The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมีนาคม-เมษายน 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pr, 2020-03-19 23:57:11

วารสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมีนาคม-เมษายน 2560

วารสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมีนาคม-เมษายน 2560

๐๓ คา่ ยวิทยาศาสตร์ คร-ู นร. ๓ จว.ชายแดนใต้ ๖

นาฏยรงั สรรค์ มองเมียนมามหามติ ร ๗
“ฐิติวงศ์ แทบทับ” นกั กิจกรรม มรภ.สงขลา ๘
๐๔ควา้ รางวัลบทความวิจยั ดีเดน่ ระดับชาติ
“หอ้ งสมุดสุดหรรษา” รับปิดเทอม ๙
ศิษย์เก่าออกแบบประยุกตศ์ ิลป์
ปฐมบทหลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ ๑๐
๐๕เบ้อื งหลังชุดประจำ�ชาตยิ อดเยี่ยม สาขาการจดั การสิ่งแวดล้อมฯ
๐๙มรภ.สงขลา ควา้ ๘ รางวัล
“ควน ทวนยก” ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ๑๒
นำ�เสนอผลงานวชิ าการดา้ นวิทย-์ เกษตร หว่ งขาดผู้รูด้ นตรหี นงั ตะลุง

นักเรยี น ร.ร.สาธติ ฯ สำ�นักศิลปะฯ เปดิ บ้านวฒั นธรรม ๑๒

๑๗ได้ ๑๐๐ คะแนนเตม็ วิชาคณติ ศาสตร์ นทิ รรศการโชว์ผลงานคหกรรมศาสตร์ ๑๓

อบรมครชู ายแดนใต้ บทความวิทยาชาญ โมเดล ๑๔-๑๕

๒๐ใช้สอื่ มลั ตมิ เี ดียพัฒนาการสอน แสดงนิทรรศการศลิ ปะ ม.ซายน์ มาเลเซยี ๑๖

“มนั สส์ มอง” นทิ รรศการผลงาน นศ.ออกแบบ ๑๖

เปิด ๓ หลกั สตู รตวิ ภาษาอังกฤษบุคลากร ๑๘

รบั สมัครนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท ๑๘

“ผศ.ออ้ ยทิพย์ พลศร”ี ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ๑๙

รับนักศึกษา กศ.บป. กว่า ๔๐๐ คน ๑๙

ติวผปู้ ระกอบการใชโ้ ซเชียลมีเดยี ตอ่ ยอดธุรกจิ ๒๑

มองผา่ นเลนส์ ๒๒

เปน็ ข่าว ๒๓

ครฯุ พัฒนาทักษะการคดิ
ว่าท่คี รรู ุ่นใหม ่

คณะผจู้ ดั ท�ำ ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ปที ่ี ๑๑ ฉบบั ท่ี ๓ ประจ�ำ เดอื น มนี าคม-เมษายน ๒๕๖๐

ท่ปี รึกษา : ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม, ดร.พพิ ฒั น์ ลมิ ปนะพทิ ยาธร, ผศ.ดร.ฆนทั ธาตทุ อง, ผศ.ดร.ปอ้ งศกั ด์ิ ทองเนอ้ื แขง็ , นางสาวจริ ภา คงเขยี ว, นายพเิ ชษฐ์ จ นั ทว,ี
ดร.แสนศกั ดิ์ ศริ พิ านิช, นายฉลอง อาคาสุวรรณ, นางสาวปัณฑติ า โชตชิ ่วง
บรรณาธกิ าร : ลดั ดา เอง้ เถย้ี ว กองบรรณาธกิ าร : ชวฤทธ์ิ ทองเพช็ รจนั ทร,์ ป.ทนั มนตร,ี ปรญิ ภรณ์ ชมุ มณ,ี สพุ ฒั น์ สวุ รรณโณ, ธวชั ชยั รงุ่ สวา่ ง, อภญิ ญา สธุ าประดษิ ฐ์

งานประชาสัมพนั ธ์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา : ๑๖๐ ถนนกาญจนวนชิ ต�ำ บลเขารูปชา้ ง อำ�เภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ๙๐๐๐๐
โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔, ๐๘๓-๑๙๖๐๐๐๕ โทรสาร. ๐-๗๔๓๑-๒๗๒๖ http://www.skru.ac.th/ E-mail : [email protected] FM.105.75 MHz.
ID LINE : PR_SKRU

นกั ศกึ ษานาฏยรงั สรรค์ มรภ.สงขลา สง่ ผลงานระบ�ำ ขบั เพลงแขง่ เรอื ยาว
บางกล่ำ� อนุรักษก์ ารร้องเพลงเรอื แหลมโพธิ์ท่ใี กล้สญู หาย คว้ารางวลั บทความ
วิจยั ดีเด่นระดับชาติ สาขาศิลปะการแสดงฯ

นางทัศนียา คัญทะชา ประธานโปรแกรมวิชานาฏศิลป์และการแสดง
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยวา่ เมื่อวันท่ี
๒๐-๒๑ เมษายน ทผี่ า่ นมา การแสดงสรา้ งสรรคช์ ุด ระบ�ำ ขบั เพลงแข่งเรือยาวบางกลำ่�
ผลงานนักศึกษาชั้นปีท่ี ๔ วิชาเอกนาฏศิลป์พื้นเมืองและโนรา หลักสูตรนาฏยรังสรรค์
มรภ.สงขลา ได้รับรางวัลบทความวิจัยดีเด่น สาขาศิลปะการแสดงและการจัดการ จาก
โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ มอ.ตรงั วิจัย ๒๐๑๗ โดยมี อ.รวสิ รา ศรชี ัย และ อ.ทศั นียา
คญั ทะชา เปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา ซง่ึ การแสดงชดุ ดงั กลา่ วผสู้ รา้ งสรรคไ์ ดร้ บั แรงบนั ดาลใจ
จากการขบั เพลงเรอื และการแข่งเรือยาวใน อ.บางกลำ่� จ.สงขลา จงึ ไดม้ กี ารลงพนื้ ทีเ่ พือ่
เกบ็ ขอ้ มลู น�ำ มาสรา้ งสรรคเ์ ปน็ ชดุ การแสดงทม่ี คี วามสนกุ สนาน ใหส้ สี นั และบรรยากาศ
ของการแขง่ ขนั เรอื ยาว อกี ทง้ั ยงั เปน็ การชว่ ยฟน้ื ฟแู ละอนรุ กั ษก์ ารรอ้ งเพลงเรอื แหลมโพธ์ิ
ทีใ่ กลจ้ ะสูญหายให้กลบั มาอีกครง้ั

ด้าน น.ส.รวสิ รา ศรีชยั ในฐานะอาจารย์ทปี่ รึกษาและผู้ควบคมุ การฝกึ ซ้อม
กล่าววา่ ระบ�ำ ชดุ น้เี ปน็ ผลงานระบ�ำ พ้ืนบ้านภาคใตต้ อนบน ทนี่ ักศึกษารหสั ๕๖๔๘๐๔
กลุ่มนาฏศิลป์พื้นเมืองและโนรา ดำ�เนินการสร้างสรรค์ร่วมกับอาจารย์ท่ีปรึกษา
ผา่ นกระบวนการวจิ ยั เกบ็ ข้อมูลภาคสนามท่ี อ.บางกลำ่� จ.สงขลา น�ำ มาก�ำ หนดแนวคดิ
ออกแบบท่ารำ�และเคร่ืองแต่งกาย บรรจุเพลงโดยศิลปินแห่งชาติ นายควน ทวนยก
ซงึ่ เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นดนตรพี นื้ เมอื งหนงั ตะลงุ และโนรา ซง่ึ กอ่ นหนา้ นผี้ ลงานสรา้ งสรรค์
ระบ�ำ แนวพนื้ บา้ นภาคใตต้ อนบนของหลกั สตู รนาฏยรงั สรรค์ มรภ.สงขลา เคยไดร้ บั รางวลั
ในงานเดียวกันเม่อื พ.ศ.๒๕๕๘ จากชุดการแสดงระบ�ำ เทพศรศี รทั ธา ถือเป็นส่งิ การนั ตี
ศกั ยภาพของหลกั สตู รนาฏยรงั สรรคไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดวี า่ เราสามารถรงั สรรคผ์ ลงานนาฏศลิ ป์
เปน็ ทย่ี อมรบั ในสังคม และเป็นชุดการแสดงทส่ี ะท้อนวถิ ชี วี ติ ชาวใตอ้ ยา่ งแท้จริง

นายธนาธร หนูคขู ุด นกั ศกึ ษาช้นั ปีที่ ๔ โปรแกรมวชิ านาฏยรงั สรรค์ มรภ.
สงขลา หน่ึงในผู้สร้างสรรค์ผลงาน กล่าวว่า ระบำ�ขับเพลงแข่งเรือยาวบางกล่ำ�เป็นการ
หยิบยกเร่ืองราวของวิถีชุมชนมานำ�เสนอผ่านกระบวนการสร้างสรรค์นาฏศิลป์และการ
แสดง โดยเป็นการท�ำ งานร่วมกันระหว่างนกั ศึกษา และอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาในทุกขนั้ ตอน
ตง้ั แตเ่ รมิ่ เสนอหวั ขอ้ ลงพน้ื ทเ่ี กบ็ ขอ้ มลู น�ำ ขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าวเิ คราะหเ์ รอื่ งราว เรยี นรแู้ ละปรบั
แกไ้ ปดว้ ยกนั ท�ำ ใหผ้ ลงานชดุ นอี้ อกมาเปน็ ทป่ี ระทบั ใจและไดก้ ารตอบรบั ทด่ี ี ตนในฐานะ
ผู้ร่วมกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานช้ินน้ีมีความภูมิใจเป็นอย่างมาก และดีใจที่ได้มี
ส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษว์ ถิ ีชมุ ชนของคนบางกล�ำ่ และเพลงเรอื แหลมโพธิ์ ใหผ้ ชู้ มไดเ้ ห็น
ผ่านการแสดงดงั ที่ปรากฏ

3ปาริฉัตร วารสารเพอื่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

ความอลังการของชุดพญานาคท่ีสาวงามจาก “ค�ำ ภีร์” รพีภทั ร ส�ำ เร
ประเทศลาว ใส่ข้ึนประกวดบนเวที Miss International รางวลั จงึ รสู้ กึ ภมู ใิ จมาก คมุ้ คา่ กบั ความตง้ั ใจและความพยายาม ซง่ึ ความส�ำ เรจ็ จากรางวลั
Queen 2016 ส่งใหเ้ ธอไดร้ ับรางวัลชุดประจำ�ชาติยอดเยยี่ ม ชุดประจำ�ชาติยอดเยี่ยมทำ�ให้ลูกค้าในต่างประเทศสนใจผลงานของตนมากขึ้น แต่ตน
แต่น้อยคนนักท่ีจะรู้ว่าเบ้ืองหลังความยิ่งใหญ่งดงามของชุด มองวา่ ชอ่ื เสยี งของผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงาน ไมใ่ ชส่ ง่ิ ส�ำ คญั ทส่ี ดุ ส�ำ หรบั การท�ำ งานในเสน้ ทางน้ี
ท่ีเธอสวมใส่น้ันเป็นฝีมือคนไทย “รพีภัทร สำ�เร” ศิษย์เก่า ทว่า การสร้างงานที่มีคุณภาพและสร้างสรรค์ต่างหากจึงจะส�ำ คัญอยา่ งแท้จริง
ออกแบบประยุกตศ์ ลิ ป์ มรภ.สงขลา
ศษิ ยเ์ กา่ โปรแกรมวชิ าออกแบบประยกุ ตศ์ ลิ ป์ กลา่ วอกี วา่ ความรจู้ ากการเรยี น
นายรพีภัทร สำ�เร หรือ “คำ�ภีร์” อายุ ๒๗ ปี ท่ี มรภ.สงขลา มีส่วนสำ�คัญอย่างมากกับการทำ�งาน ซึ่งโปรแกรมวิชาออกแบบ
อดตี นกั ศกึ ษาโปรแกรมวชิ าออกแบบประยกุ ตศ์ ลิ ป์ คณะศลิ ปกรรม- ประยุกต์ศิลป์สอนตั้งแต่เน้ือหาทางทฤษฎีจนถึงภาคปฏิบัติ การได้ทดลองลงสนามและ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เล่าถึงทีม่ าท่ีไป เจอกบั ปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ สอนใหร้ จู้ กั ระบบและกระบวนการในการท�ำ งาน การแกไ้ ขงาน
ของการมีโอกาสได้ออกแบบชุดประจำ�ชาติให้นางงามจากประเทศ ไปพร้อมๆ กัน เป็นเหมือนการสร้างภูมิคุ้มกันในการที่จะจบการศึกษาไปแล้วสามารถ
ลาว ว่า ปกติตนทำ�ชุด เคร่ืองประดับ งานศิลปะ ท่ีมีไอเดียและ ประกอบวิชาชีพและนำ�ไประยุกต์ในการทำ�งานได้จริง อย่างไรก็ตาม การสร้างผลงาน
เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ลงขายทางอนิ เทอรเ์ นต็ อยแู่ ลว้ โดยใชช้ อื่ แบรนด์ ใหมๆ่ จะเกดิ ขนึ้ ไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื ผา่ นการเรยี นรวู้ ชิ าชพี หลากหลายแขนง เชน่ เดยี วกบั ทต่ี นน�ำ
“คำ�ภีร์ อลังการ” บังเอิญทางผู้ส่งสาวงามจากประเทศลาวเข้า ความรูท้ ี่ได้จากห้องเรียนมาใชอ้ อกแบบชุด ผ่านเทคนคิ งานศลิ ปะสาขาต่างๆ ทไ่ี ด้เรยี น
ประกวด Miss International Queen 2016 เหน็ ผลงานในเฟสบคุ๊ มา ซ่ึงต้องขอขอบคุณ อาจารยโ์ ชตพิ งษ์ บุญฤทธิ์ และ อาจารย์อมรรตั น์ บญุ สวา่ ง
และชอบสไตล์ผลงานของตน จึงติดต่อให้ทำ�ชุดประจำ�ชาติของ ทใ่ี หค้ �ำ ปรกึ ษาตลอดการท�ำ ผลงานชน้ิ น้ี รวมถงึ การใหค้ �ำ แนะน�ำ เรอื่ งการท�ำ งานในวชิ าชพี
นางงามประเทศลาว คอนเซ็ปต์สะท้อนถึงความเช่ือของชาวลาวกับ มาโดยตลอด
สัตว์ในตำ�นานแม่น้ำ�โขงอย่างพญานาค ตนจึงหยิบยกเล่าเร่ืองราว
ของพญานาคผา่ นเสื้อผา้ โดยออกแบบชดุ ด้วยเทคนิคงานประดิษฐ์ “สิ่งที่สำ�คัญที่สุดสำ�หรับคนทำ�งานศิลปะ คือการพัฒนาฝีมือให้งานมีคุณภาพอย่าง
ต่างๆ ให้คล้ายงานประติมากรรมสามมิติ เน้นความอลังการและ ต่อเนอ่ื ง และขยนั คิดงานใหม่ๆ นอกจากนัน้ ตอ้ งมจี นิ ตนาการและความฝนั ไม่หยุดท่จี ะเรยี นรู้
สามารถสือ่ สารเรอื่ งราวผ่านเครอื่ งแต่งกายได้ ไมท่ อ้ ทจี่ ะสกู้ บั การสรา้ งงาน แตท่ งั้ น้ี จนิ ตนาการตอ้ งอยภู่ ายใตค้ วามจรงิ ทส่ี ามารถจบั ตอ้ งและ
สร้างได้ ไม่เช่นน้ันจะเป็นแค่ความฝัน โดยอาศัยความต้ังใจ และความพยายามท่ีที่จะสร้าง
นายรพภี ทั ร กลา่ ววา่ กลมุ่ คนทตี่ ดิ ตามผลงานของตนทาง จนิ ตนาการใหส้ �ำ เร็จ” นายรพภี ทั ร กล่าว
อินเทอร์เน็ตจะรู้ว่าชุดที่สาวงามจากประเทศลาวใส่ข้ึนประกวดเป็น
ฝมี อื การออกแบบของตน เนอ่ื งจากมสี ไตลเ์ ฉพาะตวั แตส่ �ำ หรบั กลมุ่
คนในสงั คมวงกวา้ งอาจจะไมร่ จู้ กั งานของตนมากอ่ น อยากใหท้ กุ คน
มองว่าร้านเล็กๆ ท่ีไม่ได้โด่งดังมากนัก ไม่มีชื่อเสียงมากมาย
กส็ ามารถสรา้ งผลงานดๆี ได้ ขอแคเ่ พยี งมเี วทใี หไ้ ดน้ �ำ เสนอผลงาน
และอยากขอโอกาสใหน้ กั ออกแบบรนุ่ ใหมๆ่ ไดม้ เี วทจี ดั แสดงผลงาน
เพราะทุกคนมีฝีมือและความพร้อมท่ีจะแสดงศักยภาพ ขาดเพียง
พ้ืนที่ให้พวกเขาแสดงผลงานเท่าน้ัน เช่นเดียวกับที่ตนได้รับโอกาส
ให้ออกแบบชุดประจำ�ชาติในครั้งนี้ ดังนั้น เม่ือชุดพญานาคได้รับ

