The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์รื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-12-29 21:31:41

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์รื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์รื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

วชิ าเคมี6 ว 30226

สอนโดย นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รัตน์
ครชู ำนาญการพิเศษ

มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2563

สำหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม
ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น.........เลขท.ี่ .......



คำนำ

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหาตามแนวคิด
แบบโยนิโสมนสิการ จัดทำเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ความพึงพอใจทางการเรยี นเคมี
ส่งเสริมความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-2
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้นการเพิ่มพูนประสบการณ์
ทางวิทยาศาสตร์ นกั เรยี นจะไดร้ ับการทดสอบกอ่ นเรยี น และศึกษาเนอ้ื หาความรทู้ ีส่ ง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนศึกษา
และสบื คน้ โดยมคี วามรู้เพิ่มเตมิ นอกเหนือจากในบทเรยี น การตอบคำถาม การทำแบบฝึกหดั และทำกิจกรรม
การทดลองตามข้นั ตอนตลอดจนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพ่ือประเมินตนเองหลังจากการเรียนรู้ในแต่
ละกิจกรรมการเรียนรู้

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 2 เรื่องการบูรณาการความรู้
ในการแก้ปัญหา ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จะทำให้ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถในการ
สบื ค้น การจัดระบบส่ิงทเ่ี รียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื สร้างองค์ความรู้ ไดเ้ ปน็ อยา่ ง
ดีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่
สนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ต่อไป

นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์

สารบญั ข

เรอ่ื ง หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
ข้อแนะนำการเรยี นรู้ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ค
โครงสรา้ งชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ง
แบบทดสอบก่อนเรยี น 1
ขนั้ ที่ 1 การหาความรู้ 3
3
- ปฏิบัตกิ าร ฝกึ อา่ น : ฝกึ คดิ 10
ขัน้ ท่ี 2 สร้างความรู้ 10
15
- ปฏบิ ตั กิ าร ฝกึ ทำ : ฝกึ สร้าง 15
ขัน้ ท่ี 3 ซึมซับความรู้ 17
19
- ปฏบิ ัติการ คิดดี ผลงานดี มีความสขุ
แบบทดสอบหลงั เรยี น
บรรณานกุ รม



ขอ้ แนะนำการเรียนรู้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์

สำหรบั นักเรยี น
จุดประสงค์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้นักเรียนเป็นผู้มีความสามารถทางการ
จดั การความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ 3 ดา้ น ได้แก่

1. ด้านความรู้ ความคิด
2. ด้านทกั ษะการจัดการความร้ทู างวิทยาศาสตร์
3. ดา้ นคา่ นิยมตอ่ ตนเองเพ่ือสังคม
ซึ่งนักเรียนจะได้เสริมสร้างความสามารถดังกล่าวดังนี้ 1.การหาความรู้ (Operation) จาก
กิจกรรมการสืบเสาะ ค้นหา กิจกรรมร่วมกันคิด และกิจกรรมร่วมกันค้น 2.การสร้างความรู้
(Combination) เป็นขั้นฝึกการวิเคราะห์ประกอบด้วยการฝึกคิดแบบสืบสาวปัจจัยเหตุและแบบ
แยกแยะส่วนประกอบโดยใช้ ข้อความและสถานการณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง 3. การซึมซับความรู้
(Assimilation) เป็นขั้นที่ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ
อินเตอร์เน็ต ฝึกคิดอย่างมีวิจารณญาณ ฝึกทักษะการเขียนเพื่อนำเสนอแก้ไขปัญหาที่พบ
ประกอบการตอบคำถามฝึกการวิเคราะห์จุดเดน่ และจุดด้อยของผลงาน ตรวจสอบและปรับปรงุ เพ่อื
สร้างชิ้นงานใหม่ต่อไปได้ และข้อเสนอแนะกับผู้อ่านได้ โดยในทุกกิจกรรมได้จัดลำดับขั้นตอนที่เน้น
การเพิ่มพูนประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือเป็นผู้มีความสามารถทางการจัดการความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ ดังนี้
1. อา่ น และทำความเข้าใจในทุกข้ันตอนของกจิ กรรมการเรยี นรู้
2.รักและสนใจตนเอง สร้างความรู้สึกที่ดีให้กับตนเอง ว่าตัวเราเป็นผู้มีความสามารถมี
ศักยภาพอย่ใู นตวั และพรอ้ มทีจ่ ะเรยี นรู้ทุกสงิ่ ทสี่ รา้ งสรรค์
3. ร้สู ึกอสิ ระและแสดงออกอยา่ งเต็มความสามารถ
4. ฟัง คิด ถาม เขียน ปฏิบัติ อย่างรอบคอบในทุกกิจกรรม ใช้เนื้อที่กระดาษที่จัดไว้สำหรับ
เขยี นใหเ้ ต็ม โดยไมป่ ลอ่ ยใหเ้ หลอื เปลา่ เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดกับตนเอง
5. ใช้เวลาในการเรยี นรู้อยา่ งค้มุ ค่า ใชท้ กุ ๆ นาทที ำใหต้ นเองมีความสามารถเพมิ่ มากขึ้น
6. ตระหนกั ตนเองอยูเ่ สมอวา่ จะเรียนร้วู ิทยาศาสตรเ์ พื่อนำมาพัฒนาตนเองและพัฒนาสังคม

