The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาตนเอง2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-07 23:31:19

แผนพัฒนาตนเอง2563

แผนพัฒนาตนเอง2563

2. สมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) (ต่อ)

ระดับการปฏบิ ตั ิ

รายการสมรรถนะและพฤติกรรม นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก

ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ุด

2. สมรรถนะการพัฒนาผเู้ รยี น

2.1 สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมแกผ่ ู้เรยี นในการจัดการเรียนรู้

ในชนั้ เรยี น

2.2 จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรมใหแ้ ก่ผู้เรียนโดยให้

ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการวางแผนกจิ กรรม

2.3 จดั ทำโครงการ/กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรม

ให้แก่ผู้เรยี น

2.4 จัดกิจกรรมเพ่อื พัฒนาผู้เรยี นด้านการดแู ลตนเอง มที ักษะใน

การเรยี นรู้ การทำงาน การอยู่ร่วมกนั ในสงั คม และรู้เทา่ ทัน

การเปลี่ยนแปลง

2.5 สอดแทรกความเปน็ ประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเปน็

ไทยใหแ้ กผ่ ู้เรียนในการจดั การเรียนรู้

2.6 จดั ทำโครงการ/กิจกรรมที่สง่ เสริมความเปน็ ประชาธปิ ไตย

ความภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทย

2.7 ใหผ้ ปู้ กครองมีส่วนรว่ มในการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน

รายบคุ คล

2.8 นำข้อมลู นกั เรยี นไปใช้ช่วยเหลอื /พัฒนาผู้เรียนท้งั ดา้ น

การเรยี นรู้และปรับพฤตกิ รรมเป็นรายบุคคล

2.9 จัดกิจกรรมเพ่ือปอ้ งกันแก้ไขปญั หาและส่งเสริมพฒั นาผเู้ รียน

ใหแ้ กน่ กั เรยี นอยา่ งท่วั ถงึ

2.10 ส่งเสริมให้ผ้เู รียนปฏิบัตติ นให้ถกู ต้องเหมาะสมกบั ค่านิยม

ที่ดงี าม

2.11 ดแู ลนักเรยี นทกุ คนอย่างทัว่ ถงึ ทนั เหตุการณ์

ระดบั การปฏิบตั ิ

รายการสมรรถนะและพฤติกรรม น้อย นอ้ ย ปาน มาก มาก

ทส่ี ุด กลาง ทส่ี ดุ

3. สมรรถนะการบรหิ ารจดั การชนั้ เรียน

3.1 จัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่เออ้ื ตอ่

การเรยี นรู้

3.2 สง่ เสริมการมีปฏสิ มั พันธ์ทีด่ ีระหว่างครกู ับผ้เู รียนและผเู้ รียน

กับผเู้ รียน

3.3 ตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกในห้องเรยี นให้พร้อมใช้

และปลอดภัย

3.4 จดั ทำข้อมูลสารสนเทศของนักเรยี นเป็นรายบุคคลและ

เอกสารประจำชนั้ เรยี นครบถว้ น เป็นปัจจุบัน

3.5 นำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาผู้เรยี นได้อย่าง

เตม็ ศักยภาพ

3.6 ให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการกำหนดกฎ กติกา ข้อตกลง

ในช้ันเรียน

3.7 แกป้ ญั หา/พัฒนานักเรยี นดา้ นระเบยี บวินยั โดยการสรา้ งวินัย

เชิงบวกในช้นั เรียน

3.8 ประเมิน การกำกบั ดูแลชนั้ เรียน และนำผลการประเมนิ ไปใช้

ในการปรบั ปรุงและพฒั นา

4. สมรรถนะการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพ่อื พัฒนา

ผเู้ รียน

4.1 สำรวจปญั หาเก่ยี วกับนกั เรียนท่เี กิดข้ึนในชนั้ เรยี นเพื่อ

วางแผนการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาผู้เรียน

4.2 วิเคราะหส์ าเหตุของปัญหาเก่ียวกับนกั เรียนที่เกดิ ข้ึนใน

ชัน้ เรยี นเพ่อื กำหนดทางเลอื กในการแก้ไขปญั หาระบุ

สภาพปัจจุบนั

4.3 รวบรวม จำแนกและจดั กลมุ่ ของสภาพปัญหา แนวคดิ ทฤษฏี

และวิธีการแก้ปญั หาเพ่ือสะดวกตอ่ การนำไปใช้

4.4 มีการประมวลผลหรือสรุปขอ้ มูลสารสนเทศท่ีเปน็ ประโยชน์

ต่อการแก้ไขปัญหาในช้ันเรียนโดยใชข้ อ้ มูลรอบดา้ น

4.5 มีการวเิ คราะหจ์ ุดเดน่ จุดด้อย อุปสรรคและโอกาส

ความสำเร็จของการวจิ ัยเพอ่ื แกป้ ัญหาที่เกิดข้ึนในชัน้ เรยี น

รายการสมรรถนะและพฤติกรรม นอ้ ย ระดบั การปฏิบตั ิ มาก
ทสี่ ดุ น้อย ปาน มาก ท่ีสดุ
4.6 จัดทำแผนการวจิ ัยและดำเนนิ กระบวนการวิจยั อยา่ งเป็น
ระบบตามแผนดำเนนิ การวิจยั ทก่ี ำหนดไว้ กลาง

