The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการอบรมหลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-07 23:45:52

รายงานการอบรมหลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”

รายงานการอบรมหลักสูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”

รายงานโครงการพฒั นาครรู ูปแบบครบวงจร ดว้ ยระบบออนไลน์
หลกั สูตร “การลดความเสี่ยงภัยพิบตั ธิ รรมชาติและการปรับตัว

รบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”
รหัสหลักสูตร 62037 ปีการศึกษา 2563

โดย

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รตั น์
ครวู ิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ

กลุม่ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

รายงานผล

การอบรมตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการ
ศึกษา

สายงานการสอน ว22/2560
การอบรมออนไลน์ www.ThaiSafeSchools.coms

หลกั สูตรการลดความเสี่ยงภยั พิบตั ิธรรมชาติและการปรบั ตวั รบั ความเปล่ยี นแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศ

รหสั หลักสูตร 6 2 0 3 7

โดย

นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น์
ครวู ิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ

โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

โครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เกิดข้ึน
จากนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ต้องการปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู เพ่ือตอบสนองต่อการพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพสูงสุด มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี (พ.ศ.
2560 – 2579) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมคี วามมั่นคง มัง่ ค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตาม
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

จากนโยบายดังกล่าว สพฐ. จึงได้ดำเนินการ โครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเชิญชวนสถาบันอุดมศึกษาหรือบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน
องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน นำเสนอหลักสูตรอบรมพัฒนาครูให้
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน นำเสนอหลักสูตรให้สถาบันครุ ุพัฒนา สำนกั งานเลขาธิการครุ ุสภา
ทำการรับรอง และประชาสัมพันธ์ให้ครูได้เลือกหลักสูตรเพ่ือพัฒนาตนเองตามความต้องการ ความจำเป็น
รายบุคคล โดยจะดำเนินการจัดทำระบบลงทะเบียนและติดตามประเมินผลครูผู้เข้ารับการพัฒนา เพื่อให้ครู
สามารถเลือกอบรมตามความต้องการ และหน่วยงานส่วนกลางสามารถบริหารจัดการจัดสรรงบประมาณไปยัง
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาเพ่ือเป็นค่าลงทะเบียนให้กับครูที่แจ้งความประสงค์เข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่าง
ๆ และสามารถทราบความตอ้ งการในการพฒั นาตนเองของครใู นภาพรวมได้

จากความสำคญั ดังกล่าว ผรู้ ายงานได้เลอื กอบรม หลักสูตร “การลดความเสี่ยงภยั พบิ ัติธรรมชาติและการ
ปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” รหัสหลกั สตู ร 62037 ปีการศึกษา 2563 ซ่ึงเป็นหลักสูตรออนไลน์
เมื่อผ่านการอบรมเรยี บรอ้ ยแล้ว จงึ ขอเสนอผลการประชุม อบรมเพ่ือขยายผลการเรียนรตู้ ่อไป

นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์

ผูร้ ายงาน

สารบญั หนา้

คำนำ 1
สารบญั 2
บันทกึ ขอ้ ความ 5
รายงานผลการอบรม 6
ภาคผนวก 8
สำเนาหนังสอื รบั รองการผ่านการอบรมหลกั สูตร 11
ตัวอย่างหลักสตู รอบรม
ประกาศ สพฐ. เรอ่ื งรบั รองหลักสูตร ครัง้ ท่ี 1/2562

1

บันทึกข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
ท่ี วันท่ี 8 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563
เรือ่ ง รายงานผลการอบรมหลกั สูตรการลดความเสี่ยงภัยพบิ ัติธรรมชาติและการปรบั ตัวรบั การเปลี่ยนแปลง