จดุ เดน่ ของการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ คอื การสรา้ งคณุ คา่ ที่ดีใหก้ บั สังคม
จงึ ขอเชญิ ชวนนกั เรียน มาร่วมกนั เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ด้วยใจรกั และ พฒั นาตนใหเ้ ตม็ ขดี ความสามารถ

ขอสง่ ความปรารถนาดีให้แก่นักเรยี นทุกคนได้เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์อย่างมีความสขุ พ่ึงตนเองได้
และเปน็ ผมู้ คี วามสามารถทางการจัดการความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์เพ่ือสงั คม ยงิ่ ๆ ขึน้ สบื ไป



โครงสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
หน่วยที่ 2 เร่ืองการบูรณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

สาระสำคัญ
การศึกษาและการแก้ปญั หาในสถานการณ์หรือประเด็นทส่ี นใจทำได้โดยการบูรณาการ

ความร้ทู างเคมีรว่ มกับวิทยาศาสตรแ์ ขนงอ่นื รวมทัง้ คณิตศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละทักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม โดยเนน้ การคิดวิเคราะหแ์ ก้ปัญหาและ
ความคดิ สรา้ งสรรค์
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม
2. ออกแบบแนวทางการแก้ปญั หาโดยใช้การบรู ณาการความรูท้ างเคมีร่วมกบั ศาสตร์อ่ืน
แกป้ ญั หาสถานการณ์หรือประเดน็ ทส่ี นใจ
3. ตง้ั ใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้
การจดั กระบวนการเรียนรใู้ ชร้ ปู แบบการจัดการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ มี 3 ขัน้ คอื
1. การหาความรู้ (Operation)
2. การสรา้ งความรู้ (Combination)
3. การซึมซบั ความรู้ (Assimilation)

เวลาทใ่ี ช้ 30 ช่ัวโมง
การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

นักเรยี นประเมินผลตนเองโดยใชแ้ บบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรียน-หลงั เรยี น

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

หน่วยที่ 2 เรอื่ งการบูรณาการความรใู้ นการแก้ปญั หา วิชาเคมี
เวลา 10 นาที
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 2

คำชี้แจง
1. แบบทดสอบฉบบั นี้เปน็ แบบปรนัยเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อใชเ้ วลาในการสอบ 10 นาที
2. ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่สี ุดเพียงคำตอบเดยี ว แลว้ ทำเครือ่ งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมหมายถึงข้อใด

ก. กระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบในด้านต่างๆ

ข. กระบวนการแกป้ ัญหาอย่างถูกต้องและได้ผลลพั ธม์ ากท่ีสุด

ค. กระบวนการแก้ปญั หาทีด่ ำเนนิ การอย่างเป็นระบบและคุ้มค่ามากทีส่ ุด

ง. กระบวนการแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบภายใต้ทรัพยากร ขอ้ จำกัดต่างๆและความคมุ้ ทุน

2. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมประกอบดว้ ยข้ันตอนการทำงานสำคัญคือ

ก. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวทางแกป้ ัญหา ลงมือปฏบิ ตั ิ

ข. กำหนดปัญหา ดำเนินการแกป้ ัญหา ทดสอบ ประเมินผล

ค. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวทางแกป้ ญั หา ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ประเมินผล

ง. กำหนดปญั หา สรา้ งแนวคิด ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ประเมินผล นำเสนอผล

3. ข้อใดเปน็ ประโยชน์ของกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ก. ทำให้มนษุ ยส์ ุขภาพดีข้ึน ข. ทำให้มนุษย์มีความสขุ มากขึน้

ค. ทำใหม้ นษุ ยเ์ พ่มิ จำนวนมากข้ึน ง. ช่วยในการแกป้ ัญหาการดำรงชวี ิตของมนุษย์

4. สมาคมนักเทคโนโลยีและวศิ วกรรมศึกษานานาชาติกำหนดขน้ั ตอนของแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีไว้ในมาตรฐาน