4 ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

นักศกึ ษาเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา สดุ เจง๋ คว้า ๘ วาสนา เอยี ดแอ ธนวฒั น์ วรรณโร ปวณี า ฤทธิ์โต ฮสู นา บาบู
รางวัลนำ�เสนอผลงานวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกษตร
ที่ มรภ.เพชรบุรี เช่ือเป็นเวทีสั่งสมประสบการณ์ บ่มเพาะนักวิจัย สุจติ ร หมะเตะ๊ ณฐั พล ธรี ะกุล เรวดี บินดนี วิภาดา เพชรรกั ษ์
คุณภาพประดับท้องถนิ่
สไปรูลิน่าสดพร้อมดื่ม และ น.ส.วิภาดา เพชรรักษ์ สาขาวิชาเทคโนโลยี
ดร.มงคล เทพรตั น์ คณบดคี ณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลยั การเกษตร แขนงวิชาการผลติ พืช ไดร้ บั รางวัลระดับชมเชย การน�ำ เสนอผลงาน
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยวา่ เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐-๓๑ มีนาคม ที่ผ่านมา ภาคบรรยาย กลมุ่ พชื ศาสตร์ จากผลงาน การพฒั นาปยุ๋ อนิ ทรยี อ์ ดั เมด็ จากตะกอน
ตัวแทนนักศึกษาช้ันปีท่ี ๔ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา จำ�นวน ชวี ภาพเพ่ือการเจริญเตบิ โตและผลผลิตของผกั กาดขาว
๑๒ คน เข้าร่วมโครงการนำ�เสนอผลงานทางวิชาการระดับปริญญาบัณฑิต
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร คร้ังที่ ๔ ณ คณะเทคโนโลยี คณบดคี ณะเทคโนโลยีการเกษตร กล่าวว่า มรภ.สงขลา ได้รบั ค�ำ เชิญ
การเกษตร มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี ผลปรากฏว่า มรภ.สงขลา สามารถ จาก มรภ.เพชรบุรี ในการเป็นเจ้าภาพร่วมจัดประชุมวิชาการในครั้งน้ี อันเป็น
ควา้ มาได้ ๘ รางวลั แบง่ เปน็ ระดบั ดเี ยย่ี ม ๔ รางวลั ไดแ้ ก่ ๑. น.ส.วาสนา เอยี ดแอ กิจกรรมภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือทางการศึกษา งานวิจัย การให้บริการ
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร น�ำ เสนอผลงาน ภาคบรรยาย วชิ าการ การพฒั นาคณุ ภาพนกั ศกึ ษา ดา้ นเทคโนโลยกี ารเกษตร และการประกนั
กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร/อุตสาหกรรมเกษตร จากผลงาน คุณภาพ เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายทางวิชาการ ระหว่าง ๑๐
การใชป้ ระโยชนจ์ ากสารสกัดจากเปลือกเงาะ มังคุด และทบั ทมิ ในการยืดอายุ สถาบันการศึกษาในเขตภาคกลางตอนล่างและภาคใต้ โดยเปิดเวทีให้นักศึกษา
การเก็บรักษากุ้งขาว ๒. นายธนวัฒน์ วรรณโร สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ไดม้ โี อกาสเผยแพรค่ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากงานวจิ ยั ทเี่ กดิ จากการบม่ เพาะรว่ มกบั อาจารย์
นำ�เสนอภาคโปสเตอร์ กลุ่มสัตวศาสตร์ จากผลงาน ความหลากหลายทาง ทีป่ รกึ ษา นำ�ไปสกู่ ารแสวงหาและคน้ พบองคค์ วามรใู้ หม่ ท�ำ ใหน้ กั ศกึ ษามีความ
ชวี ภาพของสกุ รพนื้ เมอื งในจงั หวดั สงขลา ๓. น.ส.ปวณี า ฤทธโิ์ ต สาขาวชิ าการ มั่นใจในการก้าวสู่นักวิจัยท่ีมีศักยภาพ ซ่ึงจะเห็นได้ว่าในภาคการเกษตรมีความ
เพาะเลยี้ งสตั วน์ �ำ้ การน�ำ เสนอภาคโปสเตอร์ กลมุ่ ประมง จากผลงาน การทดลอง จำ�เป็นต้องได้รับการสนับสนุนและขับเคลื่อนเพ่ือให้เกิดความมั่นคง สถาบัน
ใช้นำ้�มันกานพลูเป็นยาสลบปลานิล และ ๔. น.ส.ฮูสนา บาบู สาขาวิชา การศึกษาจึงเป็นกลไกสำ�คัญในการผลิตบุคลากร สร้างสรรค์งานวิจัยและ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร น�ำ เสนอภาคโปสเตอร์ กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์ นวัตกรรมดา้ นเทคโนโลยีการเกษตร
และเทคโนโลยีการอาหาร/อตุ สาหกรรมเกษตร จากผลงาน ผลของแป้งพรเี จล
และไฮโดรคอลลอยดต์ อ่ คณุ ภาพการปรุงสุกของเส้นพาสต้าปราศจากกลูเตน 5ปาริฉัตร วารสารเพอื่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

ดร.มงคล กลา่ วว่า ส�ำ หรบั รางวัลระดับดเี ด่น นกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา
คว้ามาได้ ๒ รางวัล คือ น.ส.สุจิตรา หมะเต๊ะ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีการอาหาร นำ�เสนอภาคบรรยาย กล่มุ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การอาหาร/อตุ สาหกรรมเกษตร จากผลงาน ปัจจัยทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ กจิ กรรมของ
เอนไซมป์ าเปนจากเปลอื กมะละกอผง และ นายณฐั พล ธรี ะกลุ สาขาวชิ าการ
เพาะเลย้ี งสตั วน์ �ำ้ น�ำ เสนอผลงานภาคโปสเตอร์ กลมุ่ ประมง จากผลงาน เปรยี บ
เทียบการเจริญเติบโตของกุ้งก้ามแดง โดยใช้อาหารปลากินพืชผสมสาหร่าย
สไปรไู ลนา่ ในปรมิ าณตา่ งกนั นอกจากนน้ั นกั ศกึ ษาคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร
มรภ.สงขลา ยงั ไดร้ บั รางวลั ระดบั ดี ๑ รางวลั คือ น.ส. เรวดี บินดีน สาขา
วิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� ในการนำ�เสนอผลงานภาคโปสเตอร์ กลุ่มประมง
จากผลงาน เปรียบเทียบความพึงพอใจในกลิ่นและรสชาติของน้ำ�สาหร่าย

ดร.สวุ รรณี พรหมศริ ิ

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ มรภ.สงขลา น�ำ คร-ู นกั เรยี น ๓ จงั หวดั ชายแดนใต้ ไมไ่ ดร้ บั การพฒั นาอยา่ งเพยี งพอและตอ่ เนอ่ื ง ขาดความมน่ั ใจ ในการจดั การเรยี น
เปดิ ประสบการณ์ เขา้ คา่ ยวทิ ยาศาสตร์ ฝกึ ใชเ้ ครอ่ื งมอื ทดลองคน้ ควา้ การสอนและขาดสอ่ื การสอนทท่ี นั สมยั ปญั หาเหลา่ นล้ี ว้ นมผี ลตอ่ คณุ ภาพการ
หวงั ชว่ ยเพม่ิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการศกึ ษา หลงั พบอยใู่ นเกณฑค์ อ่ นขา้ งต�ำ่ ศกึ ษาทง้ั สน้ิ
เมอ่ื เทยี บกบั ภมู ภิ าคอน่ื ๆ
ผอู้ �ำ นวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ กลา่ วอกี วา่ จากสภาพปญั หาจะเหน็ ไดว้ า่
ดร.สุวรรณี พรหมศิริ ผ้อู ำ�นวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย การพัฒนาระบบการเรียนการสอน โดยเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมให้
ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยถงึ ทม่ี าของการจดั โครงการคา่ ยบรู ณาการ ข้อเสนอ เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามความต้องการของผู้เรียนและสังคม
วทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั ครแู ละนกั เรยี นใน ๓ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ วา่ สบื เนอ่ื งจาก ใช้รูปแบบการสอนและอุปกรณ์อย่างหลากหลายตามสาขาต่างๆ โดยม่งุ เน้น
เดก็ และเยาวชนในพน้ื ทด่ี งั กลา่ ว มคี ณุ ภาพการศกึ ษาต�ำ่ กวา่ ระดบั เฉลย่ี ของภาค รูปแบบการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ ใช้ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ รวมท้ัง
และประเทศ ประกอบกับสถานการณ์ปัจจุบันท่ที ำ�ให้ระยะเวลาการศึกษาใน บรู ณาการจดั การเรยี นการสอนตามทกั ษะวชิ าชพี จะชว่ ยแกไ้ ขปญั หาสถานการณ์
ชน้ั เรยี นของนกั เรยี นใน 3 จงั หวดั สน้ั ลง ดว้ ยเหตผุ ลดา้ นความปลอดภยั ในการ ความไมส่ งบในพน้ื ท่ี และเพม่ิ คณุ ภาพชวี ติ คณุ ภาพการศกึ ษาของคนในพน้ื ท่ี
เดนิ ทางไปกลบั สง่ ผลใหป้ ระชาชนในพน้ื ทม่ี ปี ญั หาการศกึ ษาและเรยี นรู้ แมใ้ น ให้ดีข้ึน ด้วยเหตุน้ี ศูนย์วิทยาศาสตร์ มรภ.สงขลา จึงได้จัดค่ายบูรณาการ
ภาพรวม 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใตป้ ระชาชนไดร้ บั การศกึ ษาดขี น้ึ แตค่ ณุ ภาพ วิทยาศาสตร์ในคร้ังน้ีข้ึน เพ่ือเปิดโอกาสให้ครูและนักเรียนมัธยมศึกษาใน
การศึกษายังอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างตำ่�เม่ือเทียบกับภูมิภาคอ่ืนๆ โดยเฉพาะ พน้ื ท่ี 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ จ�ำ นวน 60 คน ไดฝ้ กึ ทกั ษะกระบวนการทาง
อยา่ งยง่ิ กอ่ นปี 2547 พบวา่ มาตรฐานต�ำ่ มากเมอ่ื เทยี บกบั ภาคอน่ื ๆ คะแนน วทิ ยาศาสตร์ พรอ้ มทง้ั เดนิ ทางไปศกึ ษาหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรทู้ ม่ี ชี อ่ื เสยี งดา้ น
เฉลย่ี คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาอยทู่ ่ี 43.1% ประชากรจบการศกึ ษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตลอดจนจดั ใหม้ กี ารน�ำ เสนอผลงานและนทิ รรศการ
ต�ำ่ กวา่ ป.6 มถี งึ 44.85% มผี จู้ บปรญิ ญาตรขี น้ึ ไปเพยี ง 3.5% ทง้ั น้ี อาจเกดิ โครงงานวิทยาศาสตร์ ระหว่างวันท่ี 8-9 มิ.ย.60 ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์
จากปจั จยั ทางสงั คม วฒั นธรรม และสภาพเศรษฐกจิ ของทอ้ งถน่ิ ท�ำ ใหม้ ผี ลตอ่ มรภ.สงขลา ซ่ึงจะทำ�ให้ครูและนักเรียนได้เปิดประสบการณ์การเรียนรู้
คณุ ภาพการศกึ ษา นอกหอ้ งเรยี นในแหลง่ เรยี นรทู้ แ่ี ตกตา่ งจากเดมิ ชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การพฒั นา
กระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลสัมฤทธ์ิ
ดร.สวุ รรณี กลา่ ววา่ นอกจากนน้ั นกั เรยี นทเ่ี ปน็ คนทอ้ งถน่ิ ยงั ขาดโอกาส ทางการเรยี นทส่ี งู ขน้ึ
ไดร้ บั การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเขา้ เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษา ท�ำ ใหเ้ สยี เปรยี บ
โดยเฉพาะปญั หาในการใชภ้ าษา ความยากจนอนั เกดิ จากปญั หาทางเศรษฐกจิ “วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ปน็ พน้ื ฐานส�ำ คญั และจ�ำ เปน็ ในการพฒั นา
และความจ�ำ เปน็ ทต่ี อ้ งยา้ ยถน่ิ เพอ่ื หางานท�ำ กบั ครอบครวั ท�ำ ใหอ้ ตั ราการขาด ประเทศและท้องถ่นิ จะเห็นได้จากยุทธศาสตร์ของประเทศท่ใี ช้วิทยาศาสตร์ฯ
เรยี นสงู โดยเฉพาะนกั เรยี นทต่ี อ้ งเรยี นทง้ั วชิ าสามญั และเรยี นทางศาสนา ตอ้ งใช้ เปน็ พลงั ขบั เคลอ่ื นศกั ยภาพในการแขง่ ขนั กบั นานาประเทศ การจดั การศกึ ษาและ
เวลาเรยี นมาก ปญั หาสถานการณค์ วามไมส่ งบ การปดิ โรงเรยี นเมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณ์ ใหค้ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรฯ์ จงึ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการพฒั นาประเทศ ในการจดั การ
รุนแรงท่ีอาจส่งผลกระทบต่อโรงเรียนและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ศกึ ษาทกุ ระดบั จงึ มีรายวชิ าวิทยาศาสตร์อยใู่ นหลกั สตู ร โดยเฉพาะอย่างย่งิ ใน
ขาดแคลนครทู ม่ี คี วามรคู้ วามสามารถในพน้ื ท่ี โดยมกี ารลอบยงิ ครู เผาโรงเรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายของการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มกี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู ร
ดกั ซมุ่ วางระเบดิ ระหวา่ งการเดนิ ทาง ท�ำ ใหโ้ รงเรยี นตอ้ งหยดุ การเรยี นการสอน เพอ่ื ใหเ้ ทา่ เทยี มกบั นานาประเทศ แตผ่ ลทต่ี ามมาคอื การขาดแคลนเครอ่ื งมอื ของ
เปน็ ระยะ ครขู าดขวญั ก�ำ ลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ าน และปฏบิ ตั งิ านไดไ้ มเ่ ตม็ ศกั ยภาพ โรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียนมัธยมศึกษาระดับตำ�บลหรือโรงเรียนท่หี ่างไกล
หรอื แมแ้ ตค่ รขู อยา้ ยออกจากพน้ื ท่ี บคุ ลากรทม่ี คี ณุ ภาพจากตา่ งถน่ิ ไมก่ ลา้ เขา้ ไป นักเรียนมีโอกาสน้อยมากในการทดลองค้นคว้าท่ีเป็นหัวใจสำ�คัญของ
ท�ำ งานในพน้ื ท่ี ขาดแคลนครกู ลมุ่ สาระทส่ี �ำ คญั ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา การศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ สง่ ผลใหน้ กั เรยี นขาดเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ และโอกาส
ศกึ ษาตอ่ ระดบั อดุ มศกึ ษาในศาสตรแ์ ขนงนต้ี �ำ่ ตามไปดว้ ย” ดร.สวุ รรณี กลา่ ว
6 ปารฉิ ตั ร วารสารเพอื่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