4.7 ตรวจสอบความถกู ต้องและความน่าเชอื่ ถอื ของผลการวิจัย
อย่างเปน็ ระบบ

4.8 มีการนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกรณีศึกษาอน่ื ๆ ท่ีมี
บรบิ ทของปัญหาที่คล้ายคลงึ กนั

4.9 นำข้อมูลนกั เรียนไปใชช้ ่วยเหลือ/พฒั นาผเู้ รียนท้งั ดา้ น
การเรียนรแู้ ละปรบั พฤติกรรมเปน็ รายบคุ คล

4.10 จัดกิจกรรเพอ่ื ป้องกนั แก้ไขปญั หาและส่งเสริมพัฒนาผเู้ รยี น
ให้แก่นักเรยี นอย่างทั่วถึง

5. สมรรถนะภาวะผู้นำครู
5.1 เห็นคุณค่าให้ความสำคัญในความคิดเห็นหรือผลงานและ

ใหเ้ กียรติผอู้ ่นื
5.2 กระตนุ้ จูงใจ ปรบั เปลย่ี นความคดิ และการกระทำของผู้อน่ื

ใหม้ คี วามผูกพนั และมงุ่ มั่นตอ่ เป้าหมายในการทำงานรว่ มกัน
5.3 มปี ฏิสมั พันธใ์ นการสนทนาอยา่ งสรา้ งสรรคก์ ับผูอ้ นื่ โดยมุ่งเน้น

ไปการเรยี นรู้ และการพฒั นาวชิ าชีพ
5.4 มีทกั ษะการฟัง การพูด และการตง้ั คำถามเปิดใจกว้าง

ยืดหย่นุ ยอมรบั ทัศนะทห่ี ลากหลายของผู้อนื่ เพอ่ื เป็นแนวทาง
ใหม่ ๆ ในการปฏิบัตงิ าน
5.5 ให้ความสนใจต่อสถานการณต์ ่าง ๆ ทีเ่ ปน็ ปัจจุบันโดยมกี าร
วางแผนอย่างมีวสิ ยั ทศั นซ์ ึ่งเช่ือมโยงกับวสิ ยั ทัศน์ เป้าหมาย
และพนั ธกิจของโรงเรยี น
5.6 ริเรมิ่ การปฏิบตั ิที่นำไปสูก่ ารเปลยี่ นแปลงและพัฒนา
นวัตกรรม
5.7 กระตนุ้ ผู้อนื่ ใหม้ ีการเรียนรู้และความร่วมมอื กนั ในวงกวา้ ง
เพื่อพฒั นาผเู้ รียน สถานศึกษา และวิชาชีพ
5.8 ปฏิบัตงิ านร่วมกับผอู้ น่ื ภายใต้ระบบ/ขน้ั ตอนที่เปล่ยี นแปลง
ไปจากเดมิ ได้

รายการสมรรถนะและพฤตกิ รรม น้อย ระดบั การปฏิบัติ มาก
ท่ีสดุ นอ้ ย ปาน มาก ทส่ี ุด
5.9 สนับสนุนความคิดริเรม่ิ ซึ่งเกิดจากการพิจารณาไตรต่ รองของ
เพอื่ นร่วมงาน และมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นานวตั กรรมตา่ ง ๆ กลาง

5.10 ใช้เทคนคิ วธิ กี ารหลากหลายในการตรวจสอบประเมนิ
การปฏบิ ตั งิ านของตนเองและผลการดำเนนิ งานสถานศึกษา

5.11 กำหนดเป้าหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ที่ท้าทาย
ความสามารถของตนเองตามสภาพจรงิ และปฏบิ ัติให้
บรรลผุ ลสำเร็จได้

5.12 ยอมรับข้อมลู ป้อนกลบั เก่ียวกับความคาดหวังด้านการเรยี นรู้
ของผูเ้ รียนจากผู้ปกครอง

6. สมรรถนะการสร้างความสมั พนั ธแ์ ละความร่วมมอื กบั ชุมชน
เพอ่ื การจัดการเรยี นรู้

6.1 มีปฏิสมั พันธ์ที่ดกี ับผู้ปกครองและชุมชนในการตดิ ตอ่ ส่ือสาร
เพื่อการจดั การเรียนรู้

6.2 ประสานงานกบั ผปู้ กครองและชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการจดั การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอดปกี ารศกึ ษา

6.3 เปิดโอกาสใหผ้ ู้มีส่วนเก่ียวข้องเขา้ รว่ มวางแผนการจัดกจิ กรรม
การเรียนรูใ้ นระดบั ชัน้ เรียน

6.4 เปิดโอกาสใหผ้ ู้ปกครองและชมุ ชนเข้ามาแลกเปล่ียนเรยี นรู้
เกยี่ วกบั การจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา

6.5 สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมอื ระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชนและ
องค์กรอน่ื ๆ ท้งั ภาครัฐและเอกชนในการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู
สารสนเทศเพือ่ การจัดการเรียนรู้

