The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pr, 2021-08-18 02:10:36

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

อว. ลงนามความร่วมมือ มรภ.สงขลา ผ่านระบบการประชุมทางไกล (VDO Conference) โดยมี ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์วีระศักดิ์ อักษรถึง คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์
ขบั เคลือ่ นการพฒั นาด้านสังคม และ ดร.โชติกา รติชลิยกุล รองคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์ ศิลปกรรมฯ สงั คมศาสตร์ เปน็ สกั ขพี ยาน โอกาสน้ี ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ดร.เอนก
เหลา่ ธรรมทศั น์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง อว. บรรยายพรอ้ มผลกั ดนั
ฟ้นื ฟูทนุ ทางวฒั นธรรม สง่ เสรมิ งานวิจยั ขับเคลอื่ นการพฒั นา
สรา้ งความภาคภูมิใจรากเหงา้ ท้องถิน่
สาำ หรบั วตั ถปุ ระสงคข์ องความรว่ มมอื เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นการพฒั นา
อว. ผนกึ มรภ.สงขลา พรอ้ มเครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ๓0 แหง่ โครงสร้างพ้นื ฐานและระบบนิเวศสาำ หรับการวิจยั สาขามนุษยศาสตร์
ลงนามความร่วมมือขับเคลื่อนการพัฒนาด้านสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปกรรมศาสตร์ และการบูรณาการข้ามศาสตร์
มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตรข์ องประเทศ มุ่งส่งเสริม เพือ่ ตอบโจทยค์ วามทา้ ทายของสงั คมและการพัฒนาทย่ี ่ังยนื ของ
งานวจิ ยั -วชิ าการ ฟน้ื ฟทู นุ ทางวฒั นธรรม ตอ่ ยอดสกู่ ารถา่ ยทอด ประเทศ ตลอดจนสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ งานวจิ ยั และวชิ าการ และบคุ ลากร
ภูมปิ ญั ญา สร้างความภาคภมู ิใจในรากเหง้าท้องถ่ิน ทางด้านสงั คมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศลิ ปกรรมศาสตร์ ทีน่ าำ ไปสู่
การสร้างคุณค่าและผลประโยชน์ของชาติ ตลอดจนเป็นคลังปัญญา
เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2564 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ เพือ่ แก้ไขปญั หาสงั คมในปจั จุบัน
สิริฤกษ์ ทรงศวิ ิไล ปลดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัย
และนวัตกรรม (อว.) เป็นประธานในการลงนามบันทึกข้อตกลง นอกจากนั้น ยังเป็นการสร้างความร่วมมือและระดมสมอง
ความรว่ มมอื การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาดา้ นสงั คมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ จากผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นักวิชาการ นักวิจัย และ
และศลิ ปกรรมศาสตร์ของประเทศ ระหว่าง สาำ นกั งานปลัดกระทรวง ผู้เช่ียวชาญจากหลากหลายสาขา เพือ่ การวิจยั ทางดา้ นมนษุ ยศาสตร์
อว. โดย วิทยสถานสังคมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปกรรมศาสตรก์ บั หน่วยงานอนื่ ท่เี ก่ยี วขอ้ งท้ังใน
แหง่ ประเทศไทย (ธชั ชา) และเครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลัย และหนว่ ยงาน และต่างประเทศ รวมถึงเพื่อพัฒนาและเชื่อมโยงองค์ความรู้ด้าน
ร่วมขบั เคลือ่ นการพฒั นาด้านสังคมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และ ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมยั ที่ตอ่ ยอดการประยุกต์ใช้ไปสูน่ วัตกรรมทาง
ศลิ ปกรรมศาสตร์ ณ สาำ นกั งานปลดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ เศรษฐกจิ และสงั คม ทค่ี รอบคลมุ กลมุ่ เปา้ หมายทห่ี ลากหลายอยา่ งเปน็
วิจัยและนวัตกรรม พร้อมด้วยมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา รปู ธรรม และทาำ ใหง้ านวจิ ยั เกดิ ผลกระทบในวงกวา้ ง รวมถงึ การอนรุ กั ษ์
จาำ นวน 3๐ แหง่ และฟืน้ ฟทู นุ ทางสงั คมและวัฒนธรรมของแตล่ ะชมุ ชน ซง่ึ จะนาำ ไปสู่
การถ่ายทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญา การสร้างความภาคภูมิใจ
ในการนี้ สำานักงานปลัดกระทรวง อว. ได้ลงนามบันทึก ในรากเหงา้ ของคนในทอ้ งถ่ิน
ข้อตกลงความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา)
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธิการบดี มรภ.สงขลา 3ปาริฉตั ร วารสารเพอื่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา
ดร.นราวดี บัวขวัญ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ

มรภ.สงขลา ลงพ้นื ท่ี ต.รำาแดง จดั อบรมวถิ เี ศรษฐกิจพอเพยี ง-สรา้ งอาชพี เสรมิ
เดินหนา้ พัฒนาคุณภาพชีวติ ควบคยู่ กระดบั รายไดค้ นในชมุ ชนฐานราก

อธิการบดี มรภ.สงขลา นำาทีมผู้บริหาร-บุคลากร ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 2๐ ปี ระหว่าง
สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา ลงพนื้ ท่ี ต.ราำ แดง อ.สงิ หนคร จดั อบรม ปี 256๐-25๗9 โดยน้อมนาำ เอาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
วิถีเศรษฐกิจพอเพียงและสร้างอาชีพเสริมเพื่อยกระดับรายได้ ทีเ่ น้นการพฒั นาแบบยงั่ ยืน โดยคาำ นงึ ถงึ สิ่งแวดลอ้ มทอี่ ยู่ และใช้หลกั
กลมุ่ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย ถา่ ยทอดความรพู้ รอ้ มฝกึ ปฏบิ ตั ติ ดั เยบ็ ผลติ ภณั ฑ์ การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
จากผา้ พนื้ ถนิ่ การเพาะและแปรรปู เหด็ นางฟา้ การจดั การตลาด บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำาเนินนโยบาย เพื่อพัฒนา
ชุมชนและบญั ชีครัวเรอื น คณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั รายไดข้ องประชาชน แกไ้ ขปญั หาเชงิ โครงสรา้ ง
การผลติ ภาคเกษตร เสรมิ สรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร พฒั นาโภชนาการ
เมอ่ื วนั ท่ี 16-18 มถิ นุ ายน 2564 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา และความปลอดภยั ดา้ นอาหาร เพอ่ื นาำ ไปสคู่ วามมน่ั คง มง่ั คง่ั และยง่ั ยนื
(มรภ.สงขลา) นาำ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี ของประชาชนและประเทศชาติ
ดร.นราวดี บัวขวัญ รองอธิการบดี อาจารย์พุฒิธร ตุกเตียน
ผู้อำานวยการสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สายฝน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายฝน กล่าวว่า พระบาทสมเด็จ
ไชยศรี รองผอู้ าำ นวยการฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการและรบั ใชส้ งั คม พรอ้ มดว้ ย พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 1๐
บุคลากรสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มรภ.สงขลา ลงพน้ื ท่ี ต.ราำ แดง อ.สงิ หนคร ทรงมีพระราชปณิธานแน่วแน่ท่ีจะสานต่อโครงการในพระราชดำาริ
จ.สงขลา เพอ่ื สง่ มอบเจลลา้ งมอื ปอ้ งกนั ปญั หาการแพรร่ ะบาดโควดิ -19 ของพระราชบดิ า เพ่อื ช่วยเหลอื ประชาชนให้มคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ดีขน้ึ และ
ได้ทรงมอบพระบรมราโชบายด้านการศึกษาผ่านองคมนตรี ใจความ
พร้อมกันน้ัน สถาบันวิจัยและพัฒนา มรภ.สงขลา ได้จัด ทราบตอนหน่ึงว่า “...ให้แนะนำามหาวิทยาลัยราชภัฏ ให้ทำางานให้
โครงการ “พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดบั รายได้ใหก้ บั คนในชุมชน เข้าเป้าในการยกระดับการศึกษาและพัฒนาท้องถ่ินในท้องที่ตน...”
ฐานราก” กิจกรรมอบรมวิถีเศรษฐกิจพอเพียงและสร้างอาชีพเสริม มรภ.สงขลา ในฐานะทเ่ี ปน็ มหาวทิ ยาลยั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ มคี วามสาำ นกึ
เพือ่ ยกระดบั รายไดก้ ลมุ่ ผมู้ รี ายได้น้อย ต.รำาแดง อ.สงิ หนคร จ.สงขลา ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ จงึ ไดจ้ ดั ทาำ โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั
ปีท่ี 2 โดยได้ถ่ายทอดความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติการตัดเยบ็ และออกแบบ รายไดใ้ หก้ บั คนในชมุ ชนฐานราก กจิ กรรมอบรมวถิ เี ศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นถิ่นและผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติจากวัสดุท้องถิ่น และสร้างอาชพี เสริมเพือ่ ยกระดับรายไดก้ ลุ่มผมู้ รี ายได้นอ้ ย ต.ราำ แดง
เพ่ือสร้างอัตลักษณ์ของท้องถ่ิน การเพาะเห็ดและแปรรูปเห็ดนางฟ้า เปน็ ปีที่ 2 สนบั สนุนการขับเคลือ่ นนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารสร้าง
การจดั การตลาดชมุ ชนและบัญชีครัวเรือน โอกาสและความเสมอภาคทางสังคมแบบบูรณาการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายฝน ไชยศรี ในฐานะ
ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ เปดิ เผยวา่ กจิ กรรมทจี่ ดั ขน้ึ ในครง้ั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์
เพื่อสร้างอาชีพเสริมโดยยึดแนวทางตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โดยอาศยั องคค์ วามรแู้ ละความเชย่ี วชาญของ มรภ.สงขลา ในการยกระดบั
รายได้ของครัวเรือนในท้องถ่ิน และเพ่ือพัฒนาศักยภาพด้านอาชีพ
แก่ผู้มีรายได้น้อยในพื้นที่ ต.รำาแดง อันจะสร้างรายได้ให้สามารถ
ดำาเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งตามท่ีภาครัฐได้เช่ือมโยงเป้าหมาย
การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ของสหประชาชาตเิ ขา้ กบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 2๐ ปี

4 ปารฉิ ัตร วารสารเพอื่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

“โครงการนี้มีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหาร โดยมีมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งให้ความรู้และเป็นท่ีพ่ึงพิงทางวิชาการ
จดั การชวี ติ ตนเองไดอ้ ยา่ งสมดลุ และมคี วามเหมาะสม สามารถดาำ รงชวี ติ มีบุคลากร นกั วชิ าการทม่ี ศี กั ยภาพในการให้บรกิ ารวิชาการแกช่ ุมชน
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รว่ มกบั การสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทพ่ี รอ้ มจะขบั เคลอ่ื นพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานราก
เพมิ่ คณุ คา่ และมลู คา่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากในชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ บูรณาการการทำางานร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่” รองผู้อำานวยการ
มั่นคง นำาไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้ ฝา่ ยบริการวชิ าการและรับใชส้ ังคม กล่าว
อย่างยง่ั ยนื ส่งผลใหช้ ุมชนหมูบ่ า้ นมีคุณภาพชีวติ และรายไดท้ ่ีเพิ่มขึ้น

งานประชาสมั พนั ธ์ ผนกึ สถานวี ทิ ยฯุ เปดิ ใหบ้ รกิ าร Virtual Studio รองรบั ชวี ติ วถิ ใี หม่
ปรับโฉม PR ชูคอนเซ็ปต์ “SKRUCONNECT” เชื่อมโยงขา่ วสาร บรกิ ารทอ้ งถ่นิ