อ.วสิน ทบั วงษ์ โดยรว่ มกบั คณะท�ำ งานโครงการจดั ตง้ั ศนู ยอ์ าเซยี นศกึ ษาฯ จดั โครงการเขา้ ถงึ
ศนู ยอ์ าเซยี นศกึ ษา มรภ.สงขลา ชวนคนไทยเขา้ ใจเมยี นมาใน เขา้ ใจอาเซยี น ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ โดยเนน้ ประเดน็ ไทย-อนิ โดนเี ซยี และ
ฐานะมหามิตร ช้ภี าพรับร้กู ารเสียกรุงศรีอยุธยาในอดีตกลายเป็น ประสบความส�ำ เรจ็ มาแลว้ ดว้ ยเหตนุ ้ี ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ คณะท�ำ งานฯ
ประวตั ศิ าสตรบ์ าดหมางจนถงึ ปจั จบุ นั ดงึ นกั ศกึ ษาเขา้ รบั ภมู ริ ทู้ ถ่ี กู ตอ้ ง เลง็ เหน็ ถงึ กรณแี รงงานจากประเทศเมยี นมาทม่ี อี ยจู่ �ำ นวนมากในประเทศไทย
นายวสิน ทับวงษ์ รองประธานคณะทำ�งานโครงการจัดต้ังศูนย์ และโดยเฉพาะอย่างย่งิ ในภาคอุตสาหกรรม ประมง เกษตรกรรม การค้า
อาเซยี นศกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยถงึ การ ตลอดจนธรุ กจิ การกอ่ สรา้ ง ใน จ.สงขลา จงึ ตระหนกั วา่ นกั ศกึ ษาจ�ำ เปน็ จะตอ้ ง
อบรมเขา้ ถงึ เขา้ ใจ อาเซยี น : มองเมยี นมา มหามติ ร ณ หอ้ งประชมุ คณะ มภี มู ริ ทู้ ่ี ถกู ตอ้ ง และเหน็ ความส�ำ คญั ของประชากรจากประเทศเพอ่ื นบา้ น
เทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ มนี าคม ทผ่ี า่ นมาวา่ มที ม่ี า
จากการเลง็ เหน็ วา่ แมป้ ระชาคมอาเซยี นซง่ึ มสี ถานะเปน็ ประชาคมโดยสมบรู ณ์ ในฐานะเพ่ือนมนุษย์ท่ีเท่าเทียมกับคนไทย จึงได้จัดอบรมในคร้ังน้ีข้ึน
ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๘ แตค่ วามเขา้ ใจในมติ ติ า่ งๆ ของประชาคม โดยเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านพม่าศึกษา นายวทัญญู ฟักทอง
ทม่ี ปี ระเทศสมาชกิ ถงึ ๑๐ ประเทศ ยงั ไมท่ ว่ั ถงึ และรอบดา้ น อกี ทง้ั การเรยี น จากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มาบรรยายพเิ ศษ และจดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิ
การสอนภาคบงั คบั ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา ยงั ถกู ก�ำ หนดดว้ ย การ บนั เทงิ ไทยในพมา่ และบนั เทงิ พมา่ ในไทย ซง่ึ เปน็ สอ่ื ส�ำ คญั ทจ่ี ะสามารถ
นโยบายการศกึ ษาจากสว่ นกลาง ภาพการรบั รเู้ กย่ี วกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น เขา้ ถงึ ประชาชนไดง้ า่ ยทส่ี ดุ โดยสอ่ื ละคร เชน่ เพลงิ พระนาง และภาพยนตร์
ดำ�เนินไปในทิศทางท่ีสะท้อนความดีกว่า พัฒนากว่าของประเทศไทย เปน็ เสมอื นการบรรจชุ ดุ ความคดิ และสรา้ งกระแสการรบั รู้ อนั จะเปน็ ผลดี
เม่ือเทียบกับประเทศเพ่ือนบ้าน ย่อมส่งผลต่อโลกทัศน์อันเป็นแนวทาง ตอ่ การสรา้ งความเขา้ ใจตอ่ ประชาชนของทง้ั สองประเทศ
ชาตินิยม กระท่งั กลายเป็นกรอบความคิดซ่งึ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาท่ี
แทจ้ รงิ ของคนไทยในฐานะพลเมอื งอาเซยี น ยกตวั อยา่ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง 7ปาริฉัตร วารสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา
ไทยกบั เมยี นมาในระดบั ประชาชน ภาพการรบั รเู้ รอ่ื งการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยา
พ.ศ. ๒๓๑๐ ยงั คงถกู บรรจวุ า่ เปน็ ความโหดรา้ ยทารณุ ของชาวพมา่ จนกระทง่ั
บางสว่ นรสู้ กึ รงั เกยี จและชงิ ชงั แรงงานชาวเมยี นมาในประเทศไทย ทง้ั ทเ่ี ปน็
ชดุ ความคดิ ทถ่ี กู สรา้ งขน้ึ ในยคุ ทป่ี ระเทศสยามถกู คกุ คามดว้ ยจกั รวรรดนิ ยิ ม
ตะวันตก จนต้องสร้างจุดศูนย์รวมและสร้างความเป็นอันหน่งึ อันเดียวกัน
คร้ันเม่ือวันเวลาผ่านพ้นไปยุคอาณานิคมจบส้ินไป ประเทศเพ่ือนบ้าน
ท้งั หลายได้รับเอกราชครบถ้วน แต่ชุดความคิดดังกล่าวยังคงถูกตราตรึง
และ แทบจะไมส่ ามารถเปลย่ี นแปลงไปได้ กลายเปน็ ประวตั ศิ าสตรบ์ าดหมาง
ระหวา่ งไทยกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ นไปในทส่ี ดุ
นายวสิน กล่าวว่า คณาจารย์ผู้สอนรายวิชาวิถีอาเซียน กลุ่มวิชา
มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา ตระหนกั ดวี า่ หนง่ึ ในพนั ธกจิ
หลกั นอกจากจะสอนและบรรยายเนอ้ื หาของรายวชิ าฯ แลว้ ยงั จ�ำ เปน็ จะตอ้ ง
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่นักศึกษาท่ีเรียนในรายวิชาดังกล่าว
รวมถงึ นกั ศกึ ษาทเ่ี รยี นในรายวชิ าอน่ื ๆ ทม่ี คี วามสนใจ ตลอดจนบคุ ลากรทง้ั
สายวิชาการและสายสนับสนุนท่ีสนใจจะได้รับโอกาสเพ่ือพัฒนาตนเอง

นายฐิติวงศ์ แทบทับ หรือ “แมน” นักศึกษาช้ันปีท่ี ๔ กจิ กรรมเวลาวา่ งตอ้ งน�ำ มาใชใ้ นการศกึ ษาหาความรเู้ พม่ิ เตมิ และเมอื่ เขา้
โปรแกรมวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สปู่ กี ง่ึ กลางของหลกั สตู ร คอื ชน้ั ปที ่ี ๓ การเรยี นทวคี วามเขม้ ขน้ ขนึ้ มากกวา่
สงขลา กบั การก้าวเข้าสู่รว้ั ขาว-แดง และความรสู้ ึก ณ ช่วงเวลา เดิม ความเพียรพยายามและความอดทน เป็นสิ่งสำ�คัญมากสำ�หรับ
ท่ีไดเ้ ห็นตราพระราชลัญจกรตั้งสูงสง่าอยู่ใจกลางมหาวิทยาลยั ชั้นปนี ี้

ผมรู้สึกภาคภูมิใจอย่างยิ่งท่ีได้มาศึกษาท่ีน่ี และอยากจะบอก ในปปี จั จบุ นั ทผ่ี มก�ำ ลงั ศกึ ษาผมไดท้ �ำ หนา้ ทเี่ ปน็ “ยวุ ทตู ปปช.”
เลา่ ประสบการณ์การเปน็ นักศึกษาตลอดกว่า ๔ ปี ทผี่ า่ นมา หากถามว่า และไดร้ บั “รางวลั ผมู้ คี วามประพฤตดิ ”ี ของพทุ ธสมาคมแหง่ ประเทศไทย
ช่วงใดท่ีต้องปรับตัวมากท่ีสุด หลายคนคงนึกถึงส่ิงแรกท่ีก้าวสู่ ได้เข้าร่วมแข่งขันอา่ นฟงั เสียงระดับประเทศ ชงิ ถ้วยพระราชทาน สมเดจ็
มหาวิทยาลยั หรอื ทเ่ี รียกว่า “เฟรชช่”ี เป็นชว่ งท่ีนกั เรียนจากต่างท่ตี ่าง พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ถือ
สถานศึกษามาพบประสบการณใ์ หม่ มีวถิ ชี วี ิตท่ีเปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ เปน็ เกยี รตอิ ยา่ งยงิ่ แกผ่ มและครอบครวั ผมท�ำ ไปพรอ้ มๆ กบั การเรยี นไป
มกี ารเรยี นร้ทู เี่ ข้มขน้ มากข้นึ จึงควรท�ำ ความเข้าใจกับความเปล่ียนแปลง ดว้ ย ซง่ึ ในแตล่ ะปกี เ็ ปน็ เสมอื นการกา้ วขน้ึ บนั ไดไปทลี ะขนั้ กวา่ จะผา่ นไป
ที่เกดิ ขึน้ และตอ้ งพยายามปรบั ตวั ใหเ้ หมาะสม แตล่ ะข้ันนั้นไม่ง่ายเลย

การใชเ้ วลาในการเรยี นระดบั มหาวทิ ยาลยั มอี สิ ระกวา่ การเรยี น การเลือกคบเพื่อนในระดับมหาวิทยาลัย มีอิทธิพลต่ออนาคต
ระดบั มธั ยมศกึ ษา มชี ว่ั โมงเรยี นทนี่ อ้ ยลง มตี ารางเรยี นไมต่ อ่ เนอื่ งตลอด ของเราโดยตรง เพราะเปน็ วยั ทตี่ อ้ งเตรยี มพรอ้ มสชู่ วี ติ การท�ำ งานยา่ งกา้ ว
ท้ังวัน และมีอิสระในการเลือกเรียนวิชาต่างๆ ซ่ึงแต่ละวิชาจะมีเวลาเริ่ม สู่ความเป็นผู้ใหญ่ การเลือกคบเพอื่ นจงึ มคี วามสำ�คญั มาก หากคบเพอื่ น
และเลิกเรยี นไมต่ รงกัน ท�ำ ให้ในแต่ละวันนักศกึ ษาจะมเี วลาว่างจากการ ไม่ดีก็จะได้รับอิทธิพลเชิงลบมาด้วย ในทางกลับกันหากเราคบเพ่ือนที่ดี
เรยี นมาก เพราะฉะนน้ั ผมเลอื กวางแผนใชเ้ วลาเกบ็ เกยี่ วประสบการณใ์ น จะส่งผลเชิงบวกต่อชีวิตเรา การทำ�ความรู้จักกับเพื่อนใหม่ ต้องสังเกต
ช่วงเวลานี้ให้มากที่สุด ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมนอกตำ�ราเรียน และ จุดเด่นจุดด้อยของแต่ละคน เลือกคบเพ่ือนท่ีพร้อมจะช่วยเหลือดูแลกัน
กจิ กรรมสร้างสรรค์ทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อสังคม ทำ�สิ่งที่ถูกต้องส่งเสริมกันและกัน ท้ังด้านการเรียนและการทำ�กิจกรรม
ตา่ งๆ ท�ำ สง่ิ ทด่ี เี ปน็ ประโยชนท์ ง้ั ตอ่ ตนเอง มหาวทิ ยาลยั และสงั คม ซง่ึ การ
การทำ�กิจกรรมในชั้นปีที่ 1 ผมได้ทำ�กิจกรรมมากมายท่ี เปน็ นกั ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั ถอื เปน็ หวั เลยี้ วหวั ตอ่ ทส่ี �ำ คญั เปน็ จดุ เปลยี่ น
มหาวทิ ยาลัยจดั ข้ึน เรมิ่ จากเป็น “นกั จดั รายการวิทย”ุ มาตงั้ แตป่ ี 1-3 ของชวี ติ เราใหห้ นั เหไปสคู่ วามส�ำ เรจ็ หรอื ดงิ่ ลงสคู่ วามลม้ เหลวในอนาคต
และเป็น “ทูตวัฒนธรรม” มาตั้งแต่ปี 1 จนถึงปัจจุบัน ทำ�ให้ได้รับ
ประสบการณ์ท่ีหลากหลาย ช่วยพัฒนาทักษะการทำ�งานร่วมกับผู้อื่น ดงั นนั้ การรจู้ กั เลอื กกระท�ำ ในสง่ิ ทเ่ี หมาะสมในชว่ งเวลา
เปรยี บเสมอื นการเรียนรนู้ อกตำ�รา เปน็ การเรยี นรูก้ ารใชช้ ีวติ ตา่ งๆ ของชีวิต นบั เปน็ ประตบู านสำ�คญั ทจี่ ะกา้ วสคู่ วามส�ำ เรจ็ ท่ี
ยงั่ ยืนในอนาคต อนาคตของเราจะเปน็ เช่นไร ใครไมอ่ าจบอกได้
เม่ือเขา้ สู่ชน้ั ปีที่ ๒ กิจกรรมท่ีมหาวทิ ยาลยั จดั ขึน้ เร่มิ ลดน้อยลง อยทู่ ี่ตวั เราเป็นคนกำ�หนดเอง
แตก่ ารเรยี นจะเขม้ ขน้ ขน้ึ จงึ ตอ้ งใชค้ วามตง้ั ใจและความขยนั หมน่ั เพยี รสงู

8 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่อื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา จบั มือ ทม.เขารปู ชา้ ง จัดกิจกรรมห้องสมุดสุดหรรษา ผศ.ดร.อำ�นาจ กลา่ ววา่ กจิ กรรมหอ้ งสมดุ สดุ หรรษาจดั ขนึ้ ในชว่ งทนี่ ักเรยี น
รบั ปดิ เทอม ชวนหนูนอ้ ยวยั 6-10 ปี สมั ผัสฟาร์มสตั ว์ แปลงเกษตร พร้อม ปดิ ภาคการศกึ ษา เน่ืองจากเปน็ ช่วงเวลาท่ีเด็กๆ จะไดผ้ ่อนคลายจากการเรียน และ
ฝึกเป็นผู้ประกาศข่าว หวังบ่มเพาะนิสัยรักการอ่าน พัฒนาสู่การใฝ่เรียนรู้ ไดส้ นกุ ไปกบั การเรียนร้สู ง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั ไมว่ า่ จะเปน็ สตั ว์ พืชผักใกลต้ ัว หรือส่ิงของ
ตลอดชวี ิต ในชีวิตประจำ�วัน รวมท้ังได้บ่มเพาะนิสัยรักการอ่าน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์อย่างย่ิง
ผศ.ดร.อำ�นาจ ทองขาว ผู้อำ�นวยการสำ�นักวิทยบริการและเทคโนโลยี ในการท่ีจะสามารถแสวงหาองค์ความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำ�หรับการเรียนรู้ต่อไป
สารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถงึ กิจกรรมห้องสมดุ ในอนาคต โดยในปีนี้สำ�นักวิทยบริการฯ ได้ร่วมมือกับท้องถิ่นอย่าง ทม.เขารูปช้าง
สุดหรรษา ประจำ�ปี 2560 ว่า กิจกรรมดังกล่าวมีข้ึนเม่ือวันที่ 20-21 เมษายน จัดกิจกรรมห้องสมุดสุดหรรษา ประจำ�ปี 2560 มุ่งหวังให้เด็กและเยาวชนมีความ
ท่ผี า่ นมา ณ ช้ัน 4 อาคารศนู ยภ์ าษาและคอมพวิ เตอร์ มรภ.สงขลา โดยเปิดรับเด็ก ใฝ่รู้และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง นำ�ไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต ซ่ึงทุกคร้ังกิจกรรม
และเยาวชนอายุ 6-10 ปี ในเขตเทศบาลเมอื งเขารูปชา้ ง (ทม.เขารปู ช้าง) และพน้ื ท่ี หอ้ งสมุดสดุ หรรษาได้รบั การตอบรับอย่างดเี ย่ยี ม ดังจะเห็นได้จากจำ�นวนผสู้ มคั รเขา้
ใกลเ้ คยี ง จ.สงขลา จ�ำ นวน 40 คน สมั ผสั ประสบการณก์ ารเล้ยี งสตั วต์ า่ งๆ อาทิ ปลา รว่ มโครงการทม่ี มี ากกวา่ จ�ำ นวนทสี่ ามารถรบั ไดจ้ รงิ เชน่ เดยี วกบั ปนี ท้ี ย่ี งั คงไดร้ บั ความ
หมู แพะ ววั เปน็ ต้น แวะชมพชื ผกั จากแปลงเกษตรที่พ่ีๆ นักศกึ ษาคณะเทคโนโลยี สนใจจากเด็กและเยาวชนสมัครเขา้ ร่วมกิจกรรมเปน็ จำ�นวนมาก
การเกษตร ปลูกไว้มากมาย รวมถึงเรียนรู้เก่ียวกับเบ้ืองหลังการเป็นพิธีกรและ
ผู้ประกาศข่าวที่คณะวิทยาการจัดการ พร้อมท้ังทดลองเป็นพิธีกรและผู้ประกาศข่าว
รนุ่ เยาว์ เพื่อฝึกทกั ษะการพดู และการออกเสยี ง นอกจากน้ัน ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมจะได้
ประดษิ ฐพ์ วงกญุ แจนา่ รกั ๆ น�ำ กลบั ไปเปน็ ของทรี่ ะลกึ ฝกึ ท�ำ แซนดว์ ชิ ส�ำ หรบั น�ำ มารบั
ประทานเปน็ อาหารวา่ งในครอบครวั และสนกุ สนานไปกบั กจิ กรรมวอลค์ แรลล่ี (Walk
Rally) ซงึ่ เป็นการผจญภยั ไปกับฐานตา่ งๆ ท้งั หมด 5 ฐาน ได้แก่ ฐานลกู โป่งหรรษา
ฐานคำ�ใบ้ ใบ้คำ� ฐานลูกบอลหลากสี ฐานปิง้ ปอ่ ง และ ฐานค�ำ ถามกวนๆ