การรเู้ รยี กว่าอะไร

ก. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ข. กระบวนการแกป้ ญั หาทางวิศวกรรม

ค. กระบวนการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี

ง. กระบวนการแกป้ ญั หาทางเทคโนโลยีและวิศวกรรม

5. พิพิธภณั ฑว์ ิทยาศาสตรบ์ อสตนั ขับเคล่อื นหลักสูตรใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมกับนกั เรยี นในระดับใด

ก. ระดบั อนุบาล ข. ระดับประถมศึกษา

ค. ระดับมธั ยมศึกษา ง. ระดับอุดมศึกษา

6. ข้อใดไมไ่ ดก้ ล่าวถึงความสำคญั ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ก. เป็นวธิ ีการทำงานภายใตเ้ งื่อนไขและขอ้ จำ

ข. เป็นส่วนหนงึ่ ในกระบวนการวจิ ยั เพือ่ สอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์

ค. เปน็ เคร่ืองมือที่ชว่ ยเสรมิ สรา้ งและพฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

ใหก้ ับผ้เู รียน

ง. เปน็ กระบวนการทเ่ี อาแนวคิดทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วศิ วกรรมศาสตร์มา

พฒั นาแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมท่สี ดุ

1

7. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ ความสำคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้ถูกทีส่ ุด

ก. เป็นเคร่อื งมือสำหรับนักวิศวกรรมศึกษานานาชาติ

ข. เปน็ เคร่อื งมือการวางแผนเพ่ือหาแนวทางแก้ปญั หา

ค. เปน็ เครอ่ื งมือค้นหาปัญหางานภายใตเ้ งอ่ื นไขและข้อจำกัด

ง. เปน็ เคร่ืองมือท่ีชว่ ยเสรมิ สรา้ งและพฒั นาการเรยี นร้ดู า้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี

ใหก้ ับผูเ้ รยี น

8. ข้อใดหมายถึงกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

ก. Efficient Design Process ข. Education Design Process

ค. Engineering Design Process ง. Elementary Design Process

9. ข้อใดคือส่วนประกอบของการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ก. วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ข. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและกำลังไฟฟา้

ค. วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสมองกลฟังตวั

10. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเปน็ การประยุกต์ใช้ศาสตร์ใดบา้ ง

ก. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศลิ ปะศาสตร์ ข. วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี

ค. คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์ ง. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

2

หน่วยที่ 2 การบรู ณาการความรู้ในการแก้ปัญหา

ขั้นที่ 1 การหาความรู้ เวลา 30 ชว่ั โมง
Operation
ปฏบิ ตั กิ าร ฝึกอ่าน : ฝกึ คิด

วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือ สำคัญที่ช่วยให้ได้ความรู้พื้นฐานสำหรับการพัฒนาต่อยอดเป็น
ความรู้ใหม่เพื่อแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจำวนั และพัฒนานวัตกรรมทีท่ ำให้คุณภาพชวี ติ และความเป็นอยู่ของ
มนุษยด์ ีขึ้นทง้ั นก้ี ระบวนการแกป้ ัญหาและการสรา้ งนวตั กรรมในสถานการณจ์ ริงอาจมีการใชก้ ระบวนการออกแบบ
เชงิ วิศวกรรม (Engineering Design Process) ซงึ่ มขี นั้ ตอนอย่างไรจะได้ศึกษาตอ่ ไปในบทเรยี นนี้

กระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรมมขี ้ันตอนแตกต่างจากวิธีการทาง

วทิ ยาศาสตรห์ รือไม่

กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมคอื อะไร

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 6 ข้นั ตอน ได้แก่

1.ระบปุ ัญหา (Problem Identification) เปน็ การทำความเข้าใจปัญหาหรอื ความท้าทาย วเิ คราะห์

เง่ือนไขหรอื ขอ้ จำกดั ของสถานการณ์ปัญหา เพ่อื กำหนดขอบเขตของปญั หา ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือ

วิธีการในการแก้ปัญหา

2.รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกย่ี วข้องกับปัญหา (Related Information Search) เปน็ การรวบ

รวมข้อมลู และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเกยี่ วข้องกบั แนวทางการแกป้ ัญหาและ

ประเมินความเปน็ ไปได้ ข้อดีและข้อจำกัด ซ่ึงในการรวบรวมขอ้ มูลทเ่ี กยี่ วกับปญั หาอาจทำได้หลายวิธี เชน่