งานประชาสัมพันธ์ จับมือสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา การประชมุ รปู แบบออนไลน์ รองรบั ชวี ติ วถิ ใี หมใ่ นรปู แบบ New Normal
มรภ.สงขลา เปิดให้บรกิ าร Virtual Studio รองรับถา่ ยทอดสด นอกจากนั้น งานประชาสัมพันธ์ยังมีการปรับรูปแบบการทำางานให้มี
Live Streaming และ Virtual Conference รองรับชีวิตวิถใี หม่ ความทนั สมยั นา่ สนใจ และสอดคลอ้ งกบั โลกดจิ ติ ลั ภายใตแ้ นวคดิ ทว่ี า่
จดั เตม็ อปุ กรณท์ นั สมยั พรอ้ มทมี งานคณุ ภาพ ปรบั โฉมงานพอี าร์ SKRUCONNECT เชื่อมโยงข่าวสาร บริการท้องถน่ิ
ภายใตแ้ นวคดิ SKRUCONNECT เชอ่ื มโยงขา่ วสาร บรกิ ารทอ้ งถน่ิ ดร.ศุภฤกษ์ กล่าวว่า ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
ดร.ศุภฤกษ์ เวศยาสิรินทร์ หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ โควิด-19 จึงเปิดให้บริการเฉพาะหน่วยงานภายใน มรภ.สงขลา
และ หวั หนา้ สถานวี ทิ ยเุ พอ่ื การศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เทา่ นน้ั หากคณะ/ศนู ย/์ สาำ นกั และหนว่ ยงานอน่ื ใดภายในมหาวทิ ยาลยั
เปดิ เผยวา่ งานประชาสมั พนั ธร์ ว่ มกบั สถานวี ทิ ยเุ พอ่ื การศกึ ษา มรภ.สงขลา ประสงค์จะใช้บริการ Virtual Studio สามารถตดิ ต่อสอบถามชว่ งเวลา
FM 1๐5.๗5 MHZ. เปิดใหบ้ ริการ Virtual Studio บริการสตดู ิโอ และจองคิวสตูดิโอได้ท่ี นายธีรภัทร์ มณีเกษร นักประชาสัมพันธ์
สาำ หรบั รายการถา่ ยทอดสด Live Streaming และ Virtual Conference หมายเลขภายใน 4๐๐๐ ชัน้ 1 สาำ นักงานอธิการบดี พร้อมท้งั จดั ทาำ
ใหแ้ กห่ นว่ ยงานทส่ี นใจ ในระหวา่ งวนั ที่ 2๗ มถิ นุ ายน - 9 กรกฎาคม บันทึกข้อความมาท่ี ดร.ศุภฤกษ์ เวศยาสิรินทร์ หัวหน้างาน
2564 ภายใต้อุปกรณ์ท่ีทันสมัยพร้อมทีมงานคุณภาพ เพ่ือรองรับ ประชาสมั พันธ์ และ หัวหน้าสถานวี ทิ ยุเพือ่ การศกึ ษา มรภ.สงขลา
การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ การเรียนปรับพ้ืนฐาน หรือกิจกรรม

5ปาริฉัตร วารสารเพ่อื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา

จบั มอื กลุ่ม Songkhla Turtles SUP
รว่ มเกบ็ ขยะบนเกาะแมว

เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) นาำ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี
มรภ.สงขลาพรอ้ มดว้ ยอาจารยพ์ เิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ าร
และวทิ ยาเขต อาจารยจ์ ริ ภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี า่ ยพฒั นานกั ศกึ ษา
อาจารย์จริ าภรณ์ กวดขัน ผ้ชู ่วยอธิการบดี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์
พลากร นคั ราบณั ฑติ อาจารยค์ ณะครศุ าสตร์ นางปยิ มาศ ศริ ศิ ภุ นนท์
รกั ษาราชการแทนผอู้ าำ นวยการสาำ นกั งานอธกิ ารบดี นางสาวปณั ฑติ า
โชตชิ ว่ ย ผู้อำานวยการกองกลาง มรภ.สงขลา ร่วมกบั กลุ่ม Songkhla
Turtles SUP และ นายประสงค์ บริรักษ์ นายกสมาคมกีฬา
แหง่ จังหวดั สงขลา ทำากจิ กรรมบาำ เพญ็ ประโยชนเ์ กบ็ ขยะบนเกาะแมว
จงั หวดั สงขลา ดว้ ยความม่งุ หวังให้ทะเลสาบสงขลา เกาะหนู-เกาะแมว
เป็นแหล่งท่องเท่ียวอันซีนไว้รอต้อนรับผู้มาเยือนหลัง โควิด-19
ผา่ นพ้นไป

คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา

นาำ ทมี จิตอาสาทาำ เคก้ กลว้ ยหอม - ๑๙

มอบทมี แพทย์ รพ.สนาม ส่งกาำ ลังใจรบั มอื โควิด

เมอื่ วันที่ 13 พฤษภาคม 2564 ดร.มงคล เทพรตั น์
คณบดคี ณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา)
พร้อมด้วยรองคณบดี และคณาจารย์ของทางคณะฯ ร่วมส่งกำาลังใจ
สภู้ ยั เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2๐19 (โควดิ -19) โดยมี ดร.กมลทพิ ย์ นคิ มรตั น์
อาจารย์ประจำาสาขาวิชาการผลิตและการจัดการผลิตภัณฑ์อาหาร
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา นำาทีมจิตอาสาจัดทำาเค้ก

กลว้ ยหอม เพอ่ื สง่ กาำ ลงั ใจใหท้ มี แพทยแ์ ละบคุ ลากรคณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ โรงพยาบาลสนาม ศูนย์บริบาล
ผสู้ งู อายุ สงขลา ในการรว่ มมอื กนั คลค่ี ลายสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของโควิด-19 ระลอก 3

6 ปาริฉัตร วารสารเพ่ือการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

NBT จบั มือ มรภ.สงขลา บันทกึ เทปถวายพระพร

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดสงขลา (NBT)
รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา(มรภ.สงขลา)จดั กจิ กรรมบนั ทกึ เทป
ถวายพระพรพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั เน่อื งในโอกาสวันเฉลิม
พระชนมพรรษา ณ สตูดิโอ นิเทศศาสตร์ ช้ัน ๗ คณะวิทยาการจัดการ
มรภ.สงขลา ระหวา่ งวันท่ี 29-3๐ มถิ นุ ายน 2564

ในการนี้ มรภ.สงขลา นาำ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนา
ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี พรอ้ มดว้ ยคณะผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั ประกอบดว้ ย
อาจารย์พิเชษฐ์ จันทวี รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและวิทยาเขต
อาจารย์จิรภา คงเขียว รองอธิการบดฝี ่ายพัฒนานักศึกษา ผชู้ ว่ ย
ศาสตราจารย์ ดร.วีระชัย แสงฉาย รองอธิการบดฝี า่ ยวางแผน
และงบประมาณ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยน์ าถนเรศ อาคาสุวรรณ
ร อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี ฝ่ า ย วิ ช า ก า ร แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า
ร่วมบนั ทกึ เทปถวายพระพร โดยมีหนว่ ยงานงานต่าง ๆ ร่วมกิจกรรม
บันทึกเทปถวายพระพรในครง้ั นกี้ วา่ 4๐ หนว่ ยงาน

มรภ.สงขลา
บนั ทึกเทปถวายพระพร

พระบรมราชินี

เมื่อวันท่ี 2๐ พฤษภาคม 2564 ณ ห้องสตูดโิ อ คณะวทิ ยาการจดั การ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศริ ิโชติ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ประกอบด้วย
อาจารยพ์ เิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ ารและวทิ ยาเขต อาจารยจ์ ริ ภา คงเขยี ว
รองอธิการบดีฝ่ายพฒั นานกั ศึกษา ดร.นราวดี บวั ขวัญ รองอธิการบดฝี ่ายวจิ ยั
และบรกิ ารวชิ าการ ผศ.นาถนเรศ อาคาสวุ รรณ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวิชาการและ
ประกันคุณภาพการศึกษา ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรเนื่องในโอกาสมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจ้าสทุ ดิ า พัชรสุธาพมิ ลลกั ษณ พระบรมราชินี
3 มิถนุ ายน 2564 ของสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์แหง่ ประเทศไทย จงั หวัดสงขลา (NBT)

๗ปาริฉัตร วารสารเพอื่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

คณะวิทยาศาสตรฯ์ มรภ.สงขลา ขานรบั พันธกิจ อว.

จัดกิจกรรมบรรเทาสถานการณ์แพรร่ ะบาด โควดิ -๑๙

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรภ.สงขลา ขานรับ
พนั ธกจิ อว. นาำ ทมี ผูบ้ รหิ ารลงพืน้ ทีจ่ ดั กจิ กรรมมอบเจลแอลกอฮอล์
และสเปรย์ล้างมือฆ่าเชื้อโรค หวังช่วยบรรเทาความเดือดร้อน
ชุมชน ให้ผ่านพ้นวิกฤตสถานการณ์แพร่ระบาด โควิด-๑9

เมื่อวันท่ี 25 พฤษภาคม 2564 คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) จดั กิจกรรมเพื่อ
บรรเทาสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2๐19
(โควิด-19) ให้กับชุมชนในพ้ืนท่ีบริการของทางคณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ตามพันธกิจท่ีได้รับมอบหมายจากกระทรวงการ
อดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (อว.) ใหด้ แู ลพน้ื ทช่ี ุมชน
ภายใตโ้ ครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตาำ บลแบบบรู ณาการ
1 ตาำ บล 1 มหาวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั สตู่ าำ บล สรา้ งรากแกว้ ใหป้ ระเทศ
โดยมี ดร.นราวดี บัวขวญั รองอธิการบดฝี ่ายวิจยั และบริการวิชาการ
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อนมุ ัติ เดชนะ คณบดคี ณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ผู้ช่วยศาสตราจารย์กฤษณ์วรา รัตนโอภาส
รองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั บรกิ ารวชิ าการและวเิ ทศสมั พนั ธ์ คณะวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มรภ.สงขลา พรอ้ มดว้ ยเจา้ หนา้ ทจี่ ากคณะวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ร่วมลงพน้ื ท่ี

ทง้ั นี้ คณะทาำ งานไดเ้ ขา้ พบตวั แทนหนว่ ยงาน และสง่ มอบเจล
แอลกอฮอล/์ สเปรยล์ า้ งมอื สาำ หรบั ฆา่ เชอ้ื โรค และสนบั สนนุ การควบคมุ
ป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2๐19 (โควิด-19)
ใน 3 พ้ืนท่ี ประกอบด้วย พื้นที่เทศบาลตำาบลท่าหิน โรงพยาบาล
สง่ เสรมิ สขุ ภาพตาำ บลพรวน และ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาำ บลทา่ หนิ
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบในช่วง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่า 2๐19
(โควิด-19) ซ่ึงได้รับการต้อนรับจากชุมชนต่างๆ เป็นอย่างดี
และ มรภ.สงขลา พร้อมใหก้ ารสนับสนนุ และเปน็ กำาลงั ใจใหท้ ุกชมุ ชน
ผา่ นพ้นวิกฤตนี้ไปด้วยกนั

8 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่อื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

คณะเทคโนโลยอี ตุ ฯ ทาำ กจิ กรรม U๒T สูภ้ ยั โควดิ

ลงพื้นที่ ต.เกาะแต้ว แจกเจลลา้ งมอื
ใหค้ วามรฉู้ ดี วัคซีนป้องกนั โรค

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มรภ.สงขลา จัดกิจกรรม คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มรภ.สงขลา กลา่ ววา่
U๒T สู้ภัยโควิด ลงพื้นที่ ต.เกาะแต้ว แจกเจลล้างมือฆ่าเชื้อโรค กจิ กรรมแบ่งออกเปน็ 2 ชว่ ง คอื ช่วงเชา้ เวลา 1๐.๐๐-12.๐๐ น.
พร้อมรณรงค์ให้ความรู้ชุมชนฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-๑9 ดาำ เนนิ กจิ กรรมแจกเจลและสเปรยล์ า้ งมอื เพอ่ื ฆา่ เชอ้ื โรคใน 5 กลมุ่
พน้ื ทข่ี องตาำ บลเกาะแตว้ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผลติ ภณั ฑข์ นมพน้ื บา้ นชมุ ชน
เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2564 ดร.กณั ตภณ มะหาหมดั บา้ นด่าน หมู่ 4 กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนมลั เบอร่ี หมู่ 1๐ กลุ่มไข่เคม็
คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ. กะทสิ ดใบเตย หมู่ 1๐ กล่มุ เครอื่ งแกงตาำ มือ หมู่ 6 และแหลง่ เรียนรู้
สงขลา) พรอ้ มดว้ ย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยค์ ลุ ยา ศรโี ยม ผชู้ ว่ ยคณบดี มะพรา้ วนำา้ หอมครบวงจร หมู่ 9 ส่วนช่วงบา่ ย เวลา 13.๐๐-15.๐๐ น.
ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม และทีมงาน ลงพนื้ ท่ี ดาำ เนนิ กจิ กรรมทาำ ความสะอาดโรงเรยี น เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มสถานท่ี
ตาำ บลเกาะแต้ว อำาเภอเมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา ภายใต้โครงการ ตอ้ นรบั เปดิ เทอม ณ โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นดา่ น และโรงเรยี นเกาะแตว้
ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำาบลแบบบูรณาการ 1 ตำาบล พิทยาสรรค์ ท้ังน้ี เพ่ือเป็นการดำาเนินกิจกรรมเชิงรุก
1 มหาวทิ ยาลัย (U2T) โดยมี ดร.นราวดี บัวขวัญ รองอธกิ ารบดี ทางคณะฯ ได้สอดแทรกการรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชน
ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มรภ.สงขลา ร่วมลงพื้นที่ในครั้งนี้ด้วย ในชุมชนเกาะแต้ว เกี่ยวกับการฉีดวัคซีนป้องกันการแพร่ระบาด
ซึ่งเป็นการดำาเนินงานเชิงรุกในกิจกรรม U2T สู้ภัยโควิด U2T ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา่ 2๐19 หรอื โควดิ -19
COVID WEEK