6.6 จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ีใหป้ ราชญ์ชาวบา้ นหรือภูมิปญั ญา
ในทอ้ งถิน่ เข้ามามีสว่ นร่วม

6.7 มีการเปิดโอกาสใหผ้ ู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียของสถานศึกษาเขา้ มา
มีสว่ นร่วมในการประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

6.8 มกี ารเสนอผลการจดั การเรียนรตู้ ่อฝา่ ยต่าง ๆ ของชมุ ชน
เพ่อื แลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละแกไ้ ขปญั หารว่ มกันในทกุ ภาคเรียน

ลงชอ่ื .................................................. ผู้ประเมิน
(นายจงจดั จนั ทบ)

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

แนวทางการประเมนิ การให้คะแนนและการแปลผลการประเมินสมรรถนะครู

1. การประเมนิ ตามแนวทางน้ีใช้แบบประเมนิ สมรรถนะสำหรบั ครูผู้สอนทำการประเมนิ สมรรถนะในการ

ปฏิบัติงานตามสภาพจริง เพ่ือจะได้ทราบข้อมูลเก่ียวกับสมรรถนะของครูผู้สอน และนำผลการประเมินไปใช้ใน

การกำหนดกรอบการพัฒนาสมรรถนะครูให้มปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผลสูงสดุ ตอ่ การพัฒนาผเู้ รียน

สถานศึกษาและวชิ าชีพ ผใู้ ชแ้ บบประเมนิ สมรรถนะครู ดงั นี้

1. ครูผสู้ อน : ประเมินตนเอง

2. เพ่อื นครูผสู้ อนในสถานศึกษาเดยี วกัน : ประเมินครูผู้สอน

3. ผู้บริหารสถานศกึ ษา : ประเมินครูผูส้ อน

2. การให้คะแนนการประเมนิ สมรรถนะครู

2.1 การใหค้ ะแนนในแต่ละข้อรายการจะมีระดบั คุณภาพของสภาพการปฏบิ ัตงิ าน 5 ระดับ

ได้แก่ ปฏบิ ตั ิน้อยทีส่ ดุ ปฏิบตั ินอ้ ย ปฏิบัติปานกลาง ปฏิบัติมาก และปฏิบตั มิ ากที่สุด โดยกำหนดค่าคะแนน

เปน็ 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามลำดบั

2.2 การตดั สนิ ผลในแต่ละสมรรถนะ ให้ทำการคำนวณหาคะแนนเฉลีย่ รายสมรรถนะ

และทั้งฉบับของครูเป็นรายบุคคล โดยนับจำนวนความถ่ีของระดับการปฏิบัติ แล้วนำจำนวนความถี่ท่ีได้นับได้

ท้งั หมดมาคำนวณหาคะแนนรวม โดยการนำจำนวนความถใี่ นแต่ละระดบั การปฏิบตั มิ าคูณคะแนนในแตล่ ะระดับ

คุณภาพการปฏิบตั งิ านดังนี้ คือ ปฏบิ ัตนิ ้อยท่ีสดุ คณุ ดว้ ย 1 ปฏิบตั นิ ้อย คณู ด้วย 2 ปานกลาง คณู ดว้ ย 3

ปฏิบัติมาก คูณด้วย 4 และปฏิบัติมากท่ีสุด คูณด้วย 5 แล้วนำคะแนนมารวมกัน จากน้ันนำคะแนนรวมที่ได้

คำนวณหาคะแนนเฉลี่ย

3. การแปลผลการประเมินสมรรถนะครู เป็นการนำคะแนนเฉลี่ยมาเปรยี บเทียบกับเกณฑก์ ารแปลผล

ที่กำหนดไว้ โดยกำหนดเกณฑ์จากผลการวเิ คราะห์คา่ เฉล่ีย ( ) สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของข้อมูลท่เี ก็บ

รวบรวมไดท้ ง้ั หมดดงั นี้

ค่าคะแนนเฉลีย่ ระดับคุณภาพ

มากกวา่ คา่ เฉลี่ย รวม + S.D. รวม ดี

ระหว่าง คา่ เฉลยี่ รวม S.D. รวม พอใช้

น้อยกวา่ คา่ เฉลีย่ รวม - S.D. รวม ปรับปรุง

การให้คะแนนและแปลผลการประเมนิ สมรรถนะ

คา่ คะแนนเฉล่ีย ระดับคุณภาพ

4.01 – 5.00 สงู

3.01 – 4.00 ปานกลาง

ต้ังแต่ 3.00 ลงมา ควรปรับปรุง

4. การนำเสนอผลการประเมนิ สมรรถนะครู
การนำเสนอผลการประเมินใหน้ ำคะแนนเฉล่ีย และระดับคณุ ภาพในแต่ละสมรรถนะมากรอกลงในแบบ
สรปุ ผลการประเมนิ สมรรถนะของครผู สู้ อนในตอนท้ายของแบบประเมนิ แล้วจึงรายงานผลการประเมิน
ให้ผูบ้ ริหารหรือหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องนำไปเปน็ แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะครตู อ่ ไป


Click to View FlipBook Version