- การสบื คน้ จากอนิ เทอรเ์ นต็ ทีน่ า่ เช่อื ถือ

- การสอบถามจากผู้เชย่ี วชาญ

- การสืบค้นจากเอกสาร บทความ งานวิจยั -การทดลองทางวิทยาศาสตร์

3

3.ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา (Solution Design) เป็นการประยุกตใ์ ชข้ ้อมลู และแนวคิดทเ่ี กยี่ วข้องเพ่ือ
การออกแบบช้ินงานหรอื วิธกี ารในการแกป้ ญั หา โดยคำนงึ ถงึ ทรพั ยากร ข้อจำกัดและเง่ือนไขตามสถานการณ์ที่
กำหนด

4.วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา (Planning and Development) เป็นการกำหนดลำดับขนั้ ตอน
ของการสรา้ งชิน้ งานหรือวธิ ีการ แล้วลงมอื สรา้ งชิ้นงานหรือพัฒนาวิธกี ารเพอ่ื ใชใ้ นการแก้ปัญหา

5.ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแก้ไขวิธีการแกป้ ัญหาหรอื ช้นิ งาน (Testing, Evaluation and
Design Improvement) เป็นการทดสอบและประเมินการใชง้ านของช้นิ งานหรือวิธีการ โดยผลท่ไี ดอ้ าจนำมาใช้
ในการปรับปรุงและพฒั นาให้มีประสทิ ธภิ าพในการแกป้ ัญหาได้อย่างเหมาะสมทส่ี ดุ

6.นำเสนอวิธีการแก้ปญั หา ผลการแกป้ ัญหาหรือชิ้นงาน (Presentation) เป็นการนำเสนอแนวคิด
และข้นั ตอนการแกป้ ญั หาของการสรา้ งช้ินงานหรอื การพฒั นาวิธีการ ให้ผ้อู ืน่ เข้าใจและไดข้ อ้ เสนอแนะเพื่อการ
พฒั นาตอ่ ไป

ในการปฏิบัติงานสามารถย้อนข้นั ตอนการทำงาน
กลับไปมา และอาจะทำงานซำ้ บางขั้นตอน เพ่ือ

พัฒนาหรือปรับปรงุ การแกป้ ัญหาให้ดขี ้ึน

กิจกรรมท่ี 1 เร่ือง สายไฟแป้งโดว์
จดุ ประสงคข์ องกจิ กรรม

1. สรา้ งสายไฟแปง้ โดว์เพื่อทำให้หลอด LED สวา่ ง ตามเงื่อนไขท่ีกำหนด
2. นำเสนอขั้นตอนการสร้างสายไฟแป้งโดว์
วสั ดุ อุปกรณ์ และสารเคมี

รายการ ปรมิ าณต่อกลุ่ม

สารเคมี 1 ก้อน (30 g)
1. แป้งโดว์ 5g
2. เกลือแกง 5g
3. นำ้ ตาลทราย 5g
4. เบกกงิ้ โซดา 3 mL
5. นำ้ กล่นั

4

รายการ ปริมาณตอ่ กลุ่ม

วสั ดุและอุปกรณ์ 2 หลอด
1. หลอด LED ขนาดเล็ก (1.5V) 1 เส้น
2. สายไฟที่ตอ่ กับคลิปปากจระเข้ 1 ชดุ
3. ถา่ นไฟฉาย 1.5V 2 ก้อน ในรางถา่ น 1 ใบ
4. ภาชนะสำหรบั ผสม 1 แผน่
5. ผังตำแหนง่ ของหลอด LED และรางถา่ น

การเตรยี มลว่ งหน้า
1. เตรียมแปง้ โดว์ ดงั น้ี
- ชั่งแป้งสาลี 200 g ตวงน้ำมันถว่ั เหลือง 20 mL และ นำ้ กลน่ั 100 mL
- เติมนำ้ มันถัว่ เหลืองลงในแป้งสาลี ผสมให้เข้ากัน
- คอ่ ย ๆ เติมน้ำกลัน่ ลงไป และนวดใหส้ ่วนผสมทัง้ หมดเข้ากัน
(แปง้ โดว์ทเ่ี ตรียมได้สามารถใช้ไดก้ บั การทดลองของนกั เรียนประมาณ 10 กลมุ่ )
2. ชั่งแปง้ โดว์แบง่ ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม กลมุ่ ละ 30 g

ผังตำแหน่งของหลอด LED และรางถ่าน

OFF-ON

5

วิธที ำกิจกรรม
1. ทดสอบการต่อวงจรไฟฟ้า โดยต่อสายไฟท่ีต่อกับคลปิ ปากจระเข้กบั หลอด LED ซึง่ ต่อกับรางถา่ นดังรปู ตามผังท่ี
กำหนดสงั เกตความสว่างของหลอด LED และบนั ทึกผล และบันทกึ ผล