สภาพภมู อิ ากาศ สาหรับบุคลากรในสถานศึกษา

เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

ด้วยข้าพเจ้า นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ โรงเรียนสุวรรณา
รามวิทยาคม ได้ลงทะเบียนเข้ารับการอบรมตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา สายงานการสอน (ว22/2560) โดยใช้หลักสูตรการพัฒนาตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด ตามประกาศสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน เรื่องรายช่อื หลักสูตรการพัฒนา ประจำปีงบประมาณ 2563 ดงั แนบ ข้าพเจ้า
ได้เข้ารบั การอบรมออนไลน์ในหลักสูตรการลดความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติและการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมอิ ากาศ รหสั หลักสูตร 62037 รวมเป็นเวลา 20 ช่ัวโมง ในการนี้ การอบรมตามโครงการดังกล่าวไดเ้ สร็จ
สิน้ เปน็ ท่เี รยี บร้อยแล้ว ขา้ พเจ้าขอรายงานผลการอบรม รายละเอียดตามเอกสารแนบ

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

ลงช่อื ......................................................................
(นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์)
ผรู้ ายงาน

❖ ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ...............................................
(นายจงจัด จันทบ)

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

2

รายงานผลการอบรม

ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (ว22/2560)
โดยใชห้ ลกั สตู รการพฒั นาตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ตามประกาศสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

เรอ่ื ง รายช่ือหลกั สตู รการพัฒนา ประจำปงี บประมาณ 2563
ลงวันท่ี 8 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563

********************************************

การฝกึ อบรมตามโครงการหลักสูตรความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรยี นโดยความร่วมมอื ระหว่างระทรวง
ศึกษาธกิ าร มลู นิธิศภุ นมิ ติ แหง่ ประเทศไทย และ Save the Children มีวัตถุประสงค์เพอ่ื ลดความเสย่ี งภัยพบิ ัติใน
สถานศึกษา ครูและนักเรียนมคี วามสามารถในการเรยี นรู้ความเส่ียงภัยของตนโดยเฉพาะภยั ในพนื้ ที่ สามารถวาง
มาตรการและวธิ กี ารปฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสม ตลอดจนสามารถดูแลรกั ษาโครงสร้างและกลไกพน้ื ฐานใหป้ ลอดภัยเพ่อื ลด
ผลกระทบจากภยั ธรรมชาติ น้ัน ๆ และหากประสบภยั พิบัตจิ ากธรรมชาติ กส็ ามารถฟน้ื ตัวไดด้ ว้ ยแนวทางและ
ทรัพยากรที่มใี นระยะเวลาทีเ่ หมาะสม จากการฝึกอบรมสรปุ ผลไดด้ งั น้ี

1. ขน้ั ตอนการเข้ารบั การอบรม
▪ ประเมินผลจากการวัดค่าพ้ืนฐาน Baseline ด้าน Safe School ก่อนเริ่มเรียนให้ผู้เรียน
พิจารณาคะแนน Baseline ของสถานศึกษา เพือ่ ประเมนิ สถานการณ์ความเสี่ยงของสถานศกึ ษา
▪ ลงทะเบยี นเข้าห้องเรยี นออนไลน์ เริ่มตน้ การ ลงทะเบยี น พรอ้ มเร่ิมศึกษาไดท้ นั ที การเรยี นโดย
ใหผ้ ู้เรยี นเรม่ิ ศึกษาทีละบท ทีละหวั ข้อ โดยสามารถเรียนซ้ำ หยดุ เรียน หรอื เรยี นต่อเมอื่ ไหรก่ ็ได้
ผ่านทางหน้าเว็บไซต์
▪ ทำแบบทดสอบ ก่อนเรียน / หลังเรียนผู้เรียนสามารถประเมินความรู้ทั้งก่อนเรียนและหลัง
เรียน ของตวั เองว่ามีความเขา้ ใจเก่ยี วกับความเสี่ยงภัยพิบตั อิ ยใู่ นระดบั ใด
▪ แนวทางการจัดการเรียนรู้ รวมสื่อความรูแ้ ละแนวทางการจัดการลดความเสี่ยงจากภัย
พิบัติ แก่สถานศกึ ษา บุคลากรในโรงเรียน เจา้ หนา้ ที่ ประชาชนในชมุ ชน รวมทงั้ ใหค้ วามรูแ้ ก่
เด็กเพือ่ สรา้ งความรูแ้ ละทกั ษะเตรยี มพรอ้ มรบั มือภยั พิบตั ิ