นกั เรยี น รร.สาธติ มรภ.สงขลา 6 คน ท�ำ ขอ้ สอบ
O-NET วิชาคณิตศาสตรไ์ ด้ 100 เตม็ ผลคะแนน
เฉลี่ยท้ัง 5 รายวิชา สูงกว่าระดับสังกัดและระดับ
ประเทศ

ผศ.อดุลย์ หวังจิ ผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิต
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ ผลการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา คะแนนโรงเรยี น
สูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดับสังกัด (สกอ.) ระดบั จงั หวัด และ
ระดับประเทศ ทงั้ 5 รายวชิ า ดงั ขอ้ มลู ในตาราง

ระดับ คะแนน รายวิชา / คะแนนเฉลย่ี นอกจากน้นั นกั เรียนโรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลัย
ราชภฏั สงขลา จ�ำ นวน 6 คน ได้แก่ 1. เดก็ ชายสทุ ธนพ
เตม็ ไทย สังคม องั กฤษ คณิต วิทย์ ชะนะ 2. เด็กหญงิ ศภุ จิรา พรหมเพรา 3. เด็กชายจิณากร
จิตณรงค์ 4. เด็กหญิงณิชชา สวสั ดิกานนท์ 5. เดก็ หญงิ ณชิ า
ระดบั โรงเรียน 100 66.02 64.05 63.86 68.11 58.61 สายออ๋ ง และ 6. เดก็ หญงิ กิรติกา สุวรรณฉัตร สามารถทำ�
คะแนนในรายวชิ าคณติ ศาสตร์ ได้ 100 คะแนนเต็ม
ระดบั สงั กดั 100 65.06 60.22 63.36 64.02 53.71
9ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา
ระดบั จงั หวดั 100 53.60 49.09 35.62 42.49 42.43

ระดับประเทศ 100 52.98 46.68 34.59 40.47 41.22

ดร.อาชารนิ ทร์ แปน้ สุข อนาคตภาพการสอื่ สารหลกั สูตรสง่ เสรมิ แห่งดินแดน
10 ปาริฉตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา เขตพฒั นาเฉพาะกจิ ชายแดนใต้ :

ปฐมบทหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มและภยั ธรรมชาติ

อาชารนิ ทร์ แป้นสขุ
วทิ ยาลยั นวตั กรรมและการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา วทิ ยาเขต
จังหวัดสตูล เป็นวิทยาลัยใหม่ พร้อมที่จะเปิดการเรียนการสอนและต้นแบบ
ใหมน่ วตั กรรมการสอ่ื สารศนู ยก์ ลางเรยี นรขู้ องเขตพฒั นาเฉพาะกจิ ชายแดนใต้
ในอนาคต ทต่ี ง้ั ในดนิ แดนเขตพฒั นาเฉพาะกจิ ชายแดนใต้ ในพระราชบญั ญตั ิ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 ระบุไว้ว่า มาตรา 7 ใหม้ หาวิทยาลยั เปน็
สถาบันอุดมศึกษาเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่นท่ีเสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน
ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยา
เพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน มีส่วนร่วมในการ
จัดการ การบำ�รุงรักษา การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม อย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริม
วิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำ�การสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
ปรับปรุง ถ่ายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม
ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู ทั้งยังเป็นอีกหน่ึงแนวทางที่มีส่วนสำ�คัญใน
การลดความเหลอื่ มล�้ำ โอกาสทางดา้ นการศกึ ษาใหแ้ กเ่ ยาวชนในเขตพนื้ ทแ่ี ละ
เปน็ การตอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชน ทตี่ อ้ งการไดร้ บั โอกาสในการศกึ ษา
ต่อระดับอุดมศึกษา ตลอดจนเป็นแนวทางสำ�คัญในการสร้างบัณฑิตให้มี
อัตลักษณ์ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชนตอ่ ไป ทง้ั นป้ี จั จยั ทสี่ �ำ คญั อนั จะน�ำ ไปสกู่ ารยอมรบั ของชมุ ชนในการ
จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาจะต้องดำ�เนินการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้าง
ความเช่ือมั่นให้แก่ชุมชนและการจัดหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ
ของชมุ ชน และการจดั สรรทนุ สนบั สนนุ การศกึ ษาในรปู แบบตา่ งๆ ใหแ้ กเ่ ยาวชน
ในพน้ื ทๆ่ี มคี วามสามารถและโดยรวม

ซึ่งจากผลการวิจัยและงานบริการพื้นที่ท่ีผ่านมา รวมท้ังการบริการ ส่ิงแวดล้อมและภัยธรรมชาติเป็นท่ีสนใจของนักวิชาการและนักวิจัยเป็น
วชิ าการปรากฏชดั เจนวา่ ในเขตพน้ื ทจี่ งั หวดั สตลู ควรจดั การเรยี นการสอนหรอื อย่างมากโดยเฉพาะท้องถ่ินในพ้ืนที่เขตพัฒนาเฉพาะกิจชายแดนใต้
อนื่ ใดในเชงิ องคร์ วมของความเป็นหน่งึ เดียว สอดรับกบั ปรากฏการณท์ างการ เพอื่ ประเมนิ และท�ำ ความเขา้ ใจการเปลยี่ นแปลงของกระบวนใหมท่ างการศกึ ษา
สือ่ สารในปัจจุบนั เป็นตวั กลางขบั เคลือ่ น อาทิ หลกั สตู รท่ีด�ำ เนินการเปดิ ตาม ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับอารมณ์ของคนในพืน้ ที่ (Ellsworth & Scherer, 2003) เพื่อ
แผนเสนอของนักศึกษาทุนสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาท่ีต้องการ สอดรับกับทัศนคติของบุคคลในพ้ืนที่เป็นสำ�คัญท่ีมีความแตกต่างทางด้าน
ให้เปิดการเรียนการสอนท่ีวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการวิทยาเขตจังหวัด ความเปน็ พน้ื ทช่ี ายแดนตดิ กบั ประเทศมาเลเชยี ซง่ึ เปน็ เอกลกั ษณ,์ ดา้ นความ
สตลู สูงสดุ 5 อนั ดบั แรก คือ อันดบั ที่ 1 หลักสตู รการจดั การการท่องเทย่ี ว หลากหลายทางภาษาท้งั ภาษาไทย ภาษามลายูถน่ิ และภาษามลายูกลางซง่ึ
อนั ดับท่ี 2 หลักสูตรการจดั การสิง่ แวดลอ้ ม อันดบั ท่ี 3 หลกั สูตรการจดั การ เปน็ ภาษาของชาวมาเลเซยี , ดา้ นศาสนา เนอ่ื งจากประชาชนสว่ นใหญใ่ นพนื้ ท่ี
อนั ดบั ที่ 4 หลกั สตู รอดุ มศกึ ษา และ อนั ดบั ท่ี 5 หลกั สตู รการสอนภาษาองั กฤษ น้ีนับถือศาสนาอิสลาม, ด้านสังคมวัฒนธรรม มีความหลากหลายทาง
ท้ังน้ีความคาดหวังของชุมชนที่ส่งผลต่อการตัดสินใจส่งบุตรหลานเข้าเรียน วัฒนธรรมอันเป็นผลสืบเน่ืองจากบริบททางด้านภาษาและศาสนา,
ในระดับอุดมศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดสตูลต้ังอยู่บนพื้นฐานของการได้รับ ดา้ นการศกึ ษาซงึ่ มคี วามแตกตา่ งจากพน้ื ทอี่ นื่ เพราะประชาชนตอ้ งการมคี วาม
โอกาสในการท�ำ งานภายหลงั ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาซงึ่ เปน็ อกี แนวทางในการจดั การ รู้ทางศาสนาอิสลามควบคู่กับความรู้ที่จำ�เป็นในการประกอบอาชีพ,
ศกึ ษาบนพนื้ ทฐ่ี านการเตรยี มต�ำ แหนง่ งานในหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื รองรบั ด้านนวัตกรรมการส่อื สารทางภาพลักษณแ์ ละความปลอดภัย ตอ้ งสรา้ งความ
บณั ฑติ ตอ่ ไปในอนาคต เชอ่ื มนั่ แรงจงู ใจในการสอ่ื สารทางภาพลกั ษณแ์ ละความปลอดภยั (อาชารนิ ทร์
แปน้ สขุ ,2559)ทมี่ บี ทบาทตอ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ ทเี่ ปลย่ี นแปลงโดยการศกึ ษาเปน็
ด้วยอนาคตภาพนวัตกรรมการส่ือสารในยุคปัจจุบันบูรณาการกับ จุดเร่ิมต้นของรับรู้และเกิดความรัก เพื่อให้สถาบันการศึกษาแห่งน้ีเป็นที่
วทิ ยาลยั นวัตกรรมและการจัดการไดก้ อ่ เกิดหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ เยาวชนในพนื้ ทชี่ ายแดนใตไ้ ดร้ บั จากผลกระทบตอ่ การเขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษาใน
สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติเป็นหลักสูตรปฐมบท ระดับอดุ มศึกษา จากภาวการณข์ าดแคลนทุนทรพั ย์และสถาบนั การศึกษาใน
โดยสืบเน่ืองจากปัจจุบันนวัตกรรมการส่ือสารปัญหาภัยธรรมชาติและ ระดบั อดุ มศกึ ษาในพน้ื ทไี่ มม่ ี ท�ำ ใหต้ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการลงทนุ ทางดา้ นการ
สงิ่ แวดลอ้ มนบั วนั ยง่ิ ทวคี วามรนุ แรงมากขน้ึ ประเทศไทยจดั เปน็ ประเทศล�ำ ดบั ศกึ ษามากเปน็ มลู เหตใุ หข้ าดโอกาสทางการศกึ ษาและจากปจั จยั แวดลอ้ มทข่ี าด
ตน้ ๆ ของโลก ทกี่ �ำ ลังสญู เสยี มูลค่าทางเศรษฐกิจจากการรบั ผลกระทบกรณี บทบาทในการสนบั สนนุ การศกึ ษาตอ่ สง่ ผลใหเ้ ยาวชนในพนื้ ทจ่ี งั หวดั สตลู งา่ ย
สาธารณภัยต่างๆ คิดเป็นจำ�นวน 135 หม่ืนล้านบาท จัดเป็นลำ�ดับที่ 4 ตอ่ การถกู ชกั นำ�ไปสู่กจิ กรรมท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาสงั คมในรปู แบบต่างๆ การตัง้
ของโลก และมปี ระชากรจ�ำ นวน 72 ล้านคนไดร้ ับผลกระทบจากสาธารณภัย มหาวิทยาลัยในพื้นที่จึงเป็นแนวทางสำ�คัญในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่าง
ซง่ึ จดั เปน็ ล�ำ ดบั ท่ี 5 ของโลก พน้ื ทภี่ าคใตข้ องประเทศไทยไดร้ บั ผลกระทบจาก ย่ังยนื ใหแ้ กช่ มุ ชนที่สง่ ผลกระทบเชิงลบในระดบั บุคคลและสงั คม
ภยั ธรรมชาตหิ ลากหลายประเภท ไดแ้ ก่ สนึ ามิ แผน่ ดนิ ไหวและหมอกควนั จาก
ไฟไหม้ป่าในประเทศอินโดนิเซีย นอกจากน้ันยังมีภัยจากดินถล่ม ถำ้�ถล่ม การจดั การศกึ ษาหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การ
หลมุ ยุบ ถ�้ำ ยุบ การกัดเซาะชายฝั่ง อทุ กภยั และวาตภัย เปน็ ตน้ หากพิจารณา สง่ิ แวดลอ้ มและภัยธรรมชาติ จึงเป็นปรากฏการณ์การศึกษาใหมท่ ่ีมีการตอบ
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555- สนองทางภาวะอารมณ์ความรู้สึกของคนในพ้ืนท่ี โดยผู้ศึกษาใช้อำ�นาจของ
2559) และแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 11 (พ.ศ. 2555- อนาคตภาพสถาบันการศึกษาที่ส่ือความหมายทางด้านอารมณ์ความรู้สึก
2559) ของประเทศไทย พบว่าได้ให้ความสำ�คัญในการจัดการ ในบริบทตัวแทนของคนไทยทั้งชาติท่ีต้องการให้สถาบันการศึกษาแห่งน้ีเป็น
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื การบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั แิ ละ สถาบันทพี่ ฒั นาขนึ้ เพือ่ ใช้เปน็ ส่งิ เร้าในการทดสอบทางด้านอารมณค์ วามรสู้ กึ
การบริหารวิกฤติในภาวะฉุกเฉิน อันเน่ืองมาจากผลกระทบของการ สำ�หรับคนไทยผ่านสถาบันการศึกษาแห่งน้ีภายใต้สันติเป็นเคร่ืองมือในการ
เปลี่ยนแปลงด้านภูมิอากาศของโลก และผลกระทบจากส่ิงแวดล้อมอ่ืน ๆ ศึกษาสู่สันติภาพแห่งดินแดนเขตพัฒนาเฉพาะกิจชายแดนใต้ การจัดการ
การจดั การความเสย่ี งทางสง่ิ แวดลอ้ มหรอื ภยั ธรรมชาตใิ นสภาวะวกิ ฤตจิ ดั เปน็ ศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการส่ิงแวดล้อมและ
ประเดน็ ทา้ ทายที่ตอ้ งเตรยี มการรองรบั และบริหารจดั การความเส่ยี งใหพ้ ร้อม ภยั ธรรมชาตกิ บั บทความวชิ าการเรอ่ื งอนาคตภาพการสอื่ สารหลกั สตู รสง่ เสรมิ
เผชิญกับภัยทีส่ ามารถเกดิ ขนึ้ ได้ตลอดเวลา ดังนนั้ วิทยาลยั นวัตกรรมและการ แห่งดินแดนเขตพัฒนาเฉพาะกิจชายแดนใต้ : ปฐมบทการจัดการศึกษา
จดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของผทู้ มี่ บี ทบาทเชงิ วชิ าการ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมและ
ในระดับท้องถน่ิ จงึ ควรมบี ทบาทต่อการพัฒนาองค์ความรแู้ ละฐานขอ้ มูลเพอ่ื ภยั ธรรมชาติ เรมิ่ จากการทดลองพลงั ความคิดนำ�การส่อื สารใหมภ่ ายใตก้ าร
รองรับภัย รวมทั้งการศึกษาวิจัยเพ่ือสร้างระบบบริหารจัดการ ส่ือสารสภาวะวิกฤต (Crisis Communication) แห่งดินแดนเขตพัฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพและเตรียมการพัฒนา เฉพาะกจิ ชายแดนใตม้ าบรู ณาการขน้ึ ในการน�ำ การสอ่ื สารเชงิ กระบวนทศั นใ์ หม
นักวิชาการ/บุคลากรให้กับภาครัฐและเอกชนเพื่อรองรับกับสถานการณ์การ ในยคุ ปจั จบุ นั เปน็ หลกั สตู รแรกทดี่ �ำ เนนิ ขนึ้ เพอ่ื ทนั โลกทนั สมยั แหง่ ดนิ แดนเขต
เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในระดับท้องถ่ิน เพื่อให้มีนักวางแผน พัฒนา พัฒนาเฉพาะกิจชายแดนใต้อันมีพ้ืนฐานจากแผนเสนอสำ�นักงาน
นกั วจิ ยั ผปู้ ระสานงานและจดั การทส่ี ามารถบรู ณาการความรจู้ ากศาสตรต์ า่ ง ๆ คณะกรรมการการอุดมศึกษาตอ้ งการให้เปิดที่วิทยาเขตจงั หวดั สตูล
เพอื่ สรา้ งองคค์ วามรใู้ นระดบั ชมุ ชนทสี่ ามารถตอ่ ยอดและเชอ่ื มโยงสรู่ ะดบั ชาติ
และอาเซยี นได้