หลอด LED

18 cm
รางถ่าน

หลอด LED

2. ต่อวงจรไฟฟา้ ตามข้อ 1 แต่เปลย่ี นสายไฟที่ต่อกับทิพยป์ ากจระเข้เปน็ แป้งโดวส์ งั เกตความสวา่ งของหลอด LED
และบันทึกผล
3. ออกแบบวธิ ีการเติมสารลงในแปง้ โดว์และการต่อวงจรเพ่ือทำใหห้ ลอดแอลอดี ีทงั้ 2 หลอดสวา่ งและทำการ
ทดลองตามเง่ือนไขดังนี้

- เลือกใชส้ ารเคมเี พียง 1 ชนิดจากสารเคมตี ่อไปนีเ้ พื่อละลายในน้ำและผสมลงในแปง้ โดวท์ ง้ั ก้อน
1.เกลือแกง (NaCl) 2. นำ้ ตาลทราย (C12H22O11) 3. เบกกง้ิ โซดา (NaHCO3)
- วางตำแหน่งของหลอด LED กำหนดให้
- กำหนดระยะเวลาดำเนนิ การภายใน 30 นาที
- กลมุ่ ที่ใช้สารเคมปี ริมาณน้อยทีส่ ุดจะได้คะแนนมากท่สี ดุ
4.บนั ทกึ ข้อมูลลงในแบบฟอร์ม “การบนั ทึกข้อมูลการดำเนินการ” ทก่ี ำหนดให้
5. นำเสนอข้อมูลการดำเนินการ

ผลการทำกจิ กรรม
การบันทกึ ขอ้ มูลการดำเนินการ
1. เปรยี บเทียบความสวา่ งของหลอด LED เม่ือต่อวงจรไฟฟ้าด้วยสายไฟท่ตี ่อกับคลปิ ปากจระเข้และแปง้ โดว
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6

2. ระบุปัญหาและเง่อื นไขในการแก้ปัญหา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ระบุสารเคมที เี่ ลือกใช้เติมลงในแป้งโดว์ พร้อมอธบิ ายเหตุผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ออกแบบขั้นตอนการดำเนินการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ดำเนนิ การตามขั้นตอนท่ไี ด้ออกแบบไว้และระบุผลการดำเนนิ การในคร้งั แรก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ระบวุ ธิ กี ารปรับปรุงแก้ไข หากไมส่ ามารถทำให้หลอด LED ทั้งสองหลอดสวา่ งในคร้งั แรกของการดำเนินการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. สรุปวิธีการดำเนนิ การและเสนอแนะวิธีการดำเนินการที่ใหผ้ ลดขี ้นึ พร้อมวาดรปู การต่อ วงจรไฟฟา้ สำหรบั
ทดสอบความสวา่ งของหลอด LED
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
รปู การต่อวงจร

สรุปผลการทำกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตรวจสอบความเขา้ ใจ 1

วธิ กี ารทางวิทยาศาสตรแ์ ละกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมสี ่วนของวตั ถุประสงคแ์ ละข้ันตอนท่ี

เหมอื นและต่างกนั อย่างไร

วัตถุประสงค์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขั้นตอน

วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีข้นั ตอนท้งั ส่วนที่เหมือนกนั และแตกตา่ ง

กนั ดังแผนภาพ

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

9

กจิ กรรม สืบเสาะ คน้ หา 2

กจิ กรรมที่ 2 เรื่อง การแก้ปัญหาโดยการบรู ณาการความรู้
จดุ ประสงค์ของกจิ กรรม

เลือกสถานการณป์ ัญหาหรอื ประเด็นทส่ี นใจและออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยการบรู ณาการความรู้
ทางเคมีกับความรู้ในศาสตร์อ่ืน และใชว้ ิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

11

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

12

เกณฑ์การใหค้ ะแนนสำ หรับแบบประเมนิ ระหว่างการทำ กจิ กรรมที่ 2 การแกป้ ญั หาโดยการบูรณาการความรู้