ดร.กันตภณ ในฐานะผู้จัดการโครงการ U2T มรภ.สงขลา
รับผิดชอบพื้นที่ตำาบลเกาะแต้ว เปิดเผยว่า กระทรวงอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้จัดกิจกรรม U2T สู้ภัย
โควดิ (U2T COVID WEEK) ระหวา่ งวนั ท่ี 23-28 พฤษภาคม 2564
เพื่อดำาเนินกิจกรรมเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของ
โควิด-19 พร้อมจัดหาอุปกรณ์ เจล/สเปรย์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อโรค
รวมถึงการจัดการพื้นที่ให้เหมาะสมตามมาตรการเฝ้าระวังการ
แพร่ระบาด รณรงค์ป้องกันการติดเชื้อและแพร่เชื้อ โดยในส่วนของ
ตำาบลเกาะแต้วนั้น ทีมงาน U2T ของ มรภ.สงขลา ลงพื้นที่สำาคัญๆ
ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนหรือที่รวมกลุ่ม โดยเลือกสถานศึกษา
ในการเข้าไปจัดการเร่ืองความสะอาด ตลอดจนให้คำาแนะนำา
ความร้คู วามเข้าใจตา่ งๆ เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิดเทอม

9ปารฉิ ตั ร วารสารเพอื่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

ม“รรอภง.สศงาขสลตารคาจวาา้รยร์าดงรว.ัลสบมทศคักดวาิ์ มแกวิจ้วพัยดลอีเดยน่ ”

ชว่ ยเกษตรกรชาวสวนยางลดต้นทุนการขนส่งยางพารา

มรภ.สงขลา สดุ ปลืม้ “รองศาสตราจารย์ ดร.สมศกั ด์ิ เรื่องราคาจากพ่อค้าคนกลาง เน่ืองจากเกษตรกรบางรายท่ีมีปริมาณ
แกว้ พลอย” อาจารย์คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ทาำ วจิ ยั เร่อื ง การผลิตยางพาราน้อย ต้องเสียค่าใช้จ่ายค่าขนส่งจำานวนมากในการ
การเลือกสถานท่ีต้ังตลาดเครือข่ายและจัดเส้นทางการขนส่ง นำายางพาราไปขายยังตลาดกลาง ซ่ึงต้องขนส่งยางพาราหลายเที่ยว
ยางพาราในพน้ื ทภ่ี าคใตต้ อนลา่ ง ชว่ ยแกป้ ญั หาการขนสง่ ยางพารา เนอ่ื งจากมีรถบรรทกุ ขนาดเลก็
ลดตน้ ทนุ การขนสง่ ของเกษตรกรชาวสวนยางทถ่ี กู เอารดั เอาเปรยี บ
จากพอ่ คา้ คนกลาง ควา้ รางวลั บทความวจิ ยั ดเี ดน่ สาขา Supply ดังน้ัน บทความวิจัยน้ีจึงได้แก้ปัญหาการเลือกสถานท่ีต้ัง
Chain and Logistics Management ตลาดเครือข่ายและการจัดเส้นทางการขนส่งยางพาราในพ้ืนท่ีภาคใต้
ตอนล่าง โดยมีผู้ขายทั้งหมด 5๐3 ราย และมีตลาดกลางยางพารา
รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ แก้วพลอย อาจารย์ จาำ นวน 2 แห่ง การแกป้ ัญหาแบง่ ออกเปน็ 3 ข้นั ตอนคือ ข้นั ตอนท่ี 1
คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) การเลือกสถานทต่ี ัง้ ของตลาดเครอื ข่าย โดยวธิ ีการวิเคราะห์กล่มุ แบบ
ไดร้ บั รางวลั บทความวจิ ยั ดเี ดน่ จากผลงานวจิ ยั เรอ่ื ง “การเลอื กสถานทต่ี ง้ั ไม่เปน็ ขั้นตอน ข้นั ตอนท่ี 2 การจัดเส้นทางการขนสง่ โดยวิธกี ารแบบ
และจัดเส้นทางการขนส่งโดยวิธีการค้นหาพ้ืนท่ีใกล้เคียงขนาดใหญ่ ประหยดั และ ขนั้ ตอนท่ี 3 เปน็ การหาคา่ ทเ่ี หมาะสมดว้ ยวธิ กี ารคน้ หา
แบบปรบั คา่ ได”้ สาขาวชิ า Supply Chain and Logistics Management ข้างเคยี งขนาดใหญ่แบบปรับค่าได้
ในการประชมุ วชิ าการขา่ ยงานวศิ วกรรมอตุ สาหการ ครง้ั ท่ี 39 ประจาำ ปี
2564 ระหว่างวันที่ 5-๗ พฤษภาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัย ผลการทดสอบพบวา่ การเลอื กสถานทต่ี งั้ ตลาดเครอื ขา่ ยและ
เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จ.สงขลา ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาการเลือก การจัดเส้นทางการขนส่งยางพาราท่ีเหมาะสมคือ มีการจัดตั้งตลาด
สถานที่ต้ังตลาดเครือข่ายยางพาราและการจัดเส้นทางการขนส่ง เครอื ขา่ ยจาำ นวน 12 จดุ โดยมขี นาดความจุของตลาดเครือข่ายแบบ
โดยการประยกุ ตใ์ ชว้ ธิ กี ารคน้ หาพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี งขนาดใหญแ่ บบปรบั คา่ ได้ ไม่จำากัด จำานวน 2 จดุ ตลาดเครือข่ายขนาดเลก็ จำานวน ๗ จุด และ
วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ลดตน้ ทนุ การขนสง่ ยางพาราของเกษตรกรชาวสวนยาง ตลาดเครอื ขา่ ยขนาดใหญ่ จาำ นวน 3 จุด โดยมคี ่าใชจ้ า่ ยต่ำาสุดเท่ากับ
และเลือกสถานที่ตั้งตลาดเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพ โดยคำานึงถึง 22๗,231.๗3/วัน
ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ กล่าวว่า ยางพาราเป็นพืช
เศรษฐกจิ สาำ คญั ของประเทศทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จากรฐั บาลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
โดยพื้นท่ีภาคใต้มีปริมาณการปลูกยางพารามากท่ีสุด รองลงมาคือ
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จากปรมิ าณความตอ้ งการใชย้ างพาราทเ่ี พม่ิ ขน้ึ
ประกอบกับการขยายตัวของพื้นท่ีปลูกยางพาราภายในประเทศ
กระทรวงเกษตรและสหกรณเ์ ลง็ เหน็ ถงึ ความสาำ คญั ในการสรา้ งรายได้
และความมั่นคงเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ให้กับเกษตรกร โดยจัดต้ัง
ตลาดกลางยางพารากระจายอยูต่ ามภมู ภิ าคตา่ งๆ เพ่อื เปน็ ศูนยก์ ลาง
ในการรวบรวมยางและกระจายผลผลิตยางพาราไปยังผู้ซื้อได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ในความเปน็ จรงิ ตลาดทอ้ งถนิ่ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ตลาดการซอ้ื ขาย
ยางพาราเป็นอยา่ งมาก เน่ืองจากชาวสวนยางนิยมขายยางพาราผ่าน
พอ่ คา้ คนกลางหรือตลาดท้องถ่นิ ทีก่ ระจายอย่ตู ามหมบู่ า้ นหรอื ตาำ บล
ตา่ งๆ ทาำ ใหเ้ กษตรกรถกู เอารดั เอาเปรยี บและไมไ่ ดร้ บั ความเปน็ ธรรม

1๐ ปาริฉัตร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

“อ.อภิชาติ พันชูกลาง” คณะเทคโนโลยีการเกษตร ศึกษารูปแบบการเลี้ยงและลักษณะ

ซากจระเข้น้ำาจืดสายพันธุ์ไทยในเขต ต.ทุ่งหวัง คว้ารางวัลนำาเสนอผลงานวิจัย
ระดับดีมาก กลุ่มผลิตสัตว์