การจดั การศกึ ษาหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การ
ส่ิงแวดล้อมและภัยธรรมชาติ เปน็ องค์ประกอบหนึ่งท่ีส�ำ คญั ตอ่ การตอบสนอง
ความตอ้ งการทงั้ ดา้ นนโยบาย สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงและสนองตอ่ ความ
ตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ การด�ำ เนนิ การดา้ นหลกั สตู รใชห้ ลกั การ บรู ณาการศาสตร์
ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องเพ่ือการจัดการส่ิงแวดล้อม การจัดการความเส่ียงทาง
สิง่ แวดล้อม ซึง่ สัมพนั ธเ์ กยี่ วขอ้ งกับการเกิดภัยธรรมชาติ ภายใตก้ ระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ พื้นฐานนิเวศวิทยา นวัตกรรมการสื่อสาร ตลอดจน
เทคโนโลยใี นการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มหรอื ดา้ นสงั คมศาสตรอ์ น่ื ๆ ไดแ้ ก่ การใช้
นโยบายหรือมาตรการต่าง ๆ รวมถึงภูมิปัญญาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ

11ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

ควน ทวนยก แบบดั้งเดิม เปดิ เผยวา่ ดนตรมี สี ว่ นส�ำ คญั อย่างย่งิ ในการพัฒนา
“ควน ทวนยก” ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ดนตรีพื้นบ้าน จิตใจของเยาวชน แตป่ จั จุบันพบวา่ โรงเรยี นต่างๆ ขาดแคลนผู้รู้
ด้านดนตรีหนังตะลุง บางโรงเรียนต้องแก้ปัญหาโดยการจ้าง
ห่วงปัญหาโรงเรียนขาดแคลนผู้รู้ด้านดนตรีหนังตะลุง ทำ�เยาวชนเรียนรู้ผิด ผู้ที่มีภูมิปัญญาท้องถ่ิน หรือให้ครูประจำ�การที่มีความสามารถ
แบบแผน เสนอจัดอบรมพนื้ ฐานดนตรหี นังตะลุงแบบดงั้ เดมิ กองทุนส่งเสรมิ และมีความสนใจ สอนตามความรู้ที่มี ซึ่งอาจไม่ถูกต้องตาม
วัฒนธรรม-มรภ.สงขลา รับลกู เปดิ ใหผ้ ู้สนใจสมัครเข้าอบรม แบบแผนของดนตรหี นงั ตะลงุ ดงั นนั้ ในฐานะทต่ี นไดร้ บั เลอื กให้
เปน็ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ดนตรพี นื้ บา้ น) มคี วาม
นายควน ทวนยก ผู้เชี่ยวชาญพิเศษประจำ�สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม เปน็ หว่ งต่อสถานการณด์ ังกลา่ ว จงึ มีแนวคิดที่จะเปดิ รับเยาวชน
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรี และผู้ที่สนใจ จำ�นวน 50 คน เข้ารับความรู้เก่ียวกับดนตรี
พ้ืนบ้าน) ปี 2553 ผู้เสนอโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพื้นฐานดนตรีหนังตะลุง หนังตะลุงแบบด้ังเดิม พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีโหม่ง
ฉิง่ ทับ กลอง ป่ี ชว่ งระหวา่ งวนั ท่ี 27-28 มนี าคม ทผ่ี ่านมา
ณ ส�ำ นกั ศลิ ปะฯ มรภ.สงขลา โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณ
จากกรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม (กองทนุ ส่งเสริมวฒั นธรรม)

นายควน กล่าวว่า การอบรมพ้ืนฐานดนตรีหนังตะลุง
แบบด้งั เดมิ เปน็ การสานตอ่ องคค์ วามรูจ้ ากครู อาจารย์ในสมัย
กลางเอาไว้ ไม่ให้เปลย่ี นแปลงไปในแนวดนตรสี ากล เนือ่ งจาก
เกรงว่าต่อไปเยาวชนจะไม่รู้จักการเล่นดนตรีหนังตะลุงแบบ
ดั้งเดิมอย่างถูกต้อง ท่ีไม่เจือปนเครื่องดนตรีสากลเช่นปัจจุบัน
โดยรปู แบบการอบรมมที ง้ั บรรยายและฝกึ ปฏบิ ตั เิ ครอื่ งดนตรหี นงั
ตะลงุ 5 ชนิด ไดแ้ ก่ โหม่ง ฉ่ิง ทบั กลอง ปี่ เพอื่ ใหผ้ เู้ ข้าอบรม
สามารถเล่นดนตรีหนังตะลุงแบบดั้งเดิม และนำ�ไปถ่ายทอดต่อ
ให้กับคนรุ่นหลงั ในที่สุดแลว้ เครอ่ื งดนตรีพนื้ บา้ นภาคใต้ จะอยู่
คกู่ ับภาคใต้ไปอกี นานแสนนาน

สำ�นกั ศิลปะฯ มรภ.สงขลา ผุดกิจกรรมบ้านวัฒนธรรม ดงึ คนรนุ่ ใหม่ตระหนัก
วถิ คี วามเปน็ ไทย เรยี นรภู้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ หว่ งสงั คมเปลยี่ นแปลงรวดเรว็ ท�ำ คนใชช้ วี ติ
เร่งรบี ขาดความประณตี เชน่ อดตี

นายโอภาส อสิ โม ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงโครงการศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินบ้านวัฒนธรรม ระหว่าง
วันท่ี 3-5 พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ สำ�นักศิลปะฯ ว่า ด้วยสังคมปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลง
อย่างรวดเร็ว ท้ังด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง คนรุ่นใหม่ใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบ
ความเป็นอยู่และกิจกรรมในชีวิตประจำ�วันผูกติดกับการแข่งขัน ส่งผลให้วิถีความเป็นไทยท่ี
เรียบง่ายเปล่ียนแปลงไป ไม่มีความประณีตเหมือนเมื่อก่อน สำ�นักศิลปะฯ เล็งเห็นถึงการเปิด
โอกาสใหเ้ ดก็ อายุ 7-12 ปี ในฐานะคนรุน่ ใหมไ่ ดต้ ระหนกั รถู้ ึงวถิ คี วามเปน็ ไทยและเกิดความ
ภาคภูมิใจในวัฒนธรรมท้องถ่ินอันดีงาม จึงจัดกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินบ้าน
วฒั นธรรม ในชว่ งการปดิ ภาคเรยี น เพอื่ ใหร้ จู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ สามารถพฒั นาตนเอง
ไปสคู่ วามเปน็ ผมู้ ภี มู ริ ใู้ นภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทง้ั ยงั ประยกุ ตใ์ ชก้ บั วถิ ชี วี ติ ในปจั จบุ นั ใหเ้ กดิ ประโยชน์
และความสขุ ในการด�ำ รงชวี ิต

นายโอภาส กล่าวว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจะได้รับความรู้จากการบรรยายเร่ือง เป็นอยู่
อยา่ งไทย พร้อมท้งั ฝกึ ปฏบิ ตั ิทำ�ขนมโบราณ หนมุ านคลุกฝุน่ เรียนร้กู ารท�ำ ขนมไทยอยา่ งลูกชบุ
กจิ กรรมรอ้ ง เลน่ เตน้ ร�ำ ประดดิ ประดอยดอกไมจ้ ากใบเตย จกั สานปลาตะเพยี น ศกึ ษาภมู ปิ ญั ญา
ไทยในอดีต ณ สถาบันทักษิณคดีศึกษา กิจกรรมการละเล่นเด็กไทยภาคใต้ ซึ่งจะทำ�ให้ซึมซับ
รับรู้ภูมิปัญญาไทยในวิถีชีวิต ตลอดจนปลูกจิตสำ�นึกให้รักและหวงแหนในภูมิปัญญาไทย ทั้งน้ี
เพยี งไมก่ ว่ี นั ทส่ี �ำ นกั ศลิ ปะฯ ประชาสมั พนั ธร์ บั ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ปรากฏวา่ มผี สู้ นใจอยา่ งลน้ หลาม
จนต้องปิดรับสมัครในเวลาอันรวดเร็ว สะท้อนให้เห็นว่ายังมีคนรุ่นใหม่อีกมากท่ีต้องการ
ร่วมอนุรกั ษแ์ ละสืบสานวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น

12 ปารฉิ ัตร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา จัดคหกรรมนิรมิต คร้ังที่ 4 อวดผลงาน ผศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ
อาจารย์-นักศึกษา ชูไฮไลท์พัฒนาผลิตภัณฑ์จำ�ปาดะ สนองพระ
ราชดำ�ริสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรม คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มรภ.สงขลา กลา่ วอกี วา่
พืชฯ หวังสร้างมูลคา่ พชื ทอ้ งถน่ิ หายาก แกป้ ญั หาผลผลติ ลน้ ตลาด เหตุผลท่ีเลือกแปรรูปผลิตภัณฑ์จากจำ�ปาดะ เน่ืองจากเป็นพืชที่นิยมปลูก
กันมากทางภาคใต้ จัดเป็นผลไม้ขึ้นช่ือของ อ.ควนโดน จ.สตูล และ
ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต.เกาะยอ อ.เมอื ง จ.สงขลา และเปน็ ผลไมท้ ห่ี ารบั ประทานยาก พบไดเ้ ฉพาะ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงนิทรรศการ ภาคใตเ้ ทา่ นน้ั อกี ทงั้ จ�ำ ปาดะยงั ใหผ้ ลเพยี งปลี ะครงั้ ในชว่ งเดอื นพฤษภาคม-
คหกรรมศาสตร์ (คหกรรมนริ มติ ครง้ั ท่ี 4 ประเทศไทย 4.0 คหกรรมศาสตร์ กรกฎาคม ซึง่ บางปมี ีผลผลิตออกสู่ตลาดเป็นจำ�นวนมากท�ำ ใหร้ าคาตกตำ�่
สู่การพฒั นาที่ยงั่ ยืน) เมอ่ื วนั ท่ี ๓ เมษายน ท่ีผ่านมา ณ หอประชมุ เฉลิม บางคร้งั เนา่ เสียตอ้ งท้ิงไม่สามารถน�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ได้ เพราะจำ�ปาดะเป็น
พระเกียรติฯ มรภ.สงขลา ว่า เป็นการโชว์ผลงานจากการลงพ้ืนที่ฝึก ผลไมท้ ่คี นนยิ มบรโิ ภคแบบสดและทอดเท่าน้นั มกั มอี ายกุ ารเกบ็ รกั ษาส้นั
ประสบการณ์วิชาชีพทางด้านอาหาร ณ สถานประกอบการโรงแรม เน่ืองจากเซลลม์ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาหลังการเกบ็ เก่ยี ว ท�ำ ให้ผลไม้
ของนักศกึ ษาช้นั ปีที่ ๔ ซึ่งไดน้ �ำ ความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ในการปฏบิ ตั งิ านจรงิ เสอ่ื มสภาพและอาจสญู สญู เสยี คณุ คา่ ทางโภชนาการ รวมถงึ เกดิ การสญู เสยี
และเตรยี มตัวเข้าสู่ตลาดแรงงานในอนาคต โดยไฮไลท์เมนสู รา้ งสรรคใ์ นปี ทางเศรษฐกิจ ซ่ึงเกิดจากจำ�หน่ายผลผลิตไม่ทันหรือเกิดปัญหาผลผลิต
นี้ เป็นการแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากจำ�ปาดะ ผลไมร้ สหวาน หอม มเี อกลกั ษณ์ ล้นตลาด โดยเฉพาะผลไม้ท่ีออกเป็นฤดูกาล ดังน้ัน การแปรรูปเป็น
เพ่ือสนองพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื ยดื อายกุ ารเกบ็ รกั ษา จงึ เปน็ แนวทางหนงึ่ ในการถนอมอาหาร
ในโครงการอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพืชอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ ในการสรา้ ง เพื่อให้มรี ับประทานตลอดปี และลดปญั หาผลผลิตลน้ ตลาด
มูลค่าเพ่ิมผลไม้ในท้องถิ่นให้ออกมาเป็นเมนูหลากหลายชนิด อาทิ แยม
จ�ำ ปาดะ ไอศกรมี จ�ำ ปาดะ เค้กชฟิ ฟ่อนจำ�ปาดะ โมจิไส้จ�ำ ปาดะ ขา้ วเกรียบ 13ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา
จ�ำ ปาดะ ขนมหม้อแกงเมลด็ จำ�ปาดะ ทองพบั จำ�ปาดะ เปน็ ต้น ซ่ึงได้ผล
ตอบรบั และเสยี งชนื่ ชมจากผูเ้ ข้ารว่ มชิมอย่างดีย่งิ

ผศ.ดร.ทศั นา กลา่ ววา่ ตวั อยา่ งการพฒั นาผลติ ภณั ฑจ์ ากจ�ำ ปาดะ
เช่น แยมจำ�ปาดะ ผลงาน ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ เป็นการเพิ่มมูลค่า
จำ�ปาดะในช่วงที่มีผลผลติ ตามฤดกู าลเปน็ จำ�นวนมากและราคาถกู ซงึ่ เปน็
แนวทางที่จะทำ�ให้ผู้ประกอบการและเกษตรกรรายย่อย สามารถใช้
ประโยชน์จากจำ�ปาดะที่เป็นพืชในท้องถ่ินได้อย่างคุ้มค่า และสร้างรายได้
ตลอดไป ผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบจากเมล็ดและเนื้อจำ�ปาดะ และ ไอศกรีม
จำ�ปาดะ ผลงาน อ.วิภาวรรณ วงศ์สุดาลักษณ์ ซึ่งพบว่าการใช้เมล็ด
จ�ำ ปาดะตม้ สุกทดแทนแปง้ มันสำ�ปะหลัง รอ้ ยละ ๓๐ จะได้ขา้ วเกรยี บที่ได้
รับการยอมรับสูงสุด ในขณะท่ีการประยุกต์ใช้เนื้อจำ�ปาดะจะทำ�ให้ได้ข้าว
เกรยี บทม่ี กี ลนิ่ รสและเนอื้ สมั ผสั ทมี่ คี วามโดดเดน่ สว่ นการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
ไอศกรีมจำ�ปาดะ เป็นการนำ�เนื้อจำ�ปาดะที่มีกล่ินหอมและรสชาติหวาน
เฉพาะตัว มาประยุกต์ใช้ในผลิตไอศกรีม เพ่ือสร้างมูลค่าให้พืชในท้องถิ่น
และสร้างผลิตภัณฑใ์ หม่

ผศ.ดร.ฆนทั ธาตทุ อง 1. วิชาชีพครูเปน็ วิชาชีพชน้ั สงู ทตี่ อ้ งพฒั นานักศกึ ษาครทู ง้ั เรอื่ งวิชาครู
อาจารย์ประจำ�โปรแกรมวชิ าหลักสตู รและการจดั การเรียนรู้ วิชาเอก และวิชาพ้ืนฐาน โดยมุ่งหวังให้ได้ครูดี ครูเก่ง สอนดี สอนเก่ง
ดงั ภาพ 1
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา
จากการสำ�รวจความต้องการครูท่ีจะทดแทนอัตราเกษียณอายุราชการ ภาพ 1 การพัฒนาครใู หเ้ ป็นวชิ าชพี ช้ันสงู
ตง้ั แต่ปีพ.ศ.2557-2562ของส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน(สพฐ.)
แยกตามสาขาพบว่า สาขาคณิตศาสตร์มีความต้องการครูทดแทนสูงท่ีสุด เม่ือพิจารณาวิชาครู จะพบว่าหลักสูตรท่ีหน่วยผลิตสร้างหรือพัฒนาขึ้น
(14,399 อัตรา) รองลงมาคือสาขาภาษาอังกฤษ (13,852 อัตรา) ตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งและเปน็ ไปตาม 11 มาตรฐานทค่ี รุ สุ ภาก�ำ หนด ประกอบกบั
ประกอบกบั ผล O-Net ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2558 ในสังกัด ยังต้องมีการปลูกฝังด้านจรรยาบรรณวิชาชีพครู และการปฏิบัติงาน
สพฐ. ภาษาองั กฤษต�่ำ สดุ (36.61) คณติ ศาสตร์ 41.76 วทิ ยาศาสตร์ 41.55 ดงั ภาพ 2
นั่นเป็นส่วนหนึ่งของท่ีมาในการท่ีกระทรวงศึกษาธิการต้องเร่งรีบ
แกป้ ญั หา เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา โดยการใหผ้ ทู้ จี่ บการศกึ ษาในสาขา
เฉพาะและยงั ไม่มีวฒุ คิ รู ได้มีสิทธิส์ มัครสอบเข้ารับการคดั เลือกเพ่อื แตง่ ต้งั ให้
เปน็ ครผู ชู้ ว่ ย ในขณะทห่ี นว่ ยผลติ ครอู ยา่ งเชน่ คณะครศุ าสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์
ได้ออกมาคดั คา้ น ดว้ ยเห็นว่าวิชาชพี ครูเปน็ วิชาชพี ชั้นสงู และนักศกึ ษาครูได้
เข้าสรู่ ะบบการพัฒนาให้เป็นผูท้ ีม่ ีความพรอ้ มในการเป็นครู ตาม 11 เกณฑ์
มาตรฐานของครุ สุ ภา ซ่ึงใช้เวลาเรียน 5 ปี แล้วอยู่ ๆ กม็ ีการเปิดโอกาสให้ผู้
เรียน 4 ปี ในสาขาเฉพาะทีไ่ มม่ ีวฒุ คิ รมู สี ิทธ์สิ มคั รสอบได้ เมื่อได้แลว้ ค่อยส่ง
เข้าอบรมหลักสูตร ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ซ่ึงเห็นว่านักศึกษาครูมีความ
เสยี เปรยี บ เสียโอกาส ถกู แย่งงานจากผู้ทเ่ี รยี นมาแค่ 4 ปนี ้ัน กเ็ ปน็ เหตุผล
ทีร่ ับฟังได้
ประเดน็ คอื จะท�ำ อยา่ งไรทใ่ี หป้ ระเทศชาตไิ ดผ้ ทู้ มี่ คี วามเชยี่ วชาญเฉพาะ
สาขามาเป็นครู เพื่อแก้ปัญหาและช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยท่ีไม่
กระทบกับระบบการผลิตครแู ละเปน็ ไปตามข้อบังคบั ครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยการรบั รอง
ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
พ.ศ.2550 กับข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ
วิชาชีพ พ.ศ.2548 โดยที่หน่วยผลิตครูและนักศึกษาครูไม่เกิดความรู้สึกว่า
เสยี โอกาสหรือถกู เอารัดเอาเปรยี บทางวิชาชพี
วิทยาชาญ โมเดล มฐี านคดิ ดงั นี้