ส่งิ ทตี่ ้องการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ
ดี
การสำรวจปญั หาและการ มีข้อมูลจากการสำรวจสนับสนุนให้
ตั้งคำ ถาม/การระบปุ ัญหา เห็นความสำคัญของปัญหา และต้ัง พอใช้
คำถาม/ระบุปัญหาได้สอดคล้องกับ ต้องปรบั ปรงุ
การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ สถานการณป์ ัญหา
และขอบเขตของงาน ดี
มีข้อมูลจากการสำรวจสนับสนุนให้ พอใช้
การออกแบบวธิ ีดำเนนิ การ เห็นความสำคัญของปัญหา แต่ตั้ง ตอ้ งปรบั ปรุง
แกป้ ัญหา คำถาม/ระบปุ ัญหาไมส่ อด
คลอ้ งกับสถานการณป์ ัญหา ดี
พอใช้
ไมม่ ีข้อมูลจากการสำรวจสนับสนนุ ต้องปรับปรงุ
ให้เห็นความสำคัญของปัญ หาและ
ตั้งคำถาม/ระบุปัญหาไม่สอดคล้อง
กับสถานการณป์ ญั หา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางเคมี
และความรู้หรือข้อเท็จจริงอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับปัญหาและเพียงพอใน
การแก้ปัญหา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางเคมี
และความรู้หรือข้อเท็จจริงอื่น ๆ ท่ี
เกี่ยวข้องกับปัญหาแต่ไม่เพียงพอใน
การแก้ปัญหา

มีการศึกษาค้นคว้าความรู้ทางเคมี
และความรู้หรือข้อเท็จจริงอื่น ๆ ท่ี
ไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ปญั หาเป็นสว่ นใหญ่

วธิ ีดำเนินการสอดคล้องและครอบ
คลมุ กบั วัตถุประสงค์และขอบเขต
ของงานและเปน็ แนวทางที่นำไปสู่
การแกป้ ัญหาได้

วธิ ีดำเนนิ การสอดคล้องแต่ไม่รอบ
คลมุ วตั ถุประสงคแ์ ละขอบเขตของ
งานทงั้ หมด และเป็นแนวทางทนี่ ำ
ไปสูก่ ารแกป้ ัญหาได้

วิธดี ำเนนิ การไมส่ อดคล้องกบั วัตถุ

13

การดำเนนิ การแกป้ ญั หา ประสงค์และขอบเขตของงาน และ ดี
ไม่ใช่แนวทางทีน่ ำ ไปสู่การแก้ปัญหา พอใช้
ได้ ตอ้ งปรับปรุง

ดำเนนิ การแกป้ ัญหาตามท่ีได้ออก
แบบวิธีการไว้ และใช้อปุ กรณ์/
เคร่อื งมือในการดำ เนินการไดอ้ ยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสม

ดำเนนิ การแกป้ ญั หาตามท่ีได้ออก
แบบวธิ กี ารไว้ แตใ่ ช้อปุ กรณ์/เครื่อง
มอื ในการดำเนินการไมถ่ กู ตอ้ ง
เหมาะสม

ดำเนนิ การแก้ปญั หาโดยไม่เป็นไป
ตามขัน้ ตอนท่ีไดอ้ อกแบบวธิ ีการไว้
และใชอ้ ปุ กรณ/์ เคร่ืองมือในการดำ
เนนิ การไม่ถูกต้องเหมาะสม

14

นักวิทยฯ์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ

ขน้ั ท่ี 3 ซมึ ซบั ความรู้ ปฏิบตั ิการ คดิ ดี ผลงานดี มคี วามสขุ
Assimlation

คำช้ีแจง ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม อ่านขา่ วท่ีกำหนดให้และเติมข้อความลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกต้องและสมบรู ณ์

เปิด 3 ฉากทัศน์โควิด-19 ระบาดรอบใหม่ กลางเดือน ม.ค.64 อาจติดเชื้อถึงวนั ละ 18,000 ราย
หากไม่ทำอะไรเลย

: ท่มี า ผจู้ ัดการออนไลน์ 29 ธ.ค. 2563 13:37

โควิด-19 กระจายเกินครึ่งประเทศ โฆษก ศบค. เปิด 3 ฉากทัศน์ แนวโน้มการระบาดระลอกใหม่ของโค
วิด-19 คาดเดือน ม.ค.64 จะมีผูต้ ิดเชื้อรายวนั 18,000 คนต่อวนั ระบุทำกลางๆ ยงั ติดเช้อื วันละ 4-8 พันคน ย้ำยก
การ์ดเขม้ สงู สดุ โอกาสติดเชอื้ วนั ละ 1 พัน

วันนี้ (29 ธ.ค.) นายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) แถลงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ประจำวัน ว่า แนวโน้มการระบาด
ของโควิด-19 ระลอกใหม่ จากภาพฉากทัศน์การระบาด ซึ่งทีมคณะทำงานระบาดวิทยาของกรมควบคุมโรค เสนอ
3 ฉากทัศน์ ดังนี้