“อาจารยอ์ ภชิ าติ พนั ชกู ลาง” คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร ทง้ั น้ี ตนไดส้ ง่ ผลการวจิ ยั เขา้ รว่ มนาำ เสนอผลงานแบบบรรยาย
มรภ.สงขลา ศกึ ษารปู แบบการเลย้ี งและลกั ษณะซากจระเขน้ าำ้ จดื ในงานประชุมวิชาการฯ ดังกล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับรางวัลการนำาเสนอ
สายพนั ธุไ์ ทย ในเขต ต.ทงุ่ หวงั คว้ารางวลั นำาเสนอผลงานวิจัย ผลงานระดับดีมาก และได้รับการตีพิมพ์ผลงานต่อเน่ืองทางวิชาการ
ระดบั ดมี าก ภาคบรรยาย กลมุ่ ผลติ สตั ว์ เจา้ ตวั เผย หวงั ใชค้ วามรู้ ในวารสารแก่นเกษตร ซ่ึงเป็นวารสารระดับชาติ และหากสนใจอ่าน
ทางวิชาการ ต่อยอดจัดทำาคู่มือจัดการฟาร์มเลี้ยงจระเข้ขุน ผลงานฉบบั เตม็ สามารถตดิ ตามอา่ นไดท้ ่ี วารสารแกน่ เกษตร ฉบบั พเิ ศษ
สำาหรับเกษตรกร 2. 2564. ได้ (KHON KAEN AGRICULTURE JOURNAL SUPPL.
อาจารย์อภิชาติ พันชูกลาง คณะเทคโนโลยีการเกษตร 2: (2๐21)
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา ) เปดิ เผยวา่ ผลงานวจิ ยั เรอ่ื ง สาำ หรบั ทม่ี าของการทาำ วจิ ยั เรอ่ื งน้ี เมอ่ื ประมาณ 5 ปที ผ่ี า่ นมา
การศึกษารูปแบบการเลี้ยงและลักษณะซากจระเข้นำ้าจืดสายพันธุ์ไทย ตนมีโอกาสได้รู้จักกับประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เล้ียงจระเข้ขุน
ในเขตตำาบลทุ่งหวัง อำาเภอเมือง จังหวัดสงขลา ท่ีตนจัดทำาร่วมกับ บ้านทรายขาว ทำาใหท้ ราบว่าทางกล่มุ ฯ รวมตัวกนั เลี้ยงจระเขม้ านาน
ผศ.ขนษิ ฐา พนั ชกู ลาง ไดร้ บั รางวลั การนาำ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ดมี าก กวา่ 1๐ ปี โดยเป็นการเลี้ยงแบบลองผดิ ลองถกู ไมม่ ีหลักวชิ าการใดๆ
ในการประชมุ วชิ าการสตั วศาสตรแ์ หง่ ชาติ ประจาำ ปี พ.ศ. 2563-2564 ในการเลี้ยง เน่ืองจากเป็นสัตว์เศรษฐกิจตัวใหม่ท่ีเพิ่งมีการส่งเสริม
ครัง้ ท่ี 9 ระหว่างวันท่ี 23-25 มถิ นุ ายน 2564 ณ มหาวทิ ยาลยั ไม่มีข้อมูลใดเลยในประเทศไทยที่เก่ียวข้องกับการเลี้ยงจระเข้ในบ่อ
เทคโนโลยีสุรนารี โดยเป็นรางวัลการนำาเสนอผลงานวิจัย ประเภท ตนจึงเข้าไปช่วยเหลือในการเก็บบันทึกข้อมูลทางวิชาการเก่ียวกับ
การนำาเสนอดว้ ยวาจา (Oral Presentation) Section ที่ ๗ : กลมุ่ การ การเลย้ี งจระเขท้ งั้ ระบบ รวมทงั้ ชว่ ยใหค้ าำ ปรกึ ษาและแกป้ ญั หาเกยี่ วกบั
ผลิตสตั ว์ และอนื่ ๆ (สัตว์ปา่ สัตว์เล้ียง) การเลย้ี งจระเข้ การจดั การสขุ าภบิ าลฟารม์ รวมถงึ การรกั ษาโรคในจระเข้
อาจารยอ์ ภชิ าติ กลา่ ววา่ งานวจิ ยั ทจ่ี ดั ทาำ ขน้ึ นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั โดยใชข้ อ้ มลู รายงานจากตา่ งประเทศเทยี บเคยี ง และขอ้ มลู จากอาจารย์
เพ่ือศึกษารูปแบบการเล้ียงและลักษณะซากของจระเข้น้ำาจืดพันธุ์ไทย ด้านสัตวแพทย์ของมหาวิทยาลัยที่เป็นพันธมิตรในการให้คำาปรึกษา
(Crocodylus siamensis) โดยตนและผรู้ ่วมวิจยั เกบ็ ขอ้ มูลด้วยการใช้ กับทางกลุ่มฯ ตลอดมาจนถึงปจั จบุ ัน
แบบสมั ภาษณแ์ บบเฉพาะเจาะจง ทาำ ใหท้ ราบวา่ เกษตรกรผเู้ ลย้ี งจระเข้ “แนวทางการตอ่ ยอดในอนาคต จากความตง้ั ใจทไ่ี ดเ้ กบ็ ขอ้ มลู
ในเขตตาำ บลทงุ่ หวงั มจี าำ นวน 1๗ ราย เกษตรกรทงั้ หมดมวี ตั ถปุ ระสงค์ ด้านการเล้ียงจระเข้ในฟาร์มมาอย่างต่อเนื่อง ผมต้องการจัดทำาคู่มือ
ในการเลยี้ งจระเขเ้ พอ่ื จาำ หนา่ ยหนงั โดยเปน็ การเลยี้ งจระเขข้ นุ ในแบบ การจดั การฟารม์ เลย้ี งจระเขข้ นุ สาำ หรบั เกษตรกร คมู่ อื การเลย้ี งจระเขข้ นุ
ขังแยกเด่ยี ว และในการเล้ยี งจระเข้ขนุ เกษตรกรใหอ้ าหารเปน็ โครงไก่ ตามหลักวิชาการ และเก็บรวบรวมข้อมูลด้านการเลี้ยงจระเข้ท้ังระบบ
และหวั ไก่ (1๐๐%) เมอ่ื ตนศกึ ษาลกั ษณะซากจระเขท้ ง้ั เพศผแู้ ละเพศเมยี ตน้ นาำ้ กลางนา้ำ ปลายนาำ้ เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ดา้ นการเลยี้ งจระเขข้ นุ ในฟารม์
ทีม่ ีอายุระหว่าง 36-42 เดอื น พบวา่ ลกั ษณะต่างๆ ทั้งในจระเขเ้ พศผู้ ของประเทศไทยต่อไป” อาจารย์อภชิ าติ กลา่ ว
และจระเข้เพศเมีย ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่ในส่วนของ
เปอรเ์ ซ็นตห์ วั ของจระเขเ้ พศเมยี จะมีคา่ มากกว่าจระเข้เพศผู้

11ปารฉิ ัตร วารสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

“ทวีพงศ์ ชูศรี” นศ.ดนตรีไทย คว้ารางวัล

เหรยี ญทอง อนั ดับ ๓ ปี่ใน ประกวด

เดยี่ วเครื่องดนตรีไทยฯ รอบชิงชนะเลิศ ระดับอุดมศึกษา

มรภ.สงขลา สุดปลมื้ “ทวพี งศ์ ชศู ร”ี นักศกึ ษาสาขา ซึ่งตนต้ังใจที่จะนำารางวัลมาให้อาจารย์ทุกคนในสาขาฯ โดยเฉพาะ
วิชาดนตรีไทย คว้ารางวัลเหรียญทอง อันดับท่ี ๓ กลุ่มป่ีใน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ไชยวธุ โกศล อาจารยป์ ระจาำ วชิ าเครอ่ื งเอก
รอบชงิ ชนะเลศิ ระดบั อดุ มศกึ ษา ประกวดเดย่ี วเครอ่ื งดนตรไี ทย ท่ีคอยสอนและบอกแนวทางมาตลอด รวมทั้งคอยปรับเเก้ไขเพื่อให้
และขบั รอ้ งระดบั ชาติ “เสรมิ ประสบการณ์ สบื สานสงั คตี ศลิ ปไ์ ทย” ตนมีฝีมือที่เก่งขึ้น อีกอย่างหนึ่ง รางวัลนี้ยังสามารถบ่งบอกถึงการ
เมอ่ื วนั ที่ 23 มถิ นุ ายน 2564 นายทวพี งศ์ ชศู รี นกั ศกึ ษา พัฒนาตนเองว่าเรามีการพัฒนามากข้ึน ซึ่งต้องรักษาและฝึกฝน
สาขาวชิ าดนตรไี ทย คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ใหม้ ากกวา่ น้ี เพอ่ื สกั วนั จะสามารถควา้ เหรยี ญทอง อนั ดบั ท่ี 1 มาใหไ้ ด้
(มรภ.สงขลา) ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง อนั ดบั ท่ี 3 (ปใ่ี น) รอบชงิ ชนะเลศิ “ขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนที่ให้โอกาสผมเข้าร่วม
ระดบั อดุ มศกึ ษา ในการประกวดเดย่ี วเครอ่ื งดนตรไี ทยและขบั รอ้ งระดบั ชาติ ประกวดเด่ียวเครื่องดนตรีไทย ประเภทเครื่องเป่า เดี่ยวปี่ใน และ
“เสริมประสบการณ์ สบื สานสงั คีตศลิ ปไ์ ทย” โครงการ 5๐ ปี ดนตรี สามารถตดิ 1 ใน 3 ของผไู้ ด้รับรางวลั เหรียญทอง และขอบพระคุณ
บา้ นสมเดจ็ ฯ งานวนั คลา้ ยวนั พริ าลยั สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ อาจารย์ทุกท่านที่ส่ังสอนและฝึกฝน ตลอดจนให้คำาแนะนำาที่เป็น
(ชว่ ง บุนนาค) ประจาำ ปพี ุทธศกั ราช 2564 และวาระครบรอบ 5๐ ปี ประโยชน์ ผมสัญญาว่าจะพัฒนาตัวเองให้มากขึ้นกว่าเดิม ซึ่งความ
ดนตรบี า้ นสมเดจ็ ฯ วทิ ยาลยั การดนตรี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ สำาเร็จจากการแข่งขันนอกเหนือจากรางวัลที่ได้รับแล้ว คือการท่ีเรา
เจา้ พระยา สามารถชนะใจตวั เอง เพราะเครอ่ื งดนตรไี ทยประเภทเครอ่ื งเปา่ หรอื ปใ่ี น
นายทวีพงศ์ กล่าวว่า ตนใช้เวลาในการฝึกฝนประมาณ เป็นเครื่องดนตรีไทยเครื่องหนึ่งท่ีหัดยากมาก ต้องใช้ความพยายาม
3-4 เดือน และได้ส่งคลิปเข้าร่วมการประกวด รู้สึกดีใจมากที่ได้ อย่างมากในการฝึกฝน และอาศัยความรู้ที่ครูอาจารย์สั่งสอน นำาเอา
รบั รางวัลในครงั้ นี้ ถอื เปน็ อีกหนงึ่ ความภาคภมู ใิ จทางด้านดนตรไี ทย ขอ้ ผดิ พลาดมาแกไ้ ข จนนาำ มาสคู่ วามสาำ เรจ็ ในวนั น”้ี นายทวพี งศ์ กลา่ ว

12 ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

นักศึกษา มรภ.สงขลา คว้าเพิ่มอีกรางวัล เวทีประกวดเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยฯ

“จตุรงค์ พลเดช” เหรียญทองเดี่ยวระนาดเอก เพลงสุรินทราหู ๓ ชั้น

นักศึกษาดนตรีไทย มรภ.สงขลา สร้างชื่อต่อเน่ือง
“จตุรงค์ พลเดช” คว้ารางวัลเหรียญทอง เดี่ยวระนาดเอก
เพลงสุรินทราหู ๓ ช้ัน เวทีประกวดเด่ียวเคร่ืองดนตรีไทย
และขับร้องระดับชาติ รอบชิงชนะเลิศ ระดับอุดมศึกษา
โครงการ 50 ปี ดนตรีบา้ นสมเดจ็ ฯ

เมอ่ื วนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน 2564 นายจตรุ งค์ พลเดช นกั ศกึ ษา
ปี 3 สาขาวชิ าดนตรไี ทย คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
(มรภ.สงขลา) ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง เดย่ี วระนาดเอก เพลงสรุ นิ ทราหู 3 ชน้ั
เคร่อื งดนตรีประกอบจงั หวะ นายอภิชาติ วฒั นะ-ฉ่งิ นายดรณั ภพ
เกิดแก้ว-กลองสองหน้า จากการประกวดเดี่ยวเคร่ืองดนตรีไทย
และขับร้องระดับชาติ “เสริมประสบการณ์ สืบสานสังคีตศิลป์ไทย”
รอบชงิ ชนะเลิศ ระดบั อุดมศึกษา โครงการ 5๐ ปี ดนตรบี ้านสมเดจ็ ฯ
งานวนั คลา้ ยวนั พริ าลยั สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บนุ นาค)
ประจาำ ปพี ทุ ธศกั ราช 2564 และวาระครบรอบ 5๐ ปี ดนตรบี า้ นสมเดจ็ ฯ
วทิ ยาลัยการดนตรี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา ซ่งึ เมื่อ
วันที่ 23 มิถุนายน 2564 นายทวีพงศ์ ชูศรี นักศึกษาสาขาวิชา
ดนตรีไทย มรภ.สงขลา ได้รับรางวัลเหรียญทอง อันดับที่ 3 (ป่ีใน)
จากการประกวดในงานเดยี วกันน้ี

นายจตุรงค์ กลา่ วถึงความรูส้ กึ ต่อรางวลั ท่ีได้รบั วา่ รสู้ ึกดีใจ
ตง้ั แตม่ รี ายชอ่ื ผา่ นเขา้ รอบชงิ ชนะเลศิ แลว้ และภมู ใิ จมากทไ่ี ดร้ างวลั เหรยี ญทอง
เพราะเปน็ ปแี รกทเ่ี ขา้ ประกวดดนตรไี ทยในระดบั อดุ มศกึ ษา กอ่ นหนา้ น้ี
ตนเคยประกวดดนตรมี าตง้ั แตร่ ะดบั ประถม มธั ยม แตส่ าำ หรบั เวทรี ะดบั
อุดมศึกษายอมรับว่าค่อนข้างกดดัน เพราะยากข้ึนมาอีกระดับหน่ึง
โดยได้พยายามทำาเต็มท่ตี ้งั แตร่ อบคัดเลือกเหลอื 1๐ คน จนสามารถ
ผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศได้เป็นผลสาำ เรจ็