2. เน้ือหาและหลกั สตู รการฝกึ อบรม : ความร้ทู ไี่ ด้รับจากการอบรมมดี งั นี้
▪ สามเสาหลักของความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรยี น ความปลอดภัยรอบด้านในโรงเรียน ซึง่ อยู่
ภายใต้นโยบายและการปฏิบัติดา้ นการศึกษา มคี วามสอดคล้องกับการบริหารจัดการภัยพิบัตใิ น
ระดับประเทศ ภูมภิ าค , จังหวัดและดับพื้นที่รวมทั้งโรงเรยี น กรอบแนวคิดความปลอดภยั รอบ
ดา้ นในโรงเรียน ประกอบด้วยสามเสาหลัก ไดแ้ ก่
o เสาหลักท่ี 1 สิง่ อำนวยความสะดวกในการเรยี นทป่ี ลอดภยั ผูม้ บี ทบาทหลัก : บุคลากร/
หน่วยงานด้านการศึกษาและการวางแผน สถาปนิก วศิ วกร ผูร้ ับเหมาก่อสรา้ งบุคลากร
โรงเรียน และสมาชกิ ชุมชนที่มีบทบาทในการตัดสินใจดา้ นการเลือกสถานท่ีต้ังโรงเรยี น

3

ท่ีปลอดภัย การออกแบบ การก่อสร้าง และการดูแลรักษาโรงเรียน (รวมถึงการเข้าถึง
อาคารสถานท่แี ละสิ่งอานวยความสะดวกได้อยา่ งปลอดภัยสม่ำเสมอ)
o เสาหลักท่ี 2 : การบริหารจัดการภัยพิบัติในโรงเรียน ผู้มีบทบาทหลัก : ผู้บริหารภาค
การศึกษาทั้งในระดับประเทศและระดับจังหวัด รวมท้ังชุมชนโรงเรียนในพ้ืนท่ีซ่ึง
รว่ มงานกับหน่วยงานด้านการบริหารจัดการภัยพบิ ัติท่ีเก่ียวข้องในแต่ละพ้ืนท่ี ในระดับ
โรงเรียน ได้แก่ บุคลากรในโรงเรียน นักเรียนและผู้ปกครองที่มีส่วนร่วมในการดูแล
รักษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนท่ีปลอดภัย ตัวอยา่ งกิจกรรม เช่น การประเมินและ
ลดความเสย่ี งทางสงั คมส่ิงแวดลอ้ ม สาธารณูปโภคและความเส่ียงทไ่ี มใ่ ชโ่ ครงสร้างและ
โดยการพฒั นาศักยภาพในการรับมือภัยพิบตั ิและวางแผนการศกึ ษาตอ่ เนื่อง
o เสาหลักที่ 3 : การศึกษาด้านการลดความเส่ียงและการรู้รับปรับตัวจากภัยพิบัติ ผู้มี
บทบาทหลกั : ผู้จดั ทำหลักสูตรและส่ือการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
ผ้อู บรมครู ครู กลุ่มเยาวชน ผู้นาในการจัดกิจกรรมเยาวชน และนักเรียน ที่จะร่วมมือ
การเพ่ือพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้กับวัฒนธรรมแห่งความปลอดภัยและมี
ความสามารถในการรู้รับปรบั ตวั และพ้ืนคนื กลบั จากภัยพิบตั ิ
3. รูปแบบการอบรบ : การบรรยาย โดย E-Learning
4. ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั จากการเข้าร่วมกิจกรรม
ต่อตนเอง ไดแ้ ก่ ได้รับเกยี รตบิ ัตร ไดร้ ับความรคู้ วามเขา้ ใจในการจดั ทำแผนป้องกันภยั พบิ ัตใิ น
โรงเรยี น ถูกตอ้ งตามหลักการ สามารถนำความรู้และข้อมูลมาเปน็ ขอ้ มูลในการวางแผนการทำงาน มี
โอกาสได้สร้างสมั พันธภาพที่ดีแก่บคุ ลากรในกล่มุ เดียวกนั
ต่อหน่วยงานสถานศกึ ษา ได้แก่ โรงเรยี นไดป้ รบั แผนป้องกันภัยพิบตั ใิ นโรงเรยี น ไปในทศิ ทางที่
ถกู ต้อง ครแู ละบุคลากรภายในสถานศกึ ษาสามารถวางแผนการทางานในปีการศึกษา ต่อไป นำความรู้ท่ี
ได้จากการอบรมมาขยายผลให้ความร้กู ับครูภายในโรงเรียนเกย่ี วกับการจัดทำแผน
5. แนวทางในการนาความรู้ ทักษะท่ีไดร้ ับจากการดาเนนิ กจิ กรรมในครั้งน้ี ไปปรับใช้ให้เกดิ ประโยชน์
แกห่ นว่ ยงาน มีดังน้ี
▪ นำผลการอบรม มาขยายผลให้ครูในโรงเรยี นหรอื ผูท้ ีส่ นใจทราบเก่ยี วกบั แผนพฒั นาคุณภาพ
สถานศึกษารูปแบบใหม่
▪ นำผลการอบรม มาปรับขอ้ มูลในแผนปฏิบตั ิการประจาปี แผนยทุ ธศาสตร์
▪ สรุปผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ให้มีความสอดคล้องและสมบูรณม์ ากย่ิงขน้ึ ในการ
ป้องกนั ภยั พบิ ตั ใิ นโรงเรียน
▪ จัดทำในการเรยี นรู้ความเสีย่ งภยั ของตนโดยเฉพาะภัยในพ้ืนท่ี สามารถวางมาตรการและวธิ กี าร
ปฏบิ ัติทเี่ หมาะสม ตลอดจนสามารถดูแลรกั ษาโครงสรา้ งและกลไกพน้ื ฐานใหป้ ลอดภัยเพ่ือลด
ผลกระทบจากภยั ธรรมชาตนิ ้นั ๆ และหากประสบภยั พบิ ัตจิ ากธรรมชาติ ก็สามารถฟ้นื ตวั ได้ดว้ ย
แนวทางและทรพั ยากรท่มี ใี นระยะเวลาทีเ่ หมาะสมตัวบง่ ชีเ้ พ่อื วดั ระดับความสำเรจ็

