
เม่อื วันที่ :
.......................................................................................................................................................................................

24

แบบทดสอบหลังเรยี น

เล่มที่ 1 เรอื่ ง การเกิดพอลิเมอร์ วิชาเคมี

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 5 นาที

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำสง่ั 1.ให้นักเรียนเขยี นเคร่อื งหมาย X ลงในข้อทนี่ ักเรียนคิดวา่ ถกู ต้องทสี่ ุดเพยี งข้อเดยี ว

2.ข้อสอบมที ั้งหมด 10 ข้อให้นกั เรียนทำทุกข้อ ใช้เวลาในการทำ 5 นาที

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. “พอลิไวนลิ คลอไรด์เกิดจากโมเลกุลของไวนลิ คลอไรด์มาต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต”์

จากขอ้ ความดังกล่าว อะไรคือพอลเิ มอร์

ก. ไวนิล ข. โคเวเลนต์

ค. ไวนิลคลอไรด์ ง. พอลไิ วนิลคลอไรด์

2. จากขอ้ 1 อะไรคือมอนอเมอร์

ก. ไวนลิ ข. โคเวเลนต์

ค. ไวนลิ คลอไรด์ ง. พอลิไวนิลคลอไรด์

3. วัสดหุ รือสารประเภทใดเป็นพอลเิ มอรส์ งั เคราะห์

ก. ผา้ ฝ้าย ข. พลาสติก

ค. ยางพารา ง. คารโ์ บไฮเดรต

4. วัสดุหรอื สารประเภทใดเป็นโคพอลิเมอร์ธรรมชาติ

ก. โปรตีน ข. เซลลโู ลส

ค. ยางพารา ง. คารโ์ บไฮเดรต

5. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะของปฏกิ ิรยิ าพอลิเมอไรเซชันแบบเติม

ก. ได้พอลิเมอร์ที่เสถียร ข. ไดส้ ารโมเลกุลเลก็ เปน็ ผลพลอยได้

ค. มอนอเมอร์มหี มู่ฟงั ก์ชนั มากกว่าหนึ่งหมู่

ง. เกดิ ปฏกิ ิริยาบรเิ วณพนั ธะคขู่ องคารบ์ อน

6. ข้อใดเป็นลกั ษณะของปฏิกิรยิ าพอลเิ มอไรเซชนั แบบควบแน่น

ก. ไดพ้ อลเิ มอร์ทไี่ มเ่ สถยี ร ข. ไดส้ ารโมเลกลุ เล็กเปน็ ผลพลอยได้

ค. มอนอเมอร์มีพันธะครู่ ะหว่างคารบ์ อน

ง. เกดิ ปฏิกริ ยิ าบริเวณพนั ธะคู่ของคารบ์ อน

7. พอลิเมอร์ใดเกิดจากปฏิกิริยาพอลเิ มอไรเซชันแบบเติม

ก. พอลเิ อไมด์ ข. พอลคิ ารบ์ อเนต

ค. พอลไิ วนิลคลอไรด์ ง. พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต

8. พอลเิ มอรใ์ ดเกดิ จากปฏกิ ิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแนน่

ก. พอลิเอไมด์ ข. พอลิเอทลิ ีน

ค. พอลสิ ไตรีน ง. พอลไิ วนลิ คลอไรด์

9. พอลเิ มอร์ใดมีโครงสรา้ งแบบเส้น

25

ก. เมลามนี ข. เบกาไลต์

ค. พอลิไวนิลคลอไรด์ ง. พอลิเอทลิ ีนชนิดความหนาแน่นตำ่

10. พอลเิ มอร์ท่ีมีพันธะท่เี ชื่อมระหวา่ งโซ่หลักจำนวนมากจะมสี มบัติอยา่ งไร

ก. แขง็ ขนุ่ และเหนียว ข. แข็ง ไมย่ ืดหยุ่น จดุ หลอมเหลวสงู

ค. ยืดหยุ่น ออ่ นตวั เม่ือไดร้ ับความรอ้ น

ง. ยดื หยนุ่ ความหนาแน่นและจดุ หลอมเหลวต่ำ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

26

บรรณานกุ รม
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2559).คูม่ อื ครู รายวชิ าเพม่ิ เติม เคมี เลม่ 5.พมิ พ์

ครงั้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2559).หนงั สอื เรียน รายวิชาเพม่ิ เติม เคมี เลม่ 5.

พิมพ์ครงั้ ท่ี 8.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2563).ค่มู ือครู รายวชิ าเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี เคมี เล่ม 5.พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1.กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2563).หนังสือเรยี น รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี เคมี เล่ม 5.พิมพ์คร้งั ที่ 1.กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.

27


Click to View FlipBook Version