ฉากทัศน์แรก ถ้าไม่ทำอะไรเลยจะพบว่าสีแดงระฆังคว่ำตัวเลขจะชันขึ้นเรื่อยๆ และถึงวันที่ 14 ม.ค. 64
จะมผี ู้ป่วยต่อวนั 18,000 คน และจะเรม่ิ ต้นจากขึ้นวันละ 1,000-2,000 คนจะชนั ข้นึ เรอื่ ยๆ

ฉากทัศนท์ ่ี 2 หากมมี าตรการกลางๆ คอื เสน้ กราฟสเี หลือง ซึง่ กำลังดำเนินการอยู่ คาดวา่ จะมีผู้ป่วยราย
ใหม่ 4,000 คนต่อวนั เรียกวา่ สะสมไมน่ านก็จะหลักหม่ืนภายในไม่กว่ี นั

ฉากทัศนส์ ดุ ทา้ ย คอื กราฟสีเขียว ถ้าร่วมมอื กัน ใส่หนา้ กากอนามัย การลา้ งมอื บ่อยๆ จะน้อยกว่า 1,000
คนตอ่ วนั

“ระลอก 2 ระลอกใหม่ทต่ี อนนี้ผมพูดตามคำวชิ าการ แตไ่ มอ่ ยากเหน็ เสน้ ภาพสีแดง ซึง่ กลางเดือน ม.ค.64
ตอนนี้เรายังอยู่ในเส้นสีส้ม ยอมรับว่ากังวลใจ เพราะแค่เส้นสีส้มยังทแยงขึ้น 45 องศา ต้องมีคนป่วยหลักพันหลัก
หมืน่ ถ้าป่วย 8,000 คนต่อวันคอื ตวั เลขทสี่ งู มาก” นายแพทยท์ วศี ลิ ป์ กลา่ ว

นพ.ทวีศิลป์ กล่าวว่า ที่ประชุม ศบค.ชุดเล็กวิเคราะห์สถานการณ์แพร่ระบาดในไทย ขณะนี้แบ่งออก 2
แบบ คอื 1. การติดเชอื้ จากบุคคลสู่บุคคล คอื ร้วู า่ ตวั เองไปในพ้ืนทเี่ สีย่ ง/กจิ กรรมเสยี่ ง และไมร่ ู้ และไม่ระมัดระวัง

15

ว่าได้สัมผัสหรือใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ เช่น กรณีผู้ว่าฯสมุทรสาคร และ 2.การติดเชื้อแบบกลุ่มก้อน ซึ่งมีสาเหตจาก
การเข้าไปรว่ มกจิ กรรมต่างๆ เชน่ งานเลี้ยงสงั สรรค์ การประชมุ และกิจกรรมท่ลี ักลอบ เชน่ การพนัน ม่ัวสุมทำให้
เกิดการตดิ เชอ้ื ตัวเลข 2 หลกั

“ขณะนี้ยังคงมาตรการที่ ศบค.ชุดใหญ่ประกาศ 4 พื้นที่ควบคุมสูงสุด พื้นที่ควบคุม พื้นที่เฝ้าระวังและท่ี
ต้องเร่งดำเนินการเพิ่ม คือ ทางจังหวัด ต้องหารือในจังหวัดให้แบ่งส่วนพื้นที่ต่างๆ ภายในวันพรุ่งนี้ (30 ธ.ค.) ต้อง
แบ่งออกมาในระดับอำเภอ เช่น กรณี จ.ระยอง ขณะนี้พื้นที่ควบคุมสูงสุด คือ อำเภอเมืองระยอง” นพ.ทวีศิลป์
กลา่ ว

ประเภทของขา่ ว …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….

.

พาดหวั ขา่ ว …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….
เหตกุ ารณท์ ่ี
เกิดข้นึ ในขา่ ว .

…………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

คะแนนท่ีได้…………….คะแนน

16

แบบทดสอบหลังเรียน

หนว่ ยท่ี 2 เร่อื งการบรู ณาการความร้ใู นการแกป้ ัญหา วิชาเคมี
เวลา 10 นาที
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2

คำชี้แจง
1. แบบทดสอบฉบับน้ีเป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อใชเ้ วลาในการสอบ 10 นาที
2. ใหน้ กั เรยี นเลอื กคำตอบทีถ่ ูกตอ้ งทสี่ ุดเพียงคำตอบเดยี ว แล้วทำเคร่อื งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมหมายถงึ ข้อใด