“รางวลั ทไี่ ดม้ าถอื วา่ คมุ้ คา่ กบั ความทมุ่ เท ผมคดิ วา่ การหมน่ั
ฝึกซ้อมถือเป็นหน้าที่หลักของคนที่เรียนทางศาสตร์แขนงน้ี เพราะใน
การเรยี นสาขาวชิ าดนตรตี อ้ งอาศยั การฝกึ ซอ้ มอยา่ งสมาำ่ เสมอ จงึ จะเกดิ
ความเชยี่ วชาญ ดงั นัน้ เมอ่ื มเี วลาวา่ งหลงั จากเรียนวิชาสามัญผมและ
เพื่อนๆ ก็มาฝึกซ้อมดนตรีร่วมกัน ช่วงท่ีซ้อมมีอาจารย์ประจำาสาขา
วิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มาคอยดูแลและให้คำาแนะนำา
เรื่องแนวเพลงและการบรรเลงอยู่ตลอด ซึ่งผมได้ฝึกจากส่ิงที่อาจารย์
แนะนำาจนถึงวันท่ีต้องอัดวิดีโอส่งเราก็ทำาเต็มที่ เมื่อถึงวันประกาศ
รางวัลเหรียญทองท่ีมีช่ือผมเป็นหน่ึงในน้ัน จึงนับเป็นเกียรติประวัติ
ต่อตัวผม รู้สึกภูมิใจมาก ๆ ที่ได้สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย”
นายจตรุ งค์ กล่าว

13ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา

ติวเข้ม ภาษาอังกฤษอาจารย์

พร้อมนำาเสนองานวิชาการ ระดับนานาชาติ

มรภ.สงขลา จัดอบรมและ ในรูปแบบปากเปล่า (Oral Presentation) การเผยแพร่ผลงานไม่ว่า
ฝึกปฏิบัติภาษาอังกฤษเพื่อการ ในรูปแบบใดจะต้องเตรียมความพร้อม เพื่อให้การนำาเสนอผลงาน
นำาเสนองานวิชาการ และงานวิจัย เป็นที่สนใจ และผู้นำาเสนอเกิดความมั่นใจในการนำาเสนอผลงาน
เทียบเชิญวิทยากร ม.ธรรมศาสตร์ โดยเฉพาะการนำาเสนอผลงานในรูปแบบปากเปล่าบนเวทีระดับชาติ
ตวิ เขม้ อาจารยแ์ บบออนไลน์ มงุ่ พฒั นา ระดับนานาชาติ หรือเวทอี ืน่ ๆ
ทกั ษะทางภาษาเตรยี มพรอ้ มนาำ เสนอ
ผลงานระดบั นานาชาติ ควบคถู่ า่ ยทอด ด้าน ดร.นิสิตา ฤทธาภริ มย์ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
ความรสู้ ูช่ มุ ชน กล่าวว่า การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการนำาเสนอผลงานวิชาการ
และงานวิจัยต่อหน้าประชาคมบนเวที หรือการนำาเสนอในรูปแบบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระชัย แสงฉาย รองอธิการบดี ของนทิ รรศการ หากไมม่ ที กั ษะภาษาองั กฤษ การเตรยี มตวั หรอื ซกั ซอ้ ม
ฝ่ายวางแผนและงบประมาณ รักษาราชการแทนผู้อำานวยการสำานัก การนำาเสนอผลงาน และเทคนิคในการนำาเสนอผลงาน ก็อาจทำาให้
วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เกดิ ความประหม่า ไม่มัน่ ใจในตนเอง และเกดิ ความสะดุดระหว่างการ
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง นำาเสนอผลงานไดอ้ ีกดว้ ย ซึ่งจากการท่ศี ูนยภ์ าษาได้จดั โครงการอบรม
ภาษาอังกฤษเพื่อการนำาเสนองานวิชาการและงานวิจัย จัดขึ้นเมื่อ เชิงปฏิบัติการเรื่อง การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการนำาเสนองานระดับ
วันที่ 24 มิถุนายน 2564 ซึ่งเป็นการอบรมแบบออนไลน์โดยใช้ นานาชาติ ในปงี บประมาณ 2558 2559 และ 256๐ ทผี่ ่านมา
โปรแกรม Zoom วา่ ได้รับเกยี รติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนา พบว่ามีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการ และยังมีความต้องการท่ีจะ
ศิริโชติ อธิการบดี มรภ.สงขลา เป็นประธานกล่าวเปิดโครงการ พัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษของตนเองใหเ้ พม่ิ มากขึ้น
โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกรณ์ ภเู่ จริญศิลป์ อาจารย์และ
บรรณาธกิ ารวารสารLEARNสถาบนั ภาษามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ดว้ ยเหตนุ ้ี งานศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ดา้ นภาษา สาำ นกั วทิ ยบรกิ าร
เปน็ วิทยากรใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏิบัตกิ าร (Workshops) แกบ่ คุ ลากร และเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.สงขลา เล็งเห็นถึงความสำาคัญ
สายวิชาการ มรภ.สงขลา จำานวน 25 คน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ความจำาเป็น และประโยชน์ในการเตรียมความพร้อมนำาเสนองาน
ทักษะภาษาอังกฤษให้แก่อาจารย์ในการนำาเสนองานวิชาการระดับ วชิ าการระดบั นานาชาติ ไดม้ ีโอกาสในการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง
นานาชาติ บคุ ลากรสายวชิ าการสามารถนาำ เสนองานทางวชิ าการเปน็ จงึ ไดจ้ ดั โครงการอบรมในเรอ่ื งนข้ี น้ึ อกี ครง้ั เพอ่ื พฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษ
ภาษาอังกฤษ เพื่อถา่ ยทอดความรู้ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อชุมชน สงั คม ใหแ้ กอ่ าจารยใ์ นการนำาเสนองานวชิ าการระดบั นานาชาติ เพิม่ ศักยภาพ
หรอื องค์กรภายนอกไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพมากขนึ้ การสอ่ื สารภาษาอังกฤษในการถ่ายทอดผลงานตอ่ ไป

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรี ะชัย กล่าวว่า การนาำ เสนอผลงาน
วชิ าการหรอื งานวจิ ยั สสู่ าธารณชน มสี ว่ นสาำ คญั ในการผลกั ดนั ใหข้ อ้ มลู
หรอื ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ ถกู เผยแพรผ่ ลงาน และถา่ ยทอด
ไปยงั ผรู้ ับการนำาเสนอ ซึ่งมผี ลให้ข้อมลู ได้รบั การยอมรับและมีโอกาส
ได้รับฟังความคิดเห็นจากผู้ฟังว่าสิ่งที่นำาเสนอนั้นควรได้รับการ
ปรบั ปรุงอย่างไรในงานวิชาการหรืองานวิจัยน้นั ตอ่ ไป ซ่งึ การเผยแพร่
ผลงานมหี ลายชอ่ งทาง เชน่ การตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการ การนาำ เสนอ
ในรูปแบบของนทิ รรศการ (Poster Presentation) หรอื การนาำ เสนอ

14 ปารฉิ ัตร วารสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

มน“รัง่ ผภแ.ทสู้ชน่งขว่บลรยาหิ ทศาำารพาิธชสีสคู ตง่ อแรนละเารซจบั ปมตาอร์ บEยงDาน์Uตดาำ ๓แรห๖น.ศง่ ๐ครณำ ตุ บดิพคี รงุศาศสต์”ร์

มรภ.สงขลา จัดพิธีส่ง ด้าน ดร.มนตรี เด่นดวง อดีตคณบดีคณะครุศาสตร์
และรับมอบงานในตำาแหนง่ คณบดี มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ ตลอดระยะเวลาทต่ี นทาำ งานในฐานะผนู้ าำ ขบั เคลอ่ื น
คณะครศุ าสตร์ “ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะครศุ าสตร์ ไดพ้ ยายามดาำ เนนิ งานในดา้ นตา่ ง ๆ อยา่ งเตม็ ท่ี ภายใต้
ดร.ศรุติพงศ์ ภูวัชร์วรานนท์” ข้อจำากัดเราพยายามขับเคลื่อนการผลิตบัณฑิต จนนำามาสู่รางวัล
ดำารงตำาแหน่งคณบดีคนใหม่ นกั ศกึ ษาพระราชทานและรางวลั อน่ื ๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การทาำ งานตอ่ จากน้ี
ชแู นวคดิ บรหิ ารงานภายใตค้ อนเซปต์ คงต้องฝากใหท้ า่ นคณบดีคนใหมช่ ่วยสานตอ่ การดำาเนนิ งานร่วมกับ
EDU ๓60 ำ พร้อมประสานความ โรงเรยี นตาำ รวจตระเวนชายแดน (ตชด.) และโรงเรยี นกองทนุ การศกึ ษา
ร่วมมือรอบดา้ น ซึง่ เป็นเร่ืองทท่ี างคณะฯ ดำาเนนิ การมาโดยตลอด และอยากใหม้ ศี นู ย์
บม่ เพาะความเป็นครูในศาสตร์พระราชาเกิดข้นึ ในอนาคต

เมอ่ื วนั ท่ี 28 มถิ นุ ายน 2564 อาจารยพ์ เิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดี ขณะที่ อาจารยพ์ เิ ชษฐ์ จันทวี รองอธกิ ารบดฝี ่ายบริหาร
ฝา่ ยบรหิ ารและวิทยาเขต มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) และวทิ ยาเขต มรภ.สงขลา ในฐานะประธานในพธิ ี กลา่ ววา่ ขอแสดงความ
เปน็ ประธานในพธิ สี ง่ และรบั มอบงานในตาำ แหนง่ คณบดคี ณะครศุ าสตร์ ยินดีกับคณบดีคณะครุศาสตร์คนใหม่ ผู้บริหารต้องเป็นทั้งนักคิด
ณ ห้องประชุมไพโรจน์ ด้วงวิเศษ คณะครุศาสตร์ มรภ.สงขลา ซึ่ง และนกั พฒั นา ซง่ึ ตนขอชน่ื ชมการทาำ งานของคณะครศุ าสตร์ ทส่ี ามารถ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรตุ พิ งศ์ ภวู ชั รว์ รานนท์ ดำารงตาำ แหน่งคณบดี เปน็ ตน้ แบบใหก้ บั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี อยากใหส้ านตอ่ ศกั ยภาพ
คณะครุศาสตร์ ต่อจาก ดร.มนตรี เด่นดวง โดยมีคณาจารย์และ ด้านการผลิตครูซึ่งถือเป็นจุดเด่นของทางคณะฯ และอยากให้รักษา
เจา้ หนา้ ทข่ี องทางคณะฯ ร่วมเปน็ สักขพี ยาน มาตรฐานทดี่ ีอยู่เดิมใหค้ งอยูต่ ่อไป และขอขอบคุณท่านคณบดคี นเก่า
ท่ที มุ่ เททำางานเพื่อ มรภ.สงขลา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรุติพงศ์ ภวู ชั รว์ รานนท์ คณบดี
คณะครุศาสตร์ มรภ.สงขลา กล่าวถึงแนวคิดในการบริหารงานว่า
เป็นการทำางานในรูปแบบ EDU 36๐ องศา ซึ่งจะครอบคลุมการ
ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนอย่างรอบด้าน ไม่เฉพาะแค่
แวดวงการศึกษา แต่ต้องครอบคลุมไปถึงหนว่ ยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนชุมชนท้องถิ่นที่ต้องทำางานร่วมกันอย่างใกล้ชิด ตนยึดถือ
เรอ่ื งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมเปน็ สาำ คญั และจะทาำ งานภายใตห้ ลกั การครองตน
ครองคน ครองงาน ส่งิ ใดท่ีดอี ย่แู ล้วก็ขอให้รกั ษาไว้ สงิ่ ใดท่ยี ังขาดอยู่
กต็ อ้ งพัฒนาใหด้ ขี น้ึ ขอขอบคุณทา่ นคณบดคี นเก่า ดร.มนตรี เดน่ ดวง
ที่เสียสละทำางานเพื่อคณะครุศาสตร์อย่างเต็มที่ ซึ่งตนคงต้อง
ขอคาำ แนะนาำ ปรึกษาจากท่านอกี มาก

15ปารฉิ ัตร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา ลดคา่ เทอม นศ.ภาคปกติ-กศ.บป.