14 ปาริฉตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

๒. ความลุ่มลึกในวิชาเอก จากการท่ีโครงสร้างหลักสูตรได้มี
เนอื้ หาตามเงอ่ื นไขทมี่ ากพอสมควร จงึ ตอ้ งแบง่ สดั สว่ นของเนอ้ื หาและ
เวลาในการจัดการเรียนการสอนตามรายวิชาครู วิชาเอกและวิชา
พ้ืนฐาน ใหล้ งตวั ตรงนตี้ ้องยอมรบั วา่ ในความลุ่มลกึ ในศาสตร์สาขา
เฉพาะของครู เมื่อเทียบหลักสูตรต่อหลักสูตรแล้วจะพบว่า ผู้ที่เรียน
สาขาเฉพาะ (๔ ป)ี มเี นอ้ื หาในรายวชิ าท่ลี ุ่มลกึ สลบั ซบั ซอ้ น มากกวา่
ของนกั ศกึ ษาครู

๓. คุณภาพการศึกษาของประเทศต้องได้รับการยกระดับ
ดว้ ยเหตทุ ม่ี าจากทไ่ี ดผ้ ลการประเมนิ O-Net, PISA แสดงใหเ้ หน็ แนวโนม้
ในอนาคตทางการศึกษาไทยไดอ้ ย่างชัดเจน

ภาพ 3 วทิ ยาชาญ โมเดล ราชการแลว้ เพราะในระยะเวลา ๑ ปีทีผ่ ่านมา นั่นถอื วา่ ไดเ้ ปน็ การ
ด้วยสาเหตุและปัจจัยดังกล่าว ผู้เขียนจึงขอเสนอทางออกให้กับ ทดลองราชการแลว้
ทุกฝา่ ยดว้ ย “วิทยาชาญ โมเดล” ดงั ภาพ ๓
คำ�ว่า “วิทยาชาญ” มาจาก “วิทยากร” ท่ีทำ�หน้าที่เป็น หากทำ�ได้เช่นนี้ จะมีความเท่าเทียมกันระหว่างวิทยาชาญกับ
“คร-ู อาจารย”์ ทีม่ ีความ “เชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ” รปู แบบการแก้ นกั ศึกษาครู ดงั ตาราง ๑
ปญั หาเพื่อบรรจผุ ู้ทีไ่ มม่ ีวุฒคิ รูให้เป็นครูนี้ มี ๔ ขัน้ ตอน ดงั น้ี
ขั้นท่ี ๑ สอบคัดเลือกวิทยาชาญ จากบุคคลที่มีความรู้ความ บทสรุป
สามารถเฉพาะสาขา แต่ไม่ได้มีวุฒิครู โดยที่ยังไม่ได้บรรจุแต่งต้ังให้ วทิ ยาชาญ โมเดล เปน็ รปู แบบการแกป้ ญั หาเพอื่ บรรจผุ ทู้ ไ่ี มม่ วี ฒุ ิ
เป็นครผู ู้ชว่ ยในทันที
ขน้ั ท่ี ๒ ปฏิบัติการสอน โดยทว่ี ทิ ยาชาญทีผ่ า่ นการคัดเลือกใน ครูให้เป็นครู ด้วยการดำ�เนินการ ๔ ขั้น โดยท่ีท้ังวิทยาชาญและ
ขนั้ ท่ี ๑ ตอ้ งปฏบิ ตั งิ านสอนในสถานศกึ ษาเปน็ ระยะเวลา ๑ ปกี ารศกึ ษา นักศึกษาครู จะได้รับการพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพที่
และในระหวา่ งนน้ั ตอ้ งเขา้ รบั การอบรมในหลกั สตู ร ป.บณั ฑติ วชิ าชพี ครู คุรุสภากำ�หนดเช่นกัน ประกอบกับเป็นการแก้ปัญหาเพื่อยกระดับ
ท้ังนี้ ในการประเมินการปฏิบัติการสอน ให้มีการประเมิน คุณภาพการศึกษาของประเทศไทย ท่ีทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน
เกี่ยวกับการปฏิบัตกิ จิ กรรมทางวิชาการ การตดั สนิ ใจ ความมุ่งม่นั เพ่ือใหส้ มกบั หลักการทวี่ า่ “ครเู ป็นวิชาชีพชน้ั สงู ”
พัฒนาผเู้ รียน การพฒั นาแผนการสอน การพัฒนาสอ่ื การเรียนการ
สอน การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน การรายงานผลการพฒั นา 15ปาริฉตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา
คณุ ภาพของผูเ้ รยี น การปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี ความร่วมมอื
กบั ผอู้ น่ื ในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน การแสวงหาและใชข้ อ้ มลู ขา่ วสาร
ในการพัฒนา และการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุก
สถานการณ์ ซง่ึ เป็นสงิ่ เดียวกับทนี่ กั ศึกษาครไู ดร้ บั การพัฒนา
สำ�หรบั การอบรมในหลักสูตร ป.บณั ฑิตวชิ าชพี ครนู นั้ เป็นการ
พัฒนาตนเองให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพท่ีคุรุสภากำ�หนด
ซง่ึ ก็จะเปน็ ส่ิงเดยี วกบั ที่นักศึกษาครไู ดร้ ับการพฒั นาเช่นกัน
ขน้ั ท่ี ๓ ประเมนิ ความเปน็ ครู ในข้ันตอนน้ใี หม้ กี ารประเมนิ จิต
วิญญาณความเป็นครู และจรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม
ต่อตนเอง ต่อวิชาชีพ ต่อผู้รับบริการ ต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพและ
ต่อสังคม
ขั้นที่ ๔ การบรรจุแตง่ ตงั้ ใหเ้ ป็นครผู ชู้ ว่ ย โดยพิจารณาจากผล
การด�ำ เนนิ งานในขน้ั ตอนท่ี ๒ และ ๓ ทงั้ น้ี ไมต่ อ้ งมกี ารทดลองปฏบิ ตั ิ

อาจารย์ทางศิลปกรรม มรภ.สงขลา จัดแสดง ภาพพมิ พโ์ ดยใช้เทคนิค Dry Point, Etching และ Wood Cut สว่ นผลงานอีกชดุ ที่นำ�ไป
นทิ รรศการผลงานศลิ ปะ “Two Series of Artworks from จัดแสดงในครั้งนี้ คือจิตรกรรมสีอะคริลิคชุด “Tree of Spirit” ของ อ.ระพีพัฒน์
Thailand” ทีม่ หาวทิ ยาลยั ซายน์ มาเลเซยี “ผศ.บัณฑิตา” ผลรตั นไพบลู ย์ ศลิ ปนิ สรา้ งสรรคผ์ ลงานจากแนวคดิ วถิ ปี ฏบิ ตั ขิ องโลกตะวนั ออก คอื การ
เ ผ ย แ ร ง บั น ด า ล ใ จ จ า ก ค ว า ม สุ ข เ รี ย บ ง่ า ย ร อ บ ตั ว ฝึกสมถะสมาธิ เพ่อื ใหต้ วั ศลิ ปินเองเกิดความน่งิ ความสงบจากความรสู้ กึ ภายใน โดยผ่าน
ฟาก “อ.ระพีพัฒน”์ สร้างสรรค์งานจากแนวคิดฝึกสมถะ รูปทรงของตน้ ไม้ท่มี กี ารตัดทอนเหลือแค่เสน้ ทเ่ี รยี บงา่ ย เปน็ สื่อสัญลักษณแ์ ทนความสงบ
สมาธิตามวิถีโลกตะวนั ออก สมาธิ ขณะเดียวกนั ก็มคี วามอดุ มสมบรู ณอ์ ยใู่ นตัว

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ร่วมกับ มหาวิทยาลัยซายน์ ประเทศมาเลเซีย (Universiti Sains
Malaysia) จดั แสดงนทิ รรศการผลงานศิลปะ “Two Series of
Artworks from Thailand” ณ Muzium & Galeri Tuanku
Fauziah มหาวิทยาลัยซายน์ ระหว่างวันท่ี 3 เมษายน-5
พฤษภาคม 2560 และมพี ธิ เี ปดิ นทิ รรศการเมอ่ื วนั ท่ี 5 เมษายน
ที่ผ่านมา โดยมีกงสุลใหญ่ประจำ�รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย
ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิด นิทรรศการศิลปะดังกล่าว
เป็นการจัดแสดงผลงานในชุด “Space of Happiness” ของ
ผศ.บณั ฑติ า วรศรี และผลงานชดุ Tree of Spirit ของ อ.ระพพี ฒั น์
ผลรตั นไพบลู ย์ อาจารยป์ ระจำ�โปรแกรมวิชาศิลปกรรม ซ่ึงได้
เสนอผลงาน (portfolio) ไปยังหอศิลป์ของมหาวิทยาลัยซายน์
และไดร้ บั คัดเลอื กให้จดั แสดงในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว

สำ�หรับผลงานท่ีนำ�ไปจัดแสดงในคร้ังน้ีมีด้วยกันสอง
ชุด คือชุด “Space of Happiness” ของ ผศ.บณั ฑิตา วรศรี
ซึ่งศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานได้รับแรงบันดาลใจจากการที่ตัว
ศิลปินตระหนักว่าความสุขของตนเองนั้นเกิดขึ้นจากส่ิงเรียบง่าย
รอบๆ ตวั จงึ ไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานชดุ นขี้ น้ึ ประกอบไปดว้ ยผลงาน

มรภ.สงขลา จัดนิทรรศการมันส์สมอง โชว์ศักยภาพนักศึกษา น.ส.ณฐั ฏพัชร์ เจตนิพทั ธ์ และให้สอดคล้องกับการใช้งาน เป็นต้น จึงนำ�มาสู่การจัด
หลกั สตู รออกแบบ ขนสารพดั ผลงาน อาทิ หนงั สอื อกั ษรเบรลลท์ �ำ มอื ส�ำ หรบั นิทรรศการแสดงผลงานในคร้ังน้ี
ผู้พิการทางสายตา ชุดน้ำ�ชาเรือหัวโทง ตราสินค้ากล้วยหอมทองกลุ่ม
เกษตรกร อ.ระโนด อวดสายตาสาธารณชน นายสราวุธ กลา่ วว่า ออกแบบเปน็ การฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ที่นำ�ไปสู่กระบวนการของการเข้าใจ การวางแผน รูปทรง
นายสราวุธ บุญศรี ประธานโครงการนิทรรศการออกแบบนิพนธ์ และ ผลส�ำ เรจ็ สดุ ทา้ ยของการด�ำ เนนิ การใดๆ ทสี่ ามารถตอบ
“มันส์สมอง” นำ�เสนอผลงานนักศึกษาโปรแกรมวิชาการออกแบบ คณะศิลปกรรม สนองต่อความต้องการ คำ�จำ�กัดความเชิงลึกของออกแบบ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เม่อื วนั ท่ี ๒๓ เมษายน ทผ่ี ่านมา คอื นกั ออกแบบสร้างรูปแบบของการสือ่ สาร เพอ่ื สอื่ แนวคดิ
เปิดเผยวา่ การออกแบบเป็นแขนงวชิ าเอกหน่ึงในหลกั สตู รปริญญาศลิ ปกรรมศาสตร ไปยังกลุ่มเป้าหมาย โดยการสง่ ผา่ นความหมายและคุณค่า
บณั ฑติ ซงึ่ เปดิ การเรยี นการสอนหลกั สตู รนใี้ น 2 วชิ าเอก ไดแ้ ก่ วชิ าเอกสาขาออกแบบ จากประวัติศาสตร์ของการออกแบบมักจะเข้าใจว่าเป็นเรื่อง
ผลติ ภัณฑ์ (Product Design) และวิชาเอกสาขาออกแบบสอ่ื (Media Design) โดย ของกราฟกิ ดไี ซน์ ซง่ึ จรงิ ๆ แลว้ เปน็ แคส่ ว่ นหนง่ึ ของงานดา้ น
เปดิ สอนสาขาการออกแบบเป็นปแี รกในปกี ารศกึ ษา 2556 มนี ักศึกษาทส่ี ร้างสรรค์ การออกแบบ จริงๆ แลว้ ออกแบบคือการบรู ณาการทกั ษะที่
ผลงานการออกแบบไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ และมคี วามพรอ้ ม ความสามารถ ต่างกนั น�ำ ไปสู่กระบวนการสรา้ งสรรค์ นกั ออกแบบจะสวม
ในการน�ำ ผลงานมาเผยแพรใ่ นรปู แบบนทิ รรศการใหส้ าธารณชนไดร้ บั รู้ ตวั อยา่ งเชน่ บทบาทเป็นทั้งนักประดิษฐ์ นักวางแผน นักต่อรอง และ
หนงั สือแนะน�ำ สถานท่ที ่องเทีย่ ว จ.ปตั ตานี ส�ำ หรบั ผพู้ กิ ารทางสายตา หนังสอื อกั ษร
เบรลล์ทำ�มือ ผลงานของ น.ส.ณฐั ธิดา ตนั นิยม ผลิตภณั ฑ์ชุดน�้ำ ชาเซรามิก โดย นาย นักบริหารจัดการระหว่างส่ิงท่ีจะเป็นไปได้และส่ิงที่อยู่บนพ้ืนฐานของโลกของความ
เอกวุฒิ ปูเงิน ซ่ึงได้แรงบันดาลใจจากเรือหัวโทง แสดงออกถึงความเป็นเอกลักษณ์ เป็นจรงิ การทำ�งานออกแบบนน้ั คอื การเตมิ เตม็ ในเร่ือง ฟอร์ม (Form) และ ฟงั คช์ นั่
ของท้องถิ่นภาคใต้ โดยนำ�ลักษณะ รูปร่าง รูปทรงของเรือหัวโทงมาเป็นเอกลักษณ์ (Function) สิ่งท่ีส�ำ คัญที่สุดของการออกแบบคือ การรับรู้ถึงความต้องการของกลุ่ม
เปา้ หมายและตอบสนองต่อสิ่งนน้ั อย่างถกู ตอ้ งและลงตัว
16 ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา
ด้าน น.ส.ณฐั ฏพัชร์ เจตนพิ ทั ธ์ นักศกึ ษาโปรแกรมวิชาการออกแบบ
หน่ึงในผู้ส่งผลงานจัดนิทรรศการ กล่าวว่า ตนออกแบบตราสินค้าผลิตภัณฑ์กล้วย
หอมทองส�ำ หรบั กลมุ่ เกษตรกร ต.ปากแตระ อ.ระโนด จ.สงขลา มที มี่ าจากกลมุ่ ระโนด
กล้วยหอมทองปลอดสารพิษเพ่ือการส่งออก ต้องการท่ีจะพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้
แพร่หลายและสวยงาม ตนจึงออกแบบผลิตภัณฑ์บนพื้นฐานแนวคิดลิงกับกล้วย
ส่ือความรู้สึกถึงธรรมชาติ สดใส เร่ืองบนบรรจุภัณฑ์เป็นเร่ืองราวธรรมชาติ
ปลอด สารพษิ เนน้ ใสใ่ จสขุ ภาพ รกั สงิ่ แวดลอ้ ม ชอ่ื แบรนดแ์ ละโลโกต้ งั้ ใหส้ อดคลอ้ ง
กับการรกั สุขภาพ สโลแกนรักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม

ส�ำ นกั วทิ ยบรกิ ารฯ มรภ.สงขลา จดั อบรมพฒั นาดจิ ติ อล และทว่ั ถงึ ซง่ึ เมอ่ื เรม่ิ ตน้ ปกี ารศกึ ษาใหม่ ทกุ ฝา่ ยไดเ้ ตรยี มแผนงานการ
และส่ือมัลติมีเดีย เรียนรู้วัฒนธรรม-ภาษาอาเซียน ช้ีเหมาะ ศกึ ษาทมี่ าจากการหารอื รว่ มกนั เพอื่ ใหเ้ รอื่ งตา่ งๆ ทจี่ ะด�ำ เนนิ การเกดิ
เป็นเครื่องมือช่วยสอนยุคไทยแลนด์ 4.0 สอดรับนโยบาย ความต่อเนื่องตามนโยบายสำ�คัญ เช่น พัฒนาคุณภาพการเรียนการ
ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาพ้ืนท่ีชายแดนภาคใต้ สอนดว้ ยระบบ DLTV และ DLIT ซง่ึ เปน็ นวตั กรรมส�ำ คญั ในการพฒั นา
คุณภาพการศึกษาอย่างครบวงจร พัฒนาครูและบุคลากรทางการ
นายเสรี ชะนะ รองผู้อำ�นวยการสำ�นักวิทยบริการและ ศกึ ษาดว้ ยระบบ TEPE Online โดยยดึ ถอื ภารกจิ และพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เป็นฐาน นโยบายการลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ และนโยบายลดความ
เปิดเผยถึงโครงการพัฒนาดิจิตอลและสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เหลอื่ มล้ำ�ทางการศึกษา เปน็ ต้น
วฒั นธรรมและภาษาของประเทศอาเซยี น ใหแ้ กบ่ คุ ลากรทางการศกึ ษา
และบุคคลท่วั ไปในพน้ื ที่ 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และ 4 อำ�เภอของ รองผู้อ�ำ นวยการส�ำ นักวิทยบริการฯ มรภ.สงขลา กล่าวอีกว่า
จ.สงขลา (สะบา้ ยอ้ ย เทพา จะนะ และ นาทว)ี จำ�นวน 2 ร่นุ รนุ่ ท่ี 1 หรอื แมแ้ ตก่ ารจดั ท�ำ แผนพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม เพอื่ ใช้
วนั ท่ี 13-17 มีนาคม และ รุ่นท่ี 2 วนั ที่ 3-7 เมษายน 2560 ณ เป็นกรอบในการผลักดันให้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นกลไกสำ�คัญในการ
อาคารศูนยภ์ าษาและคอมพวิ เตอร์ มรภ.สงขลา วา่ ตงั้ เป้าผเู้ ข้าอบรม พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซ่ึงรวมถึงการปรับเปล่ียน
ไว้ 110 คน ขณะน้มี ผี ู้สมคั รเขา้ รว่ มแลว้ 140 คน วตั ถุประสงค์เพอื่ กระบวนทศั นท์ างความคดิ ในทกุ ภาคสว่ น การปฏริ ปู กระบวนการทาง
สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ ขา้ อบรมสามารถประยกุ ตใ์ ชง้ านดจิ ติ อลและสอ่ื มลั ตมิ เี ดยี ธรุ กจิ การผลติ การคา้ และการบรกิ าร การปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการ
ได้ ช่วยใหม้ ีเครื่องมือ แหลง่ ข้อมลู และทรพั ยากรการเรียนรูส้ �ำ หรบั บริหารราชการแผ่นดิน และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนตาม
พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน ตลอดจนตอบสนอง นโยบายของรัฐบาลดิจิทัลไทยแลนด์ (Digital Thailand) กล่าวคือ
ความตอ้ งการในการเรียนรู้ของนกั เรยี น ท่มี ที ักษะทางภาษาแตกตา่ ง สามารถสร้างสรรค์และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็ม
กนั ในยคุ Thailand 4.0 ทงั้ ยงั สอดคลอ้ งตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ มรภ. ศกั ยภาพในการพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน นวตั กรรม ขอ้ มลู ทนุ มนษุ ย์
สงขลา เรื่องการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ซ่ึงมหาวิทยาลัยต้องมี และ ทรัพยากรอื่นใด เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ส่วนร่วมในการเสริมสร้างสันติสุข โดยจัดการศึกษาที่เหมาะสมและ ของประเทศ ไปสู่ความมนั่ คง ม่ังคัง่ และยงั่ ยืน
สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์การแกป้ ญั หาจงั หวัดชายแดนใตข้ องภาครฐั

นายเสรี กลา่ วว่า ประกอบกบั ส�ำ นกั วทิ ยบรกิ ารฯ เล็งเหน็ ถึง
ปญั หาการจดั การเรยี นการสอนในปจั จบุ นั ของสถานศกึ ษา ทคี่ วรไดร้ บั
การพัฒนาอย่างเร่งด่วนในด้านดิจิตอลและส่ือมัลติมีเดีย นอกเหนือ
จากการเรยี นการสอนในหอ้ งเรียน เนอื่ งจากเป็นเครอ่ื งมือสำ�คญั ที่จะ
ชว่ ยใหน้ ักเรียนพัฒนาทักษะการส่ือสารได้อยา่ งทั่วถงึ รวดเรว็ และมี
ประสิทธิภาพ สอดรับกับนโยบายยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขต
พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ของรัฐบาล ที่ต้องการ
ให้การศกึ ษาของเขตพัฒนาพเิ ศษฯ มคี วามก้าวหนา้ และพัฒนาอยา่ ง
ตอ่ เนอื่ ง มพี ลงั ในการขบั เคลอื่ นถงึ นกั เรยี นและประชาชนอยา่ งรวดเรว็

17ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา จัดอบรมพัฒนาทักษะบุคลากร นายฆรวัณณ์ สถล นักวิชาการศึกษาประจำ�ศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สายวิชาการ และสายสนับสนุน เปิดรวดเดียว (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยถงึ โครงการอบรมภาษาองั กฤษใหแ้ กบ่ คุ ลากรสายวชิ าการและสายสนบั สนนุ
3 หลกั สูตร เตรียมความพร้อมสอบ IELTS - TOEFL ตลอดเดือน พ.ค.60 ว่า วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษให้แก่บุคลากรของ
เขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ นำ�เสนองานระดับ มหาวิทยาลัย โดยเปดิ ให้ผสู้ นใจเขา้ อบรมฟรีใน 3 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ ภาษาอังกฤษเพือ่ การเตรยี ม
นานาชาติ เช่ือช่วยเพ่ิมโอกาสประสบความสำ�เร็จ สอบ IELTS และ TOEFL รบั หลกั สตู รละ 15 คน อบรมวนั ที่ 15–18 พ.ค. การเขยี นภาษาองั กฤษ
ในการทำ�งานเป็นบนั ไดเรยี นต่อต่างประเทศ เชิงวิชาการ และ การใช้ภาษาอังกฤษเพอ่ื การน�ำ เสนองานระดับนานาชาติ รบั หลกั สูตรละ 20 คน
อบรมวันท่ี 22–25 พ.ค. วนั ละ 5 ชว่ั โมง รวม 20 ชั่วโมง ซง่ึ เหตุผลทศ่ี นู ย์ภาษาฯ เลือกจดั อบรม
หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการเตรียมสอบ IELTS และ TOEFL เนื่องจากเล็งเห็นว่าผู้ท่ีมีความ
สามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ มกั มโี อกาสในการท�ำ งานและประสบความส�ำ เรจ็ ในการสอบแขง่ ขนั
เพ่อื ไปศกึ ษาต่อหรอื ฝึกอบรมความรตู้ า่ งๆในต่างประเทศ มากกว่าผ้ทู ีข่ าดความชำ�นาญในการใช้
ภาษาองั กฤษ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากในแตล่ ะปที มี่ บี คุ ลากรจ�ำ นวนมากตอ้ งการเพมิ่ พนู ความรทู้ างภาษา
เพ่ือน�ำ ไปใช้ในการสอบแขง่ ขนั หรอื เพ่ือศกึ ษาต่อในระดับทส่ี ูงขน้ึ

นายฆรวัณณ์ กล่าวว่า เชน่ เดยี วกับหลกั สตู รการเขียนภาษาองั กฤษเชงิ วิชาการ ทีจ่ ะชว่ ย
ใหบ้ คุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั มโี อกาสฝกึ ฝนและพฒั นาทกั ษะทางภาษามากยง่ิ ขน้ึ สรา้ งความมน่ั ใจ
และเพ่ิมศักยภาพในงานวิชาการหรืองานวิจัย ในการได้รับคัดเลือกให้เข้านำ�เสนองานหรือได้
ตีพิมพ์ ขณะท่ีหลักสูตรการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการนำ�เสนองานระดับนานาชาติ มุ่งหวังให้ผู้เข้า
อบรมมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับหลักการ จุดประสงค์ องคป์ ระกอบ และทกั ษะทจี่ ำ�เปน็ สำ�หรับ
การน�ำ เสนองานระดับนานาชาติ โดยในปงี บประมาณ 2558 และ 2559 ท่ีผา่ นมา มีการจดั
อบรมในหลกั สตู รดังกลา่ ว และผ้ใู ห้ความสนใจทจี่ ะพัฒนาทกั ษะในดา้ นนอี้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ดว้ ยเหตุ
วา่ การน�ำ เสนอผลงานวิชาการหรอื งานวจิ ัยสสู่ าธารณชนนัน้ มีส่วนสำ�คญั ในการผลักดนั ให้ขอ้ มูล
หรอื ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ ถกู ถา่ ยทอดไปยงั ผรู้ บั การน�ำ เสนอ ซง่ึ มผี ลใหข้ อ้ มลู ไดร้ บั การ
ยอมรบั และมโี อกาสไดร้ บั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผฟู้ งั วา่ สงิ่ ทนี่ �ำ เสนอนนั้ ควรไดร้ บั การปรบั ปรงุ อยา่ งไร
ในงานวชิ าการหรอื งานวจิ ัยนนั้ ๆ

บณั ฑิตวทิ ยาลยั มรภ.สงขลา เปดิ รบั สมคั รนักศึกษาปรญิ ญาโท สาขา
สาธารณสุขชมุ ชน และการจดั การเทคโนโลยกี ารเกษตร พรอ้ มเปดิ แจง้ ความ
จ�ำ นงเข้าศึกษาตอ่ อกี 6 สาขาวชิ า

ผศ.ดร.สุระพรรณ์ จลุ สวุ รรณ์ คณบดีบัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า บัณฑิตวิทยาลัยเปิดรับสมัครสอบคัดเลือกเข้าศึกษา
ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ประจ�ำ ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 ในหลกั สตู รสาธารณสขุ
ศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน ภาคปกติ 10 คน ภาคพเิ ศษ 20 คน
และ หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การเทคโนโลยีการเกษตร ภาค
ปกติ 3 คน ภาคพิเศษ 8 คน นอกจากนน้ี ยังเปิดรับแจง้ ความจ�ำ นงเข้าศกึ ษาต่อระดับ
ปริญญาโท ในสาขาวชิ ายุทธศาสตร์การพัฒนา เศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ต์ การบริหารการ
ศึกษา หลักสูตรและการสอน เทคโนโลยีอุตสาหกรรม การจัดการส่ิงแวดล้อมและ
ภยั ธรรมชาติ

สำ�หรับคุณสมบัติพื้นฐานของผู้สมัครสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ต้องเป็น
ผสู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรหี รอื เทยี บเทา่ ปรญิ ญาตรสี าขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์
หรือสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้องกับสุขภาพ จากมหาวิทยาลัยในประเทศหรือต่างประเทศ
ซึ่งสำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรองวิทยฐานะ และมีประสบการณ์
ในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นสขุ ภาพมาไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ปี สว่ นผทู้ จ่ี ะสมคั รในสาขาวชิ าการจดั การ
เทคโนโลยีการเกษตร ต้องสำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์
การเกษตร/ประมง/อุตสาหกรรมเกษตร/เทคโนโลยีและสาขาอื่นที่ใกล้เคียง หรือการ
ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรสี าขาอนื่ ตอ้ งมปี ระสบการณก์ ารท�ำ งานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การเกษตร/
ประมง/อุตสาหกรรมเกษตร/ป่าไม้ ไม่น้อยกว่า 1 ปี และต้องมีเอกสารรับรอง
หากคณุ สมบัติไมต่ รงกบั ทก่ี ลา่ วมา ให้อยูใ่ นดลุ พนิ ิจของอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร

จำ�หน่ายใบสมัครและรับสมัคร ต้ังแต่บัดน้ี-4 มิถุนายน 2560
สอบถามรายละเอียดเพิ่มได้ที่ 074-336948, 074-260274 เว็บไซต์
บณั ฑิตวทิ ยาลยั http://bundit.skru.ac.th

18 ปาริฉัตร วารสารเพือ่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์อ้อยทิพย์ พลศรี อาจารย์ประจำ�โปรแกรมวชิ าออกแบบประยุกต์
ศิลป์ สาขาศิลปกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา ได้รบั การคัดเลอื กเปน็
ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจ�ำ ปี ๒๕๕๙ โดยคณะอนุกรรมการคัดเลอื กขา้ ราชการพลเรอื นดเี ด่น
ไดป้ ระกาศรายชอ่ื ผไู้ ดร้ บั เลอื กใหเ้ ปน็ ขา้ ราชการดเี ดน่ ประจ�ำ ปี ๒๕๕๙ จ�ำ นวน ๖๑๔ ราย ประกาศ
ณ วนั ที่ ๒๐ มนี าคม ๒๕๖๐ ลงนามโดย นายชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
ในฐานะประธานคณะอนกุ รรมการคัดเลอื กขา้ ราชการพลเรอื นดเี ดน่

มรภ.สงขลา รบั สมคั รนกั ศกึ ษาภาค กศ.บป. กวา่ 400 โปรแกรมวิชาสาธารณสุขชุมชน 80 คน คณะมนุษยศาสตร์และ
คน เปิดโอกาสผู้พลาดหวังสอบเข้าภาคปกติและคนทำ�งานมี สังคมศาสตร์ รับโปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์150 คน
ช่องทางเรียนต่อปริญญาตรีในวันเสาร์-อาทิตย์ สมัครได้ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม รบั 240 คน ไดแ้ ก่ วศิ วกรรมการจดั การ
16-18 มถิ ุนายนน้ี และระบบการผลติ วศิ วกรรมโลจสิ ตกิ ส์ รับโปรแกรมวชิ าละ 40 คน
เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมต่อเนอ่ื ง (เทคโนโลยีไฟฟ้าอตุ สาหกรรม และ
นายฐปนพัฒน์ ปรัชญาเมธีธรรม ผู้อำ�นวยการสำ�นัก เทคโนโลยกี ารจัดการอุตสาหกรรม) โปรแกรมวิชาละ 80 คน
ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (มรภ.
สงขลา) เปดิ เผยว่า มรภ.สงขลา รบั สมคั รนักศึกษาภาค กศ.บป. (การ จำ�หน่ายใบสมัครต้ังแต่บัดนี้-18 มิถุนายน 2560
จัดการศึกษาสำ�หรับบคุ ลากรประจ�ำ การ) จ�ำ นวน 470 คน เพ่ือเปิด ณ สำ�นักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน สำ�นักงานอธิการบดี
โอกาสให้ผู้ท่ีทำ�งานแล้ว หรือพลาดหวังจากการสอบเข้าเรียนต่อภาค (อาคาร 48) ชั้น 1 มรภ.สงขลา และรับสมัครระหว่างวันท่ี
ปกติ มโี อกาสเขา้ รบั ความรจู้ ากการเรยี นในวนั เสาร-์ อาทติ ย์ จนจบการ 16-18 มิถุนายน ดรู ายละเอียดเพม่ิ เติมได้ทเี่ ว็บไซต์
ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี และสามารถใชค้ วามรนู้ น้ั เพม่ิ ศกั ยภาพในการ http://www.skru.ac.th หรอื ตดิ ตอ่ สอบถาม งานรบั เขา้ นกั ศกึ ษา
ทำ�งาน หรือมีทางเลือกในการประกอบอาชีพมากขึ้น โดยคณะท่ีเปิด โทร. 088-3989991, 088-3989992
รับประกอบด้วย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รับนักศึกษา
19ปารฉิ ัตร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