ก. กระบวนการแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบในด้านตา่ งๆ

ข. กระบวนการแกป้ ญั หาอยา่ งถกู ต้องและไดผ้ ลลัพธ์มากท่ีสุด

ค. กระบวนการแก้ปญั หาที่ดำเนินการอย่างเปน็ ระบบและคุ้มคา่ มากทีส่ ดุ

ง. กระบวนการแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นระบบภายใต้ทรพั ยากร ข้อจำกัดต่างๆและความคุม้ ทุน

2. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมประกอบดว้ ยขั้นตอนการทำงานสำคญั คือ

ก. กำหนดปัญหา สร้างแนวทางแก้ปัญหา ลงมอื ปฏบิ ตั ิ

ข. กำหนดปญั หา ดำเนินการแกป้ ัญหา ทดสอบ ประเมนิ ผล

ค. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวทางแกป้ ัญหา ดำเนินการแกป้ ัญหา ประเมินผล

ง. กำหนดปญั หา สร้างแนวคิด ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ประเมินผล นำเสนอผล

3. ขอ้ ใดเป็นประโยชนข์ องกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ก. ทำให้มนษุ ย์สขุ ภาพดีขนึ้ ข. ทำใหม้ นุษย์มีความสขุ มากขึน้

ค. ทำให้มนษุ ย์เพ่ิมจำนวนมากขน้ึ ง. ช่วยในการแกป้ ัญหาการดำรงชีวิตของมนุษย์

4. สมาคมนักเทคโนโลยีและวิศวกรรมศึกษานานาชาติกำหนดข้นั ตอนของแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีไว้ในมาตรฐาน

การรูเ้ รยี กวา่ อะไร

ก. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ข. กระบวนการแกป้ ญั หาทางวศิ วกรรม

ค. กระบวนการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี

ง. กระบวนการแกป้ ญั หาทางเทคโนโลยีและวศิ วกรรม

5. พพิ ิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตรบ์ อสตนั ขบั เคล่อื นหลักสูตรใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมกบั นักเรยี นในระดบั ใด

ก. ระดับอนบุ าล ข. ระดบั ประถมศึกษา

ค. ระดับมธั ยมศึกษา ง. ระดับอุดมศึกษา

6. ข้อใดไมไ่ ด้กลา่ วถงึ ความสำคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ก. เป็นวธิ ีการทำงานภายใต้เง่ือนไขและข้อจำ

ข. เปน็ สว่ นหน่ึงในกระบวนการวิจัยเพื่อสอบสนองความต้องการของมนุษย์

ค. เปน็ เครอ่ื งมือทช่ี ว่ ยเสริมสรา้ งและพัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

ใหก้ บั ผเู้ รยี น

ง. เปน็ กระบวนการทเี่ อาแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วิศวกรรมศาสตรม์ า

พฒั นาแนวทางแกป้ ัญหาทีเ่ หมาะสมท่ีสุด

17

7. ข้อใดกลา่ วถงึ ความสำคญั ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้ถกู ท่ีสุด

ก. เป็นเครือ่ งมือสำหรับนักวิศวกรรมศึกษานานาชาติ

ข. เป็นเครื่องมือการวางแผนเพ่ือหาแนวทางแก้ปัญหา

ค. เปน็ เครือ่ งมือค้นหาปญั หางานภายใตเ้ งอื่ นไขและข้อจำกัด

ง. เปน็ เครอ่ื งมือทช่ี ่วยเสรมิ สรา้ งและพัฒนาการเรยี นรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี

ให้กับผูเ้ รยี น

8. ข้อใดหมายถงึ กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ก. Efficient Design Process ข. Education Design Process

ค. Engineering Design Process ง. Elementary Design Process

9. ข้อใดคือสว่ นประกอบของการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

ก. วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ข. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละกำลงั ไฟฟ้า

ค. วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสมองกลฟงั ตัว

10. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมเป็นการประยกุ ต์ใชศ้ าสตรใ์ ดบ้าง

ก. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศลิ ปะศาสตร์ ข. วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี

ค. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์ ง. วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

18

บรรณานุกรม
สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มอื ครู รายวิชาเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 6.พิมพ์ครัง้ ที่ 1 ; กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2562). หนังสือเรยี นรายวชิ าเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี เคมี เล่ม 1. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
ผ้จู ดั การออนไลน์. (2563). เปิด 3 ฉากทัศน์โควดิ -19 ระบาดรอบใหม่ กลางเดือน ม.ค.64 อาจตดิ เชอ้ื ถึงวันละ

18,000 ราย หากไม่ทำอะไรเลย. สืบค้นเม่อื 30 ธันวาคม 2563,
จาก https://mgronline.com/qol/detail/9630000132918

19


Click to View FlipBook Version