บรรเทาความเดอื ดรอ้ นช่วง โควิด-๑๙ ระบาด

มรภ.สงขลา ห่วงนักศึกษา-ผู้ปกครองได้รับผลกระทบ รหัสนักศึกษา 63 และ รหัสนักศึกษา 64 ภาคเรียนปกติ
จากโควิด-๑9 ออกมาตรการปรับลดค่าธรรมเนียมการศึกษา จ า ก เ ดิ ม 1 1 , ๐ ๐ ๐ บ า ท ป รั บ ล ด เ ป็ น 9 , 9 ๐ ๐ บ า ท
แบบเหมาจ่าย ทั้งภาคปกติและภาค กศ.บป. หวังช่วยบรรเทา จากเดมิ 9,๐๐๐ บาท ปรับลดเปน็ 8,1๐๐ บาท ภาคเรยี นฤดรู อ้ น
ความเดือดร้อนทางเศรษฐกิจ จากเดิม 6,๐๐๐ บาท ปรับลดเปน็ 5,4๐๐ บาท
รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนา ศิริโชติ อธิการบดี สำาหรบั นักศึกษาภาค กศ.บป. รหัสนกั ศึกษา 6๐, 61, 62
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า นับตั้งแต่เกิด และนักศึกษาตกค้าง ให้จัดเก็บค่าธรรมเนียมแบบเหมาจ่ายในอัตรา
สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ 2๐19 หรอื โควดิ -19 ดังนี้ ภาคเรียนปกติ จากเดิม 8,๐๐๐ บาท ปรับลดค่าธรรมเนยี มเปน็
มรภ.สงขลา ไดอ้ อกมาตรการต่างๆ เพือ่ ชว่ ยเหลอื และเยียวยาผ้ไู ดร้ ับ ๗,2๐๐ บาท จากเดิม ๗,5๐๐ บาท ปรับลดเป็น 6,๗5๐ บาท
ผลกระทบ หนง่ึ ในมาตรการดงั กลา่ วคอื การออกประกาศปรบั ลดอตั รา ภาคเรียนฤดรู ้อน จากเดมิ 4,5๐๐ บาท ปรับลดเป็น 4,๐5๐ บาท
ค่าธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจ่ายสำาหรับนักศึกษาภาคปกติ สว่ นรหสั นกั ศกึ ษา 63 และ รหสั นกั ศกึ ษา 64 ภาคเรยี นปกติ จากเดมิ
และภาคการศึกษาเพ่ือพัฒนาบุคลากรประจำาการ (กศ.บป.) 12,๐๐๐ บาท ปรบั ลดเปน็ 1๐,8๐๐ บาท จากเดิม 1๐,๐๐๐ บาท
(เรยี นวนั เสาร-์ อาทติ ย)์ เนอ่ื งจากสถานการณก์ ารระบาดของ โควดิ -19 ปรับลดเปน็ 9,๐๐๐ บาท ภาคเรยี นฤดรู อ้ น จากเดิม ๗,๐๐๐ บาท
ระลอก 3 เพื่อช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้ปกครองและนักศึกษา ปรับลดเป็น 6,3๐๐ บาท ซึง่ อตั ราการจดั เก็บคา่ ธรรมเนียมการศึกษา
ซึ่งสถานการณ์การแพร่ระบาดได้ขยายวงกว้างขึ้นในประเทศ ตามประกาศนี้ ให้ใช้บังคับในภาคฤดูร้อนปีการศึกษา 2563
สง่ ผลกระทบตอ่ สภาวะเศรษฐกจิ ในสงั คมปจั จบุ นั รวมทง้ั การดาำ เนนิ ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 และภาคฤดูร้อน ปีการ
ชวี ิตประจำาวันของนักศึกษา บคุ ลากร ประชาชน และผปู้ ระกอบการตา่ ง ๆ ศึกษา 2564
ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม
รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนา กล่าวว่า มรภ.สงขลา
ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน เล็งเห็นถึงความ
สำาคัญในเรื่องสวัสดิภาพความเป็นอยู่ของนักศึกษาและผู้ปกครอง
ที่จะต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายเพ่ือการศึกษาของนักศึกษา ดังน้ัน
เพื่อเป็นการช่วยเหลือและลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับนักศึกษาและ
ผู้ปกครองท่ีได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจในช่วงดังกล่าวน้ี
จงึ ไดอ้ อกประกาศปรบั ลดอตั ราคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาแบบเหมาจา่ ย
สาำ หรบั นักศึกษาภาคปกติ รหสั นกั ศึกษา 6๐, 61, 62 และนักศึกษา
ตกค้าง โดยให้จัดเก็บค่าธรรมเนียมแบบเหมาจ่ายในอัตราดังน้ี
ภาคเรียนปกติ จากเดิม ๗,5๐๐ บาท ปรับลดค่าธรรมเนียมเป็น
6,๗4๗ บาท จากเดิม ๗,๐๐๐ บาท ปรับลดเป็น 6,3๐๐ บาท
ภาคเรียนฤดรู ้อน จากเดมิ 4,๐๐๐ บาท ปรับลดเปน็ 3,6๐๐ บาท

16 ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

นพำาฒั ทมี นศษิาชย์เุมกชา่ -นนตศ.น้ ปแลบูกบกาตแฟ.ทร่งุ่วมลยาานง

คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา นาำ ทมี ศษิ ยเ์ กา่ การทำาเกษตรผสมผสาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และนักศึกษาปัจจุบัน ปลูกกาแฟร่วมยางพารา ภายใต้ (ปีที่ 2) กิจกรรมที่ 1 การพัฒนากาแฟเป็นสินค้าอัตลักษณ์ชุมชน
โครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบ ต.ทุ่งลาน อ.คลองหอยโข่ง เพื่อพัฒนาการปลูกสร้างสวนกาแฟโรบัสต้าที่เหมาะสมสอดคล้อง

ดร.มงคล เทพรัตน์ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร กับระบบนิเวศเกษตรของชุมชน ให้ได้ปริมาณและคุณภาพสูง
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เม่ือวันที่ 28 มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นของอำาเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
พฤษภาคม 2564 ผบู้ รหิ ารและคณาจารยข์ องทางคณะฯ ประกอบดว้ ย
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อมรรตั น์ ชมุ ทอง รองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั และ
บริการวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คริษฐ์สพล หนูพรหม
รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและกิจการพิเศษ พร้อมด้วยศิษย์เก่า
นายวิเศฐ ชูเล็ก นายอับดลุ เล๊าะ ลา่ หมัน นายชยั พร ศรปี ระสม
นายณัฐวุฒิ ขุนหลัด และนักศึกษาช้ันปีท่ี 3 หลักสูตรเทคโนโลยี
บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ร่วมกันปลูกกาแฟประมาณ
6๐๐ ต้น รว่ มกบั ยางพารา เพอื่ ใหเ้ ปน็ ชมุ ชนตน้ แบบ ภายใตโ้ ครงการ
พฒั นาชมุ ชนตน้ แบบตาำ บลทงุ่ ลาน อาำ เภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา :

ม“จสรดั ภาอน.สบฝงรขนัมลหธาลุรเักกอสจิาตูใจCรครoอะfยกfeะาสแe้ันฟ”

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา เอาใจคน เทคนิคการชงกาแฟแบบ slow bar (พร้อมสาธติ ) Drip Moka Pot
รักกาแฟ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรระยะสั้น เทคนิคการชงแบบ Espresso Machine แนะนำาเมนูกาแฟ
“สานฝันธุรกิจ Coffee” จัดเต็มความรู้และเทคนิค สาธิตการชงเมนูกาแฟร้อนและเมนูกาแฟเย็น ช่วงบ่ายสาธิตจริง
ที่น่าสนใจ พร้อมสาธิตวิธีชงเมนูกาแฟร้อน-เย็น ณ หน่วยปฏิบัตกิ ารเบเกอรี่ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) จดั กิจกรรม “สานฝนั ธุรกิจ Coffee” ในโครงการอบรม
เชิงปฏิบัติการหลักสูตรระยะส้ันเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ศิษย์เก่า
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา เมอ่ื วนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2564
ผ่านทางเพจ facebook คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา โดยวิทยากรมากฝมี อื และผดู้ าำ เนินรายการมอื อาชพี

ทง้ั น้ี ชว่ งเชา้ เปน็ การ Live สดผา่ นทางเพจ ในเรอ่ื งความรู้
ทั่วไปเกี่ยวกับกาแฟ การแปรรูปกาแฟ (พร้อมสาธิต) สีเปียก/สีแห้ง
การคัดขนาด/คัดเกรด การค่ัว (คั่วอ่อน/ค่ัวกลาง/ค่ัวเข้ม)

1๗ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

สสวท. ผนึกคณะวิทยาศาสตร์ฯ

เพิ่มศักยภาพพลิกโฉมครูยุคใหม่

สสวท. จบั มอื คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มรภ.สงขลา
รว่ มเพม่ิ ศกั ยภาพครใู หม้ สี มรรถนะครยู คุ ใหม่ สาำ หรบั การเรยี นรู้
ศตวรรษท่ี ๒๑ มงุ่ พฒั นาความสามารถจดั การเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์
คณติ ฯ วทิ ยาการคาำ นวณและออกแบบ สง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ
การวดั และประเมนิ ผลตามแนวทางประเมนิ ผลนกั เรยี นรว่ มกบั ท้ังน้ี ได้เชิญวิทยากรจากหน่วยงานภายในและภายนอกมา
นานาชาติ บรรยายใหค้ วามรู้ โดยมงุ่ เนน้ การพัฒนาความสามารถในการจดั การ
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) เรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ วิทยาการคำานวณและออกแบบ
ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และเทคโนโลยี ทเี่ นน้ สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตรข์ อง
(มรภ.สงขลา) จัดโครงการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะครูยุคใหม่ ผเู้ รยี นเปน็ สาำ คญั รวมถงึ สง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั การวดั และ
สาำ หรบั การเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21 โดยมี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนมุ ตั ิ ประเมินผลการเรียนรู้ตามแนวทางโครงการการประเมินผลนักเรียน
เดชนะ คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มรภ.สงขลา เปน็ ประธาน รว่ มกบั นานาชาติ (Programme for International Student Assessment
เปิดโครงการ และมี ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์กฤษณว์ รา รตั นโอภาส หรือ PISA) เพื่อเป็นการเตรยี มความพร้อมและเปน็ ศนู ย์กลางในการ
รองคณบดีฝ่ายวิจัยบริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ เป็นผู้ดำาเนิน ถ่ายทอดความรู้ร่วมกับ สสวท. ให้กับครูและโรงเรียนในพื้นที่บริการ
กจิ กรรม ซง่ึ กจิ กรรมแบง่ เปน็ 2 รนุ่ โดยรนุ่ ท่ี 1 จดั ขน้ึ ระหวา่ งวนั ท่ี 14-16 โดยมคี รทู มี่ ภี าระการสอนในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 และระดบั
พฤษภาคม 2564 และ วนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2564 รนุ่ ท่ี 2 ระหวา่ ง มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ปีที่ 1-3 ในพนื้ ทจี่ งั หวดั สงขลา สตูล และ พัทลงุ
วนั ที่ 21-23 พฤษภาคม 2564 และวนั ท่ี 3๐ พฤษภาคม 2564 ในโรงเรยี นเครือขา่ ยเขา้ รว่ มโครงการกว่า 3๐๐ คน
ผา่ นระบบออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม Zoom/Ms-Team

มรภ.สงขลา จัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น “ผลิตปุ๋ยอินทรีย์”

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา จัดอบรม
หลกั สตู รระยะสน้ั “การผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ”์ แบบออนไลน์ เทยี บเชญิ
วทิ ยากรถ่ายทอดความร้รู อบด้าน

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) จัดกิจกรรม “การผลิตปุ๋ยอินทรีย์” โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ซ่ึงเป็นกิจกรรมภายใต้โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรระยะสั้น
เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้ศิษยเ์ ก่า คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา
ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2564 เวลา ๐9.๐๐-16.๐๐ น. ผ่านทาง
เพจ facebook คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา
วิทยากรโดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ ชมุ ทอง รองคณบดี
ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา
หัวข้อการอบรม ประกอบด้วย การผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดคุณภาพสูง
การผลิตวัสดุเพาะกล้าทดแทนพีทมอส การผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน
สูตรแหนแดง การผลิตหวั เช้ือจลุ ินทรีย์อย่างง่าย

18 ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา ปน้ั นศ.ครฯุ สคู่ รตู น้ แบบวชิ าชพี