6. ข้อคิดเห็น 4

▪ การอบรมนมี้ ปี ระโยชน์มาก สามารถนำไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ านได้จริง อกี ทัง้ ยงั

สามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่บคุ ลากรในหน่วยงานได้

▪ วิทยากร(ระบบ E-Learning)มคี วามรู้ ประสบการณ์และทกั ษะในการถ่ายทอดอยา่ งดี

ยง่ิ ทำให้ผูเ้ ข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจและสามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ในการอบรม

▪ ระยะเวลาในการฝกึ อบรม สามารถเข้ารบั การอบรมไดต้ ลอดเวลาและทกุ เวลา

สถานที่ เนอื่ งจากเปน็ ระบบ E-Learning

▪ ตำรา เอกสาร วดิ ีทศั น์ ประกอบการอบรม มีมาตรฐาน สามารถใช้ศึกษาค้นควา้ และ

นาไปอ้างอิงได้ อีกทั้งเอกสารท่ีประกอบการบรรยายด้วยคอมพิวเตอรม์ คี รบถว้ น

ภาคผนวก

1. สำเนาหนงั สือรับรองการผ่านการอบรมหลักสตู ร
2. ตัวอย่างหลักสูตรอบรม
3. ประกาศ สพฐ. เรือ่ งรับรองหลกั สตู ร คร้ังท่ี 1/2562

สำเนาหนงั สือรบั รอง
การผา่ นการอบรมหลักสตู ร

7

ตัวอย่าง
หลกั สูตรอบรม

9

10

ประกาศ สพฐ.
เรือ่ งรบั รองหลักสตู ร ครั้งท่ี 1/2562

12

13

14

15

16

17


Click to View FlipBook Version