ครุศาสตร์ มรภ.สงขลา อบรมพัฒนาทักษะการคิด จะพัฒนาต่อไปเรือ่ ยๆ จนกวา่ สมรรถภาพด้านการจดั โปรแกรมตา่ งๆ
ว่าที่ครูรุ่นใหม่ หวังช่วยให้รู้จักวิเคราะห์ตัดสินใจ แก้ปัญหา เกี่ยวกบั การคดิ จะส้ินสุดลง
อย่างสร้างสรรค์ จดั การกบั อารมณแ์ ละความเครียดได้
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา กล่าวอีกว่า การจัดอบรม
น.ส.รักษิณา หยดย้อย ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา ดงั กลา่ วเป็นการด�ำ เนนิ งานตามปรัชญาของคณะครุศาสตร์ ซ่งึ ใช้เป็น
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึง หลกั ในการท�ำ งานรว่ มกนั คอื สรา้ งองคก์ รแหง่ การเรยี นรแู้ ละเครอื ขา่ ย
การอบรมพฒั นาทกั ษะการคดิ ใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาคณะครศุ าสตร์ กวา่ 200 เพอื่ ผลิตและพัฒนาครูทีม่ คี ุณภาพ สำ�หรบั วิสัยทศั นท์ ่กี �ำ หนดร่วมกนั
คน เม่อื วันที่ 22 เมษายน ที่ผ่านมาวา่ คณะครุศาสตร์เป็นหน่วยงาน ไวค้ ือ มงุ่ ผลิตครู คดิ คน้ นวัตกรรม สรา้ งสรรคง์ านวจิ ยั พฒั นาวิชาชีพ
ทก่ี อ่ ตง้ั ขนึ้ พรอ้ มกบั มรภ.สงขลา จงึ เปน็ คณะทส่ี ะสมภมู ริ แู้ ละศกั ยภาพ ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือตอบสนองความต้องการของ
ด้านต่างๆ มากมาย มีหน้าท่ีในการจัดการศึกษาเพื่อผลิตครูและ ท้องถ่นิ และมีมาตรฐานสากล
บคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ พฒั นาศกั ยภาพ
และความสามารถในการสอน ฝกึ อบรมและพัฒนาการศึกษาให้ตอบ
สนองต่อนโยบายของประเทศชาติ สังคม และประชาชน ดังนั้น
คณะครุศาสตร์จึงได้จัดอบรมในครั้งนี้ เพ่ือเติมเต็มว่าที่ครูรุ่นใหม่ให้
ไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะชวี ติ มคี วามตระหนกั รแู้ ละเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง
และผอู้ น่ื รจู้ กั คดิ วเิ คราะหต์ ดั สนิ ใจและแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ รจู้ กั
จัดการกับอารมณแ์ ละความเครยี ด มที ักษะการสร้างสมั พนั ธภาพทด่ี ี
กับผู้อ่ืน ตลอดจนมีความสามารถในการออกแบบและพัฒนาทักษะ
การจัดการเรียนรู้แบบสง่ เสรมิ ความคิดสรา้ งสรรคใ์ นศตวรรษท่ี 21

น.ส.รักษิณา กล่าวว่า ในการพัฒนาทักษะทางการคิดน้ัน
สมองทำ�หน้าท่ีเป็นกลไกที่เก่ียวข้องกับความประพฤติ ข้อปฏิบัติของ
มนุษย์ เชน่ วธิ ีคิด การแสดงออกทางอารมณต์ า่ งๆ การด�ำ เนนิ ชีวิต
และการปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมรอบตัว หากสมองทำ�งานถูกต้อง
จะส่งผลให้เจ้าของมีความประพฤติถูกต้อง แต่เมื่อใดท่ีสมองทำ�งาน
ผิดพลาด มนุษย์ก็จะแสดงพฤติกรรมท่ีไม่ถูกต้องออกมาด้วยเช่นกัน
หนา้ ทอ่ี นื่ ๆ ของสมอง เชน่ ควบคมุ อณุ หภมู ใิ นรา่ งกาย ความดนั โลหติ
การทำ�งานของหวั ใจ และการเคลื่อนไหวของรา่ งกาย เป็นต้น การจะ
รบั ประสบการณแ์ ละการเรียนร้ตู ่างๆ ทถี่ ่ายทอดกระบวนการคิดทาง
สมองออกมาเปน็ ระยะๆ ตามวยั จนกระทงั่ เปน็ ผใู้ หญ่ แมส้ มองจะเจรญิ
เติบโตเต็มท่ีเมื่ออายุ 18 ปี แต่กระบวนการคิดภายในสมอง

20 ปาริฉตั ร วารสารเพอื่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

ผศ.ดร.ศศลักษณ์ ทองขาว ได้เปรียบในเชิงแข่งขัน โดยการเติมเต็มด้วยวิทยาการ ความคิด
มรภ.สงขลา จัดอบรมใช้โซเชียลมเี ดียเพ่ิมความส�ำ เร็จ สรา้ งสรรค์ นวตั กรรม วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวจิ ยั และพฒั นา
ธรุ กจิ เอสเอม็ อี สอนทกุ กระบวนการตง้ั แตต่ ดิ ตงั้ แอพพลเิ คชนั แลว้ ตอ่ ยอดความไดเ้ ปรยี บเชงิ เปรยี บเทยี บเปน็ 5 กลมุ่ เทคโนโลยแี ละ
โพสสนิ คา้ จนถงึ ปดิ การขาย เชอื่ เปน็ ชอ่ งทางทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ อุตสาหกรรมเป้าหมาย ประกอบด้วย 1. กลุ่มอาหาร เกษตร และ
และปลอดภัย เตรียมต่อยอดสูช่ ุมชนอ่นื เทคโนโลยชี วี ภาพ 2. กลมุ่ สาธารณสขุ สขุ ภาพ และเทคโนโลยที างการ
ผศ.ดร.ศศลักษณ์ ทองขาว อาจารย์โปรแกรมวิชา แพทย์ 3. กลมุ่ เครอ่ื งมอื อปุ กรณอ์ จั ฉรยิ ะ หนุ่ ยนต์ และระบบเครอ่ื งกล
คอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ท่ีใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม 4. กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยี
สงขลา (มรภ.สงขลา) ผเู้ สนอโครงการอบรมโซเชยี ลมเี ดยี ส�ำ หรบั ธรุ กจิ อินเตอร์เน็ตท่ีเช่ือมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และ
ขนาดยอ่ ม (SME) ระหวา่ งวนั ที่ 18-19 พฤษภาคม 2560 ณ อาคาร เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว และ 5. กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มรภ.สงขลา เปิดเผยว่า เป็นการให้ วัฒนธรรม และบริการทมี่ ีมูลคา่ สงู
ความรู้เกี่ยวกับการนำ�โซเชียลมีเดียมาใช้ประโยชน์ในการทำ�ธุรกิจ
พร้อมทั้งฝึกปฏบิ ตั ติ ดิ ตั้งแอพพลเิ คชนั การโพสและขาย การบูทโพส อาจารย์โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ กล่าวอีกว่า ท้ัง 5 กลุ่ม
เทคนคิ การขายและการโฆษณา การโตต้ อบกบั ลกู คา้ และการปดิ การขาย เทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย จะเปน็ แพลทฟอรม์ ในการสรา้ ง
ซง่ึ จะทำ�ให้ผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี จำ�นวน 30 คน ในชมุ ชนเทศบาล นิวสตาร์ทอัพ (New Startups) ต่างๆ มากมาย อาทิ เทคโนโลยี
ต.เกาะแตว้ อ.เมอื ง จ.สงขลา ใชช้ อ่ งทางโซเชยี ลมเี ดยี ท�ำ ธรุ กจิ ไดอ้ ยา่ ง การเกษตร เทคโนโลยอี าหาร เทคโนโลยสี ขุ ภาพ เทคโนโลยกี ารแพทย์
มปี ระสทิ ธภิ าพและปลอดภยั ทส่ี �ำ คญั ท�ำ ใหก้ ารด�ำ เนนิ ธรุ กจิ สามารถ สปา เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เทคโนโลยีด้านการเงิน อุปกรณ์เชื่อมต่อ
ทำ�ไดโ้ ดยง่าย สร้างผลกำ�ไรใหแ้ ก่ชมุ ชนและสังคม อกี ทง้ั รูปแบบการ ออนไลน์โดยไม่ต้องใช้คน เทคโนโลยีการศึกษา อี-มาร์เก็ตเพลส
สรา้ งงานนจ้ี ะเกดิ การเชอื่ มโยง และสามารถน�ำ ไปปรบั ใชก้ บั ชมุ ชนอนื่ (E–Marketplace) อี-คอมเมิร์ซ (E-Commerce) เทคโนโลยีการ
ได้อกี ด้วย ออกแบบ ธุรกิจไลฟ์สไตล์ เทคโนโลยีการท่องเท่ียว การเพิ่ม
ผศ.ดร.ศศลักษณ์ กล่าวว่า นายกรัฐมนตรีมีความมุ่งม่ันที่จะ ประสทิ ธภิ าพการบรกิ าร เปน็ ตน้ ดว้ ยเหตนุ ้ี เพอ่ื เปน็ การเพมิ่ ขดี ความ
ใชน้ วตั กรรมขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ โดยถกั ทอเชอ่ื มโยงเทคโนโลยหี ลกั ที่ สามารถท้ัง 5 กลุ่มดังกล่าว ให้กับผู้ประกอบรายรายย่อยในชุมชน
ต้นน้ำ� เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับอุตสาหกรรมเป้าหมายที่อยู่ เทศบาล ต.เกาะแต้ว อ.เมือง จ.สงขลา คณะวิทยาศาสตร์และ
กลางน�ำ้ และสตารท์ อพั (Startups) ต่างๆ ทีอ่ ยูป่ ลายน�ำ้ โดยใชพ้ ลงั เทคโนโลยี มรภ.สงขลา จึงได้จัดอบรมในครง้ั นขี้ น้ึ
ประชารฐั ในการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 เชน่ เดียวกับแนวคิดของ
รมช.พาณิชย์ ในการพัฒนาเครื่องยนต์เพ่ือขับเคล่ือนการเติบโตทาง 21ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา
เศรษฐกจิ ชุดใหม่ (New Engines of Growth) ดว้ ยการแปลงความ
ไดเ้ ปรยี บเชงิ เปรยี บเทยี บของประเทศทม่ี อี ยู่ 2 ดา้ น คอื ความหลากหลาย
เชิงชีวภาพและความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม ให้เป็นความ

ดร.พิพัฒน์ ลมิ ปนะพิทยาธร รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวิชาการ (ในขณะน้ัน) ผ ศ . จ รู ญ ศั ก ด์ิ บุ ญ ญ า พิ ทั ก ษ์ และนกั ศึกษา จาก มหาวทิ ยาลัย
พรอ้ มดว้ ยบคุ ลากรมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา รว่ มงานรฐั พธิ ี เนอื่ งในวนั คลา้ ยวนั รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและสื่อสาร ปตุ รา (UPM) ประเทศมาเลเซีย
สวรรคตสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช วางพวงมาลาถวายสกั การะและกลา่ วถวายราช องคก์ ร (ในขณะนน้ั )พรอ้ มดว้ ย นายศภุ กร หนสู ม ระหว่างวันท่ี 4-5 เมษายน
สดุดีฯ โดยมี นายทรงพล สวาสด์ธิ รรม ผวู้ า่ ราชการจังหวัดสงขลา เป็นประธาน ผู้อำ�นวยการกองพัฒนานักศึกษา และแกนนำ� ที่ผ่านมา ในโอกาสนี้แกนนำ�
ในพธิ ี เม่ือวนั ท่ี 25 เมษายน ทผี่ า่ นมา ณ หอประชมุ ใชบ้ างยาง มหาวทิ ยาลยั นกั ศกึ ษา ใหก้ ารตอ้ นรบั คณะคณาจารย์ เจา้ หนา้ ท่ี นักศึกษาของท้ัง 2 สถาบันได้
เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย อ.เมอื ง จ.สงขลา ร่ ว ม ทำ � กิ จ ก ร ร ม แ ล ก เ ป ล่ี ย น
เรยี นรดู้ า้ นงานกจิ กรรมนกั ศกึ ษา
แ ล ะ ค ณ ะ ศึ ก ษ า ดู ง า น ไ ด้ เ ข้ า
เ ยี่ ย ม ช ม ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง
สำ�นักวิทยบริการและเทคโนโลยี
สารสนเทศ ศูนย์ภาษา และ
ศนู ยอ์ าเซยี นศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั สงขลา

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จัดโครงการ นายพิเชษฐ์ จันทวี
บรรยายเรอื่ ง การเตรยี มความพรอ้ มนกั ศกึ ษาทสี่ �ำ เรจ็ การศกึ ษาประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา ร อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี ฝ่ า ย วิ จั ย แ ล ะ
2559 เม่อื วันท่ี 22 เมษายน ที่ผา่ นมา ณ หอประชุม 1 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ บริการวิชาการ (ในขณะนั้น)
สงขลา พ ร้ อ ม ด้ ว ย น า ย พ ล า ก ร
นัคราบัณฑิต อาจารย์ประจำ�
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา นำ�นักกีฬา
ปันจักสีลัตเข้าร่วมการแข่งขัน Asian inter university pencaksilat championship 2017
ระหวา่ งวนั ที่ 27-30 มนี าคม ทผ่ี า่ นมา ณ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ วทิ ยาเขตสงขลา ผลการแขง่ ขนั
ปรากฏว่านักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประกอบด้วย น.ส.ธีรดา ปานแก้ว
นายนนท์ปวิช ปานกลอ่ ม และ นายทวพี ร จิตพรหม สามารถควา้ เหรยี ญรางวลั กลับมายงั
มหาวิทยาลยั ไดเ้ ปน็ ผลส�ำ เร็จ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จัดพิธีรดนำ้�ขอพรอาจารย์อาวุโส สืบสาน สำ�นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ประเพณสี งกรานต์ ประจ�ำ ปี 2560 โดยมกี ารสรงนำ้�พระพุทธรปู และรดน้ำ�ด�ำ หัว น�ำ โดย ผศ.ดร.อ�ำ นาจ ทองขาว ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักวทิ ยบริการฯ และ น.ส.ปยิ กุล
อาจารย์ผใู้ หญ่ของมหาวิทยาลยั เพื่อเปน็ สิริมงคล และแสดงออกถงึ ความรัก และ บุญญาศรรี ตั น์ รองผูอ้ ำ�นวยการฝ่ายงานวทิ ยบรกิ าร ร่วมประชุมเครือขา่ ยสำ�นกั วิทย-
กตัญญกู ตเวทีตอ่ ผใู้ หญ่ที่เคารพ เมอื่ วนั ท่ี 9 เมษายน ทผี่ ่านมา ณ ส�ำ นกั ศิลปะ บริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘-๓๐ มีนาคม
และวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา ทผ่ี ่านมา ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภูเกต็

22 ปาริฉัตร วารสารเพ่อื การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา กองพัฒนานักศกึ ษา องคก์ ารนกั ศึกษา รว่ มกับ
สโมสรนักศึกษาภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
จดั แข่งขนั กฬี า-กรฑี า ปาริฉัตรเกมส์ ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา
2559 “จงรักภักดี จักกรีวงศ์” ระหว่างวันท่ี 20-26
มีนาคม ท่ีผ่านมา นอกจากนั้น กองพัฒนานักศึกษา
ร่วมกับสโมสรนักศึกษาภาค กศ.บป. จัดแข่งขันกีฬา-
กรฑี า “ปารฉิ ตั รเกมส์ กศ.บป.” กระชบั ความสมั พนั ธแ์ ละ
เสรมิ สรา้ งความสมคั รสมานสามคั คขี องนกั ศกึ ษา ระหวา่ ง
วนั ท่ี 8-9 เมษายน 2560 ณ โรงยมิ เนเซย่ี ม มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั สงขลา

23ปารฉิ ัตร วารสารเพอื่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

มหาวท� ยาลยั ราชภฏั สงขลา

๑๖๐ ถนนกาญจนวนิช ตำบลเขารูปชา ง อำเภอเมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา ๙๐๐๐๐
โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔, ๐๘๓-๑๙๖๐๐๐๕ โทรสาร. ๐-๗๔๓๑-๒๗๒๖
http://www.skru.ac.th/ Fm.105.75 MHz.
ID LINE : PR_SKRU


Click to View FlipBook Version