คณะครุศาสตร์ มรภ.สงขลา จัดประชุมช้ีแจงการ รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา กลา่ ววา่ นกั ศกึ ษาครทู มี่ คี ณุ ภาพ
ดำาเนินกจิ กรรมสง่ เสริมกระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ าง ยอ่ มเปน็ หลกั ประกนั ทม่ี น่ั ใจไดว้ า่ ประเทศจะมคี นทก่ี าำ ลงั จะเขา้ สวู่ ชิ าชพี ครู
วชิ าชพี ครู ผา่ นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ หวงั ปน้ั นกั ศกึ ษาครฯุ ท่ีเปน็ คนคณุ ภาพ มคี วามรู้ ความสามารถ และจติ วญิ ญาณความเปน็ ครู
สูค่ รูคุณภาพ เปน็ แบบอยา่ งที่ดีของผเู้ รียน นักศึกษาจากคณะครุศาสตร์ มรภ.สงขลา ท่ีจะต้องออกไปฝึก
รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนา ศิริโชติ อธิการบดี ประสบการณว์ ชิ าชพี ในโรงเรยี นนน้ั การเรยี นรจู้ ากตวั แบบโดยมคี รพู เ่ี ลย้ี ง
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) กล่าวระหวา่ งเปน็ ประธาน เป็นแบบอย่างท่ีดี เป็นโอกาสท่ีครูประจำาการณ์ท่ีมีประสบการณ์
ในพธิ เี ปดิ การประชมุ ชแี้ จงการดาำ เนนิ งานกจิ กรรมสง่ เสรมิ กระบวนการ ที่เป็นต้นแบบท่ีดีให้แก่นักศึกษา ซ่ึงการดำาเนินกิจกรรม E-PLC นี้
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี เพอ่ื พฒั นาจรรยาบรรณวชิ าชพี ผา่ นระบบ นอกจากครูพี่เลี้ยงแล้ว ยังมีความร่วมมือจากผู้บริหาร สถานศึกษา
เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Ethic in Professional Learning Community : อาจารยน์ เิ ทศ ศึกษานเิ ทศก์ ครผู สู้ ร้างแรงบนั ดาลใจ และคนอน่ื ๆ
E-PLC) ประจำาปี 2564 ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ทางแอปพลิเคชัน ที่เก่ียวข้องมาทำางานร่วมกัน มีเป้าหมายในการพัฒนาทั้งทักษะ
Zoom Cloud Meetings จดั โดยคณะครศุ าสตร์ มรภ.สงขลา เมอ่ื วนั ท่ี 5 การจดั การเรยี นการสอนและการประพฤตติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชพี
พฤษภาคม 2564 ว่า ครูเป็นเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำาคัญต่อการ มกี ารเรยี นรจู้ าก Role Model จึงหวงั วา่ นกั ศกึ ษาครูจะสามารถพฒั นา
เป็นแบบอยา่ งทด่ี ใี ห้กบั ผเู้ รยี น และเป็นปจั จัยตวั ชี้วัดสาำ คัญท่จี ะทำาให้ ตนเองสกู่ ารเปน็ ครูทด่ี ใี นอนาคต
การเรียนรู้ของผู้เรียนมีคุณภาพ การส่งเสริมให้ครูได้มีโอกาสทบทวน อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา กลา่ วอกี วา่ ขอขอบคณุ ผปู้ ระสานงาน
การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชพี จะสง่ ผลสะทอ้ นกลบั ไป กจิ กรรม เจา้ หนา้ ทีท่ ุกทา่ น วิทยากร ทีท่ ำาใหก้ ิจกรรมในครง้ั น้ลี ุล่วงไป
ยังผู้เรียน ซ่ึงจะเป็นการยกภาพลักษณ์วิชาชีพครูว่าเป็นวิชาชีพที่ควร ด้วยดี ขอบคุณสถานศึกษาท่ีอนุเคราะห์ให้นักศึกษาคณะครุศาสตร์
เคารพ ยกยอ่ ง นับถือ มรภ.สงขลา ไดฝ้ กึ ประสบการณว์ ิชาชพี ที่ดตี ลอดมา ทางมหาวิทยาลัย
ขอยกย่องทุกท่านในการร่วมกันผลิตและพัฒนาครูร่วมกัน ขอบคุณที่
ท่านได้เสียสละเวลารับฟังการชี้แจง เพ่ือสร้างความเข้าใจตรงกันตาม
เปา้ หมายของกจิ กรรมทท่ี างคณะครศุ าสตร์จดั ขึ้นในครั้งนี้

19ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

อาจารย์-นกั ศึกษา “รปศ.”

ควา้ รางวลั บทความระดับดี

อาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) ประกอบด้วย อาจารย์กรณิภา ศรีวรเดชไพศาล
นางสาวซาบตี า้ หมะเตะ๊ นางสาวนชิ ดา วรี ะพนั ธ์ นางสาวศดานนั ท์
ทาวนั และ นายอาริส อเุ สน็ ไดร้ บั รางวัลบทความระดบั ดี ในการ
นาำ เสนอภาคบรรยาย สาขาสงั คมศาสตร์ มนษุ ยศาสตรแ์ ละวจิ ยั สถาบนั
เรอ่ื ง “การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายใุ นโรงเรยี นผสู้ งู อายเุ ทศบาลนคร
หาดใหญ่ อำาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา” ในงานประชุมวิชาการ
ระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คร้ังท่ี 5
ณ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ ศนู ยพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา
หนั ตรา

มรภ.สงขลา ประกวดออกแบบตราสัญลักษณ์คณะวิทยาศาสตร์ฯ

มรภ.สงขลา ขยายเวลาส่งผลงานประกวดออกแบบ และติดผลงานลงบนแผ่นฟิวเจอร์บอร์ดสีดำาขนาด 36X48 ซม.
ตราสัญลักษณ์ (Logo) คณะวิทยาศาสตร์ฯ ชูความโดดเด่น เว้นขอบด้านละ 3 ซม. พร้อมพิมพ์คำาอธิบายแนวความคิดในการ
สวยงาม จดจาำ งา่ ย สอื่ ความหมายถงึ คณะฯ ชงิ เงนิ รางวลั มลู คา่ ออกแบบและความหมายของผลงานใต้ภาพผลงาน Logo ที่ส่ง
8,000 บาท เขา้ ประกวด และแนบไฟลภ์ าพผลงานตน้ ฉบบั บนั ทกึ เปน็ ไฟลน์ ามสกลุ
คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา .ai และ .jpg ความละเอียดไม่ต่ำากว่า 3๐๐ dpi. ขนาดไม่น้อยกว่า
(มรภ.สงขลา) ขยายเวลาส่งผลงานประกวดออกแบบตราสัญลักษณ์ 2 ลา้ นพกิ เซล พรอ้ มระบุ code สี โหมด CMYK (ไฟลท์ ส่ี ง่ มาตอ้ งแกไ้ ขได)้
(Logo) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรภ.สงขลา ชิงเงินรางวัล บนั ทึกใส่ CD/DVD พร้อมระบุช่ือ-นามสกุล หมายเลขโทรศัพท์ของ
มลู คา่ 8,๐๐๐ บาท โดยเปดิ รบั ผลงานจนถงึ วนั ที่ 3๐ มถิ นุ ายน 2564 ผ้อู อกแบบให้ชัดเจน
(นับวันที่ประทับตราไปรษณีย์ต้นทาง) รูปแบบตราสัญลักษณ์ต้องมี
ความโดดเดน่ สวยงาม จดจาำ งา่ ย และสอ่ื ความหมายถงึ คณะวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มรภ.สงขลา สามารถศกึ ษาขอ้ มลู ไดท้ เ่ี วบ็ ไซต์ https://www.
skru.ac.th หลกั เกณฑใ์ นการตดั สนิ จะพจิ ารณาจากการสอื่ ความหมาย
ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความสวยงามและความครบถว้ นขององคป์ ระกอบ
ความนา่ สนใจ และสามารถนาำ ไปใชจ้ รงิ ในการประชาสมั พนั ธ์ และพมิ พ์
บนของท่รี ะลึก เปน็ ต้น
ทงั้ นี้ ในการจดั ส่งผลงานใหจ้ ดั พมิ พ์เฉพาะตวั ผลงาน Logo
เป็นภาพสีและขาวดำา ขนาดภาพละ 6X6 น้ิว (ปรับเปล่ียนได้ตาม
รปู แบบของ Logo) ลงบนกระดาษภาพถา่ ย (Photo Glossy) ขนาด A3

2๐ ปารฉิ ัตร วารสารเพ่ือการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา เปิดรบั นศ. หลักสูตร
ป.บณั ฑิตวิชาชพี ครู

มรภ.สงขลา เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตร รบั สมคั ร หรอื สาำ เนาสมดุ ประจาำ ตวั ครทู เี่ ปน็ ปจั จบุ นั และยงั ไม่มี
ประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครู ๑80 คน ระหว่าง การจาำ หนา่ ยออก โดยสญั ญาจา้ งตอ้ งระบตุ าำ แหนง่ ครผู สู้ อน กรณี
วันที่ ๑7-๒8 พฤษภาคม ๒56๔ สัญญาจ้างไม่ระบุตำาแหน่งครูผู้สอนต้องมีเอกสารแนบท้าย
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ รบั สมคั ร สัญญาจ้างระบุให้ปฏิบัติหน้าที่สอน และคำาส่ังของโรงเรียนปี
บุคลากรทางการศึกษาเพื่อเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปจั จบุ นั ทมี่ อบหมายใหป้ ฏบิ ตั กิ ารสอนระบรุ ายวชิ าและระดบั ชน้ั
หลกั สูตรประกาศนียบัตรบณั ฑติ สาขาวชิ าชพี ครู ประจาำ ปกี าร ท่รี ับผดิ ชอบ
ศกึ ษา 2564 จาำ นวน 18๐ คน ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ http://regis. 2. หนงั สอื อนญุ าตใหป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาโดยไมม่ ใี บอนญุ าต
skru.ac.th/skru_app_edu พรอ้ มชาำ ระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มการ ประกอบวิชาชพี ออกโดยสาำ นักงานเลขาธิการคุรสุ ภา และยงั ไม่ส้ินสดุ
สมคั รสอบคดั เลอื ก 3๐๐ บาท ผา่ นเคานเ์ ตอรธ์ นาคารกรงุ ไทย ระยะเวลาที่ได้รับการผ่อนผัน หากหนังสืออนุญาตฯ หมดอายุใน
ทกุ สาขา ระหวา่ งวนั ท่ี 1๗ - 28 พฤษภาคม 2564 คณุ สมบตั ิ วันสมัคร ผู้สมัครต้องมีหนังสืออนุญาตฯ ฉบับใหม่แล้ว หรือมี
เฉพาะของผู้สมัคร สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา สถานะอนุญาตในระบบการตรวจสอบสถานะใบอนุญาตประกอบ
ท่ี ก.พ. รับรอง โดยต้องไดร้ ับอนมุ ตั สิ าำ เรจ็ การศึกษากอ่ น วชิ าชีพของครุ ุสภาเทา่ นนั้
เข้าเรียนหลักสูตรนี้ และเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการ กรณมี ีใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพครู พจิ ารณาจากหลกั ฐาน
สอนเท่านั้น ไม่รับผู้ปฏิบัติงานธุรการหรือดำารงตำาแหน่ง 1. สำาเนาสัญญาจ้างให้ปฏิบัติหน้าท่ีเก่ียวกับการสอน หรือบุคลากร
ที่ปฏิบัติการสอนบางเวลา โดยพิจารณาจากหลักฐาน ดังน้ี ทางการศกึ ษา จนถงึ วนั ท่รี ับสมัคร หรอื สำาเนาสมดุ ประจำาตวั ครทู เ่ี ป็น
กรณไี มม่ ใี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู พจิ ารณาจากหลกั ฐาน ปัจจุบัน ยังไมม่ ีการจำาหน่ายออก
1. สาำ เนาสญั ญาจา้ งใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี กย่ี วกบั การสอนจนถงึ วนั ที่ 2. สาำ เนาใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครู

มรภ.สสงาขขลาหาลรักบั สสตู มรัคเรเละนกศา.รปสรอญิ นญาโท

รับสมัครและชำาระค่าสมัคร ระหว่างวันท่ี 15-2๐ มิถุนายน
2564 ผสู้ นใจสามารถสมคั รออนไลนผ์ า่ นทางเวบ็ ไซต์ http://regis.skru.
ac.th/skru_app_bundit สอบถามขอ้ มลู หรอื ตดิ ตามรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ
ได้ท่ี เฟซบุ๊ก งานบัณฑิตศึกษา สำานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี น
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา https://www.facebook.com/gsskru
มรภ.สงขลา เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาโท
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรเเละ
การสอน ภาคปกติและภาคพิเศษ แบบออนไลน์ ระหว่าง
วันที่ ๑5-๒0 มิถุนายน ๒56๔ ผู้เรียนมีสิทธิ์สอบใบ
ประกอบวิชาชีพครู
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดรับสมัคร
นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
หลักสตู รเเละการสอน ภาคปกติ (เรียนจันทร์-ศกุ ร)์ แผน ก แบบ ก1
รบั 5 คน แผน ก แบบ ก2 รบั 15 คน (มสี ทิ ธส์ิ อบใบประกอบวชิ าชพี คร)ู
ภาคพิเศษ (เรียนเสาร์-อาทิตย์) แผน ข รับ 3๐ คน (มีสิทธิ์สอบ
ใบประกอบวิชาชีพครู)

21ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

ผู้บริหาร มรภ.สงขลา

ประชุม “อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้

พบมหาวิทยาลัยเครือข่าย”

อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา นาำ ทมี ผบู้ รหิ ารประชมุ “อทุ ยาน เพื่อให้ผบู้ รหิ ารของมหาวิทยาลยั เครอื ขา่ ยใหม่ ได้รับทราบและเขา้ ใจ
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ภ า ค ใ ต้ พ บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ค รื อ ข่ า ย ” เกี่ยวกับแนวทาง บทบาท บริการของอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
รบั ทราบแนวทาง บทบาท บรกิ ารของอทุ ยานวิทยาศาสตรภ์ มู ภิ าค และกลไกการขบั เคลอ่ื นการดาำ เนนิ งานของอทุ ยานวทิ ยาศาสตรภ์ าคใต้
และกลไกขบั เคลอ่ื นการดาำ เนนิ งานของอทุ ยานวทิ ยาศาสตรภ์ าคใต้

เมือ่ วนั ที่ 24 มิถนุ ายน 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา
(มรภ.สงขลา) นำาโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธิการบดี
มรภ.สงขลา พร้อมด้วย ดร.นราวดี บวั ขวญั รองอธิการบดี
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลพฒั น์ รวมเจรญิ รองผูอ้ ำานวยการฝ่ายวิจยั
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.คมวทิ ย์ ศริ ธิ ร รองผู้อำานวยการฝ่ายบริหาร
จดั การนวตั กรรมฯ สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา และ นางสาวอมราวดี วงศเ์ ทพ
ผจู้ ดั การศนู ยบ์ ม่ เพาะธรุ กจิ เขา้ รว่ มประชมุ ผบู้ รหิ าร มรภ.สงขลา ในวาระ
“อทุ ยานวทิ ยาศาสตรภ์ าคใตพ้ บมหาวทิ ยาลยั เครอื ขา่ ย” วตั ถปุ ระสงค์

ทง้ั น้ี มรภ.สงขลา เปน็ หนว่ ยงานหนง่ึ ทร่ี ว่ มมอื ในการดาำ เนนิ งาน
และขับเคลอ่ื นโครงการอุทยานวิทยาศาสตรภ์ าคใต้ เพื่อเป็นศนู ย์รวม
ของการวจิ ยั และพฒั นาทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ค่ี รบวงจร
ในภมู ภิ าค ตลอดจนเป็นแหลง่ พฒั นาผลงานวิจยั สูเ่ ชิงพาณชิ ย์ รวมถงึ
พฒั นาเทคโนโลยีใหส้ ามารถตอ่ ยอดเพ่มิ เตมิ ในเชงิ ธรุ กิจได้

มรภ.สงขลา

รบั สมัครนกั ศึกษาภาคปกติ และภาค กศ.บป.

มรภ.สงขลา เปดิ รบั สมคั รนกั ศกึ ษาภาคปกติ รอบสดุ ทา้ ย นอกจากนน้ั มรภ.สงขลา ยงั เปดิ รบั สมคั รนกั ศกึ ษาภาค กศ.บป.
ไมต่ อ้ งสอบสมั ภาษณ์ และรบั สมคั รนกั ศกึ ษาภาค กศ.บป. ครง้ั ท่ี ๓ เรียนวนั เสาร์-อาทติ ย์ ครงั้ ที่ 3 ระหวา่ งวนั ที่ 9-15 มถิ ุนายน 2564
ในสาขาวชิ าต่างๆ ดังนี้ รป.บ.รัฐประศาสนศาสตร์(นโยบายสาธารณะ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ รบั สมคั รนกั ศกึ ษา และนวตั กรรมทางการบรหิ าร)รป.บ.รฐั ประศาสนศาสตร์(การบรหิ ารงาน
ภาคปกติ รอบท่ี 4 รบั ตรงอสิ ระ (ครง้ั ท่ี 3) ระหวา่ งวนั ท่ี 1๗-2๐ มถิ นุ ายน 2564 ยตุ ธิ รรมและกฎหมาย) ศศ.บ.การพฒั นาชมุ ชน ศศ.บ.การพฒั นาชมุ ชน
ผา่ นระบบออนไลน์ http://regis.skru.ac.th/skru_app (เทยี บโอน) ส.บ.สาธารณสุขชมุ ชน ส.บ.สาธารณสขุ ชุมชน (เทยี บโอน)
โดยสามารถเลอื กไดเ้ พียง 1 สาขาวิชาเทา่ น้ัน จากสาขาวชิ าต่างๆ ดงั น้ี ทล.บ.เทคโนโลยกี ารจดั การอตุ สาหกรรม (2 ปตี อ่ เนอ่ื ง) ศศ.บ. การทอ่ งเทย่ี ว
วท.บ.ภูมสิ ารสนเทศ ศศ.บ.การพัฒนาชมุ ชน (เทียบโอน) วท.บ.วทิ ยา (เทยี บโอน) (เรยี น จ.สตลู )
ศาสตร์ประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม(ฟสิ กิ สป์ ระยุกต์) วท.บ.วิทยาศาสตร์
ประยกุ ตเ์ ชงิ อตุ สาหกรรม (เทคโนโลยยี างและพอลเิ มอร)์ วท.บ.เทคโนโลยี สอบถามขอ้ มูลเพิม่ เติมได้ทางเพจเฟซบุก๊ งานรบั เขา้ นกั ศึกษา SKRU
สารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทลั วท.บ.เทคโนโลยีชวี ภาพ วท.บ.เคมี
วท.บ.วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม วท.บ.วิทยาศาสตร์สุขภาพและสปา https://www.facebook.com/skru.enrollment
ทล.บ.นวตั กรรมการเกษตรเพอ่ื ความยง่ั ยืน

บธ.บ.คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ บธ.บ.การตลาด กจ.บ.การจดั การ
อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว นศ.บ.นเิ ทศศาสตร์ ศ.บ.พฒั นาธรุ กจิ บช.บ.บญั ชี
วท.บ.เทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร ทล.บ.เทคโนโลยกี ารเกษตร
(เทคโนโลยีการผลิตสัตว์) ทล.บ.เทคโนโลยีการเกษตร (เทคโนโลยี
การผลติ สัตว์นาำ้ ) ทล.บ.การผลิตและการจัดการผลิตภัณฑอ์ าหาร
ศป.บ.ดนตรีไทย ศป.บ.นาฏศลิ ป์และการแสดง ศป.บ.การออกแบบ
ดศ.บ.ดรุ ยิ างคศลิ ปต์ ะวนั ตก อส.บ.เทคโนโลยกี ารผลติ ทล.บ.เทคโนโลยี
อตุ สาหการ บธ.บ.นวตั กรรมการจดั การ (เรยี น จ.สตลู ) ศศ.บ.การทอ่ งเทย่ี ว
(เรยี น จ.สตลู ) ศศ.บ.การทอ่ งเท่ยี ว (เทยี บโอน เรียน จ.สตูล)

22 ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

ม อ ง ผ่ า น เ ล น ส์

๑. ประชมุ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลงานมหาวิทยาลัย ๒. แสดงวิสยั ทัศนผ์ ้เู ข้ารับการสรรหาคณบดีคณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา เขา้ รบั การประชมุ ตดิ ตาม ตรวจสอบ เม่ือวันท่ี 28 พฤษภาคม 2564 คณะกรรมการสรรหา

และประเมินผลงานของมหาวทิ ยาลัย ในตำาแหนง่ อธิการบดี คณบด/ี ผู้ดำารงตำาแหน่งคณบดีคณะครุศาสตร์ จัดการแสดงวิสัยทัศน์ผู้สมัคร
ผูอ้ าำ นวยการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เขา้ รบั การสรรหาตาำ แหนง่ คณบดคี ณะครุศาสตร์ ณ หอ้ ง 3๐๗ อาคาร
ระหวา่ งวนั ท่ี 1-2 และ 4 มถิ นุ ายน 2564 ณ หอ้ งประชมุ อรญั ธรรมโน คณะครศุ าสตร์ โดยมี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรตุ พิ งศ์ ภวู ชั รว์ รานนท์
ช้ัน 8 อาคารอำานวยการ ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Zoom ผสู้ มคั รเขา้ รบั การสรรหาเปน็ คณบดคี ณะครศุ าสตร์ เปน็ ผแู้ สดงวสิ ยั ทศั น์
cloud Meeting โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักด์ิ เอกเพชร และตอบคาำ ถามตอ่ หนา้ คณะกรรมการสรรหาฯ นาำ โดย รองศาสตราจารย์
เปน็ ประธาน รองศาสตราจารย์ ดร.ธวชั ชติ ตระการ รองประธาน ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา เปน็ ประธาน
รองศาสตราจารยจ์ ารยุ า ขอพลอยกลาง กรรมการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
ประยรู ดาำ รงรกั ษ์ กรรมการ รองศาสตราจารยป์ ระสทิ ธ์ิ ทองแจม่
กรรมการและเลขานุการ ดร.เพชร รองพล ผู้ช่วยเลขานุการ เป็น
คณะกรรมการดำาเนินงาน

๓. ลงคะแนนหยงั่ เสียง ๔. ประชมุ เตรยี มความพรอ้ มนกั ศกึ ษาใหม่
เมื่อวันที่ 2 มถิ ุนายน 2564 คณะกรรมการสรรหาผ้ดู ำารง เม่อื วนั ท่ี 26 มิถุนายน 2564 สาำ นกั สง่ เสริมวชิ าการและ

ตาำ แหนง่ ผอู้ าำ นวยการสาำ นกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ และ งานทะเบียน จัดประชุมเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ ประจำาปี
ผอู้ าำ นวยการสาำ นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม และคณะกรรมการสรรหาผดู้ าำ รง การศกึ ษา 2564 และประชมุ ผู้ปกครอง (ภาคปกตแิ ละภาค กศ.บป.)
ตาำ แหนง่ คณบดคี ณะครศุ าสตร์ จดั การลงคะแนนหยงั่ เสยี งผอู้ าำ นวยการ ในรปู แบบออนไลน์ Streaming Live ผา่ นแฟนเพจงานรบั เขา้ นกั ศกึ ษา
สำานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และผู้อำานวยการสำานัก SKRU และ Youtube Channel : SKRUCONNECT มหาวทิ ยาลัย
ศลิ ปะและวฒั นธรรม และคณบดคี ณะครศุ าสตร์ ณ คหู าเลอื กตงั้ บรเิ วณ ราชภัฏสงขลา โดยมี ผูช้ ่วยศาสตราจารยน์ าถนเรศ อาคาสุวรรณ
ช้ันล่าง อาคารเรียน 3 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการและประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กลา่ วตอ้ นรบั
และชแ้ี จงนโยบายการจดั การเรยี นการสอนของมหาวทิ ยาลยั ในภาพรวม
การใหข้ อ้ มลู สาำ หรบั นกั ศกึ ษาใหมโ่ ดยทมี บรหิ ารสาำ นกั สง่ เสรมิ วชิ าการ
และงานทะเบยี น นาำ ทมี โดย อาจารยว์ นั ฉตั ร จารวุ รรโณ ผอู้ าำ นวยการ
อาจารยฐ์ าปนวฒั น์ สขุ ปาละ และ ดร.เพชร รองพล รองผอู้ าำ นวยการ

23ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา


Click to View FlipBook Version